You are on page 1of 77

กฎหมายที่เกี่ยวกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
วันที่ ๑0 มกราคม 256๖

ว่าที่ร้อยตรีสมชาย พุกพิบูลย์ นิติกรชานาญการพิเศษ


กองกฎหมาย กรมสรรพากร
หลักสูตร เพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานด้านการคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ปีภาษี ๒๕๖๕
I AM RD เรา คือ สรรพากร 1
สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 2
กฎกระทรวง ฉบับที่ 379 (พ.ศ. 2564) ว่าด้ วยการยกเว้ นรัษฎากร
ค่าซื ้อสินค้ าหรื อค่าบริการให้ แก่ผ้ ปู ระกอบการ จดทะเบียนภาษี มลู ค่าเพิ่มและได้ รับใบกากับภาษี ตาม
มาตรา ๘๖/๔ แห่งประมวลรัษฎากร สาหรับ การซื ้อสินค้ าหรื อรับบริการในราชอาณาจักร ตังแต่ ้ วันที่ 1
มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ตามจานวนที่จา่ ยจริงแต่ไม่เกินสามหมื่นบาท
เงินได้ท่ไี ด้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งรวมคำนวณเพื่อเสียภำษี เงินได้บคุ คลธรรมดำให้รวมถึงเงินได้
เท่ำที่ได้จำ่ ยเป็ นค่ำซื้อสินค้ำหรือค่ำบริกำรดังต่อไปนี้ ให้แก่ผูข้ ำยสินค้ำหรือผูใ้ ห้บริกำรที่ไม่เป็ น
ผูป้ ระกอบกำรจดทะเบียนภำษี มูลค่ำเพิ่มด้วย
(๑) ค่ำซื้อหนังสือ
(๒) ค่ำบริกำรหนังสือที่อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ผ่ำนระบบอินเทอร์เน็ ต
(๓) ค่ำซื้อสินค้ำหนึ่ งตำบลหนึ่ งผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็ นสินค้ำที่ได้ลงทะเบียนกับกรมกำรพัฒนำ
ชุมชนแล้ว
ค่ำซื้อสินค้ำหรือค่ำบริกำรไม่รวมถึงค่ำซื้อสินค้ำหรือค่ำบริกำร ดังต่อไปนี้
(๑) ค่ำซื้อสุรำ เบียร์ และไวน์ (๒) ค่ำซื้อยำสูบ
(๓) ค่ำซื้อน้ ำมันและก๊ำซสำหรับเติมยำนพำหนะ
(๔) ค่ำซื้อรถยนต์ รถจักรยำนยนต์ และเรือ
(๕) ค่ำซื้อหนังสือพิมพ์และนิ ตยสำร
กฎกระทรวง ฉบับที่ 379 (พ.ศ. 2564) ว่าด้ วยการยกเว้ นรัษฎากร

(๖) ค่ำบริกำรหนังสือพิมพ์และนิ ตยสำรที่อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิ กส์ผ่ำน


ระบบอินเทอร์เน็ ต
(๗) ค่ำบริกำรจัดนำเที่ยวที่จำ่ ยให้แก่ผูป้ ระกอบธุรกิจนำเที่ยวตำมกฎหมำยว่ำด้วย
ธุรกิจนำเที่ยว และมัคคุเทศก์
(๘) ค่ำบริกำรที่ได้จำ่ ยเป็ นค่ำที่พกั ในโรงแรมให้แก่ผูป้ ระกอบธุรกิจโรงแรมตำม
กฎหมำย ว่ำด้วยโรงแรม
(9) ค่ำสำธำรณู ปโภค ค่ำน้ ำประปำ ค่ำไฟฟ้ ำ ค่ำบริกำรสัญญำณโทรศัพท์ และ
ค่ำบริกำร สัญญำณอินเทอร์เน็ ต
(10) ค่ำบริกำรที่มีขอ้ ตกลงกำรให้บริกำรและผูร้ บั บริกำรสำมำรถใช้บริกำรดังกล่ำว
นอกเหนื อจำกระยะเวลำตำมที่กำหนดในข้อ ๑
(11 ) ค่ำเบี้ยประกันวินำศภัย
คำถำม มำตรกำร “ช้ อปดีมีคืน ปี 2565”
Q : กำรซื้อทองรู ปพรรณ สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : สามารถนามาหักลดหย่อนเป็ นค่าซื้อสิ นค้าได้ เฉพาะค่ากาเหน็จ (ตามมูลค่าที่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม) และ ต้องได้รับหลักฐานเป็ นใบกากับภาษีแบบเต็ม
รู ปตามมาตรา 86/4
Q : กำรซื้อทองคำแท่ ง สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : ไม่ได้ เนื่องจากทองคาแท่ง เป็ นสิ นค้าที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ผูป้ ระกอบการไม่มีหน้าที่ออกใบกากับภาษี อันเป็ นหลักฐานในการใช้สิทธิตาม
มาตรการได้
Q : ค่ ำรักษำพยำบำล ค่ ำทำศัลยกรรม สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : ไม่ได้ เนื่องจากการให้บริ การของสถานพยาบาลได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิม่ ผูป้ ระกอบการไม่มีหน้าที่ออกใบกากับภาษี อันเป็ นหลักฐานในการใช้
สิ ทธิตามมาตรการได้
Q : ค่ ำสำธำรณูปโภค ค่ ำนำ้ ประปำ ค่ ำไฟฟ้ำ ค่ ำโทรศัพท์ สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : ค่าบริ การสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้ า ค่าน้ าประปา และค่าโทรศัพท์ไม่สามารถนามาหักลดหย่อนภาษีตามมาตรการได้
Q : ค่ ำซื้อแพคเกจทัวร์ ท่องเทีย่ วในประเทศ สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : ไม่ได้
Q : ค่ ำซื้อประกันชีวติ ประกันวินำศภัย ประกันสุ ขภำพ ประกันรถยนต์ สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้
หรือไม่
A : 1) ค่าซื้อประกันชีวติ ไม่สามารถนามาใช้สิทธิตามมาตรการนี้ได้ เนื่องจากเป็ นบริ การไม่อยูบ่ งั คับต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิม่ ขอให้พิจารณาใช้สิทธิ
ลดหย่อนค่าซื้อเบี้ยประกันชีวติ ตามประมวลรัษฎากร (มาตรา 47 (1) (ง)) และกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 พ.ศ. 2509 ข้อ 2 (61) ไม่เกินจานวน
100,000 บาท
2) ค่าซื้อประกันวินาศภัย ประกันสุ ขภาพ และประกันรถยนต์ ไม่สามารถนามาใช้สิทธิตามมาตรการนี้ได้
Q : ค่ ำซ่ อมรถ สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : ได้ หากเป็ นการซ่อมและจ่ายค่าซ่อมระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565
Q : ค่ ำซื้อเนือ้ วัว หมู ไก่ ปลำ สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : ไม่ได้ เนื่องจากเป็ นสิ นค้าที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิม่
Q : ค่ ำซื้ออำหำรในโรงแรม สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : ได้ หากโรงแรมสามารถออกใบกากับภาษีของค่าซื้ออาหารได้
Q : ค่ ำซื้อบัตรเพือ่ แลกรับบริกำร สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศได้ หรือไม่
A : ไม่ได้ เนื่องจากการขายบัตรเพื่อแลกรับบริ การ ไม่อยูใ่ นบังคับต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ผูข้ ายบัตรเพื่อแลกรับบริ การไม่มีหน้าที่ออกใบกากับภาษี
อันเป็ นหลักฐานในการใช้สิทธิตามมาตรการได้ แต่หากนาบัตรเพื่อแลกรับบริ การ ไปแลกรับบริ การในช่วงวันที่ 1 มกราคม 2565 ถึงวันที่ 15
กุมภาพันธ์ 2565 ซึ่งสามารถคานวณเป็ นจานวนเงินและออกใบกากับภาษีได้ สามารถนาใบกากับภาษีมาใช้เป็ นหลักฐานในการรับสิ ทธิตาม
มาตรการนี้ได้
Q : ค่ ำซื้อบัตรของขวัญของห้ ำงสรรพสิ นค้ ำ (Gift voucher) ค่ ำซื้อบัตรของขวัญ (Voucher) สำหรับค่ ำซื้ออำหำรของโรงแรม บัตร
เติมเงินค่ ำโทรศัพท์ สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : ไม่ได้ เนื่องจากการขายบัตรของขวัญ/บัตรเติมเงิน ไม่อยูใ่ นบังคับต้องเสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ผูข้ ายบัตรของขวัญ/เติมเงิน ไม่มีหน้าที่ออกใบกากับภาษี
อันเป็ นหลักฐานในการใช้สิทธิตามมาตรการได้ แต่หากนาบัตรของขวัญ/บัตรเติมเงิน ไปแลกซื้อสิ นค้าหรื อบริ การ ในช่วงวันที่ 1 มกราคม 2565 ถึง
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 ซึ่งสามารถคานวณเป็ นจานวนเงิน และออกใบกากับภาษีได้ สามารถนาใบกากับภาษีมาใช้เป็ นหลักฐานในการรับสิ ทธิ
ตามมาตรการนี้ได้
Q : ค่ ำสปำ คำรำโอเกะ อำบอบนวด สำมำรถนำมำหักลดหย่ อนเป็ นค่ ำซื้อสิ นค้ ำหรือบริกำรในประเทศ ได้ หรือไม่
A : สามารถนามาหักลดหย่อนเป็ นค่าบริ การในประเทศได้ และต้องได้รับหลักฐานเป็ นใบกากับภาษีแบบเต็มรู ปตามมาตรา 86/4 จากผูป้ ระกอบการ
จดทะเบียน
Q : กำรซื้อของออนไลน์ เช่ น Shopee Lazada หรือร้ ำนค้ ำออนไลน์ สำมำรถใช้ ลดหย่ อนมำตรกำรช้ อปดีมคี นื ปี 2565 ได้ หรือไม่
A : สามารถนามาหักลดหย่อนเป็ นค่าซื้อสิ นค้าได้ และต้องได้รับหลักฐานเป็ นใบกากับภาษีแบบเต็มรู ปตามมาตรา 86/4 จากผูป้ ระกอบการจด
ทะเบียน
Q : ค่ ำซื้อชุดตรวจ ATK สำมำรถใช้ ลดหย่ อนมำตรกำรช้ อปดีมคี นื ปี 2565 ได้ หรือไม่
A : สามารถนามาหักลดหย่อนเป็ นค่าซื้อสิ นค้าได้ และต้องได้รับหลักฐานเป็ นใบกากับภาษีแบบเต็มรู ปตามมาตรา 86/4 จากผูป้ ระกอบการจด
ทะเบียน
Q : กำรชำระค่ ำบริกำรให้ แก่ผู้ให้ บริกำร e-Service เช่ น Netflix หรือค่ ำโฆษณำ Meta (Facebook) สำมำรถใช้ ลดหย่ อน
มำตรกำรช้ อปดีมคี นื ปี 2565 ได้ หรือไม่
A : ไม่ได้ เนื่องจากผูใ้ ห้บริ การ e-Service ไม่มีหน้าที่ออกใบกากับภาษี
ประกาศกระทรวงการคลัง เรื่ อง การขยายกาหนดเวลาการยื่นแบบแสดงรายการ และชาระภาษีผ่าน
ระบบเครื อข่ ายอินเทอร์ เน็ต (ฉบับที่ 3)
“ไทยแลนด์ 4.0”รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังพิจารณาแล ้วจึงอาศัยอาานาจตาม
มาตรา 3 อัฏฐ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร อนุมตั ใิ ห้ขยายกาหนดเวลาผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ออกไปอีก 8 วัน นับแต่วนั พ้นกาหนดเวลาตามทีก่ ฎหมายกาหนด ในระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2564
ถึงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2567 ดังนี้
1.1 แบบแสดงรายการภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ได้แก่
(1) ภ.ง.ด.90 ภ.ง.ด.91 และ ภ.ง.ด.95 ซึง่ ต้องยืน่ แบบแสดงรายการภาษีภายในเดือน
มีนาคมของปี ถดั ไป ให้ขยายกาหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็ นภายในวันที่ 8 เมษายนของปี ถดั ไป
(2) ภ.ง.ด.94 ซึง่ ต้องยืน่ แบบแสดงรายการภาษีภายในเดือนกันยายนของทุกปี ให้
ขยายกาหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็ นภายในวันที่ 8 ตุลาคมของทุกปี
1.2 แบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิตบิ คุ คลให้ขยายกาหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็ นภายใน 158 วัน
1.3 แบบแสดงรายการภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้แก่ ภ.พ.30 ซึง่ ผูป้ ระกอบการจะต้องยืน่ แบบแสดง
รายการภาษีภายใน วันที่ 15 ของเดือนถัดไป ให้ขยายกาหนดเวลาดังกล่าวออกไปเป็ นภายในวันที่ 23
ของเดือน ถัดไป
การคานวณเงินเพิ่ม
ข่าวสารกองกฎหมาย 2/2563 เรื่ อง การคานวณเงินเพิ่ม กรณีการยื่นแบบแสดงรายการภาษี เกิน
กาหนดเวลาที่ได้ รับการขยาย ตามมาตรา 3 อัฏฐ วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร
ภำษีเงินได้ บุคคลธรรมดำ กรณีกำรยืน่ แบบแสดงรำยกำรภำษีเงินได้ บุคคลธรรมดำล่ วงหน้ ำ (ภ.ง.ด.93)
สำหรับเงินค่ ำเช่ ำทีด่ นิ รับล่ วงหน้ ำ ประกาศกระทรวงการคล ังประกาศ ณ ว ันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ.
2558

ผูใ้ ห้เช่าซึ่งเป็ นผูม้ ีเงินได้ที่มีหน้าที่ตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสามารถเฉลี่ยเงินกินเปล่า


เงินแป๊ ะเจี๊ยะ เงินค่าปลูกสร้าง เงินค่าซ่อมแซม และค่าแห่งอาคารหรื อโรงเรื อนที่ได้รับกรรมสิ ทธิ์น้ นั ตามส่ วน
แห่งจานวนปี ของอายุการเช่าได้เช่น ผูใ้ ห้เช่าได้รับเงินกินเปล่าในการให้เช่าอาคารเป็ นเงิน30,000,000บาทแต่
ผูใ้ ห้เช่าต้องผูกพันให้เช่าเป็ นเวลา 30 ปี ดังนี้ให้เฉลี่ยเงินกินเปล่าจานวน 30,000,000 บาท นั้นออกเป็ นรายปี
จานวน 30 ปี โดยผูม้ ีเงินได้ดงั กล่าวจะมีเงินได้ปีละ1,000,000บาท และผูม้ ีเงินได้ในกรณี น้ ีจะต้องยืน่ รายการเงิน
ได้และชาระภาษีเงินได้จากเงินกินเปล่าที่เฉลี่ยเป็ นรายปี ตามจานวนปี ของอายุการเช่าของทุกปี ที่เฉลี่ยให้เสร็ จ
สิ้ นไปภายในเดือนมีนาคมของปี ถัดจากปี ที่ได้รับเงินได้พึงประเมินนั้น
สัญญาให้เช่าที่ดินมีกาหนดเวลา 3 ปี เริ่ มวันที่ 1 กันยายน 2560 ถึงวันที่ 31 สิ งหาคม 2563 ได้รับเงิน
กินเปล่าอัตราค่าเช่า 3,600,000 บาทต่อปี
1. ปี 2560 เฉลี่ยค่าเช่า 4 เดือน (1 ก.ย. –
31 ธ.ค. 60) เป็ นเงินได้ 400,000 บาท
2. ปี 2561 เฉลี่ยค่าเช่า 12 เดือน (1 ม.ค. –
31 ธ.ค. 61) เป็ นเงินได้ 1,200,000 บาท
3. ปี 2562 เฉลี่ยค่าเช่า 12 เดือน (1 ม.ค. –
31 ธ.ค. 62) เป็ นเงินได้ 1,200,000 บาท
4. ปี 2563 เฉลี่ยค่าเช่า 8 เดือน (1 ม.ค. –
31 ส.ค. 63) เป็ นเงินได้ 800,000 บาท
นาย ก มีหน้าที่ตอ้ งยืน่ แบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.90 โดยนาเงินค่าเช่าตามส่ วนที่ได้เฉลี่ยไว้ตามแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.93 ไปรวมคานวณเพื่อเสี ยภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดา แล้วจึงนาจานวนภาษีที่ได้เสี ยไว้ตามแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.93 แต่ละฉบับมาหักจากภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่คานวนได้ในแต่ละปี ภาษี
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

Personal Income Tax : PIT


ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
แหล่งเงินได้ทต
ี่ อ ี ภาษี
้ งเสย

 หล ักแหล่งเงินได้ในประเทศ
ผู ้มีเงินได ้เนือ ี ภาษีให ้กับ
่ งจากเหตุใดเหตุหนึง่ ต่อไปนี้ ต ้องเสย
ประเทศไทย ทันที

1 หน ้าทีง่ านทีท
่ าในประเทศไทย หรือ

2 กิจการทีท
่ าในประเทศไทย หรือ

3 กิจการของนายจ ้างในประเทศไทย หรือ

4 ิ ทีอ
ทรัพย์สน ่ ยูใ่ นประเทศไทย
*** ทัง้ นี้ ไม่วา่ เงินได ้ดังกล่าวจะได ้จ่ายในหรือนอกประเทศไทย ***
sbamrungsri@hotmail.co
m
 ม.41 วรรคหนึ่ง
ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
แหล่งเงินได้ทต
ี่ อ ี ภาษี
้ งเสย

 หล ักแหล่งเงินได้นอกประเทศ (หล ักถิน


่ ทีอ
่ ยู)่
ผู ้มีเงินได ้เนือ ี ภาษีให ้กับ
่ งจากแหล่งเงินได ้นอกประเทศไทย ต ้องเสย
ประเทศไทย ต่อเมือ ่

1 เป็ นผู ้อยูใ่ นประเทศไทย (ถึง 180 วัน/ปี ภาษี) และ

2 มีเงินได ้พึงประเมินจาก

 หน ้าทีง่ านทีท ่ าในต่างประเทศ หรือ


 กิจการทีท ่ าในต่างประเทศ หรือ
 ทรัพย์สน ิ ทีอ่ ยูใ่ นต่างประเทศ และ
3 นาเงินได ้เข ้ามาในประเทศไทย (ปี เดียวกับปี ทม
ี่ เี งินได ้)
sbamrungsri@hotmail.co
m
 ม.41 วรรคสอง
20
 ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา
ความหมายของเงินได้พงึ ประเมิน

1 เงินสด หรือตราสารทีม
่ ค
ี า่ เสมือนเงินสด

2 ิ ทีไ่ ด ้รับซงึ่ อาจคิดคานวณได ้เป็ นเงิน


ทรัพย์สน

3 ่ ทีไ่ ด ้รับซงึ่ อาจคิดคานวณได ้เป็ นเงิน


ประโยชน์อย่างอืน

4 เงินค่าภาษีอากรทีผ
่ ู ้จ่ายเงินหรือผู ้อืน
่ ออกแทนให ้

5 เครดิตภาษีเงินปั นผล/สว่ นแบ่งกาไร ตาม ม.47 ทวิ

sbamrungsri@hotmail.co
m
 ม.39
ภำษี เงินได้บคุ คลธรรมดำ

 ประเภทเงินได้ พงึ ประเมิน : 8 ประเภท


• ประเภทที่ 1 ได้แก่เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ไม่วา่ จะเป็ น
- เงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส ฯลฯ
- เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับจากนายจ้าง
- เงินที่คานวณได้จากมูลค่าของการได้อยูบ่ า้ น โดยนายจ้างให้อยูฟ่ รี
- เงินที่นายจ้างจ่ายชาระหนี้ ใดๆ ซึ่ งลูกจ้างมีหน้าที่ตอ้ งชาระ
- เงิน ทรัพย์สิน หรื อประโยชน์ใดๆ ที่ได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน เช่น มูลค่าของ
การได้รับประทานอาหาร รถรับ-ส่ ง ค่าเล่าเรี ยนบุตร ฯลฯ
ภำษี เงินได้บคุ คลธรรมดำ
 ประเภทที่ 2 เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรื อตาแหน่งงานที่ทา หรื อจากการรับทางาน
ให้ ไม่วา่ จะเป็ น (มุ่งถึงผลสาเร็ จของงานเป็ นสาคัญ)
• ค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่ วนลด
• เงินอุดหนุนในงานที่ทา เบี้ยประชุม บาเหน็จ โบนัส
• เงินค่าเช่าบ้านที่ได้รับเนื่องจากหน้าที่หรื อตาแหน่งงานที่ทา
• เงินที่คานวณได้จากมูลค่าที่ได้อยูบ่ า้ น โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าเช่า
• เงินที่ผจู ้ ่ายเงินได้จ่ายชาระหนี้ใดๆ ซึ่ งผูม้ ีเงินได้มีหน้าที่ตอ้ งชาระ
• เงิน ทรัพย์สิน หรื อประโยชน์ใดๆ ที่ได้เนื่องจากหน้าที่งานที่ทา
• หักค่ ำใช้ จ่ำยเป็ นกำรเหมำได้ ร้อยละ 50 แต่ ไม่ เกิน 1 แสนบำท (ประเภทที่ 1+2)
ภำษี เงินได้บคุ คลธรรมดำ
 ประเภทที่ 3
• ค่ ำแห่ งกู๊ดวิลล์ ค่ ำแห่ งลิขสิ ทธิ์ หรือสิ ทธิอย่ ำงอืน่
• หักค่ ำใช้ จ่ำยเป็ นกำรเหมำได้ 50% ไม่ เกิน 1 แสนบำท หรือตำมควำม
จำเป็ นและสมควร
 ประเภทที่ 4
• (ก) ดอกเบีย้
• (ข) เงินปันผล
• (ช) ผลประโยชน์ จำกกำรโอหุ้น ฯลฯ
***หักค่ ำใช้ จ่ำยไม่ ได้
ภำษี เงินได้บคุ คลธรรมดำ
 ประเภทที่ 5 : เงินได้หรื อประโยชน์อย่างอื่นที่ได้รับเนื่องจาก
• (ก) การให้เช่าทรัพย์สิน
• (ข) การผิดสัญญาเช่าซื้ อทรัพย์สิน (กรรมสิ ทธิ์ ยงั ไม่โอน)
• (ค) การผิดสัญญาซื้ อขายเงินผ่อน ซึ่ งผูข้ ายได้รับคืนทรัพย์สินที่ซ้ื อขายนั้นโดยไม่
ต้องคืนเงินหรื อประโยชน์ที่ได้รับไว้แล้ว (กรรมสิ ทธิ์ โอนแล้ว)
• มีสิทธิ หกั ค่าใช้จ่ายตามความจาเป็ นและสมควร หรื อหักเป็ นการเหมา
• บ้าน โรงเรื อน สิ่ งปลูกสร้าง ฯลฯ 30% ยานพาหนะ 30%
• ที่ดินใช้ในการเกษตร 20% มิได้ใช้ในการเกษตร 15% ทรัพย์สินอื่น 10%
• ผิดสัญญาเช่าซื้ อและผิดสัญญาซื้ อขายเงินผ่อน หักเหมาได้อย่างเดียว 20%
ภำษี เงินได้บคุ คลธรรมดำ

 ประเภทที่ 6 : เงินได้จากวิชาชีพอิสระ
• 1. วิชากฎหมาย 2. การประกอบโรคศิลปะ 3. วิศวกรรม
• 4. สถาปัตยกรรม 5. การบัญชี 6. ประณี ตศิลปกรรม
• หักค่าใช้จ่ายได้ตามความจาเป็ นและสมควร หรื อ
• หักเป็ นการเหมาดังต่อไปนี้
• กำรประกอบโรคศิลปะ 60%
• วิชำชีพอิสระอืน่ 30%
ภำษี เงินได้บคุ คลธรรมดำ

 ประเภทที่ 7 :
• เงินได้จากการรับเหมาที่ผรู ้ ับเหมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระใน
ส่ วนสาคัญนอกจากเครื่ องมือ เช่น การรับจ้างทาสี โดยผูร้ ับจ้างจัดหาสี ให้
ด้วย แต่หากผูว้ า่ จ้างเป็ นเป็ นผูจ้ ดั สี มาให้เข้าลักษณะเป็ นการรับทางานให้
• หักค่าใช้จ่ายตามความจาเป็ นและสมควร หรื อ
• หักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมา 60%
ภำษีเงินได้ บุคคลธรรมดำ
 ประเภทที่ 8 :
• เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิ ชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ ง
การขายอสังหาริ มทรัพย์ หรื อการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ในประเภทที่ 1-7
• การหักค่าใช้จ่ายให้เลือกหักได้
• ก. ตามความจาเป็ นและสมควร หรื อ
• ข. หักเป็ นการเหมาในอัตราร้อยละ (สู งสุ ดไม่ เกิน 60%)
กรณีนักแสดงฯ เงินได ้สว่ นทีไ่ ม่เกิน 300,000 บาท หักได ้ร ้อยละ 60 สาหรับ
สว่ นทีเ่ กิน 300,000 บาท หักได ้ร ้อยละ 40
่ าหนดไว ้ตาม พรฎ.11 ต ้องหักค่าใชจ่้ ายจริงเท่านัน
(*** กิจการนอกเหนือจาก 43 ประเภท ทีก ้
***)
29
30
31
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน


ผูม
้ เี งินได้ ห ัก 60,000 บาท


สามี/ภริยา
 ชอบกฎหมาย
 ไม่มเี งินได้
 มีเงินได้แต่รวมคานวณ ห ัก 60,000 บาท
 ผูม้ เี งินได้มไิ ด้อยูใ่ นประเทศ
ไทยห ักได้เฉพาะคูส ่ มรสทีอ
่ ยู่
ในประเทศไทย
 ห ักได้ตลอดปี ภาษี

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ก) (ข)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน


เงือ
่ นไข
เกณฑ์การห ักลดหย่อนและยกเว้นเงินได้  ต้องไม่มเี งินได้ตงแต่
ั้ 30,000 บาท
ขึน้ ไป (ไม่รวมเงินได้ทไี่ ด้ร ับกเว้น)

 ห ักได้ตลอดปี ภาษี

บุตร ห ักคนละ 30,000 บาท
 ผูม
้ เี งินได้มไิ ด้เป็นผูอ
้ ยูใ่ นประเทศ
ไทยห ักได้เฉพาะบุตรทีอ ่ ยูใ่ น
ประเทศไทย
ประเภทบุตร
 กรณีมบ ี ตุ รประเภทที่ 1 และ 2 ให ้หัก
1. บุตรชอบกฎหมาย หรือบุตรชอบกฎหมายของสามี บุตรประเภทที่ 1 ก่อน แล ้วจึงหักบุตร
หรือภริยาของผูม
้ เี งินได้ (ห ักได้ทก
ุ คน) ประเภทที่ 2 เว ้นแต่มบ ี ต
ุ รประเภทที่ 1
ทีม ี วี ต
่ ช ิ อยูต
่ งั ้ แต่ 3 คนขึน้ ไป จะหัก
2. บุตรบุญธรรม (ห ักได้ 3 คน)
บุตรประเภทที่ 2 ไม่ได ้ แต่ถ ้าบุตร
ประเภทที่ 1 ไม่ถงึ 3 คน ให ้นาบุตร
ประเภทที่ 2 มาหักได ้ แต่รวมแล ้วต ้อง
คุณสมบ ัติบต
ุ ร ไม่เกิน 3 คน

1. อายุไม่เกิน 25 ศก ึ ษามหาวิทยาล ัย/อุดมศก ึ ษา หรือ ** นั บเฉพาะบุตรทีม ี วี ต


่ ช ิ ตามลาดับอายุ
สูงสุด ไม่วา่ จะอยูใ่ นเกณฑ์หักได ้หรือไม่
2. ผูเ้ ยาว์ (อายุไม่ถงึ 20 ปี /ไม่บรรลุนติ ภิ าวะโดยการสมรส) หรือ ก็ตาม ***
3. ไร้หรือเสมือนไร้ความสามารถ (ศาลสง่ ั )

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ค)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

เกณฑ์การห ักลดหย่อน ั
ข้อสงเกต

 บุตรคนแรกห ักได้ 30,000 บาท


เสมอ ไม่วา
่ จะเกิดในปี ใดก็ตาม

บุตรตงแต่
ั้ คนที่ 2 ห ักเพิม
่ คนละ 30,000 บาท  บุตรตงแต่
ั้ คนทีส
่ อง
เฉพาะทีเ่ กิดในหรือหล ังปี 61
เท่านน ั้ ถึงจะห ักเพิม
่ ได้อก

30,000 บาท

ประเภทบุตร  การน ับลาด ับบุตรเพือ


่ ห ัก
ให้เรียงน ับทุกคนไม่วา่ จะมีชวี ต
ิ อยู่
หรือไม่ก็ตาม
1. บุตรชอบด้วยกฎหมายของผูม
้ เี งินได้ หรือบุตรชอบกฎหมาย
ของสามีหรือภริยาของผูม
้ เี งินได้ ิ ธิห ักบุตรกรณีปกติแล้ว
 ถ้าไม่สท
ไม่ตอ้ งพิจารณาเพือ ่ ห ักบุตรตงแต่
ั้
2. ตงแต่
ั้ คนที่ 2 เป็นต้นไป ทีเ่ กิดในหรือหล ังปี 61 คนที่ 2 แต่อย่างใด

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ค)
ค่ ำฝำกครรภ์ และค่ ำคลอดบุตร

35
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

เท่าทีจ
่ า่ ยแต่ไม่เกิน
ง ประก ันชวี ต
ิ ห ัก
10,000 บาท

 กรมธรรม์ 10 ปี ขึน ้ ไป
 ผูม ้ เี งินได้เป็นผูเ้ อาประก ัน สว่ นทีเ่ กิน 10,000 บาท
 ผูร้ ับประก ันประกอบกิจการ ยกเว้นเท่าทีจ ่ า่ ยได้อก

ในไทย ไม่เกิน
 ความเป็นสามีภริยามีตลอดปี
ห ักลดหย่อนเบีย ้ ประก ันของ 90,000 บาท
สามีภริยาทีไ่ ม่มเี งินได้
ได้ดว้ ยเชน ่ ก ัน ั้ ไ้ ม่เกินเงินได้หล ังจากห ัก
ทงนี
ค่าใชจ ้ า่ ยแล้ว โดยนาไปห ัก
หล ังจากห ักค่าใชจ ้ า่ ย

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ง)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

เท่าทีจ
่ า่ ยในอัตรา 15%
ของเงินได ้พึงประเมิน
ประก ันชวี ต
ิ แบบบานาญ ยกเว้น แต่ไม่เกิน
200,000 บาท
กรมธรรม์ 10 ปี ขึน ้ ไป
ผู ้รับประกันประกอบกิจการในไทย
กรณีมก ี ารจ่ายสะสมกองทุน
กาหนดจ่ายผลประโยชน์เงินบานาญ
สารองเลีย้ งชพี หรือ กบข. หรือ
รายงวดสมา่ เสมอ โดยจ่ายเท่ากัน กองทุนฯ ครูเอกชน หรือซอ ื้ RMF
ทุกงวดหรือสด ั สว่ นทีเ่ พิม
่ ตามระยะ ่ รวมกับประกันชวี ต
เมือ ิ แบบ
เวลาเอาประกันก็ได ้ บานาญจะต ้องไม่เกิน
จ่ายผลประโยชน์เงินบานาญเมือ ่ ผู ้มีเงิน
ได ้อายุ 55 ปี ขน
ึ้ ไป ถึง 85 หรือกว่านัน้
และผู ้มีเงินได ้ต ้องจ่ายเบีย
้ ประกันครบ 500,000 บาท
ก่อนรับผลประโยชน์เงินบานาญ

sbamrungsri@hotmail.com
 กท.126 ข ้อ 2 (61) วรรคสอง
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

ประก ันสุขภาพ
 ประก ันสุขภาพให้ก ับบิดามารดา เท่าทีจ
่ า่ ยแต่ไม่เกิน
ของผูม ้ เี งินได้และบิดามารดาของ ยกเว้น
15,000 บาท
คูส
่ มรส
 บิดามารดาแต่ละคนต้องมีเงินได้
ไม่เกิน 30,000 บาท
นาไปห ักหล ังจากห ัก
 ยกเว้นได้ตลอดปี ภาษี
้ า
ค่าใชจ ่ ย
 หากผูม้ เี งินได้หลายคนมีสท ิ ธิ
ยกเว้น ให้เฉลีย ่ เบีย้ ประก ันตาม
สว่ นจานวนผูม ้ เี งินได้ เพือ
่ ยกเว้น

sbamrungsri@hotmail.com
 กท.126 ข ้อ 2 (76)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

ประก ันสุขภาพ
 เงินได ้เท่าทีผ
่ ู ้มีเงินได ้จ่ายเป็ น ยกเว้น
เท่าทีจ
่ า่ ยแต่ไม่เกิน
เบีย
้ ประกันภัยสาหรับการประกัน 25,000 บาท
สุขภาพของผู ้มีเงินได ้
 รวมกับค่าลดหย่อน+ยกเว ้น
ประกันชวี ติ ปกติ และเงินฝากที่ นาไปห ักหล ังจากห ัก
อาศัยความทรงชพ ี หรือมรณะของ ้ า
ค่าใชจ ่ ย
ผู ้ฝากเงิน ต ้องไม่เกิน 100,000
บาท

sbamrungsri@hotmail.com
 กท.126 ข ้อ 2 (97)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

เท่าทีจ
่ า่ ยแต่ไม่เกิน
ช กองทุนสารองเลีย ี
้ งชพ ห ัก 10,000 บาท

สว่ นทีเ่ กิน 10,000 บาท


กรณีความเป็นสามีภริยามีตลอดปี ยกเว้นเท่าทีจ ่ า่ ยได้อก

และไม่มเี งินได้ ห ักลดหย่อน เงินที่ ไม่เกิน
สามีหรือภริยาจ่ายสะสมเข้ากองทุนฯ
่ ก ัน
ได้เชน
490,000 บาท

โดยนาไปห ัก
้ า่ ย
ก่อนห ักค่าใชจ

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ช)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

กองทุนรวมเพือ ่ การเลีย ้ งชพ ี


เท่าทีจ ่ า่ ยซอ ื้
RMF (หลักการคือการออมทรัพย์) ไม่เกิน 30% ของ
เงินได ้พึงประเมิน
ยกเว้น ทีต่ ้องเสย ี ภาษี
 ต ้องถือหน่วยลงทุนไม่น ้อยกว่า 5 ปี เฉพาะสว่ นทีไ่ ม่เกิน
นับแต่ซอ ื้ ครัง้ แรกและไถ่ถอนเมือ
่ อายุ 500,000 บาท
ไม่ตา่ กว่า 55 ปี บริบรู ณ์
ื้ ขัน
 ซอ ้ ตา่ ไม่มแ
ี ล ้ว
โดยนาไปห ัก
 รวมกับกองทุนสารองเลีย ี , กบข.,
้ งชพ ้ า
หล ังจากห ักค่าใชจ ่ ย
และกองทุนฯ ครูเอกชน ไม่เกิน
500,000 บาท

ซอื้ ขัน
้ ตา่ ไม่น ้อยกว่า 3% ของเงินได ้ หรือ
ไม่น ้อยกว่า 5,000 บาท และไม่เกิน 15% ถูกยกเลิก
sbamrungsri@hotmail.com
 กท.126 ข ้อ 2 (55)
www.themegallery.com
www.themegallery.com
www.themegallery.com
แกไขโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได(ฉบับที่
414)ฯ ใหใชบังคับสําหรับเงินได พึงประเมินประจําป พ.ศ. 2565
ขอ ๘ การไดรับยกเวนภาษีเงินได สําหรับเงินไดเทาทีไ่ ดจายเปนคาซื้อหนวย
ลงทุนใน กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพตามประกาศนี้ ตองเปนไปตามหลักเกณฑและ
วิธีการ ดังตอไปนี้
(๑) กรณีการซื้อหนวยลงทุนตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕
เปนตนไป ผูมีเงินไดตองแจงความประสงคที่จะใชสิทธิยกเวนภาษีเงินไดตอบริษัท
หลักทรัพยจัดการกองทุนรวม ที่ตนไดซื้อหนวยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ
(๒) กรณีการซื้อหนวยลงทุนกอนวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ผูมีเงินได
ตองมีหนังสือรับรองการซื้อหนวยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพจากบริษัท
หลักทรัพยจัดการ กองทุนรวมที่แสดงไดวามีการจายเงินเขากองทุนรวมเพื่อการ
เลี้ยงชีพดังกลาว www.themegallery.com
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

กองทุนรวมเพือ ่ การออม
SSF (หลักการคือการลงทุน) เท่าทีจ ื้
่ า่ ยซอ
ไม่เกิน 30% ของ
ยกเว้น เงินได ้พึงประเมิน
เฉพาะสว่ นทีไ่ ม่เกิน
 ต ้องถือหน่วยลงทุนต่อเนือ
่ งไม่น ้อยกว่า
ื้
10 ปี นับแต่ซอ 200,000 บาท
 ยกเว ้นเท่าทีจ
่ า่ ยจานวน 500,000 บาท
ไม่รวมกองทุนสารองเลีย ี , กบข.,
้ งชพ โดยนาไปห ัก
และกองทุนฯ ครูเอกชน เหมือน RMF
้ า
หล ังจากห ักค่าใชจ ่ ย
ใช ้ 2563-2567

sbamrungsri@hotmail.com
 กท.126 ข ้อ 2 (66)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

เท่าทีจ
่ า่ ยแต่ไม่เกิน

กบข. ยกเว้น 500,000 บาท

้ า
ห ักก่อนห ักค่าใชจ ่ ย

กองทุนฯ ร.ร.เอกชน

ผอ./ผู ้บริหาร/ครู หรือบุคลากร เท่าทีจ


่ า่ ยแต่ไม่เกิน
ทางการศก ึ ษาโรงเรียนเอกชน ยกเว้น 500,000 บาท
จ่ายเงินสะสมเข ้ากองทุนฯ
ร.ร.เอกชน ้ า
ห ักก่อนห ักค่าใชจ ่ ย

sbamrungsri@hotmail.com
 กท.126 ข ้อ 2 (43) (54)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

ซ ้ เงินกูย
ดอกเบีย ้ ม
ื ห ัก 10,000 บาท

จ่ายธนาคาร สถาบันการเงิน
บริษัทประกันชวี ต ิ สหกรณ์ สว่ นทีเ่ กิน 10,000 บาท
นายจ ้าง ยกเว้นเท่าทีจ ่ า่ ยได้อก

เพือ
่ ซอื้ เชา่ ซอ
ื้ อาคาร อาคาร ไม่เกิน
พร ้อมทีด ่ น
ิ ห ้องชุด หรือเพือ ่
สร ้างอาคารอยูอ ่ าศัยบนทีด่ น ิ 90,000 บาท
ตนเองหรือทีด ่ น
ิ ทีต่ นเอง
มีสทิ ธิครอบครอง
โดยนาไปห ักหล ังจาก
้ า่ ยแล้ว
ห ักค่าใชจ

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ซ)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

ฌ ั
ประก ันสงคม
เท่าทีจ
่ า
่ ยสมทบ

กรณีความเป็ นสามีภริยา ตามกฎหมาย


ห ัก
มีตลอดปี และไม่มเี งินได ้ ั
ประก ันสงคม (ไม่เกิน
หักลดหย่อน เงินทีส
่ ามีหรือ 9,000 บาท)
ภริยาจ่ายสมทบประกันสงั คม ปี 2565 = 6,300 บาท
่ กัน
ได ้เชน

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ฌ)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

ญ คนละ 30,000 บาท


อุปการะบิดามารดา ห ัก

บิดามารดาทีม
่ ส ิ ธินามาห ัก
ี ท
หล ักเกณฑ์การห ัก
1. บิดามารดาของผูม้ เี งินได้ * มีหลักฐานการอุปการะ (ล.ย.03)
2. บิดามารดาของคูส
่ มรส
* หลายคนอุปการะ ให ้ผู ้มีเงินได ้
ทีม
่ ห ิ ธิหัก
ี ลักฐานเป็ นผู ้มีสท
* หักได ้ตลอดปี ภาษี
เงือ
่ นไขของบิดามารดาทีจ
่ ะนามาห ัก * ผู ้มีเงินได ้มิได ้อยูใ่ นประเทศไทย
หักได ้เฉพาะบิดามารดาทีอ ่ ยูใ่ น
้ ไป และ
1. อายุ 60 ปี ขึน ประเทศไทย
2. มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาท (รวมเงินได้ยกเว้น) และ
* ต ้องระบุเลขประจาตัวประชาชน
3. อยูใ่ นความอุปการะของผูม้ เี งินได้

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ญ)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน



อุปการะผูพ
้ ก
ิ าร/ทุพพลภาพ ห ัก คนละ 60,000 บาท

เงือ
่ นไขการห ัก
บุคคลทีม
่ ส ิ ธินามาห ัก
ี ท
* เป็ นคนพิการ มีบต ั รประจาตัวฯ
ทีร่ ะบุผู ้มีเงินได ้เป็ นผู ้ดูแล หรือเป็ น
1. บุคคลทีม
่ ค ั ันธ์ (ห ักได้ทก
ี วามสมพ ุ คน) คนทุพพลภาพทีแ ่ พทย์รับรองว่า
จากัดหรือขาดความสามารถประกอบ
1) บิดามารดา/สามีหรือภริยา/บุตรชอบ กิจวัตร หรือเจ็บป่ วยต่อเนือ ่ งไม่น ้อย
กฎหมาย/บุตรบุญธรรมของผูม้ เี งินได้ กว่า 180 วัน และ
2) บิดามารดา/บุตรชอบกฎหมายของ * มีรายได ้ไม่เกิน 30,000 บาท
คูส
่ มรส โดยไม่รวมเงินได ้ทีไ่ ด ้รับยกเว ้น

ั ันธ์ * อยูใ่ นความอุปการะของผู ้มีเงินได ้


2. บุคคลอืน
่ ทีไ่ ม่มค
ี วามสมพ
* ผู ้มีเงินได ้มิได ้เป็ นผู ้อยูใ่ นประเทศไทย
(ห ักได้คนเดียว) หักได ้เฉพาะผู ้พิการ/ทุพพลภาพทีอ
่ ยู่
ในประเทศไทย

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ฎ)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

บริจาค
พรรคการเมือง ตามจานวน
ทีจ
่ า่ ยจริง
ห ัก
เงินทีบ
่ ริจาคแก่พรรคการเมือง
แต่รวมกันไม่เกิน
ิ หรือประโยชน์
หรือเงิน ทรัพย์สน
อืน
่ ใดทีใ่ ห ้เพือ
่ สนับสนุนการจัด 10,000 บาท
กิจกรรมระดมทุนของ
พรรคการเมือง

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (1) (ฏ)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

เงินบริจาค
เท่าทีบ
่ ริจาค
 สถานพยาบาลและสถาน แต่ไม่เกิน 10%
ึ ษาราชการ
ศก ห ัก
ของเงินทีเ่ หลือ
ึ ษา กม.โรงเรียน
 สถานศก
เอกชน สถาบันอุดมศกึ ษา หลังจากหัก
 องค์การ สถานสาธารณกุศล
่ วัด
ที่ รมว.ประกาศ เชน
ลดหย่อนอืน

สภากาชาดไทย เป็ นต ้น

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (7)
เงินบริจำคให้ แก่ สถำนศึกษำ/อืน่ ๆ
พรฎ.420/2547
• เงินบริจำคให้ แก่ สถำนศึกษำ/อืน่ ๆ
• 1. เงินที่จ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษาให้แก่สถานศึกษาของทางราชการ สถานศึกษาของ
องค์การของรัฐบาล โรงเรี ยนเอกชนที่ต้งั ขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรี ยนเอกชน สถาบันอุดมศึกษา
เอกชนที่ต้งั ขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนหรื อสถาบันอุดมศึกษาซึ่งคณะกรรมการ
พัฒนาการจัดการศึกษาโดยสถาบันอุดมศึกษาที่มีศกั ยภาพสูงจากต่างประเทศ อนุมตั โิ ดยความเห็นชอบของ
คณะรัฐมนตรีตามคาสังหั่ วหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติท่ี 29/2560 เรื่องการส่งเสริมการจัดการศึกษาโดย
สถาบันอุดมศึกษาทีม่ ศี กั ยภาพสูงจากต่างประเทศลงวันที2่ 6พฤษภาคม พุทธศักราช 2560 เป็ นจานวน 2 เท่ำ
ของรายจ่ายทีจ่ ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษาแต่ตอ้ งไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้พงึ ประเมินหลังจากหัก
ค่าใช้จ่ายและ หักค่าลดหย่อน ทัง้ นี้เงินได้ทจ่ี ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายเพือ่ สนับสนุนการศึกษา ให้ แก่ สถาบันอุดมศึกษาซึง่
คณะกรรมการพัฒนาการจัดการศึกษาโดยสถาบันอุดมศึกษาทีม่ ศี กั ยภาพสูงจากต่างประเทศอนุมตั โิ ดยความ
เห็นชอบ ของคณะรัฐมนตรีทไ่ี ด้กระทาตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561
สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 54
เงินบริจำคให้ แก่สถำนศึกษำ/อืน่ ๆ
พรฎ.420/2547
• 1.1 ต้องเป็นค่าใช้จ่ายสาหรับ
• (1) การจัดหาหรือจัดสร้างอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือที่ดิน ให้แก่สถานศึกษาเพื่อใช้ประโยชน์ทาง
การศึกษา
• (2) จัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อการศึกษา แบบเรียน ตารา หนังสือทางวิชาการ สื่อ และเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาให้แก่สถานศึกษาตามที่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกาหนด
• (3) จัดหาครู อาจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา หรือเป็นทุนการศึกษา การประดิษฐ์ การพัฒนา
การค้นคว้าหรือการวิจัยสาหรับนักเรียน นิสิต หรือนักศึกษาของสถานศึกษา
• 1.2 ต้องเป็นโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบได้แก่สถานศึกษาตามโครงการพระราชดาริ
สถานศึกษาตามนโยบายที่จะระดมพลังเพื่อเร่งรัดปรับปรุงคุณภาพและสถานศึกษาที่รองรับการพัฒนา
เด็กด้อยโอกาสเด็กพิการ
• 1.3 เป็นการบริจาคให้แก่สถานศึกษาตามรายชื่อสถานศึกษา ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด
• 1.4 ผู้บริจาคต้องมีหลักฐานจากสถานศึกษาที่พิสูจน์ได้ว่าเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษาตาม
55
โครงการที่กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความเห็นชอบ สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์
คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั แิ ละเห็นชอบ

• 1. เรื่อง ร่ำงพระรำชกฤษฎีกำออกตำมควำมในประมวลรัษฎำกร ว่ำด้วยกำรยกเว้นรัษฎำกร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มำตรกำร


ภำษี เพือ่ สนับสนุ นกำรศึกษำ)

คณะรัฐมนตรีมีมติอนุ มตั แิ ละเห็นชอบ ดังนี้
1. อนุ มตั ิหลักกำรร่ำงพระรำชกฤษฎีกำออกตำมควำมในประมวลรัษฎำกร ว่ำด้วยกำรยกเว้น
รัษฎำกร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตำมที่กระทรวงกำรคลังเสนอ และให้สง่ สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำตรวจ
พิจำรณำเป็ นเรื่องด่วน แล้วดำเนิ นกำรต่อไปได้
2. เห็นชอบมอบหมำยให้กระทรวงศึกษำธิกำรและกระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจยั และ
นวัตกรรม (อว.) ร่วมขับเคลื่อนและสร้ำงกำรรับรูแ้ ละควำมเข้ำใจมำตรกำรภำษี เพือ่ สนับสนุ นกำรศึกษำ และร่วม
ติดตำมและประเมินประโยชน์ท่ไี ด้รบั จำกมำตรกำรนี้ เพือ่ กำรจัดทำรำยงำนเปรียบเทียบประโยชน์ท่ไี ด้รบั กับกำร
สูญเสียรำยได้ท่เี กิดขึ้นจริงกับประมำณกำรตำมมำตรำ 27 แห่งพระรำชบัญญัติวนิ ัยกำรเงินกำรคลังของรัฐ พ.ศ.
2561 รวมทัง้ ร่วมส่งเสริมและสนับสนุ นให้สถำนศึกษำทุกแห่งใช้ระบบบริจำคอิเล็กทรอนิ กส์ (e- Donation)
ของกรมสรรพำกร เพือ่ อำนวยควำมสะดวกให้แก่ผูบ้ ริจำคและสถำนศึกษำตำมที่ระทรวงกำรคลังเสนอและให้
กระทรวงศึกษำธิกำรและกระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรมดำเนิ นกำรต่อไป
สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 56
คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั แิ ละเห็นชอบ

• สำระสำคัญของเรื่อง
1. ร่ ำงพระรำชกฤษฎีกำฯ ทีก่ ระทรวงกำรคลัง (กค.) เสนอ มีสำระสำคัญ ดังนี้
1.1 กำหนดให้ ยกเลิกพระรำชกฤษฎีกำออกตำมควำมในประมวลรัษฎำกร ว่ ำด้ วยกำรยกเว้ นรัษฎำกร (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2547
และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม [เนื่องจำกพระรำชกฤษฎีกำดังกล่ำวไม่ ได้ กำหนดให้ สถำนศึกษำทีต่ ้ังขึน้ ในประเทศไทยตำมสนธิสัญญำหรือควำมตกลง
ระหว่ ำงรัฐบำลไทยกับทบวงกำรชำนัญพิเศษแห่ งสหประชำชำติเป็ นสถำนศึกษำทีไ่ ด้ รับบริจำค และพระรำชกฤษฎีกำออกตำมควำมในประมวล
รัษฎำกร ว่ ำด้ วยกำรยกเว้ นรัษฎำกร (ฉบับที่ 713) พ.ศ. 2563 (สิ้นสุ ดลงเมือ่ วันที่ 31 ธันวำคม 2564) ไม่ ได้ กำหนดให้ สถำบันอุดมศึกษำซึ่ง
คณะกรรมกำรพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำโดยสถำบันกำรศึกษำทีม่ ศี ักยภำพสู งจำกต่ ำงประเทศอนุมตั ิ โดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีฯ เป็ น
สถำนศึกษำทีไ่ ด้ รับกำรบริจำค ดังนั้น เพือ่ ให้ ประเภทของสถำนศึกษำครบถ้ วนและไม่ เกิดควำมซ้ำซ้ อน จึงกำหนดให้ ยกเลิกพระรำชกฤษฎีกำฯ
(ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2547 และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม และยกร่ ำงพระรำชกฤษฎีกำฉบับนีข้ นึ้ เพือ่ ให้ รวมสถำนศึกษำทั้ง 5 ประเภท ไว้ ในฉบับเดียวกัน
รวมทั้งกำหนดให้ กำรบริจำคให้ แก่สถำนศึกษำ เพือ่ สนับสนุนกำรศึกษำดังกล่ำวไม่ จำเป็ นต้ องเป็ นโครงกำรที่ ศธ. ให้ ควำมเห็นชอบ]
1.2 กำหนดสิ ทธิประโยชน์ ทำงภำษี โดยยกเว้ นภำษีเงินได้ ภำษีมูลค่ ำเพิม่ ภำษีธุรกิจเฉพำะ และอำกรแสตมป์ ให้ แก่ผู้บริจำคที่
เป็ นบุคคลธรรมดำหรือบริษทั หรือห้ ำงหุ้นส่ วนนิติบุคคล สำหรับกำรบริจำคเงินหรือทรัพย์ สินให้ แก่ 1) สถำนศึกษำของรัฐ 2) โรงเรียนเอกชน
แต่ ไม่ รวมถึงโรงเรียนนอกระบบ 3) สถำบันอุดมศึกษำเอกชน 4) สถำนศึกษำทีต่ ้ังขึน้ ในประเทศไทยตำมสนธิสัญญำหรือควำมตกลงระหว่ ำง
รัฐบำลไทยกับทบวงกำรชำนัญพิเศษแห่ งสหประชำชำติ ได้ แก่ สถำบันเทคโนโลยีแห่ งเอเชีย (AIT) และ 5) สถำบันอุดมศึกษำ ซึ่งคณะกรรมกำร
พัฒนำกำรจัดกำรศึกษำโดยสถำบันกำรศึกษำทีม่ ศี ักยภำพสู งจำกต่ ำงประเทศอนุมตั ิ โดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีฯ ได้ แก่ มหำวิทยำลัย
ซีเอ็มเคแอล (CMKL) และมหำวิทยำลัยอมตะ โดยให้ หักลดหย่ อนหรือหักเป็ นรำยจ่ ำยได้ 2 เท่ ำของจำนวนเงินบริจำค สำหรับกำรบริจำค
ผ่ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation) ของกรมสรรพำกร ตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกรำคม 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม 2567
สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 57
• 2. เงินบริจำค
• 2. เงินบริจำค ทีไ่ ด้รับสิ ทธิให้ ยกเว้นเงินได้พงึ ประเมินหลังจำก หักค่ำใช้ จ่ำยและหักค่ำลดหย่อนตำมมำตรำ
47 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) แห่ งประมวลรัษฎำกร เป็ นจำนวน 2 เท่ ำของจำนวนเงินทีบ่ ริจำคแต่ เมือ่ รวม
กับเงินได้ ที่ได้ รับยกเว้ นสำหรับกำรจ่ ำยเป็ นค่ ำใช้ จ่ำยเพือ่ สนับสนุนกำรศึกษำสำหรับโครงกำรที่
กระทรวงศึกษำธิกำรให้ ควำมเห็นชอบต้ องไม่ เกินร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังจำก หักค่ ำใช้ จ่ำย
และหักค่ ำลดหย่ อน ได้ แก่
• 2.1กำรบริจำคให้ แก่ กองทุนพัฒนำสื่ อปลอดภัยและสร้ ำงสรรค์ ตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยกองทุนพัฒนำ
สื่ อปลอดภัยและสร้ ำงสรรค์ กองทุนส่ งเสริมงำนวัฒนธรรมตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยวัฒนธรรมแห่ งชำติ กองทุน
ส่ งเสริมศิลปะร่ วมสมัยตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยส่ งเสริมศิลปะร่ วมสมัยกองทุนส่ งเสริมงำนจดหมำยเหตุตำม
กฎหมำยว่ ำด้ วยจดหมำยเหตุแห่ งชำติ หรือกองทุนโบรำณคดีตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยโบรำณสถำน
• โบรำณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพธิ ภัณฑสถำนแห่ งชำติ ตำม พ.ร.ฎ.(ฉบับที่ 615) พ.ศ. 2559
• 2.2กำรบริจำคให้ แก่ กองทุนยุติธรรมตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยกองทุนยุติธรรมตำมพ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 651)
พ.ศ. 2561
• 2.3 กำรบริจำคให้ แก่สถำนพยำบำลของทำงรำชกำรสำมำรถนำมำหักลดหย่อนหรือรำยจ่ ำยได้ ทั้งนี้
สำหรับกำรบริจำคตั้งแต่ วันที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2561 เป็ นต้ นไปตำม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 663) พ.ศ. 2561 และให้
เป็ นไปตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงือ่ นไขทีอ่ ธิบสุดีเทพปพงษ์ระกำศก
พทิ กั ษ์ ำหนด
3. เงินบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)
• 3. เงินบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)
• 3.1กำรบริจำคให้ แก่ สำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเพือ่ สนับสนุนกำรปฏิบตั ิภำรกิจเกีย่ วกับกำรป้ องกัน
ระงับยับยั้งกำรแพร่ ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ2019(COVID-19)สำมำรถนำมำหักเป็ นค่ ำ
ลดหย่ อนได้ เท่ ำจำนวนทีบ่ ริจำคแต่ เมือ่ รวมกับเงินบริจำคตำมมำตรำ 47 (7) แห่ งประมวลรัษฎำกรแล้ ว ต้ อง
ไม่ เกินร้ อยละ 10 ของเงินได้ หลังจำกหักค่ ำใช้ จ่ำยและหักค่ ำลดหย่ อนอืน่ ๆแล้ วสำหรับกำรบริจำคผ่ ำนระบบ
บริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)ทีไ่ ด้ กระทำตั้งแต่ วนั ที่ 6 มีนำคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 5 มีนำคม พ.ศ.
2565 ตำม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 723) พ.ศ. 2564 และทีไ่ ด้ กระทำตั้งแต่ วนั ที่ 6 มีนำคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที3่ 1
ธันวำคม พ.ศ. 2566 ตำม พ.ร.ฎ.(ฉบับที7่ 51) พ.ศ.2565 และประกำศอธิบดีกรมสรรพำกร(ฉบับที่ 43)ลง
วันที่ 10 สิ งหำคม พ.ศ. 2565
• 3.2 กำรบริจำคเงินให้ แก่ สถำบันวัคซีนแห่ งชำติ ได้ เท่ ำจำนวนเงินทีบ่ ริจำค เมือ่ รวมกับเงินบริจำคตำม
มำตรำ 47 (7) แห่ งประมวลรัษฎำกร แล้ วต้ องไม่ เกิน ร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังจำกหักค่ ำใช้ จ่ำย
และหักลดหย่ อนนั้น
• สำหรับกำรบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation) ทีไ่ ด้ กระทำตั้งแต่ วันที่ 1
มกรำคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2566 ตำม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 719) พ.ศ. 2564 และประกำศ
59
อธิบดีกรมสรรพำกร (ฉบับที่ 35) ลงวันที่ 22 กรกฎำคม พ.ศ. 2564
3. เงินบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)

• 3.3 กำรบริจำคเงินให้ แก่ กองทุนส่ งเสริมวิสำหกิจเพือ่ สั งคมสำมำรถนำมำหักเป็ นค่ ำลดหย่ อนได้ เท่ ำจำนวน
ทีบ่ ริจำค แต่ เมือ่ รวมกับ เงินบริจำคตำมมำตรำ 47 (7) แห่ งประมวลรัษฎำกรแล้ ว ต้ องไม่ เกินร้ อยละ 10 ของ
เงินได้ หลังจำกหักค่ ำใช้ จ่ำยและหักค่ ำลดหย่ อนอืน่ ๆแล้ วสำหรับกำรบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์
(e-Donation) ทีไ่ ด้ กระทำตั้งแต่ วนั ที่ 9 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2564 ถึงวันที3่ 1 ธันวำคม พ.ศ. 2566 ตำมพ.ร.ฎ.
(ฉบับที่ 735) พ.ศ. 2564 และประกำศอธิบดีกรมสรรพำกร (ฉบับที่ 38) ลงวันที่ 27 ธันวำคม พ.ศ. 2564
• 3.4 กำรบริจำคให้ แก่ สภำกำชำดไทย เป็ นจำนวน 2 เท่ ำของเงินบริจำค เมือ่ รวมกับเงินบริจำคตำมมำตรำ
47 (7) แห่ งประมวลรัษฎำกรแล้ ว ต้ องไม่ เกินร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังจำกหักค่ ำใช้ จ่ำย และหัก
ลดหย่ อนนั้น
• สำหรับกำรบริจำคให้ แก่ สภำกำชำดไทยต้ องไม่ นำเงินบริจำคทีไ่ ด้ ใช้ สิทธิยกเว้ นภำษีเงินได้ น้ ันไป
หักลดหย่ อนสำหรับเงินบริจำคตำมมำตรำ 47 (7) แห่ งประมวลรัษฎำกร
• สำหรับกำรบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)ทีไ่ ด้ กระทำตั้งแต่ วนั ที่ 1
มกรำคม พ.ศ.2563 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ.2565 ตำมพ.ร.ฎ.(ฉบับที่ 706) พ.ศ.2563 และประกำศอธิบดี
กรมสรรพำกร (ฉบับที่ 19) ลงวันที่ 16 กรกฎำคม สุพ.ศ. 2563
เทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 60
3. เงินบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)
• 3.5 กำรบริจำคให้ แก่ มูลนิธิภัทรมหำรำชำนุสรณ์ ในพระอุปถัมภ์ ฯเป็ นจำนวน 2 เท่ ำของเงินบริจำค เมือ่ รวม
กับเงินบริจำคตำมมำตรำ 47 (7) แห่ งประมวลรัษฎำกรแล้ ว ต้ องไม่ เกิน ร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมิน
หลังจำกหักค่ ำใช้ จ่ำยและหักลดหย่ อนนั้น
• สำหรับกำรบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)ทีไ่ ด้ กระทำตั้งแต่ วนั ที่1 มกรำคม พ.ศ.
2563 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2565 ตำม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 714) พ.ศ. 2563 ทั้งนีต้ ำมหลักเกณฑ์ วิธีกำร
และ เงือ่ นไขที่อธิบดีประกำศกำหนด
• 3.6 กำรบริจำคให้ แก่ กองทุนเพือ่ กำรพัฒนำระบบมำตรวิทยำตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยกำรพัฒนำระบบมำตร
วิทยำแห่ งชำติกองทุนเพือ่ กำรพัฒนำระบบสำธำรณสุ ขตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยสถำบันวิจัยระบบสำธำรณสุ ข
กองทุนเพือ่ กำรพัฒนำวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยีตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยกำรพัฒนำวิทยำศำสตร์ และ
เทคโนโลยี หรือกองทุน ส่ งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยสภำนโยบำย กำร
อุดมศึกษำวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่ งชำติ เป็ นจำนวน 2 เท่ ำ ของเงินบริจำค แต่ เมือ่ รวมกับกำร
บริจำคเงินทีล่ ดหย่ อนได้ 2 เท่ ำอืน่ ๆ ต้ องไม่ เกินร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังจำกหักค่ ำใช้ จ่ำย และ
หักลดหย่ อนอืน่ ๆ แล้ ว
• สำหรับกำรบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)ทีไ่ ด้ กระทำตั้งแต่ วนั ที่ 27 พฤษภำคม
พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2565ตำม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 717) พ.ศ. 2564 ทั้งนีต้ ำมหลักเกณฑ์
สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 61
วิธีกำร และ เงือ่ นไขที่อธิบดีประกำศกำหนด
3. เงินบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)
• 3.7กำรบริจำคให้ แก่ กองทุนเพือ่ ควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำทีไ่ ด้ กระทำตั้งแต่ วันที่1
มกรำคม พ.ศ. 2564 ถึงวันที่31 ธันวำคม พ.ศ. 2566 ได้ เป็ นจำนวน 2 เท่ ำของจำนวนเงินที่
บริจำค แต่ เมือ่ รวมกับกำรบริจำค เงินทีห่ ักลดหย่อนได้ 2 เท่ ำอืน่ ๆ แล้ ว ต้ องไม่ เกินร้ อยละ 10
ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังจำกหักค่ ำใช้ จ่ำยและหักลดหย่อนอืน่ ๆ ตำม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 732)
พ.ศ. 2564 และ ประกำศอธิบดี กรมสรรพำกร เกีย่ วกับภำษีเงินได้ (ฉบับที่ 412) ลงวันที่ 29
ธันวำคม พ.ศ. 2564
• 3.8 กำรบริจำคให้ แก่ศิริรำชมูลนิธิหรือมูลนิธิจุฬำภรณ์ ได้ เป็ นจำนวน 2 เท่ ำของจำนวนเงินที่
บริจำค แต่ เมือ่ รวมกับกำรบริจำค เงินทีห่ ักลดหย่อนได้ 2 เท่ ำอืน่ ๆ แล้ ว ต้ องไม่ เกินร้ อยละ 10
ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังจำกหักค่ ำใช้ จ่ำยและหักลดหย่อนอืน่ ๆ
• สำหรับกำรบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation) ทีไ่ ด้ กระทำตั้งแต่ วนั ที่
30 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2564 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2565 ตำม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 741)
พ.ศ. 2564 และประกำศอธิบดีกรมสรรพำกร สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ (ฉบับที่ 37) ลงวันที่ 27 ธันวำคม พ.ศ.62
2564
3. เงินบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)
• 3.9 กำรบริจำคให้ แก่
• 1) มูลนิธิโรงพยำบำลพระมงกุฎเกล้ำ
• ในพระรำชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี
• 2) มูลนิธิโ รงพยำบำลเวชศำสตร์ เขตร้ อน
• ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้ ำพีน่ ำงเธอ เจ้ ำฟ้ำกัลยำณิวฒ
ั นำ กรมหลวง นรำธิวำสรำชนครินทร์
• 3) มูลนิธิโรคมะเร็ง โรงพยำบำลศิริรำช
• 4) มูลนิธิโรงพยำบำลรำชวิถี
• 5) มูลนิธิสมเด็จพระปิ่ นเกล้ำ
• 6) มูลนิธิโรงพยำบำลสมเด็จพระนำงเจ้ ำสิริกติ ์ิ
• กองทัพเรือ ในพระบรมรำชินูปถัมภ์
• ได้ เป็ นจำนวน 2 เท่ ำของจำนวนเงินที่บริจำค แต่ เมื่อรวมกับ กำรบริจำคเงินที่หักลดหย่ อนได้ 2 เท่ ำอืน่ ๆ แล้ว ต้ องไม่ เกิน
• ร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังจำกหักค่ำใช้ จ่ำยและหักลดหย่ อนอืน่ ๆ
• สำหรับกำรบริจำคผ่ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation) ที่ได้ กระทำตั้งแต่ วนั ที่ 26 เมษำยน พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 31
ธันวำคม พ.ศ. 2565 ตำม พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 754) พ.ศ. 2565 และประกำศอธิบดีกรมสรรพำกร เกีย่ วกับภำษีเงินได้ (ฉบับที่ 42) ลงวันที่
2 สิงหำคม พ.ศ. 2565 สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 63
3. เงินบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)
• 3.10 กำรบริจำคให้ แก่
• 1) มูลนิธิชัยพัฒนำ
• 2) มูลนิธิเทคโนโลยีสำรสนเทศตำมพระรำชดำริ
• สมเด็จพระเทพรัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี
• 3) มูลนิธิรำมำธิบดี ในพระรำชู ปถัมภ์ สมเด็จพระเทพ รัตนรำชสุ ดำฯ สยำมบรมรำชกุมำรี
• ได้ เป็ นจำนวน 2 เท่ ำของจำนวนเงินที่บริจำค แต่ เมือ่ รวมกับ กำรบริจำคเงินทีห่ ักลดหย่อน
ได้ 2 เท่ ำอืน่ ๆ แล้ว ต้ องไม่ เกิน ร้ อยละ 10 ของเงินได้ พงึ ประเมินหลังจำกหักค่ ำใช้ จ่ำยและ
หักลดหย่อนอืน่ ๆ
• สำหรับกำรบริจำคผ่ ำนระบบบริจำคอิเล็กทรอนิกส์ (e-Donation)ทีไ่ ด้ กระทำ
ตั้งแต่ วนั ที่ 26 กรกฎำคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 31 ธันวำคม พ.ศ. 2567 ตำม พ.ร.ฎ (ฉบับที่
756) พ.ศ. 2565 และประกำศอธิบดีกรมสรรพำกร เกีย่ วกับภำษีเงินได้ (ฉบับที่ 45 )ลงวันที่
14 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2565 สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 64
4. เงินบริจำคอืน่ ๆ
• 4. เงินบริจำคอืน่ ๆ ได้แก่ เงินที่หกั เป็ นค่าใช้จ่ายได้เป็ นจำนวน 2 เท่ ำ และหรื อจานวนร้อยละ 100 ของจานวนเงิน
ที่จ่ายจริ ง แต่เมื่อ รวมกับเงินสนับสนุนการศึกษาต้องไม่เกินร้อยละ 10 ทั้งนี้ ต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
• 4.1เงินที่จ่ายให้แก่สถานศึกษาของทางราชการสถานศึกษาขององค์การของรัฐบาลโรงเรี ยนเอกชนหรื อ
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเพื่อใช้ในการจัดหาหนังสื อหรื อสื่ ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่ งเสริ มการอ่าน
พรฎ.515/2554
• 4.2 เงินที่จ่ายให้เป็ นค่าใช้จ่ายในการจัดให้คนพิการได้รับสิ ทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิ่ งอานวยความ
สะดวกอันเป็ นสาธารณะตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ตามกฎหมายว่าด้วย การส่ งเสริ ม
และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการร้อยละ100 ของเงินที่จ่าย
• 4.3 เงินที่จ่ายให้กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการจัดตั้งขึ้น
• 4.4เงินที่จ่ายให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นในการจัดตั้งศูนย์พฒั นาเด็กเล็กหรื อสนับสนุนการดาเนินงาน
ของศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก
• 4.5 เงินที่จ่ายให้แก่โครงการฝึ กอบรมอาชีพและการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการบาบัด แก้ไข ฟื้ นฟู และ
สงเคราะห์เด็กและเยาวชนของสถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชนหรื อศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ
เยาวชน ในกรมพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม
สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 65
เงินบริจำค

• เงินบริจำค ได้แก่ เงินที่บริจาคให้แก่วัดวาอาราม สภากาชาดไทย สถานพยาบาลและ


สถานศึกษาของทางราชการหรือองค์การของรัฐบาลสถานศึกษาเอกชนสถานสา
ธารณกุศลและกองทุนสวัสดิการภายในส่วนราชการและกองทุนฯลฯผู้มีเงินได้มีสิทธิ
หักลดหย่อนเงินบริจาคได้เท่ากับจานวนเงินที่ได้บริจาคจริงในปีภาษี นี้แต่รวมกันต้อง
ไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อนอื่นๆ แล้ว
• คู่สมรสที่ไม่มีเงินได้ จะนาเงินที่ตนบริจาคมาหักค่าลดหย่อนไม่ได้
• กรณีบริจาคเงินร่วมกัน โดยระบุชื่อทั้งผู้มีเงินได้และคู่สมรส ในใบเสร็จรับเงิน
บริจาคแต่ไม่ได้แยกจานวนเงินไว้ ให้ถือว่าบริจาค คนละครึ่ง
• กรณีบริจาคเงินร่วมกัน โดยระบุชื่อบุคคลหลายคนในใบเสร็จ รับเงินบริจาคแต่ไม่ได้
แยกจานวนเงินได้ ให้ถือว่าบริจาคคนละเท่า ๆ กัน
สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 66
เงินบริจำค
• กรณีที่จะหักลดหย่อนเงินบริจาค ได้แก่
• (1) บริจาคการกุศลสาธารณะ สาหรับเงินที่บริจาคแก่สถานพยาบาล สถานศึกษาและสถานสาธารณกุศล ซึ่ง
สามารถตรวจสอบรายชื่อมูลนิธิสมาคมสถานสาธารณกุศลที่มีสิทธิขอลดหย่อนได้ทางเว็บไซต์ของกรมสรรพากร
www.rd.go.th หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์สารนิเทศสรรพากร RD Intelligence Center โทร.1161
• (2)บริจาคให้โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษาสาหรับเงินที่บริจาคให้กองทุนเพื่อโครงการ
อาหารกลางวันในโรงเรียนประถมศึกษา
• (3) บริจาคให้โครงการอาคารเฉลิมพระเกียรติฯ สาหรับ เงินที่บริจาคเพื่อสมทบทุนโครงการอาคารเฉลิมพระ
เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี จังหวัดนครราชสีมา
• (4) บริจาคให้โครงการร้อยใจช่วยเยาวชนไทยในภาวะวิกฤตสาหรับเงินที่บริจาคเพื่อสมทบทุนโครงการร้อยใจ
ช่วยเยาวชน ไทยในภาวะวิกฤต
• (5) บริจาคให้โครงการโพธิ์ทองของชาวไทย สาหรับเงินที่บริจาคเพื่อสมทบทุนโครงการโพธิ์ทองของชาวไทย
• (6) บริจาคให้โครงการปลูกป่าชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรตฯิ สาหรับเงินที่บริจาคเพื่อสมทบทุนโครงการปลูก
ป่าชายเลนถาวรเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสุสิเทพริกพงษ์ิตพิ์พทิ กั ษ์ระบรมราชินีนาถในโอกาส ทรงพระชนมายุ67 72
พรรษา
เงินบริจำค
• (7) บริจำคให้ กองทุนส่ งเสริมและพัฒนำคุณภำพชีวติ คนพิกำร กองทุนส่ งเสริมกำรจัดสวัสดิกำรสั งคม
กองทุนคุ้มครองเด็กหรือกองทุนพัฒนำกีฬำแห่ งชำติทจี่ ัดตั้งขึน้ ตำมมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่16
กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2542
• (8) บริจำคเงินเพือ่ ช่ วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วำตภัย อัคคีภัย หรือภัยธรรมชำติอนื่ ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศ
ไทยตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกรำคม พ.ศ. 2554 เป็ นต้ นไป โดยมีบริษทั หรือห้ ำงหุ้นส่ วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคล อืน่
เป็ นตัวแทนรับเงินทั้งนีใ้ ห้ เป็ นไปตำมหลักเกณฑ์ วธิ ีกำรและเงือ่ นไขที่อธิบดีกรมสรรพำกรประกำศกำหนด
• (9) บริจำคให้ แก่ กองทุนส่ งเสริมงำนวัฒนธรรม
• (10) บริจำคให้ แก่ กำรกีฬำแห่ งประเทศไทย เพือ่ ส่ งเสริมกำรกีฬำ คณะกรรมกำรกีฬำจังหวัดที่จัดตั้งขึน้
ตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยกำรกีฬำ แห่ งประเทศไทย เพือ่ ส่ งเสริมกีฬำในจังหวัด กรมพลศึกษำ เพือ่ กำรจัดกำร
แข่ งขันกีฬำนักเรียนหรือสมำคมกีฬำจังหวัดหรือสมำคมกีฬำแห่ งประเทศไทยที่จัดตั้งขึน้ โดยได้ รับ
อนุญำตจำกกำรกีฬำแห่ งประเทศไทยเพือ่ กำรกีฬำ
• (11) บริจำคให้ กองทุนส่ งเสริมและพัฒนำกำรศึกษำสำหรับคนพิกำร ตำมกฎหมำยว่ ำด้ วยกำรจัดกำรศึกษำ
สำหรับคนพิกำร
• (12) บริจำคให้ กองทุนพัฒนำเทคโนโลยีเพือ่ กำรศึกษำ ทีก่ ระทรวงศึกษำธิกำรจัดตั้งขึน้
สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ 68
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ค่าลดหย่อน & ยกเว้นเสมือนลดหย่อน

 ลดหย่อนกรณีผู ้มีเงินได ้มิได ้เป็ นผู ้อยูใ่ นประเทศไทย


หักได ้เฉพาะสามี/ภริยา/บุตร ทีอ
่ ยูใ่ นประเทศไทย

 ลดหย่อนกรณีผู ้มีเงินได ้ถึงแก่ความตาย


หักได ้เสมือนผู ้ตายมีชวี ต
ิ อยูต
่ ลอดปี ภาษี

 ลดหย่อนกรณีผู ้มีเงินได ้เป็ นกองมรดกทีย


่ ังมิได ้แบ่ง
หักได ้ 60,000 บาท

 ลดหย่อนกรณีผู ้มีเงินได ้เป็ นห ้างหุ ้นสว่ นสามัญและ


คณะบุคคลทีม ่ ต
่ ใิ ชน ิ บ
ิ ค
ุ คล
หักได ้เฉพาะทีเ่ ป็ นผู ้อยูใ่ นประเทศไทย คนละ 60,000 บาท แต่รวมกัน
ไม่เกิน 120,000 บาท
sbamrungsri@hotmail.com
 ม.47 (3) ถึง (6)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

วิธค
ี านวณภาษี

ิ้ ปี
1. การคานวณภาษี สน
วิธท
ี ี่ 1 คานวณจากเงินได้สท
ุ ธิ
เงินได้สท
ุ ธิ = เงินได ้พึงประเมิน – ค่าใชจ่้ าย – ค่าลดหย่อน
ภาษีทต ี
ี่ ้องเสย = เงินได ้สุทธิ x อัตราภาษี

วิธท
ี ี่ 2 คานวณจากเงินได้พงึ ประเมิน (วิธนี ตี้ ้องคานวณหากมีเงินได ้
พึงประเมินประเภทที่ 2 ถึง 8 ตัง้ แต่ 120,000 บาทขึน
้ ไป)

ภาษีทต ี = เงินได ้พึงประเมิน x ร ้อยละ 0.5


ี่ ้องเสย
*** สาหรับวิธท
ี ี่ 2 หากจานวนภาษีทค
ี่ านวณได ้ไม่เกิน 5,000 บาท ให ้ยกเว ้นทัง้ จานวน
*** กรณีทม ี่ ก
ี ารคานวณทัง้ สองวิธ ี ภาษี ทต ี คือ จานวนภาษี ทม
ี่ ้องเสย ี่ ากกว่า ทีไ่ ด ้จากการคานวณ
วิธท
ี ี่ 1 และวิธท
ี ี่ 2

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.48 (1)(2)
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

วิธค
ี านวณภาษี

2. การคานวณภาษี ครึง่ ปี เฉพาะกรณีมเี งินได ้ประเภทที่ 5 ถึง 8


(ไม่รวมเงินกินเปล่า เงินชว่ ยค่าก่อสร ้าง) ทีไ่ ด ้รับตัง้ แต่เดือน ม.ค. ถึง มิ.ย.

(1) วิธก
ี ารคานวณ ่ เดียวกับการคานวณภาษีสน
เชน ิ้ ปี

(2) การหักค่าใชจ่้ าย ่ เดียวกับการคานวณภาษีสน


เชน ิ้ ปี

(3) การหักลดหย่อน หักได ้ครึง่ หนึง่ ของอัตราค่าลดหย่อนทีก


่ าหนด
และทีจ
่ า่ ยไปจริงระหว่างเดือนมกราคม ถึง เดือนมิถน ุ ายน

(4) ภาษี หก
ั ณ ทีจ
่ า่ ย ทีจ่ ะนามาหักในการคานวณต ้องเป็ นภาษี
หัก ณ ทีจ
่ า่ ยระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนมิถน
ุ ายน

ี ถือเป็ นเครดิตภาษี ตอนสน


(5) ภาษี ทเี่ สย ิ้ ปี
sbamrungsri@hotmail.com
 ม.56 ทวิ
ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดาห ัก ณ ทีจ
่ า่ ย
อ ัตราภาษี
กรณีตามมาตรา 48(1)

ขนที
ั้ ่ ่ งเงินได้สท
ชว ุ ธิ เงินได้สท
ุ ธิ อ ัตราภาษี จานวนเงินภาษี

150,000 แรก 150,000 ยกเว ้น 0


1
เกิน 150,000 – 300,000 150,000 5% 7,500
2 เกิน 300,000 - 500,000 200,000 10% 20,000
3 เกิน 500,000 - 750,000 250,000 15% 37,500

4 เกิน 750,000 - 1,000,000 250,000 20% 50,000

5 เกิน 1,000,000 - 2,000,000 1,000,000 25% 250,000

6 เกิน 2,000,000 - 5,000,000 3,000,000 30% 900,000

7 เกิน 5,000,000 35%

ยกเว้นตาม พรฎ.470 72
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

เกณฑ์การยืน
่ แบบ

1. โสด มีเงินได ้เกิน 60,000 บาท


2. โสด มีเงินได ้เฉพาะประเภทที่ 1 เกิน 120,000 บาท
3. สมรส มีเงินได ้เกิน 120,000 บาท
4. สมรส มีเงินได ้เฉพาะประเภทที่ 1 เกิน 220,000 บาท
5. กองมรดกทีย
่ งั มิได ้แบ่ง มีเงินได ้เกิน 60,000 บาท
6. ห ้างหุ ้นสว่ นสามัญหรือคณะบุคคลทีม ่ ต
่ ใิ ชน ิ บ
ิ ค
ุ คล
มีเงินได ้เกิน 60,000 บาท

sbamrungsri@hotmail.com
 ม.56
 ภาษีเงินได้บค
ุ คลธรรมดา

ผูร้ ับผิดชอบในการยืน
่ แบบ
ผูม
้ เี งินได้ ผูม
้ ห
ี น้าทีย
่ น
ื่ แบบ
กรณีปกติ ผู ้มีเงินได ้ หรือมอบอานาจยืน
่ แทน
ผูเ้ ยาว์ ผู ้แทนโดยชอบธรรม
คนไร้ความสามารถ ผู ้อนุบาล
คนเสมือนไร้ความสามารถ ผู ้พิทักษ์
อยูต
่ า่ งประเทศ ผู ้จัดการกิจการ
ถึงแต่ความตายก่อนยืน
่ ผู ้จัดการมรดก/ทายาท/ผู ้ครอบครองทรัพย์มรดก
แบบ
กองมรดก ผู ้จัดการมรดก/ทายาท/ผู ้ครอบครองทรัพย์มรดก
หสม./คณะบุคคล ผู ้อานวยการหรือผู ้จัดการ
สามีภริยา (มีเงินได้สองฝ่าย) ิ ธิยน
ต่างมีสท ื่ เงินได ้ของตัวเอง หรือยืน่ รวมตาม ม.57 ฉ
sbamrungsri@hotmail.com
 ม.48 (1)(2)
ภำษีกำรรับมรดก
•ภาษีจากการรับมรดก ได้แก่ อสังหาริ มทรัพย์ หลักทรัพย์ตามกฎหมาย เงินฝาก ยานพาหนะ
ทรัพย์สินทางการเงิน มูลค่าเกิน 100 ล้านบาท
•บุพการี และผูส้ ื บสันดาน เสี ยภาษี 5%
•บุคคลธรรมดาเสี ยภาษี 10% ของมรดกในส่ วนที่ตอ้ งเสี ยภาษี
•ภาษีจากการรับมรดก ต้องยืน่ แบบเสี ยภาษีภายใน 150 วันนับแต่วนั ที่ได้รับมรดก หากไม่ยนื่
ปรับ 1 เท่าของภาษีที่ตอ้ งชาระ หากยืน่ ไม่ครบถ้วน ปรับ 0.5เท่า ไม่ชาระภาษีให้ครบภายใน
กาหนดเวลา เสี ยเพิ่ม 1.5% ต่อเดือนของเงินภาษีที่ตอ้ งชาระ ไม่รวมเบี้ยปรับ หากไม่ยนื่ แบบ
ปรับไม่เกิน 500,000 บาท หากซ่อนเร้นปิ ดบัสิงทธิทประโยชน์
าลายระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน
400,000 บาท ฯลฯ เกี่ยวกับภาษี

•บุคคลที่ได้รับยกเว้นการเสี ยภาษีได้แก่ ผูท้ ี่ได้รับมรดกจากเจ้ามรดกที่ตายก่อนวันที่กฎหมาย


ใช้บงั คับ คู่สมรส ใช้ในกิจการสาธารณประโยชน์ หน่วยงานของรัฐ องค์การระหว่างประเทศ
สรุปภำษีกำรให้
ผู้โอนเป็ นผู้มเี งินได้ ต้อง
เงินได้ จำกกำรโอนกรรมสิ ทธิ์หรือ หักภำษี 5%
สิ ทธิครอบครองในอสั งหำริมทรัพย์
พ่อแม่ ให้ บุตร โดยไม่ มีค่ำตอบแทน
(ไม่ รวมบุตรบุญธรรม) เป็ นจำนวน > 20 ล้ำนบำท
ตลอดปี ภำษี

เงินได้ ส่วนทีเ่ กินกว่ ำเกณฑ์


ต้ องเสี ยภำษี
เงินได้ ทไี่ ด้ รับจำกกำรอุปกำระหรือ จำกกำรให้ โดยเสน่ หำ
กำรให้ โดยเสน่ หำ  ร้ อยละ 5
เป็ นจำนวน > 20 ล้ำนบำท
จำกบุพกำรี ผู้สืบสันดำนหรือคู่สมรส
ตลอดปี ภำษี
ของเงินได้ หรือ
 รวมคำนวณ
กับเงินได้ อนื่
เงินได้ที่ได้รับจากการอุปการะโดยหน้าที่ธรรมจรรยา
หรือจากการให้โดยเสน่หาเนื่องในโอกาสแห่ง
กำรให้ กรณีอนื่ ขนบธรรมเนียมประเพณี
เป็นจํานวน > 10 ล้านบาท
ตลอดปีภาษี
sbamrungsri@hotmail.co
m
 ม.42 (26) (27) (28)
77

You might also like