You are on page 1of 5

(แบบ 123-1)

้ วนส่วนสรุปข้อมูลสำค ัญ Factsheet
หน ังสือชีช

บริษ ัทหล ักทร ัพย์จ ัดกำรกองทุน เกียรตินำคินภ ัทร จำก ัด ข ้อมูล ณ วันที่ 6 ธันวาคม 2566

กองทุนเปิ ดเคเคพี พ ันธบ ัตรร ัฐบำลไทยเพือ


่ ควำมยง่ ั ยืน
KKP GOVERNMENT BOND THAILAND ESG FUND
KKP GB THAI ESG

ประเภทกองทุนรวม / กลุม
่ กองทุนรวม
กองทุนรวมตราสารหนี้ / กองทุนรวมไทยเพือ ่ ความยั่งยืน / กองทุนรวมเพือ
่ ความยั่งยืน (SRI Fund) / กองทุนรวมทีม ่ ี
นโยบายเปิ ดให ้มีการลงทุนในกองทุนรวมอืน
่ ภายใต ้ บลจ. เดียวกัน / กองทุนทีล่ งทุนแบบไม่มค ่ งต่างประเทศ
ี วามเสีย
ี่ ง
ระด ับควำมเสย
ตำ
่ สูง
กลุม
่ กองทุนรวม : Long Term General Bond
นโยบำยและกลยุทธ์กำรลงทุน 1 2 3 4 5 6 7 8
• กองทุนเป็ นกองทุนตราสารหนี้ทม ี โยบายลงทุนในตราสารหนี้ เงินฝากหรือตราสารเทียบเท่าเงินฝาก ตั๋วสัญญาใช ้เงิน
ี่ น
่ งปำนกลำงค่อนข้ำงตำ
เสีย ่
บั ตรเงินฝาก หรืออาจทาธุรกรรมการซือ ้ โดยมีสัญญาขายคืน (Reverse Repo) หรือธุรกรรมการให ้ยืมหลักทรัพย์โดย
หลั กทรั พย์ที่ให ้ยืมเป็ นตราสารหนี้ โดยเป็ นไปตามหลั กเกณฑ์ที่ส านั กงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. ก าหนด ตลอดจน ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาลเป็ นหลัก โดยเฉลีย
่ ในรอบ
หลั กทรั พย์หรือทรั พย์ส น ิ อืน
่ หรือการหาดอกผลโดยวิธ ีอน ื่ ตามที่ส านั กงาน ก.ล.ต. อนุ ญาตให ้กองทุนลงทุนได ้ ทั ง้ นี้ ปี ไม่น ้อยกว่า 80 % ของ NAV
กองทุนจะลงทุนโดยเฉลี่ยในรอบปี บั ญชีไม่นอ้ ยกว่าร ้อยละ 80 ของ NAV ในตราสารหนี้ภาครัฐไทย อาทิ ตั๋วเงินคลัง
พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรธนาคารแห่งประเทศไทย หรือพันธบัตรหรือตราสารหนี้ทก ี่ องทุนฟื้ นฟูและพัฒนาระบบสถาบัน
การเงินเป็ นผู ้ออก ผู ้รับรอง ผู ้รับอาวัล หรือผู ้ค้าประกัน หรือพันธบัตร หรือตราสารหนี้ทก ี่ ระทรวงการคลังหรือหน่วยงาน ข้อมูลกองทุนรวม
ภาครัฐ เป็ นผู ้ออก ผู ้รับอาวัล หรือผู ้ค้ าประกัน และ/หรือในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สน ิ ภาครัฐอืน่ ตามทีส ่ านั กงาน ก.ล.ต. ว ันจดทะเบียนกองทุน : ภายใน 3 วันทาการ
อนุญาตให ้กองทุนลงทุนได ้ ้ สุด IPO หรือกรณีทป
นับแต่วันสิน ี่ ิ ด IPO ก่อนกาหนด
• กองทุนมีนโยบายการลงทุนโดยเฉลีย ่ ในรอบปี บัญชีไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 80 ของ NAV ในตราสารหนีก ้ ลุม
่ ความยั่งยืน ตามที่
ว ันเริม
่ ต้น class : ภายใน 3 วันทาการ
สานักงาน ก.ล.ต. กาหนดหรือเห็นชอบให ้กองทุนรวมไทยเพือ ่ ความยั่งยืน (Thailand ESG Fund) สามารถลงทุนหรือมีไว ้
ได ้ เช่น ตราสารเพือ ่ อนุรักษ์ สงิ่ แวดล ้อม (Green bond) ตราสารเพือ ่ ความยั่งยืน (Sustainability bond) ตราสารส่งเสริม นับแต่วันสิน้ สุด IPO หรือกรณีทป ี่ ิ ด IPO ก่อนกาหนด
ความยั่งยืน (Sustainability-linked bond) นโยบำยกำรจ่ำยเงินปันผล : ไม่จา่ ย
• กองทุ นอาจลงทุ นในสั ญ ญาซื้อขายล่ ว งหน า้ (Derivative) เพื่ อลดความเสี่ย ง (Hedging) แต่ จะไม่ ลงทุ น เพื่อ เพิ่ม อำยุกองทุน : ไม่กาหนด
ประสิทธิภาพการบริหารการลงทุน (Efficient portfolio management) และกองทุนอาจลงทุนในตราสารทีม ่ ลี ักษณะของ
สัญญาซือ ้ ขายล่วงหน ้าแฝง (Structured Note) ผูจ
้ ัดกำรกองทุน
• กองทุนอาจลงทุนในกองทุนรวมอืน ่ ภายใต ้ บลจ. เดียวกัน (Cross Investing Fund) ในสัดส่วนโดยเฉลีย ่ รอบปี บัญชีไม่ 1. นายรัฐพล ขัตติยะสุวงศ์ (ตัง้ แต่วันจดทะเบียน)
เกินร ้อยละ 20 ของ NAV โดยเป็ นไปตามหลักเกณฑ์เงือ ่ นไขทีส ่ านักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. กาหนด 2. นายชวณั ฐ ไพศาลวงศ์ด ี (ตัง้ แต่วันจดทะเบียน)
• กลยุทธ์การลงทุน: มุง่ หวังให ้ผลประกอบการเคลือ ่ นไหวสูงกว่าดัชนีชวี้ ัด (active management)

(กองทุนสามารถลงทุนในทรั พย์ส น ิ อื่น ๆ ตามที่ระบุในนโยบายการลงทุนของกองทุน รวมถึงประเภทหลั กทรั พย์ใน


ร า ย ล ะ เ อี ย ด โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ ห นั ง สื อ ชี้ ช ว น ส่ ว น ข อ
้ มู ล ก อ ง ทุ น โ ป ร ด ศึ ก ษ า ร า ย ล ะ เ อี ย ด ทั ้ ง ห ม ด เ พิ่ ม เ ติ ม
ด ัชนีชวี้ ัด
https://am.kkpfg.com)
(1) 85% ThaiBMA Government Bond ESG Index
ผลกำรดำเนินงำนและด ัชนีชวี้ ัดย้อนหล ัง 5 ปี ปฏิทน
ิ 1 2 3 (%ต่อปี ) Net Total Return
(2) 15% ThaiBMA Short-term Government Bond
Index Total Return
กองทุน ดัชนีชวี้ ด
ั Peer avg
100.00% ดัชนี ThaiBMA ESG Bond Index Net Total Return ใน
สัดส่วน ร ้อยละ 85 เนื่องจากเป็ นดัชนีที่รวมตราสารหนี้
50.00% ESG ภาครัฐทีข ่ น
ึ้ ทะเบียนกับ ThaiBMA และดัชนี Short-
term government index Total Return ร ้อ ย ล ะ 1 5
0.00%
2561 2562 2563 2564 2565
้ ทีข
เนื่องจากเป็ นดัชนีทรี่ วมตราสารหนี้ภาครัฐระยะสัน ่ น
ึ้
ทะเบียนกับ ThaiBMA
ผลกำรดำเนินงำนย้อนหล ังแบบปักหมุด 1 (%)
Year to
3 เดือน 6 เดือน 1 ปี 4
Date
กองทุนรวม N/A N/A N/A N/A
ต ัวชีว้ ัด N/A N/A N/A N/A
ค่ำเฉลีย
่ ในกลุม
่ เดียวก ัน N/A N/A N/A N/A
ควำมผ ันผวนของกองทุน N/A N/A N/A N/A คำเตือน
• การลงทุนในกองทุนรวมไม่ใช่การฝากเงิน
ควำมผ ันผวนของด ัชนีชวี้ ัด N/A N/A N/A N/A
• ผลการด าเนิน งานในอดีต ของกองทุน รวม มิได ้เป็ น
ตงแต่
ั้ จ ัดตงั้ สิง่ ยืนยันถึงผลการดาเนินงานในอนาคต
3 ปี 4 5 ปี 4 10 ปี 4
กองทุน4
กองทุนรวม N/A N/A N/A N/A
โปรดศึกษาคาเตือนทีส
่ าคัญอืน ้ วนฉบับเต็ม
่ ในหนั งสือชีช
ต ัวชีว้ ัด N/A N/A N/A N/A
กำรเข้ำร่วมต่อต้ำนทุจริต : ได้ร ับกำรร ับรอง CAC
ค่ำเฉลีย
่ ในกลุม
่ เดียวก ัน N/A N/A N/A N/A
ควำมผ ันผวนของกองทุน N/A N/A N/A N/A
ควำมผ ันผวนของด ัชนีชวี้ ัด N/A N/A N/A N/A ้ วนฉบับเต็ม
หนังสือชีช
1
เอกสารการวัดผลการดาเนินงานของกองทุนรวมฉบับนี้ ได ้จัดทาขึน ้ ตามมาตรฐานการวัดและนาเสนอผลการดาเนินงานของ
กองทุนรวมของสมาคมบริษัทจัดการลงทุน ผู ้ลงทุนสามารถศึกษา
2
หากกองทุนรวมมีผลการดาเนินงานตัง้ แต่วันทีจ ่ ดทะเบียนทรัพย์สน ิ กองทุนรวมหรือวันทีเ่ ปิ ดเสนอขายชนิดหน่วยลงทุนไม่ เครือ ่ งมือบริหารความ
ครบ 1 ปี ปฏิทน ิ จะแสดงผลการดาเนินงานของปี ปฏิทน ิ แรกตัง้ แต่วันทีก่ องทุนรวมจดทะเบียนทรัพย์สน ิ กองทุนรวมหรือวันที่ เสีย ่ งด ้านสภาพคล่อง
เปิ ดเสนอขายชนิดหน่วยลงทุนจนถึงวันทาการสุดท ้ายของปี ปฏิทน ิ แรก ได ้ในหนังสือชีช ้ วน
3 ฉบับเต็ม https://am.kkpfg.com
หากกองทุนรวมมีผลการดาเนินงานในปี ทีเ่ ลิกกองทุนไม่ครบ 1 ปี ปฏิทน ิ จะแสดงผลการดาเนินงานของปี ปฏิทน ิ สุดท ้าย
ตัง้ แต่วันทาการสุดท ้ายของปี ปฏิทน
ิ ก่อนหน ้าจนถึงวันทีเ่ ลิกกองทุน
4
% ต่อปี
KKP GB THAI ESG
้ หน่วยลงทุน
กำรซือ กำรขำยคืนหน่วยลงทุน ข้อมูลเชิงสถิต ิ
ช่วงเสนอขำยหน่วยลงทุนครงแรก ั้ (IPO) ว ันทำรำยกำรขำยคืน: ทุกวันทาการ Maximum Drawdown : N/A
้ : ตามทีบ
ว ันทำรำยกำรซือ ่ ริษัทจัดการกาหนด เวลำทำกำร: เวลา 8.30 – 15.30 น. Recovering Period : N/A
เวลำทำกำร: เวลา 8.30 – 16.30 น. กำรขำยคืนขนต ั้ ำ ่ : ไม่กาหนด อ ัตรำส่วนหมุนเวียนกำรลงทุน : N/A
อำยุเฉลีย่ ของตรำสำรหนี้ : N/A
ยอดคงเหลือขนต ั้ ำ ่ : 100 บาท / 10 หน่วย
Yield to Maturity : N/A
ช่วงภำยหล ังเสนอขำยหน่วยลงทุนครงแรก
ั้ ระยะเวลำกำรร ับเงินค่ำ ขำยคืน : ภายใน 5 วันทาการ 1
้ : ทุกวันทาการ
ว ันทำรำยกำรซือ (ปั จจุบัน T+2 วันทาการ)2
เวลำทำกำร: เวลา 8.30 – 16.00 น.
้ ครงแรกข
กำรซือ ั้ นต
ั้ ำ ่ : 1,000 บาท
กำรซือ้ ครงถ ั้ ัดไปขนตั้ ำ ่ : 1,000 บาท
หมายเหตุ:
¹ ภายใน 5 วันทาการนับแต่วันรับซือ ้ คืนหน่วยลงทุน
² ปั จจุบัน T+2 เฉพาะบัญชีรับเงินค่าขายคืนหน่วยลงทุนของ KKP Bank, SCB, BBL, KBank, BAY, TTB, KTB, CIMB
Thai, LH Bank, UOB, Citibank และนาฝาก/นาส่งเช็ค T+2 สาหรับบัญชีธนาคารอืน ่ นอกเหนือจากทีร่ ะบุข ้างต ้น
(รายละเอียดอาจมีการเปลีย ่ นแปลง)
T = วันทาการซือ ้ ขายหน่วยลงทุน
ผู ้ลงทุนสามารถดูรายะเอียดกาหนดการการซือ ้ ขายของกองทุนเพิม
่ เติมได ้ที่ https://am.kkpfg.com

ค่ำธรรมเนียมทีเ่ รียกเก็บจำกกองทุนรวม1 2 3 (% ต่อปี 4)

ค่ำธรรมเนียม สูงสุดไม่เกิน เก็บจริง


การจัดการ 1.6050 0.1926
รวมค่าใช ้จ่าย 3.7236 ไม่เกินอัตราสูงสุด
หมายเหตุ :
1. ค่าธรรมเนียมดังกล่าวรวมภาษีมล ู ค่าเพิม
่ ภาษีธรุ กิจเฉพาะหรือภาษี อน
ื่ ใดแล ้ว
2. เนือ ่ งจากกองทุนจัดตัง้ /เปิ ดให ้บริการหน่วยลงทุนยังไม่ครบรอบระยะเวลาบัญชี ค่าธรรมเนียมและค่าใช ้จ่ายทัง้ หมดที่
เรียกเก็บจริงทีแ่ สดงเป็ นอัตราทีย ่ ังไม่รวมค่าใช่จ่ายอืน่ ๆ
3. ผู ้ลงทุนสามารถดูข ้อมูลค่าธรรมเนียมทีเ่ รียกเก็บจากกองทุนรวมย ้อนหลัง 3 ปี ในหนังสือชีช ้ วนส่วนข ้อมูลกองทุน
ได ้ที่ https://am.kkpfg.com
4. บริษัทจัดการอาจพิจารณาเปลีย ่ นแปลงค่าธรรมเนียมทีเ่ รียกเก็บจริงเพือ ่ ให ้สอดคล ้องกับกลยุทธ์หรือค่าใช ้จ่ายในการ
บริหารจัดการ

ค่ำธรรมเนียมทีเ่ รียกเก็บจำกผูถ
้ อ ้ ขำย)
ื หน่วย1 2 3 4 5 (% ของมูลค่ำซือ ผูอ
้ อกตรำสำร 5 อ ันด ับแรก
ค่ำธรรมเนียม สูงสุดไม่เกิน เก็บจริง
ผูอ
้ อก % NAV
การขาย 1.0000 ปั จจุบันยกเว ้น
N/A
้ คืน
การรับซือ 1.0000 ปั จจุบันยกเว ้น
การสับเปลีย่ นหน่วยลงทุนเข ้า 1.0000 ปั จจุบันยกเว ้น
การสับเปลีย ่ นหน่วยลงทุนออก 1.0000 ปั จจุบันยกเว ้น
การโอนหน่วย 50 บาท ต่อ 1 รายการ ปั จจุบันยกเว ้น
หมายเหตุ :
1. ค่าธรรมเนียมดังกล่าวรวมภาษีมล ู ค่าเพิม
่ ภาษีธรุ กิจเฉพาะหรือภาษี อนื่ ใดแล ้ว
2. บริษัทจัดการอาจคิดค่าธรรมเนียมดังกล่าวกับผู ้ลงทุนแต่ละกลุ่มไม่เท่ากัน โดยบริษัทจัดการจะแจ ้งให ้ผู ้ลงทุนทราบ
ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัทจัดการ และ/หรือปิ ดประกาศทีส ่ านักงานของบริษัทจัดการ
3. ในกรณี ที่ก องทุน ลงทุน ในหน่ ว ยลงทุน ของกองทุน รวมภายใต ้การจั ด การของบริษั ทจั ด การ กองทุน ต ้นทาง และ
กองทุนปลายทางจะไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการขาย (front-end fee) และค่าธรรมเนียมรับซือ ้ คืน (back-end fee)
ซ้าซ ้อนกัน และรวมถึงกรณีทก ี่ องทุนปลายทางอาจลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมใด ๆ ของบริษัทจัดการอีก
ทอดหนึง่ บริษัทจัดการจะไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมดังกล่าวซ้าซ ้อนด ้วยเช่นกัน
4. บริษั ทจั ด การอาจพิจ ารณาเปลีย ่ นแปลงค่าธรรมเนีย มที่เรีย กเก็ บ จริงเพื่อให ้สอดคล ้องกับกลยุทธ์หรือค่าใช ้จ่ายใน
การบริหารจัดการ

ั วนประเภททร ัพย์สน
ิ ทีล ่ ถือ (%)
การจ ัดสรรการลงทุนตามอ ันด ับความน่าเชือ
สดส่ ่ งทุน ิ ทีล
ทร ัพย์สน ่ งทุน 5 อ ันด ับแรก

ประเภททร ัพย์สน % NAV ่ ทร ัพย์สน
ชือ ิ % NAV ในประเทศ National international
N/A N/A GOV/AAA N/A N/A N/A
KKP GB THAI ESG

ข้อมูลเพิม
่ เติมเกีย
่ วก ับนโยบำยกำรลงทุนด้ำนควำมยงยื
่ั น

▪ ว ัตถุประสงค์กำรลงทุนทีเ่ กีย
่ วก ับควำมยง่ ั ยืน
้ ึ่ง ตราสารเพื่ อ อนุ รั ก ษ์ สิ่ง แวดล อ
กองทุ น จะลงทุ น ในหรื อ มี ไ ว ซ ้ ม (Green bond) ตราสารเพื่ อ ความยั่ ง ยื น (Sustainability bond) ตราสารส่ ง เสริ ม ความยั่ ง ยื น
(Sustainability-linked bond) ทีม ี ารเปิ ดเผยวัตถุประสงค์การใช ้เงินทีไ่ ด ้จากการระดมทุน (use of proceeds) ว่าเป็ นไปเพือ
่ ก ่ โครงการทีเ่ กีย
่ วข ้องกับความยั่งยืนไทย เพือ
่ ให ้มีการ
จัดสรรเม็ดเงินไปยังโครงการทีจ่ ะช่วยมุง่ พัฒนาและแก ้ไขปั ญหาด ้านความยั่งยืนของประเทศไทย

▪ เป้ำหมำยทีก
่ องทุนรวมต้องกำรบรรลุ
เพือ ่ วี ัตถุประสงค์การใช ้เงินทีไ่ ด ้จากการระดมทุน (use of proceeds) เพือ
่ สนั บสนุนผู ้ออกตราสารทีม ่ ให ้มีการจัดสรรเม็ดเงินไปยังโครงการทีจ
่ ะช่วยมุ่งพัฒนาและแก ้ไข
ปั ญหาด ้านความยั่งยืนของประเทศไทย

▪ กรอบกำรลงทุน (investment universe)


กองทุนจะเนน ้ ลงทุนในตราสารเพื่ออนุ รักษ์ ส งิ่ แวดล ้อม (Green bond) ตราสารเพื่อความยั่งยืน (Sustainability bond) ตราสารส่งเสริมความยั่ งยืน (Sustainability-
linked bond) ทีผ
่ ู ้ออกตราสารต ้องการระดมทุนเพือ
่ นาเงินไปลงทุนหรือชาระหนีส ิ เดิม (Re-financing) ในโครงการทีเ่ กีย
้ น ่ วข ้องกับการอนุรักษ์ สงิ่ แวดล ้อมหรือความยั่งยืน

หมำยเหตุ : ในการเปลีย ้ ต่าของการสัง่ ซือ


่ นแปลงมูลค่าขัน ้ ครัง้ ถัดไป บริษัทจัดการจะคานึงถึงประโยชน์ของ ผู ้ถือหน่วยลงทุนเป็ นสาคัญ โดยบริษัทจัดการจะประกาศการเปลีย ่ นแปลง
และแจ ้งให ้ผู ้ถือหน่วยลงทุนทราบล่วงหน ้าอย่างชัดเจนถึงวันทีม ่ ก
ี ารเปลีย
่ นแปลงมูลค่าขัน ้ ตา่ ของการสั่งซือ
้ ครัง้ ถัดไป คาอธิบายเกีย
่ วกับการเปลีย
่ นแปลงและเหตุผลในการ
เปลีย
่ นแปลงข ้อมูลดังกล่าว ผ่านเว็บไซต์ของบริษัทจัดการ ภายในระยะเวลาทีผ ่ ู ้ถือหน่วยลงทุนสามารถใช ้ประโยชน์จากข ้อมูลในการตัดสินใจลงทุนได ้

คำอธิบำย
Maximum Drawdown เปอร์เซ็นต์ผลขาดทุนสูงสุดของกองทุนรวมในระยะเวลา 5 ปี ย ้อนหลัง (หรือตัง้ แต่จัดตัง้ กองทุนกรณีทย ี่ ังไม่ครบ 5 ปี ) โดยวัดจากระดับ NAV ต่อหน่วยที่
จุดสูงสุดไปจนถึงจุดตา่ สุดในช่วงที่ NAV ต่อหน่วยปรับตัวลดลง ค่า Maximum Drawdown เป็ นข ้อมูลทีช ่ ว่ ยให ้ทราบถึงความเสีย ่ งทีอ ่ าจจะขาดทุนจากการลงทุนในกองทุนรวม
Recovering Period ระยะเวลาการฟื้ นตัว เพือ ่ เป็ นข ้อมูลให ้ผู ้ลงทุนทราบถึงระยะเวลาตัง้ แต่การขาดทุนสูงสุดจนถึงระยะเวลาทีฟ ่ ื้ นกลับมาทีเ่ งินทุนเริม่ ต ้นใช ้ระยะเวลานานเท่าใด
FX Hedging เปอร์เซ็นต์ของการลงทุนในสกุลเงินต่างประเทศทีม ่ ก
ี ารป้ องกันความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย ่ น
อ ัตรำส่วนหมุนเวียนกำรลงทุน ความถีข ่ องการซือ ้ ขายหลักทรัพย์ใ นพอร์ต กองทุนในช่วงเวลาใดช่วงเวลาหนึ่ง โดยคานวณจากมูล ค่าที่ต่ากว่าระหว่างผลรวมของมูลค่าการซือ ้
หลั กทรัพย์กับ ผลรวมของมูล ค่า การขายหลัก ทรัพ ย์ข องกองทุนรวมในรอบระยะเวลา 1 ปี หารด ้วยมูลค่า NAV ของกองทุน รวมเฉลี่ยในรอบระยะเวลาเดีย วกัน กองทุนรวมที่ม ีค่า
portfolio turnover สูง บ่งชีถ ้ งึ การซือ้ ขายหลักทรัพย์บอ ่ ยครัง้ ของผู ้จัดการกองทุนและทาให ้มีต ้นทุนการซือ ้ ขายหลักทรัพย์ทส ี่ งู จึงต ้องพิจารณาเปรียบเทียบกับผลการดาเนินงานของ
กองทุนรวมเพือ ่ ประเมินความคุ ้มค่าของการซือ ้ ขายหลักทรัพย์ดังกล่าว
Sharpe Ratio อัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนส่วนเพิม ่ ของกองทุนรวมเปรียบเทียบกับความเสีย ่ งจากการลงทุน โดยคานวณจากผลต่างระหว่างอัตราผลตอบแทนของกองทุนรวมกับ
อั ต ราผลตอบแทนที่ป ราศจากความเสี่ย ง (risk-free rate) เปรีย บเทีย บกั บ ค่ า เบี่ย งเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของกองทุ น รวม ค่ า Sharpe Ratio สะท ้อนถึง อั ต รา
ผลตอบแทนทีก ่ องทุนรวมควรได ้รับเพิม ่ ขึน ้ เพื่อชดเชยกับความเสีย ่ งที่กองทุนรวมรับมา โดยกองทุนรวมทีม ่ คี ่า Sharpe Ratio สูงกว่าจะเป็ นกองทุนทีม ่ ป
ี ระสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการลงทุนทีด ่ กี ว่า เนือ
่ งจากได ้รับผลตอบแทนส่วนเพิม ่ ทีส
่ งู กว่าภายใต ้ระดับความเสีย ่ งเดียวกัน
Alpha ผลตอบแทนส่วนเกินของกองทุนรวมเมือ ่ เปรียบเทียบกับดัชนีชวี้ ัด (benchmark) โดยค่า Alpha ทีส ่ งู หมายถึง กองทุนสามารถสร ้างผลตอบแทนได ้สูงกว่าดัชนีชวี้ ัด ซึง่ เป็ น
ผลจากประสิทธิภาพของผู ้จัดการกองทุนในการคัดเลือกหรือหาจังหวะเข ้าลงทุนในหลักทรัพย์ได ้อย่างเหมาะสม
Beta ระดับและทิศทางการเปลีย ่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในพอร์ตการลงทุน โดยเปรียบเทียบกับอัตราการเปลีย ่ นแปลงของตลาด Beta น ้อยกว่า 1 แสดงว่า
หลักทรัพย์ใ นพอร์ต การลงทุนมีการเปลีย ่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนนอ้ ยกว่าการเปลีย ่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนของกลุ่ม หลักทรัพย์ข องตลาด Beta มากกว่า 1 แสดงว่า
หลักทรัพย์ในพอร์ตการลงทุนมีการเปลีย ่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนมากกว่าการเปลีย ่ นแปลงของอัตราผลตอบแทนของกลุม ่ หลักทรัพย์ของตลาด
Tracking Error อัตราผลตอบแทนของกองทุนมีประสิทธิภาพในการเลียนแบบดัชนีชวี้ ัด โดยหาก tracking error ตา่ หมายถึงกองทุนรวมมีประสิทธิภาพในการสร ้างผลตอบแทนให ้
ใกล ้เคียงกับดัชนีชวี้ ัด กองทุนรวมทีม ่ คี า่ tracking error สูง จะมีอัตราผลตอบแทนโดยเฉลีย ่ ห่างจากดัชนีชวี้ ัดมากขึน ้
Yield to Maturity อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในตราสารหนี้โดยถือจนครบกาหนดอายุ ซึง่ คานวณจากดอกเบีย ้ ทีจ
่ ะได ้รับในอนาคตตลอดอายุตราสารและเงินต ้นทีจ ่ ะได ้รับคืน
นามาคิดลดเป็ นมูลค่าปั จจุบัน โดยใช ้วัดอัตราผลตอบแทนของกองทุนรวมตราสารหนี้ คานวณจากค่าเฉลีย ่ ถ่วงน้ าหนั กของ Yield to Maturity ของตราสารหนี้แต่ละตัวทีก ่ องทุนมีการ
ลงทุน และเนือ ่ งจาก Yield to Maturity มีหน่วยมาตรฐานเป็ นเปอร์เซ็นต์ตอ ่ ปี จึงสามารถนาไปใช ้เปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนระหว่างกองทุนรวมตราสารหนี้ทม ี่ น
ี โยบายถือครองตรา
สารหนีจ ้ นครบกาหนดอายุและมีลักษณะการลงทุนทีใ่ กล ้เคียงกันได ้

บริษ ัทหล ักทร ัพย์จ ัดกำรกองทุน เกียรตินำคินภ ัทร จำก ัด


โทรศัพท์ : 0-2305-9800 โทรสาร : 0-2305-9803-4 website : https://am.kkpfg.com
้ 17 อาคารเคเคพี ทาวเวอร์ เอ เลขที่ 209 ถนนสุขม
ชัน ุ วิท 21 (อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ
เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110
KKP GB THAI ESG

คำเตือน/ข้อแนะนำ
ผูล
้ งทุนควรศึกษำข้อมูลเกีย
่ วก ับสิทธิประโยชน์ทำงภำษีทรี่ ะบุไว้ในคูม
่ อ
ื กำรลงทุนด้วย

• กองทุนมีนโยบายการลงทุนเฉลีย ่ ในรอบปี บัญชีไม่น ้อยกว่าร ้อยละ 80 ของ ทัง้ กองทุนรวมต ้นทางและกองทุนรวมปลายทาง ทัง้ นี้ ผู ้ถือหน่วยสามารถ
ิ สุท ธิข องกองทุ น ในตราสารหนี้ ก ลุ่ ม ความยั่ ง ยืน ตามที่
มู ล ค่ า ทรั พ ย์ส น สอบถามข ้อมูลได ้ที่ https://am.kkpfg.com
สานั กงาน ก.ล.ต. กาหนดหรือเห็นชอบให ้กองทุนรวมไทยเพือ ่ ความยั่งยืน
(Thailand ESG Fund) สามารถลงทุนหรือมีไว ้ได ้ เช่น ตราสารเพือ ่ อนุรักษ์ • ผู ล้ งทุ น มีห น า้ ที่ศ ึก ษากฎหมายภาษี อ ากรที่ เ กี่ย วข ้องกั บ การลงทุ น ใน
สิง่ แวดล ้อม (Green bond) ตราสารเพือ ่ ความยั่งยืน (Sustainability bond) กองทุนรวมไทยเพือ ่ ความยั่งยืน และทีแ ่ ก ้ไขเปลีย ่ นแปลง (ถ ้ามี) เพือ ่ ความ
ตราสารส่งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-linked bond) ดังนั น ้ กองทุน เข ้าใจในการลงทุนและเงื่อนไขการลงทุนทีถ ่ ูกต ้องเพื่อใช ้ประกอบในการ
จึง มีค วามเสี่ย งที่อ าจแตกต่ า งจากการลงทุ น ในตราสารหนี้ ทั่ ว ไป โดย ตัดสินใจลงทุนหรือการซือ ้ และหรือขายคืนและหรือโอนย ้ายหน่ วยลงทุน
กองทุ น มีค วามเสี่ย งจากการลงทุ น ในตราสารเพื่ อ อนุ รั ก ษ์ ส ิ่ง แวดล อ ้ ม กองทุนไทยเพื่อความยั่ งยืนเพื่อให ้เป็ นไปอย่างถูกต ้องตามที่กฎหมายที่
(Green bond) ตราสารเพื่ อ ความยั่ ง ยืน (Sustainability bond) ตราสาร เกีย ่ วข ้องกาหนด หากการลงทุนและหรือการซือ ้ ขายและหรือโอนย ้ายหน่วย
ส่งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-linked bond) นอกจากนี้ อาจมีความ ลงทุนขัดต่อกฎหมายภาษี อากรทีเ่ กีย ่ วข ้อง ผู ้ลงทุนอาจต ้องชาระคืนภาษี
เสีย ่ งจากการพึง่ พาข ้อมูลจากแหล่งข ้อมูลภายนอก เพือ ่ ใช ้ในการวิเคราะห์ และหรือมีเบี้ยปรั บ และหรือเงินเพิม ่ หรือค่าธรรมเนี ยมหรือ ค่าใช ้จ่ า ยอื่น
และคัดเลือกตราสารอาจมีข ้อมูลทีไ ่ ม่สมบูรณ์ หรือไม่ถูกต ้อง โดยบริษั ท ทัง้ นี้บริษัทจัดการไม่มภ ี าระผูกพันในการชดเชยค่าภาษี ทผ ี่ ู ้ลงทุนถูกเรียก
จัดการจะมีการทบทวนสอบข ้อมูลจากหลายแหล่งเพือ ่ ให ้ข ้อมูลทีน่ ามาใช ้มี เก็บ เบีย ้ ปรับ เงินเพิม ่ ค่าธรรมเนียม ดอกเบีย ้ และหรือค่าใช ้จ่ายอืน ่ ทีเ่ กิด
ความถูกต ้องมากทีส ่ ุด รวมถึงกองทุนอาจมีความเสีย ่ งจากการลงทุนแบบ ขึน้ กับผู ้ลงทุน
กระจุกตัวในทรัพย์สน ิ ทีเ่ กีย
่ วกับความยั่งยืน และมีความเสีย ่ งจากการทีไ ่ ม่
• ผู ้ลงทุนต ้องลงทุนในกองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน อย่างต่อเนื่องระยะ
สามารถซือ ้ หรือขายหลักทรัพย์บางตัวได ้ในราคาหรือช่วงเวลาทีเ่ หมาะสม
ยาวตามทีก ่ วข ้องและประมวลรัษฎากรกาหนด ซึง่ ผู ้ลงทุนจะมี
่ ฎหมายทีเ่ กีย
ด ้วยเงือ ่ นไขด ้านความยั่งยืนทีก ่ องทุนกาหนด
ภาระผูกพันทีจ ่ ะต ้องปฏิบัตติ ามเงือ่ นไขและวิธก ี ารทีก
่ าหนดไว ้ในกฎหมาย
• การลงทุ น ในกองทุ น นี้ ม ิใ ช่ก ารฝากเงิน และมีค วามเสี่ย งของการลงทุ น ภาษี อ ากร ผู ้ลงทุ น ในกองทุ น รวมไทยเพื่อ ความยั่ ง ยืน จะไม่ ไ ด ้รั บสิท ธิ
กองทุนนี้ไม่มผ ี ู ้ประกันเงินทุนและไม่คุ ้มครองเงินต ้น และมีความเสีย ่ งของ ประโยชน์ทางภาษี หากไม่ปฏิบัตต ิ ามเงือ่ นไขการลงทุนและจะต ้องคืนสิทธิ
ตราสารหนี้ เช่น การผิดนั ดชาระหนี้ การขาดสภาพคล่อง การเปลีย ่ นแปลง ประโยชน์ทางภาษี ที่เคยได ้รับภายในก าหนดเวลาที่กฎหมายที่เกีย ่ วข ้อง
ของอัตราดอกเบีย ้ การคานวณมูลค่าทรัพย์สน ิ สุทธิให ้สะท ้อนราคาตลาดที่ กาหนด มิฉะนัน ้ จะต ้องชาระเงินเพิม ่ และหรือเบีย
้ ปรับตามประมวลรัษฎากร
เป็ นธรรม (Mark to Market) ซึง่ จะได ้รับผลกระทบจาก Market yield และ
• สิทธิประโยชน์ทางภาษี ทผ ี่ ู ้ถือหน่วยลงทุนกองทุนรวมไทยเพือ ่ ความยั่งยืน
Portfolio duration รวมถึงปั จจั ยอื่น ๆ เช่น กรณี ท ี่เกิดเหตุการณ์ ผ ด ิ ปกติ
้ สุดลงเมือ
นี้พงึ ได ้รับจะสิน ่ ผู ้ถือหน่วยลงทุนไม่ปฏิบัตติ ามเงือ่ นไขการลงทุน
และหรือกรณีทม ี่ ผี ู ้ถือหน่วยลงทุนขายคืนหน่วยลงทุนของกองทุนตราสาร
โดยผู ้ถือหน่ วยลงทุนจะต ้องช าระคืนสิทธิประโยชน์ ทางภาษี ท ี่เคยได ้รั บ
หนี้ ใ นตลาดกองทุ น ใดกองทุ น หนึ่ ง หรื อ หลายกองทุ น จ านวนมากและ
ภายในกาหนดเวลา และหากการชาระคืนสิทธิประโยชน์ทางภาษี ดังกล่าว
ต่อเนื่อง (Panic Redemption) ปั จจัยเหล่านี้สามารถส่งผลให ้ราคาตราสาร
ไม่เป็ นไปตามทีก ่ าหนด ผู ้ถือหน่วยลงทุนจะต ้องชาระเงินเพิม ่ และ/หรือเบีย ้
หนี้ทก ี่ องทุนลงทุนปรับลดลง และทาให ้กองทุนมีมูลค่าทรัพย์สน ิ สุทธิหรือ
ปรับตามประมวลรัษฎากรด ้วย ทัง้ นี้ สิทธิประโยชน์ทางภาษี ท ี่ผู ้ถือหน่ วย
มูลค่าหน่วยลงทุน (NAV) ลดลงและผู ้ถือหน่วยลงทุนอาจขาดทุนและอาจ
ลงทุ น จะได ร้ ั บ และภาระภาษี ที่ อ าจเกิด ขึ้น เมื่ อ ไม่ ป ฏิบั ต ิต ามเงื่ อ นไข
ได ้รั บช าระเงินค่าขายคืนหน่ วยลงทุนล่าช ้ากว่าระยะเวลาที่ก าหนดไว ้ใน
การลงทุน จะเป็ นไปตามทีก ่ รมสรรพากรกาหนด
หนั งสือชีช ้ วน ผู ้ลงทุนจึงควรลงทุน ในกองทุ นนี้ เมื่อเห็ นว่ าการลงทุ น ใน
กองทุนรวมนี้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์การลงทุนของผู ้ลงทุน และผู ้ลงทุน • ผู ล
้ งทุ น ไม่ ส ามารถน าหน่ ว ยลงทุ น กองทุ น รวมไทยเพื่ อ ความยั่ ง ยื น
ยอมรับความเสีย ่ งทีอ ่ าจเกิดขึน
้ จากการลงทุนได ้ ไปจาหน่าย โอน จานา หรือนาไปเป็ นประกันได ้

• กองทุ น นี้ อ าจพิจ ารณาลงทุ น ในตราสารหนี้ เ อกชนและ/หรื อ เงิน ฝากที่ • ผู ้ลงทุนมีหน ้าทีใ่ นการบันทึก จัดเก็บ และตรวจสอบรายละเอียดการลงทุน
เกี่ยวข ้องกั บธนาคาร/สถาบั น การเงินเอกชน ดั งนั ้น จึง อาจมีความเสี่ย ง และเอกสารอืน ่ ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการลงทุนในกองทุนรวมไทยเพือ ่ ความยั่งยืน
เกีย
่ วกับการผิดนัดชาระหนี้ ทาให ้ผู ้ลงทุนขาดทุนหรือได ้รับเงินลงทุนคืนตา่ ของผู ้ลงทุนเพือ ่ ให ้เป็ นไปตามทีก ่ ฎหมายทีเ่ กีย
่ วข ้องกาหนด
กว่าเงินลงทุนเริม ่ แรกได ้ รวมถึงอาจส่งผลให ้ผู ้ลงทุนไม่ได ้รับคืนเงินตาม
ระยะเวลาทีก ่ าหนดด ้วย • บริษัทจัดการขอสงวนสิทธิทจ ี่ ะดาเนินการจัดการกองทุนรวมต่อไป หรือ
หยุด เสนอขาย หรือ ปิ ดรั บ ค าสั่ง ซือ ้ /สับเปลี่ย นเข ้า เป็ นการชั่ว คราวหรือ
• กองทุนมีการบริหารเชิงรุก จึงมีความเสีย ่ งจากการลงทุนแบบมุง่ หวังให ้ผล ถ า ว ร หา กสิ ท ธิ ป ระโ ย ชน์ ท า ง ภา ษี ข อง กา รลง ทุ น หม ดสิ้ น ไ ปหรื อ
ประกอบการสูงกว่าดัชนีชวี้ ัด (Active management risk) ความเสีย ่ งจาก เปลีย ่ นแปลงไป และ/หรือเงือ ่ นไขการลงทุนในหน่วยลงทุนเพือ ่ ให ้ได ้สิทธิ
กระบวนการคั ด เลื อ กหลั ก ทรั พ ย์ การตั ด สิน ใจลงทุ น การวิเ คราะห์ ประโยชน์ทางภาษี หมดสิน ้ ไปหรือเปลีย ่ นแปลงไป และ/หรือกรณี อ ื่น ใด
หลั ก ทรั พ ย์ หรื อ กลยุ ท ธ์ ก ารลงทุ น ของผู จ้ ั ด การกองทุ น ที่ อ าจท าให ้ เพื่อประโยชน์โดยรวมของผู ้ถือหน่ วยลงทุน โดยบริษัทจัดการจะแจ ง้ ให ้
ผลตอบแทนของกองทุนไม่เป็ นไปอย่างทีค ่ าดหวัง หรือไม่สามารถสร ้าง ทราบล่ ว งหน า้ ไม่น อ ้ ยกว่า 3 วั น ก่อ นการเปลี่ย นแปลงข ้างต ้นผ่ า นทาง
ผลตอบแทนทีส ่ งู กว่าดัชนีชวี้ ัดได ้ หรืออาจทาให ้ผู ้ลงทุนขาดทุนได ้ เว็ บ ไซต์ข องบริษั ทจั ด การ เว ้นแต่ก รณี ที่เ กิด จากปั จ จั ย ที่ค วบคุม ไม่ ไ ด ้
และ/หรือ กรณี จ าเป็ นและสมควร และ/หรือ เหตุ สุด วิสั ย บริษั ทจั ด การ
• ในกรณี ท ี่ก องทุน รวมลงทุน ในสั ญ ญาซือ ้ ขายล่ว งหน า้ เพื่อ การลดความ จะแจ ้งการเปลีย ่ นแปลงดังกล่าวโดยไม่ชก ั ช ้า ทัง้ นี้ ในกรณีทบ ี่ ริษัทจัดการ
่ งโดยสินค ้าหรือตัวแปรของสัญญาซือ
เสีย ้ ขายล่วงหน ้านัน ้ ไม่ใช่สงิ่ เดียวกับ ดาเนินการจัดการกองทุนรวมต่อไปเมื่อสิทธิประโยชน์ทางภาษี ข องการ
ทรัพย์สน ิ ทีต
่ ้องการลดความเสีย่ ง บริษัทจัดการจะใช ้ข ้อมูลในอดีตในการ ลงทุนหมดสิน ้ ลง ผู ้ถือหน่วยลงทุนจะไม่สามารถได ้รับสิทธิประโยชน์ทาง
คานวณค่าสัมบูรณ์ของค่าสัมประสิทธิส ์ หสัมพันธ์ (Absolute correlation ภาษี อก ี ต่อไป เว ้นแต่เป็ นตามเงือ ่ นไขทีก ่ รมสรรพากร หรือกฎหมายอืน ่ ใด
coefficient) กองทุน รวมจึง มีค วามเสีย ่ ง หากสิน ค ้าหรือ ตั ว แปรที่สัญญา ทีเ่ กีย
่ วข ้อง หรือประกาศสานั กงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือประกาศอืน ่
้ ขายล่ว งหน ้าอ ้างอิง (Underlying) และทรั พ ย์ส น
ซือ ิ ที่ต ้องการลดความ ใดทีเ่ กีย่ วข ้องประกาศกาหนด และ/หรือประกาศทีม ่ ก
ี ารแก ้ไขเพิม ่ เติมใน
เสีย่ งเคลือ
่ นไหวในทิศทางทีไ่ ม่เป็ นไปตามข ้อมูลในอดีต ซึง่ อาจส่งผลให ้ อนาคต
การเข ้าทาสัญญาซือ ้ ขายล่วงหน ้าไม่สามารถลดความเสีย ่ งได ้อย่างเต็ ม
ประสิทธิภาพ • การลงทุนมีความเสีย ่ ง ผู ้ลงทุนควรศึกษาข ้อมูลกองทุนและข ้อมูลเกีย ่ วกับ
สิทธิประโยชน์ทางภาษี ทรี่ ะบุไว ้ในคู่มอ ื การลงทุนในกองทุนรวมไทยเพือ ่
• กองทุนอาจลงทุนในหน่วยลงทุนของกองทุนรวมซึง่ อยู่ภายใต ้การบริหาร ความยั่ ง ยื น ก่ อ นการตั ด สิน ใจลงทุ น รวมทั ้ง สอบถามและขอรั บ คู่ ม ื อ
ของบริษั ทจั ด การได ้ (Cross Investing Fund) ตามอั ต ราส่ว นที่บ ริษั ท การลงทุ น ในกองทุ น รวมไทยเพื่ อ ความยั่ ง ยื น ได ท ้ ี่ บ ริษั ทจั ด การ หรื อ
จัดการกาหนด ดังนัน ้ บริษัทจัดการจะจัดให ้มีระบบงานทีป ่ ้ องกันธุรกรรมที่ ผู ้สนับสนุนการขายหรือรับซือ ้ คืนหน่วยลงทุนอืน
่ ทีไ่ ด ้รับการแต่งตัง้
อาจก่อให ้เกิดความขัดแย ้งทางผลประโยชน์อันอาจเกิดจากนโยบายการ
ลงทุน ที่เ ปิ ดให ้มีก ารลงทุน ในกองทุน รวมภายใต ้การบริห ารจั ด การของ
บริษัทจัดการเดียวกัน เพือ ่ ให ้เกิดประโยชน์สงู สุด แก่ผู ้ถือหน่วยลงทุนของ
เครือ ี่ งด้านสภาพคล่อง
่ งมือบริหารความเสย

ผูล
้ งทุนสามารถศึกษารายละเอียด หล ักเกณฑ์ และเงือ ่ นไขการใชง ้ านของแต่ละเครือ ่ งด้านสภาพคล่อง
่ งมือบริหารความเสีย
้ วนฉบ ับเต็ม ที่ https://am.kkpfg.com
ได้ในรายละเอียดโครงการ และหน ังสือชีช

กลุม
่ เครือ
่ งมือทีส
่ ง ้ า
่ ผ่านภาระค่าใชจ ่ ยให้ผล
ู ้ งทุน กลุม
่ เครือ
่ งมือทีจ ้ คืนหน่วยลงทุน
่ าก ัดคาสง่ ั ร ับซือ

1. ค่าธรรมเนียมการร ักษาสภาพคล่อง (Liquidity Fee) 4. ระยะเวลาที่ต ้อ งแจ้ง ล่ ว งหน้า ก่ อ นการขายคืน หน่ ว ยลงทุ น
(Notice Period)
เครื่ อ งมื อ ที่ ส ะท อ
้ นต น
้ ทุ น ของกองทุ น ที่ เ กิด ขึ้น ในภาวะที่ ต ลาด
มีความผันผวนสูงหรือมีการขายคืนหน่ วยลงทุนหรือมีก ารสับเปลี่ยน เครื่องมือที่จะก าหนดระยะเวลาในการส่งคาสั่งเพื่อท ารายการขายคืน
หน่วยลงทุนออกของกองทุนนั ้น ๆ สูงเกินกว่าปกติ โดยจะเรียกเก็ บ หรือสับเปลีย ่ นหน่วยลงทุนออกไว ้ล่วงหน ้าหากผู ้ถือหน่วยทารายการที่
ค่ า ธรรมเนี ย มเฉพาะ “ผู ข ้ ั บ เปลี่ ย นหน่ ว ยลงทุ น ออก
้ าย” หรื อ ผู ส เกิน กว่ า ปริม าณที่ ก าหนด เพื่ อ ให ก
้ องทุ น มี เ วลาในการเตรีย มขาย
ในจานวนทีเ่ กินกว่าปริมาณและ/หรือ ก่อนระยะเวลาทีก ่ าหนด และเป็ น สินทรัพย์เพือ ่ มาชาระค่าขายคืนหน่วยลงทุน
การเรียกเก็บเข ้ากองทุน
5. เพดานการขายคืนหน่วยลงทุน (Redemption Gate)
2. การปร บ ั ย์ส ิน สุ ท ธิด ้ว ยสู ต รการค านวณที่ส ะท้อ น
ั มู ล ค่ า ทร พ
ต้นทุนในการซือ ้ ขายทร ัพย์สน ิ ของกองทุนรวม (Swing Pricing) เป็ นเครื่อ งมือ ที่กาหนดเพดานมูลค่ าที่จะให ้ผู ้ถือ หน่ วยลงทุนขายคืน
หน่วยลงทุนหรือสับเปลีย ่ นหน่วยลงทุนออกได ้ในแต่ละกองทุน เมือ ่ เกิด
่ งมือใช ้ปรับมูลค่าหน่วยลงทุน เพือ
เครือ ่ ให ้สะท ้อนต ้นทุนการซือ ้ ขาย สถานการณ์ ไม่ ป กติ หรื อ ประเมิ น ว่ า สถานการณ์ อาจจะไม่ ปกติ
ของกองทุนในภาวะที่ตลาดมีความผันผวน โดยเพิม ่ ตัวแปร (Swing โดย บลจ. จะใช ้วิธ ีก ารช าระคืนตามสั ดส่วน หรือ ที่เรียกว่า Pro rata
Factor) ที่ช่วยสะท ้อนต ้นทุนค่าใช ้จ่ายและใช ้ตั วแปรนั ้นช่วยในการ สาหรับคาสั่งขายคืนหน่วยลงทุนหรือสับเปลีย ่ นหน่วยลงทุนออกทีเ่ หลือ
ปรั บ มู ล ค่ า หน่ ว ยลงทุ น นอกจากนั ้ น กองทุ น อาจเลื อ กใช ้ Swing จะทาการขายคืนให ้ในวันทาการถัดไป หากวันทาการถัดไป บลจ. ยังคง
Pricing เฉพาะช่ ว งเวลาที่ มี ก ารซื้อ ขายสุ ท ธิเ กิน กว่ า ที่ ก าหนดไว ้ ใช ้เครือ
่ งมือนี้ บลจ. จะชาระคืนตามวิธ ี Pro rata โดยไม่มก ี ารจัดลาดับ
(Partial swing pricing) หรือสามารถใช ้ทุกวันในช่วงที่ตลาดมีค วาม ก่อนหลัง แต่หากวันทาการถัดไปกองทุนมีสภาพคล่องเพียงพอ ทาให ้
ผันผวน (Full swing pricing) ขึน ้ อยู่กับการก าหนดเงื่อนไขในการใช ้ บลจ. ไม่ต ้องใช ้เครือ ่ งมือนี้ บลจ. จะชาระคืนตามรายการขายคืนหน่วย
เครื่อ งมือ ตามลั ก ษณะสินทรั พย์หรือ ต ้นทุนที่เกิดขึน ้ กั บกองทุนรวม ลงทุนหรือสับเปลีย ่ นหน่วยลงทุนออกทีไ่ ด ้รับไว ้ทัง้ หมด
นัน
้ ๆ
6. การด าเนินการในกรณีท ผ ี่ ู อ
้ อกตราสารหนีห้ รือลู กหนีต้ ามสิท ธิ
3. การเพิม ้ ขายหน่วยลงทุนทีส
่ ค่าธรรมเนียมการซือ ่ ะท้อนต้นทุนใน เรียกร้องผิดน ัดชาระหนี้ หรือตราสารทีล ่ งทุนประสบปัญหาขาด
้ ิ
การซือขายทร ัพย์สนของกองทุนรวม (Anti-Dilution Levies – สภาพคล่องหรือไม่สามารถจาหน่ายได้ดว้ ยราคาทีส ่ มเหตุสมผล
ADLs) (Side Pocket)

เครื่อ งมือ ที่ท าให ้การซื้อขายหน่ วยลงทุนสะท ้อนต ้นทุนที่เกีย ่ วข ้อง เครื่ อ งมื อ ที่ ท าให ก
้ องทุ น รวมสามารถแยกสิ น ทรั พย์ ท ี่ มี ปั ญหา
จากการปรับพอร์ตของกองทุน ในภาวะตลาดผันผวนสูงผิดปกติหรือ ด ้านสภาพคล่อง ออกจากทรัพย์ส น ิ โดยรวมของกองทุน โดยในวั นที่
สภาพคล่องผิดปกติ หรือเกิดเหตุการณ์อ ื่นที่อาจจะกระทบต่อต ้นทุน บลจ. ดาเนินการแยกทรัพย์สน ิ ดังกล่าว บลจ. จะทาทะเบียนผู ้ถือหน่วย
และค่าใช ้จ่ ายของกองทุนรวม โดยกองทุนจะก าหนดมูลค่าซือ ้ ขาย ลงทุน ณ วั นท าการนั ้น เพื่อ ใช ้เป็ นข ้อมูลส าหรั บการคืนเงินที่ บลจ.
สุท ธิเป็ นเกณฑ์ของเครื่อ งมือ ถ ้ามีการซื้อขายหรือ สับเปลี่ยนหน่วย อาจได ้รับจากทรัพย์สน ิ ทีต
่ ด
ิ ปั ญหาด ้านสภาพคล่องข ้างต ้นในอนาคต
ลงทุนเกินกว่าระดับทีก ่ าหนด กองทุนจะมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม
เพิ่มเติมเข ้ากองทุน และการคิดค่าธรรมเนียมอาจเกิดขึน ้ ได ้ทัง้ จาก 7. การไม่ขายหรือไม่ร ับซือ ้ คืนหน่วยลงทุนตามคาสง่ั ทีร่ ับไว้หรือจะ
ผู ้ชื้อ /สั บเปลี่ย นหน่ ว ยลงทุ น เข ้า หรือ จาก ผู ้ขาย/สั บเปลี่ยนหน่ ว ย ้ หรือคาสง่ั ขายคืนหน่วยลงทุน (Suspension of
หยุดร ับคาสง่ั ซือ
ลงทุนออกก็ ได ้ ซึง่ ขึน ้ อยู่กั บปริม าณธุ รกรรมที่เกิดขึ้น ตามเงื่ อ นไข dealings)
ที่ บลจ. กาหนด
การระงับการซือ ้ ขายหน่วยลงทุนเป็ นการชั่วคราวเพือ ่ ลดผลกระทบต่อ
การบริหารสภาพคล่องของกองทุน และโดยเฉพาะเพื่อ ป้ องกัน ไม่ ให ้
ปั ญหารุนแรงมากขึน ้ จนถึงขัน
้ ปิ ดกอง จัดเป็ นเครือ
่ งมือทีม
่ ผี ลกระทบสูง
การใช ้เครือ
่ งมือถูกควบคุมดูแลจากสานักงาน ก.ล.ต. เงือ ่ นไขของการ
นามาใช ้จะต ้องคานึงถึงประโยชน์โดยรวมของผู ้ถือหน่วยลงทุน

You might also like