You are on page 1of 22

STRATEGY REPORT

16 December 2020

ลงทุนอะไรดีในปี 2021
o เราประเมิน GDP ไทยปี หน้าฟื้ นตัว +4% Y-Y นาโดยการลงทุนภาครัฐทีเ่ ร่งตัวขึน้ และการส่งออกทีเ่ ติบโต
ตามการค้าโลกหลัง Reopen ขณะทีก่ ารบริโภคในประเทศคาดผ่านจุดต่าสุดแล้วใน 2Q20 และทยอยฟื้ นตัว
โดยมีแรงสนับสนุนจากนโยบายกระตุน้ จากภาครัฐทีค่ าดยังทยอยมีอย่างต่อเนื่องในปี หน้า รวมถึงราคา
สินค้าเกษตรส่วนใหญ่ปรับขึน้ เป็ นบวกต่อภาพกาลังซือ้ ในระยะถัดไป
o พัฒนาการของวัคซีน COVID-19 เป็ นจุดเปลีย่ นของเศรษฐกิจไทยโดยตรงเนื่องจากเป็ นประเทศเศรษฐกิจ
เปิ ด โดยไทยได้ลงนามจองซือ้ วัคซีนของ AstraZeneca แล้ว 26 ล้านโดสและคาดได้ใช้งานในช่วง 2Q21
เป็ นการยืนยันภาพทีค่ าดว่าจะสามารถทยอยเปิ ดประเทศได้ใน 2H21 หนุนภาคการท่องเทีย่ วและ
การแพทย์ให้ฟ้ื นตัวในระยะถัดไป
o ชัยชนะของโจ ไบเดนในการเลือกตัง้ ประธานาธิบดีสหรัฐฯทาให้ตลาดคาดหวังว่าสถานการณ์การค้าระหว่าง
สหรัฐฯ-จีนจะผ่อนคลายมากขึน้ สภาคองเกรสที่ 2 พรรคแบ่งกันครองเสียงข้างมากคนละชัน้ ทาให้นโยบาย
สุดโต่งต่างๆทาได้ยาก และเรามองบวกต่อการดาเนินนโยบายการคลังและการเงินทีจ่ ะสอดประสานกันมาก
ขึน้ ของเจเน็ท เยลเลน ว่าทีร่ มว.คลังคนใหม่ และเจอโรม พาวเวล ประธาน FED
o สภาพคล่องในตลาดทีล่ น้ จากการอัดฉีดเม็ดเงินจากธนาคารกลางหลักทั ่วโลกทัง้ FED ECB PBOC BOJ
ประกอบกับพัฒนาการของวัคซีน COVID-19 หนุนเม็ดเงินให้ไหลเข้าสินทรัพย์เสีย่ งอย่างต่อเนื่อง
โดยเฉพาะตลาดหุน้ เอเชีย รวมถึงตลาดหุน้ ไทยทีต่ ่างชาติต่างชาติขายสุทธิ 3 ปี ล่าสุดรวมกันราว 6 แสน
ลบ. ทาให้มโี อกาสซือ้ กลับ
o คาด EPS ของ SET ฟื้ นตัว +44% Y-Y ในปี 2021 ขึน้ มาอยูท่ ่ี 77 บาท จากฐานทีต่ ่าในปี 2020 และคาด
โตต่อเนื่องอีก +13.9% Y-Y ในปี 2022 ทาให้ช่วง 2 ปี ขา้ งหน้ามีการเติบโตเฉลีย่ ปี ละ 28.2% ขณะที่
Valuation คาดมี Premium จากค่าเฉลีย่ ในอดีตจากทัง้ การ Turnaround และแรงหนุนจากกระแสเงินทุนที่
ไหลเข้า
o เราประเมิน SET Target ที่ 1,600 จุด อิง PEG 0.73 เท่าซึง่ เทียบเท่า 2021PER ที่ 20.7 เท่าและ
2021PBV ที่ 1.76 เท่า ประเมินระยะสัน้ หุน้ Value Play จะยัง Outperform หุน้ Growth จาก Valuation ที่
ถูกกว่า เราแนะนา 3 Theme การลงทุน ได้แก่ เทคโนโลยีซง่ึ ได้ประโยชน์โดยตรงจาก COVID-19 ทีท่ าให้
พฤติกรรมผูบ้ ริโภคเปลีย่ นแปลง การบริโภคทีฟ่ ้ นตัวในปี หน้า และผลบวกจากความสาเร็จของวัคซีนและ
กระแสรักสุขภาพ โดยเลือก Top Pick 7 ตัวได้แก่ BEM BDMS KBANK JWD M MTC SYNEX

Finansia Top favorites in 2021


2021TP EPS growth (%) PE (x) PBV (x) Div Yld. ROE(%)
21E 22E 21E 22E 21E 22E 21E 21E
BEM* 11.00 106.1 18.7 33.9 28.6 3.0 2.8 1.5 10.1
BDMS* 28.00 33.0 34.9 39.5 29.5 3.9 3.7 1.8 10.1
KBANK* 144.0 16.8 16.2 10.7 9.3 0.6 0.6 2.7 6.1
JWD 10.00 20.5 9.3 25.6 23.4 2.9 2.8 2.8 11.3
M 63.00 55.25 14.0 116.6 12.9 22.1 19.2 3.5 4.1
MTC* 70.00 23.8 24.5 19.7 15.8 4.7 3.7 0.8 26.5
SYNEX 17.00 18.2 15.7 17.5 15.2 3.4 3.3 3.4 19.9
Analyst: Jitra Amornthum
Register No.: 014530
Note: * Figures are from FSSIA
E-mail: : jitra.a@fnsyrus.com
Source: Finansia Research
Tel. 662 646 9966
www.fnsyrus.com

หน้า 1 จาก 22
STRATEGY REPORT

เศรษฐกิ จไทยต้องเร่งปรับโครงสร้างเพื่อการเติ บโตที่ ยงยื


ั่ น
เศรษฐกิจไทยใน 3Q20 -6.4% Y-Y หดตัวติดต่อกันเป็ นไตรมาสที่ 3 แต่ฟ้ื นตัวเร็วเมื่อเทียบกับ -12.1% Y-Y
ใน 2Q20 จากการขับเคลื่อนของภาครัฐเป็ นหลักทัง้ การใช้จา่ ยและการลงทุน ขณะเดียวกันการบริโภค
ภาคเอกชนฟื้ นอย่างรวดเร็วจากมาตรการช่วยเหลือของภาครัฐในรูปแบบต่างๆ ทัง้ การให้ความช่วยเหลือ
ลูกหนี้สถาบันการเงิน การให้เลื่อนชาระภาษี เร่งคืนภาษีให้ผปู้ ระกอบการ การบรรเทาค่าธรรมเนียมและค่า
สาธารณูปโภค การช่วยเหลือธุรกิจ SMEs ตลอดจนโครงการเราเทีย่ วด้วยกัน คนละครึง่ และช้อปดีมคี นื
รวมเป็ น 14% ของ GDP เหล่านี้บรรเทาให้สภาพคล่องในระบบไม่ตงึ ตัว อย่างไรก็ตาม แม้วา่ ความเชื่อมั ่น
ของผูบ้ ริโภคจะสูงขึน้ จากการควบคุมสถานการณ์ COVID-19 ในประเทศได้ดี แต่ผบู้ ริโภคยังระมัดระวังใน
การจับจ่ายใช้สอย ด้วยอัตราการว่างงานทีย่ งั สูงและชั ่วโมงการทางานลดลง ทาให้การจับจ่ายสินค้าทีเ่ พิม่ ขึน้
ยังคงเป็ นกลุ่มสินค้าไม่คงทน ทัง้ อาหารและไม่ใช่อาหาร แต่กลุ่มสินค้าคงทนและกึง่ คงทนยังคงลดลง

เศรษฐกิ จไทยปี 2020 ทรุดหนักไม่แพ้วิกฤตปี 1997 ภาครัฐเป็ นหลักขับเคลื่อนเศรษฐกิ จในปี 2020-21

Source: NESDC, Finansia Research

ผู้บริโภคจับจ่ายสิ นค้าไม่คงทนมากกว่าประเภทอื่น ความเชื่อมั ่นผู้บริ โภคและภาคธุรกิ จฟื้ นค่อยๆฟื้ น

Source: NESDC, BOT, UTCC, Finansia Research

เราคาด GDP ปี 2021 ฟื้ นตัว +4% ภาครัฐยังเป็ นเครื่องจักรสาคัญขับเคลื่อนสาคัญโดยเฉพาะด้านการ


ลงทุน ขณะทีภ่ าคเอกชนทัง้ เรื่องการจับจ่ายและการลงทุน เชื่อว่าจะทยอยฟื้ นอย่างค่อยเป็ นค่อยไป โดยมี
สมมติฐานว่าชาวไทยจะเริม่ ได้รบั วัตซีนในช่วง 2H21 และการเดินทางระหว่างประเทศจะทยอยกลับสู่ภาวะ
ปกติ ขณะเดียวกันภาครัฐยังจาเป็ นต้องมีมาตรการกระตุ้นการบริโภคเป็ นระยะ ไม่วา่ อย่างไรก็ตาม
เศรษฐกิจไทยมีปัญหาเชิงโครงสร้างมานาน ถึงเวลาต้องปรับโครงสร้างเพื่อให้เศรษฐกิจเติบโตได้เต็ม
ศักยภาพและยั ่งยืน จากทีก่ ารลงทุนอยูใ่ นระดับต่ายาวนานกว่า 20 ปี และพึง่ พาการส่งออกเป็ นหลัก

หน้า 2 จาก 22
STRATEGY REPORT

ภาคต่างประเทศถูกกระทบรุนแรงจาก COVID-19 ระดับการลงทุนของไทยรังท้


้ ายประเทศเพื่อนบ้าน

Source: NESDC, Finansia Research

กาลังซื้อที่ หดตัวได้ผา่ นจุดตา่ สุดไปแล้วใน 2Q20


NESDB คาดการณ์การบริโภคภาคเอกชนปี 2020 จะหดตัว -0.9% Y-Y ถือเป็ นการติดลบครัง้ แรกในรอบ 11
ปี นบั ตัง้ แต่ปี 2009 เพราะถูกกระทบอย่างหนักจากการ Lockdown ในช่วง 2Q20 ซึง่ การบริโภคเอกชนหดตัว
มากสุด -6.8% Y-Y ลดลงแทบทุกกลุ่มสินค้า โดยเฉพาะสินค้าคงทน (เช่น รถยนต์) สอดคล้องกับดัชนีคา้ ปลีก
ทีต่ ดิ ลบหนักสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ในช่วงเดือน เม.ย. - พ.ค. ทีห่ ดตัว 28-29% Y-Y อย่างทีไ่ ม่เคยเกิดขึน้ มา
ก่อน ส่วนใหญ่เป็ นผลจากการถูกปิ ดสาขาเป็ นการชั ่วคราว รวมถึงความเชื่อมั ่นผูบ้ ริโภคที่รว่ งลงแตะระดับ
ต่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 47.2 ในเดือน เม.ย. ในขณะทีร่ ายได้ของประชาชนโดยเฉลี่ยถือว่าถูกกระทบไม่มาก
นัก เพราะมีการช่วยเหลือของหน่ วยงานทัง้ สถาบันการเงิน และสานักงานประกันสังคม เป็ นต้น ทัง้ นี้จาก
ตัวเลขการบริโภคเอกชน 9M20 ติดลบอยูร่ าว -1.57% Y-Y นั ่นหมายถึง NESDB ได้คาดการณ์การบริโภค
เอกชนจะพลิกเป็ นบวกใน 4Q20 ทีร่ าว 1.1% Y-Y

Private Consumption Index Retail Index and Wholesale Index

Source: BOT Source: BOT

หน้า 3 จาก 22
STRATEGY REPORT

Farm Income and Non-Farm Income Consumer Confidence

Source: BOT Source: UTCC

ภายหลัง Reopen การบริโภคภาคเอกชนได้กลับมาฟื้ นตัวรวดเร็วในช่วงปลายเดือน พ.ค. – มิ.ย. โดยอัตรา


การเติบโตยอดขายสาขาเดิม หรือ SSSG ของกลุ่มค้าปลีกใน 3Q20 ได้ฟ้ื นตัวเป็ นติดลบน้อยลงเหลือ -8.3%
Y-Y จากที่ -18.5% Y-Y ใน 2Q20 ส่วนหนึ่งต้องยอมรับว่าเป็ นผลของ Pent-up Demand (ความต้องการทีอ่ นั ้
มาช่วงก่อนหน้า) และแนวโน้ม SSSG ใน 4Q20 น่าจะฟื้ นตัวต่อเป็ นติดลบน้อยลง แม้จะมีปัญหาการชุมนุม
ทางการเมืองอยูบ่ า้ ง แต่เป็ นเหตุการณ์ช ั ่วคราว และกระทบจากัดต่อกลุ่มค้าปลีก ในขณะที่ได้รบั ผลบวกจาก
มาตรการกระตุน้ กาลังซือ้ ของภาครัฐ โดยเฉพาะมาตรการช้อปดีมคี นื ทีช่ ่วยหนุนกลุ่มลูกค้าหลักอย่างผูท้ ม่ี ี
รายได้เป็ นเงินเดือน บริษทั ทีไ่ ด้ประโยชน์ได้แก่ กลุ่มค้าปลีก (BJC CRC HMPRO MAKRO COM7 SYNEX
CPW SPVI) และกลุ่มร้านอาหาร (M ZEN OISHI) ส่วนมาตรการคนละครึง่ ได้รบั ผลบวกจากัด เพราะเป็ น
มาตรการที่เน้นช่วยผูป้ ระกอบการรายย่อย ร้านค้าชุมชนต่างๆ ทัง้ นี้เรามอง OSP CBG ICHI SAPPE และ
MAKRO น่าจะได้ประโยชน์ทางอ้อมมากทีส่ ดุ จากมาตรการนี้

อัตราการเติ บโตของยอดขายสาขาเดิ ม SSSG % Y-Y Growth

Source: Company Data, Finansia Research รวบรวม

หน้า 4 จาก 22
STRATEGY REPORT

สัดส่วนหนี้ ครัวเรือนต่อ GDP จะลดลงในระยะถัดไป


แม้สดั ส่วนหนี้ต่อ GDP จะพุ่งสูงขึน้ เป็ น 84% ในช่วง 2Q20 แต่เป็ นผลจาก GDP ทีห่ ดตัวลงเป็ นหลัก ในขณะ
ทีอ่ ตั ราการเพิม่ ขึน้ ของหนี้ครัวเรือนถือว่าไม่มากนักอยูท่ ่ี 3.8% Y-Y ต่าสุดในรอบ 12 ไตรมาส ส่วนหนึ่งอาจ
เป็ นผลจากการควบคุมการปล่อยสินเชื่อของภาคธนาคารทีเ่ ข้มงวดมากขึน้ และยังได้การสนับสนุนเงิน
ช่วยเหลือจากมาตรการภาครัฐ ทัง้ นี้เรามองว่าสัดส่วนหนี้ต่อ GDP จะทยอยลดลงต่ากว่าระดับ 80% ได้ใน
ระยะถัดไป ภายหลังตัวเลขทางเศรษฐกิจต่างๆกลับมาฟื้ นตัวอีกครัง้ และแนวโน้มราคาสินค้าเกษตรรวมถึง
รายได้เกษตรกรปรับตัวสูงขึน้ ต่อเนื่องหลัง Reopen

Household Loan to GDP Household Loan Growth % Y-Y

Source: BOT Source: BOT

ราคาสิ นค้าเกษตรโดยรวมปรับตัวสูงขึน้ เราชอบถัวเหลื


่ องมากสุด
ปั จจุบนั แนวโน้มรายได้เกษตรกรยังอยูใ่ นระดับทีด่ ี นอกจากโครงการประกันราคาสินค้าเกษตรของภาครัฐแล้ว
เราพบว่าดัชนีราคาสินค้าเกษตรโดยรวมปรับตัวสูงขึน้ ตัง้ แต่เดือน มิ.ย. 20 ทีผ่ า่ นมา และล่าสุดได้ขยับขึน้ มา
อยูท่ ่ี 145.03 จุด ทาจุดสูงสุดในรอบ 44 เดือน ซึง่ เป็ นการปรับขึน้ แทบทุกประเภทสินค้า นาโดย ยางพารา
ปาล์มน้ ามัน ปศุสตั ว์ รวมถึงกลุ่มผลไม้ มีเพียงราคาข้าวทีร่ าคาอ่อนตัวลงเล็กน้อย ทัง้ นี้ไม่เพียงแต่ประเทศ
ไทยทีร่ าคาปศุสตั ว์ยงั อยูใ่ นระดับที่ดี แต่ในหลายประเทศมีราคาปศุสตั ว์อยูใ่ นระดับที่ดดี ว้ ยเช่นเดียวกัน จาก
ปั ญหาโรคระบาดเช่น ASF ในหมู ในช่วงก่อนหน้า ในขณะที่ Demand เริม่ กลับมาฟื้ นตัวตามการ Reopen
อีกครัง้ ส่งผลให้ภาวะการเลีย้ งสัตว์กลับมาสูงขึน้ นั ่นหมายถึงทาให้ความต้องการใช้อาหารสัตว์สงู ขึน้ ตามไป
ด้วย โดยเฉพาะราคาถั ่วเหลือง ทีม่ ปี ั จจัยหนุนทัง้ ฝั ง่ Demand (ภาวะการเลีย้ งสัตว์สูงขึน้ ทั ่วโลก) และ Supply
(ปริมาณผลผลิตในสหรัฐ และอเมริกาใต้ตงึ ตัวจากสภาพอากาศ La Nina) ทาให้ภาะถั ่วเหลืองโลกตึงตัวมาก
ขึน้ ล่าสุดราคาปรับขึน้ ทา New High ในรอบ 4 ปี อยูท่ ร่ี ะดับ US$11.5 – US$12 ต่อบุชเชล และน่าจะทรงตัว
ถึงปรับขึน้ ต่อในช่วง 1H21 เป็ นอย่างน้อย เป็ นบวกต่อ TVO คาดจะเริม่ เห็นผลบวกต่อกาไรตัง้ แต่ 4Q20

หน้า 5 จาก 22
STRATEGY REPORT

Agricultural Price Index Agricultural Price Index by Product

Source: OAE Source: OAE

ราคาถั ่วเหลืองและกากถั ่วเหลืองตลาดล่วงหน้ าชิ คาโก

Source: Bloomberg

จานวนนักท่องเที่ ยวใช้เวลาอีก 3 ปี ก่อนกลับไปเท่าปี 2019


บนสมมติฐานทีเ่ ราจะมีวตั ซีนโควิด-19 และการเดินทางระหว่างประเทศทยอยกลับสูภ่ าวะปกติในช่วง 2H21
ธุรกิจท่องเทีย่ วจึงใช้เวลานานกว่าธุรกิจอื่นในการฟื้ นตัว ทัง้ นี้ ในปี 2018-2019 ประเทศไทยมีรายได้จาก
การท่องเทีย่ วคิดเป็ นสัดส่วน 17.3% ของ GDP (1.81-1.85 ล้านล้านบาทต่อปี ) จากจานวนนักท่องเทีย่ ว
ต่างชาติทร่ี ะดับ 38-40 ล้านคนต่อปี โดยชาวจีนมีสดั ส่วนมากสุด 28% ของจานวนนักท่องเทีย่ วทัง้ หมด
มาตรการ Lockdown ของไทยและหลายประเทศตัง้ แต่ 2Q20 นอกจากจะกระทบรายได้ 17.3% ของ GDP
แล้วยังกระทบตลอดทัง้ Supply chain คือรายได้จากการท่องเทีย่ วของคนไทยด้วยกันเองอีก 6% ของ GDP
บุคลากรในอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วจานวนกว่า 8 ล้านคน คิดเป็ น 11% ของประชากรทัง้ ประเทศ หรือ 21%
ของกาลังแรงงานทัง้ หมด ซึง่ กระทบต่อเนื่องมายังการบริโภคในประเทศทีอ่ ่อนแอและต้องการยากระตุน้ จาก
ภาครัฐ ภายหลังจากการเดินทางระหว่างทยอยดีขน้ึ ในช่วง 2H21 คาดว่าจานวนนักท่องเทีย่ วต่างชาติจะมี
จานวน 12 ล้านคนและเพิม่ เป็ น 30 ล้านคนในปี 2022 ก่อนจะกลับไปใกล้เคียง 40 ล้านคนในปี 2023
เท่ากับใช้เวลา 3 ปี จงึ จะกลับไปเท่าช่วงก่อน COVID-19

หน้า 6 จาก 22
STRATEGY REPORT

นักท่องเที่ยวต่างชาติ ตามสัญชาติ ปี 2019 ก่อน COVID-19 จานวนนักท่องเที่ยว 9M20

Source: Ministry of Tourism & Sports, Finansia Research

จานวนนักท่องเที่ยวชาวจีน จานวนนักท่องเที่ยวอาจใช้เวลา 3 ปี กลับเป็ นปกติ

Source: Ministry of Tourism & Sports, Finansia Research

ประมาณการเศรษฐกิ จปี 2020-2021


% Y-Y 2018 2019 2020E 2021E
NESDC BOT NESDC BOT
GDP 4.2 2.4 -6.0 -7.8 3.5-4.5 3.6
การบริโภคภาคเอกชน 4.6 4.5 -0.9 -3.5 2.4 2.0
การลงทุนภาคเอกชน 4.1 2.8 -8.9 -11.4 4.2 4.2
การอุปโภคภาครัฐ 2.6 1.4 3.6 3.4 4.7 5.1
การลงทุนภาครัฐ 2.9 0.2 13.7 8.8 12.4 11.4
มูลค่าการส่งออก (US$) 7.5 -3.3 -7.5 -8.2 4.2 4.5
เงินเฟ้ อ 1.1 0.7 -0.9 -0.9 0.7-1.7 1.0
ดุลบัญชีเดินสะพัด (% GDP) 5.6 7.0 2.8 4.5 4.4 4.5
Source: สศช., ธปท. (คาดการณ์เมือ่ เดือน ก.ย. 2020)

หน้า 7 จาก 22
STRATEGY REPORT

วัคซีนเป็ น Game changer ของฟันด์โฟลว์


หลังจาก Pfizer เปิ ดเผยผลการทดสอบวัคซีน COVID-19 เฟส 3 ว่ามีประสิทธิภาพสามารถป้ องกันการติดเชือ้
ได้เกือบ 95% เมื่อวันที่ 9 พ.ย. 2020 เป็ นจุดเริม่ ต้นให้กระแสเงินทุนไหลเข้าสินทรัพย์เสีย่ งทีเ่ คย
underperform ตัง้ แต่ตน้ ปี อย่างเห็นได้ชดั ราคาน้ ามันและตลาดหุน้ โดยเฉพาะหุน้ ยุโรปในเดือน พ.ย. ปรับขึน้
แรง สวนทางราคาทองคาทีป่ รับลง เช่นเดียวกับตลาดหุน้ ในภูมภิ าคเอเชียทีต่ ลาดหุน้ ไทยกลับมาปรับขึน้ แรง
สุดในเดือน พ.ย. หลังจากเป็ นตลาดที่ underperform ทีส่ ดุ ในช่วง 10 เดือนแรกเพราะถูกกระทบหนักสุดจาก
การแพร่ระบาดของ COVID-19
ผลตอบแทนของสิ นทรัพย์ลงทุน Nov-20 (% M-M) ผลตอบแทนของสิ นทรัพย์ลงทุน 11M20

Note: All asset class in 2020 – as of 30 November 2020


Source: Bloomberg, Finansia Research

ผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชีย Nov-20 (% M-M) ผลตอบแทนของตลาดหุ้นเอเชียปี 11M20

Note: All asset class in 2020 – as of 30 November 2020


Source: Bloomberg, Finansia Research

หน้า 8 จาก 22
STRATEGY REPORT

ผลตอบแทนของตลาดหุ้นในเอเชียปี 2003-11M20
2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 11M20

Thailand Indonesia S.Korea V ietnam China Malaysia Indonesia Indonesia Philippines SET V ietnam China China SET V ietnam India Taiw an S.Korea
116.6% 44.6% 54.0% 144.50% 96.7% -39.3% 87.0% 46.1% 4.1% 35.8% 22.0% 52.9% 9.4% 19.8% 48.0% 5.9% 23.3% 17.9%

India V ietnam India China Indonesia S.Korea India SET Indonesia Philippines Taiw an India V ietnam Indonesia Hong Kong Indonesia China Taiw an
72.9% 43.3% 42.3% 130.4% 52.1% -40.7% 81.0% 40.6% 3.2% 33.0% 11.8% 29.9% 6.1% 15.3% 36.0% -2.5% 22.3% 13.9%

Indonesia Philippines V ietnam Indonesia India Taiw an China Philippines Malaysia India Malaysia Philippines S.Korea V ietnam India Malaysia India China
62.8% 26.4% 28.5% 55.3% 47.1% -46.0% 80.0% 37.6% 0.8% 25.7% 10.5% 22.8% 2.4% 14.8% 27.9% -5.9% 14.4% 11.2%

Philippines Singapore Indonesia India Hong Kong SET Taiw an S.Korea SET Hong Kong India Indonesia Philippines Taiw an Philippines Taiw an Hong Kong India
41.6% 15.6% 16.2% 46.7% 39.3% -47.6% 78.3% 21.9% -0.7% 22.9% 9.0% 22.3% -3.9% 11.0% 25.1% -8.6% 9.1% 7.0%

Hong Kong Malaysia Philippines Philippines S.Korea Hong Kong Singapore Malaysia S.Korea Singapore Hong Kong SET Malaysia S.Korea S.Korea Singapore S.Korea V ietnam
34.9% 14.3% 15.0% 42.3% 32.3% -48.3% 64.5% 19.3% -11.0% 19.7% 2.9% 15.3% -3.9% 3.3% 21.8% -9.8% 7.7% 4.4%

Singapore Hong Kong Singapore Hong Kong Malaysia Philippines SET India Singapore V ietnam Philippines V ietnam India India Indonesia V ietnam V ietnam Malaysia
32.8% 13.2% 14.0% 34.2% 31.8% -48.3% 63.2% 17.4% -17.0% 17.7% 1.3% 8.1% -5.0% 1.9% 20.0% -9.3% 7.7% -1.6%

Taiw an India Thailand Singapore SET Singapore Philippines Singapore Hong Kong Indonesia S.Korea Taiw an Hong Kong Hong Kong Singapore SET Singapore Hong Kong
32.3% 13.1% 6.8% 28.0% 26.2% -49.2% 63.0% 10.1% -20.0% 12.9% 0.7% 8.1% -7.2% 0.4% 18.1% -10.8% 5.0% -6.6%

S.Korea S.Korea Taiw an Malaysia V ietnam Indonesia V ietnam Taiw an Taiw an Malaysia Singapore Singapore Taiw an Singapore Taiw an Philippines Philippines SET
29.2% 10.5% 6.7% 21.8% 23.3% -50.6% 56.8% 9.6% -21.2% 10.3% 0.0% 6.2% -10.4% -0.1% 15.0% -12.8% 4.7% -10.9%

Malaysia Taiw an Hong Kong Taiw an Philippines India Hong Kong Hong Kong China S.Korea Indonesia Hong Kong Indonesia Philippines SET Hong Kong Indonesia Indonesia
22.8% 4.2% 4.5% 19.5% 21.4% -52.4% 52.0% 5.3% -21.7% 9.4% -1.0% 1.3% -12.1% -1.6% 13.7% -13.6% 1.7% -10.9%

China Thailand Malaysia S.Korea Singapore China S.Korea V ietnam India Taiw an SET S.Korea SET Malaysia Malaysia S.Korea SET Singapore
10.3% -13.5% -0.80% 4.0% 18.7% -65.4% 49.7% -2.0% -24.6% 8.9% -6.7% -4.8% -14.0% -3.0% 9.4% -17.3% 1.0% -12.9%

V ietnam China China Thailand Taiw an V ietnam Malaysia China V ietnam China China Malaysia Singapore China China China Malaysia Philippines
-8.9% -15.4% -8.3% -4.7% 8.7% -66.0% 45.2% -14.3% -27.5% 3.2% -6.7% -5.7% -14.3% -12.3% 6.6% -24.6% -6.0% -13.1%

Note: All equity indices in 2020 – as of 30 November 2020


Source: Bloomberg, Finansia Research

ผลตอบแทนราย Sector ของตลาดหุ้นไทยปี 2003-11M20


2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 11M20
PETRO HELTH HELTH HELTH PETRO COMM AGRI PETRO HELTH PROP ETRON HELTH HELTH AGRI PETRO HELTH FIN ETRON
266.95% 31.75% 45.81% 46.58% 64.34% -17.25% 175.11% 180.50% 58.98% 78.94% 34.39% 48.33% 29.97% 57.78% 42.67% 5.66% 25.87% 169.30%
ENERG ICT FOOD TOURISM ENERG AGRI CONMAT AGRI ICT COMM TRANS TRANS FIN COMM TRANS FIN FOOD AGRI
214.30% 14.69% 29.68% 43.52% 59.85% -24.80% 111.78% 128.17% 43.20% 73.56% 21.85% 37.86% 26.06% 40.98% 37.24% 3.21% 15.06% 61.38%
ICT TRANS ENERG COMM MEDIA ICT PETRO COMM COMM FIN HELTH CONS TOURISM ENERG TOURISM TRANS ICT FOOD
161.75% 12.26% 27.91% 27.86% 29.56% -26.03% 107.44% 83.41% 39.65% 65.00% 8.23% 34.81% 18.61% 38.45% 33.70% -5.40% 13.66% 0.96%
HELTH ENERG COMM FOOD FOOD FOOD BANK ETRON MEDIA MEDIA ICT FIN ETRON PETRO PROP ENERG MEDIA FIN
147.78% -2.23% 23.44% 17.94% 22.00% -36.64% 105.50% 55.37% 20.21% 63.68% 3.85% 30.42% 18.32% 36.08% 22.56% -6.26% 13.18% -0.52%
PROP COMM AGRI TRANS ETRON TOURISM PROP FOOD FOOD TOURISM FIN BANK TRANS FOOD COMM PETRO TRANS PETRO
127.62% -3.37% 22.26% 6.67% 19.22% -38.10% 93.68% 49.67% 16.12% 58.22% 3.67% 30.11% 8.68% 34.82% 21.70% -10.35% 11.91% -1.99%
TRANS AGRI ETRON PROP COMM HELTH TRANS HELTH FIN TRANS TOURISM ETRON CONMAT FIN ENERG BANK ENERG CONMAT
112.04% -8.66% 20.65% 1.79% 16.18% -38.12% 87.18% 42.98% 3.19% 55.68% 2.76% 29.52% 8.48% 34.44% 19.64% -10.62% 8.92% -5.54%
CONMAT CONMAT TOURISM PETRO BANK MEDIA ETRON CONMAT TOURISM ICT PETRO PROP CONS ETRON MEDIA COMM HELTH COMM
97.20% -10.51% 15.40% -2.55% 15.03% -41.03% 71.20% 41.08% 2.89% 50.80% 1.72% 23.35% 0.41% 19.08% 16.11% -13.08% -0.51% -10.43%
BANK TOURISM BANK ENERG PROP ENERG FOOD BANK PROP HELTH AGRI ICT PETRO BANK BANK ICT COMM CONS
91.78% -12.38% 12.11% -2.90% 12.94% -49.87% 69.60% 34.16% -0.71% 46.98% -4.71% 21.24% -1.19% 17.71% 14.81% -14.22% -1.55% -11.36%
FIN PETRO ICT ETRON ICT BANK COMM ENERG BANK BANK COMM TOURISM COMM TRANS ICT CONMAT CONMAT ENERG
66.00% -14.14% -30.32% -2.90% 12.92% -51.26% 61.02% 31.02% -3.83% 43.53% -8.00% 20.92% -8.28% 15.49% 11.85% -14.77% -7.01% -11.79%
FOOD BANK MEDIA BANK FIN CONMAT FIN TRANS CONMAT CONMAT CONMAT CONMAT PROP HELTH FIN PROP PROP HELTH
61.85% -15.16% -4.61% -4.31% 9.27% -52.26% 58.72% 30.31% -5.15% 36.88% -8.48% 17.75% -11.01% 9.09% 6.68% -15.65% -9.83% -14.35%
COMM FOOD PROP AGRI TRANS PROP ENERG MEDIA ENERG FOOD PROP AGRI FOOD ICT FOOD AGRI BANK ICT
61.02% -17.90% -5.93% -5.15% 4.83% -53.17% 48.11% 27.33% -7.00% 35.36% -9.54% 13.44% -11.95% 5.41% -0.75% -17.20% -13.83% -15.43%
MEDIA FIN TRANS CONMAT HELTH ETRON HELTH PROP TRANS ETRON ENERG MEDIA ENERG PROP CONMAT ETRON ETRON TRANS
52.74% -25.92% -9.53% -6.30% 4.00% -56.64% 32.33% 25.33% -25.84% 33.38% -10.41% 9.90% -20.71% 5.10% -3.71% -18.01% -14.26% -15.72%
TOURISM ETRON CONMAT MEDIA TOURISM FIN MEDIA FIN AGRI AGRI FOOD COMM MEDIA CONMAT HELTH TOURISM AGRI MEDIA
26.71% -28.79% -9.63% -7.69% 1.42% -57.94% 27.54% 20.19% -27.51% 7.19% -13.03% 8.48% -22.39% 0.99% -7.53% -22.10% -17.55% -15.95%
ETRON MEDIA FIN FIN CONMAT TRANS ICT TOURISM ETRON ENERG BANK FOOD AGRI CON ETRON FOOD CONS PROP
24.55% -39.43% -15.62% -18.17% -2.27% -67.32% 21.34% 16.44% -32.26% 7.14% -15.37% 8.18% -28.05% 0.44% -14.31% -22.76% -22.00% -17.25%
AGRI PROP PETRO ICT AGRI PETRO TOURISM ICT PETRO PETRO MEDIA ENERG BANK TOURISM CONS CONS TOURISM TOURISM
11.21% -40.67% -18.56% -30.32% -4.86% -67.35% 15.37% 13.34% -32.68% 6.23% -18.98% -2.38% -28.63% -3.50% -14.34% -26.59% -23.76% -18.75%
CONS CONS CONS CONS CONS CONS CONS CONS CONS CONS CONS PETRO ICT MEDIA AGRI MEDIA PETRO BANK
0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% 0.00% -24.06% -39.46% -7.93% -15.95% -29.32% -24.86% -27.04%

Note: All sector indices in 2020 – as of 30 November 2020


Source: SET, Finansia Research

หน้า 9 จาก 22
STRATEGY REPORT

ไทยจะได้ใช้วคั ซีน COVID-19 ใน 2Q21 และคาดเริ่ มทยอยเปิ ดประเทศครึ่งปี หลัง


พัฒนาการวัคซีน COVID-19 ของทัง้ Pfizer&BioNTech Moderna และ AstraZenaca&Oxford ถือเป็ นจุด
เปลีย่ นและเป็ นปั จจัยบวกอย่างมากต่อการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจไทยโดยเฉพาะในช่วง 2H21 เป็ นต้นไปที่
คาดว่าจะทาให้การเดินทางระหว่างประเทศเริม่ ทยอยกลับสูภ่ าวะปกติเป็ นลาดับ ซึง่ หลังจากมีการเปิ ดเผย
ผลการทดสอบระยะที่ 3 ของทัง้ Pfizer และ Moderna ทีใ่ ห้ประสิทธิผลถึง 94-95% รวมถึงของ
AstraZeneca ทีร่ าว 70% ปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างการยื่นขออนุมตั ใิ ช้งานฉุกเฉินในหลายประเทศหลักทัง้ สหรัฐฯ
ยุโรป รวมถึงล่าสุดอังกฤษทีเ่ ป็ นประเทศแรกของโลกทีอ่ นุมตั ใิ ห้ใช้งานวัคซีนของ Pfizer แล้ว และหลาย
ประเทศอยูร่ ะหว่างดาเนินการและเตรียมอนุมตั ใิ ช้งานวัคซีนของทัง้ 3 บริษทั ตามมาในระยะเวลาอันใกล้
สาหรับการแผนการกระจายวัคซีนของ Pfizer ในปี น้ีคาดว่าจะอยูท่ ่ี 50 ล้านโดส (เพียงพอสาหรับ 25 ล้าน
คน) แม้จะลดลงจากเป้ าเดิมที่ 100 ล้านโดส โดยมีปัญหาด้าน Supply Chain บางส่วนจากวัตถุดบิ ทีไ่ ม่ผา่ น
มาตรฐาน สาหรับปี 2021 คาดว่าจะสามารถผลิตและแจกจ่ายวัคซีนได้กว่า 1.3 พันล้านโดส (ราว 650 ล้าน
คน)
อย่างไรก็ตาม เรามองว่าวัคซีนของ Pfizer อาจมีขอ้ จากัดด้านการขนส่งทีต่ อ้ งใช้อุณหภูมติ ดิ ลบถึง 70 องศา
เซลเซียส ขณะที่วคั ซีนทีค่ าดว่าจะใช้เป็ นตัวหลักทีจ่ ะกระจายแพร่หลายคือของ AstraZeneca เนื่องจากมี
ราคาทีถ่ ูกกว่า Pfizer และ Moderna มากเพียงโดสละราว 120 บาท (Pfizer และ Moderna โดสละราว 600-
1,000 บาท) รวมถึงการขนส่งทีท่ าได้สะดวกกว่าโดยใช้อุณภูมชิ ่องแช่แข็งปกติ โดยปั จจุบนั มีหลายประเทศ
สั ่งซือ้ ล่วงหน้าแล้วกว่า 2.6 พันล้านโดส
สาหรับประเทศไทยมีแผนจัดหาวัคซีน COVID-19 และตัง้ เป้ าให้คลอบคลุม 50% ของประชากรหรือราว 33
ล้านคน โดยจะใช้วคั ซีนทัง้ หมด 66 ล้านโดส มาจาก 6 แนวทาง คือ
1. วิจยั และพัฒนาวัคซีนภายในประเทศ งบประมาณ 400 ล้านบาท

2. ทาความร่วมมือวิจยั และรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตวัคซีนจากต่างประเทศ งบประมาณ


600 ล้านบาท
3. จัดหาวัคซีนล่วงหน้าผ่านโดยเข้าร่วม COVAX Facility รวมถึงการจองล่วงหน้ าจาก AstraZeneca
จานวน 26 ล้านโดส (เพียงพอสาหรับ 13 ล้านคน) โดยล่าสุดได้ลงนามสัญญาแล้วในวันที่ 27
พ.ย. 2020 และคาดว่าจะได้รบั วัคซีนในช่วงกลางปี 2021

หน้า 10 จาก 22
STRATEGY REPORT

ข้อมูลเปรียบเทียบ COVID-19 แนวทางจัดหาวัคซีนของประเทศไทย

Source: Respctive Companies, WHO and BBC Source: CCSA

กาลังการผลิตของ Pfizer Moderna และ AstraZeneca ในปี 2021 คาดว่าจะอยูท่ ป่ี ระมาณ 5.3 ล้านโดส ซึง่
จะเพียงพอสาหรับประชากรราว 2.6-3.1 พันล้านคน (ขึน้ อยูก่ บั จานวนโดสทีใ่ ช้ของ AstraZeneca ที่ 1.5
หรือ 2 โดสต่อคน) ซึง่ จะคิดเป็ นสัดส่วนราว 34% ของประชากรโลกภายในปี 2021 โดยยังไม่รบั รวมวัคซีน
ของ Gamaleya ของรัสเซียทีม่ กี าลังการผลิต 1 พันล้านโดส เพียงพอสาหรับ 500 ล้านคน หากอิงจานวน
ประชากรโลกที่ราว 7.8 พันล้านคน และได้รบั วัคซีนสัดส่วนราว 60% ของทัง้ หมด จะต้องการวัคซีนราว 9.4
พันล้านโดส โดยคาดว่าจะสามารถผลิตและแจกจ่ายได้คลอบคลุมในปี 2022

COVID-19 Vaccine Pre-Order by Developers

Source: Nature

หน้า 11 จาก 22
STRATEGY REPORT

Biden ชนะการเลือกตัง้ เป็ นบวกต่อการค้าโลกและกระแสเงิ นทุนที่ ไหลเข้าเอเชีย


เรามีมมุ มองเชิงบวกต่อชัยชนะของ Joe Biden ในการเลือกตัง้ ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ซึง่ ทาให้ตลาดคาดหวัง
ต่อบรรยากาศการค้าโลกโดยเฉพาะกับจีนที่คาดว่าจะผ่อนคลายและกลับสูภ่ าวะปกติมากขึน้ แม้ล่าสุด
Biden กล่าวว่าจะยังไม่ยกเลิกข้อตกลงการค้ารวมถึงกาแพงภาษีทท่ี รัมป์ ทาไว้กบั จีนในทันที รวมถึงยังคงมี
นโยบายต่อต้านจีนโดยเฉพาะการละเมิดทรัพย์สนิ ทางปั ญญา การทุ่มตลาด แต่ในแง่วธิ กี ารคาดว่าจะมีความ
เป็ นสากลและประนีประนอมมากขึน้ ทัง้ ในด้านการเจรจาการค้า รวมถึงให้น้ าหนักกับความร่วมมือระหว่าง
ประเทศและชาติพนั ธมิตร ซึง่ หมายถึงมีโอกาสทีจ่ ะกลับมาเข้าร่วมเขตการค้าเสรีอย่าง CPTPP ในอนาคต
(เดิมคือ TPP ซึง่ สหรัฐฯเป็ นหัวเรือใหญ่และได้ถอนตัวในปี 2017 ในสมัยของ Trump) หรืออาจจัดตัง้ เขต
การค้าเสรีใหม่ และสะท้อนผ่านการเลือกทีมงานเข้าดารงตาแหน่งสาคัญในรัฐบาล โดยเฉพาะว่าทีร่ ฐั มนตรี
คลังอย่าง Janet Yellen อดีตประธาน FED ซึง่ มีมมุ มองสายกลางสาหรับกรณีพพิ าทกับจีน รวมถึง
สนับสนุนแนวคิดการค้าเสรีมากกว่าคณะทางานของ Trump นอกจากนี้ เรามีมมุ มองเป็ นบวกโดยเฉพาะการ
ดาเนินงานนโยบายการคลังร่วมกับประธาน FED คนปั จจุบนั อย่าง Jerome Powell ในการอัดฉีดสภาพ
คล่องและกระตุน้ เศรษฐกิจทีค่ าดว่าจะมีประสิทธิผลและมีความความสอดประสานกันมากขึน้ ซึง่ จะส่งผลดี
ต่อการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจในระยะถัดไป โดยในฝั ง่ ของนโยบายการคลัง Biden ต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจ
ผ่านนโยบายการคลังวงเงิน US$3.4 ล้านล้าน ประกอบกับ FED ทีย่ งั เดินหน้าทา QE ไม่จากัดและคาดว่ามี
โอกาสต่ออายุโครงการเงินกูฉ้ ุกเฉินทีจ่ ะสิน้ สุดวันที่ 31 ธ.ค. 2020 อัตราดอกเบีย้ นโยบายทีย่ งั อยู่ในระดับต่า
0-0.25% และคาดว่าจะยังไม่มกี ารดูดสภาพคล่องกลับในช่วง 1-2 ปี ขา้ งหน้า ทาให้แนวโน้มค่าเงินดอลลาร์
สหรัฐฯยังอยูใ่ นทิศทางอ่อนค่า และหนุ นให้กระแสเงินทุนไหลเข้าสู่ภูมภิ าคเอเชียต่อเนื่องจากสภาพคล่องใน
ตลาดโลกทีส่ งู และเป็ นตลาดทีค่ วบคุมสถานการณ์ COVID-19 ได้ดแี ละมีการเติบโตของเศรษฐกิท่ดี ที สี ดุ ใน
โลก
Asia-Pacific Regional Trade Group

Source: Caixin

หน้า 12 จาก 22
STRATEGY REPORT

นอกจากนี้ การทีร่ ฐั สภาสหรัฐฯไม่มพี รรคใดครองเสียงข้างมากอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด โดยพรรคเดโมแครต


ครองเสียงข้างมากในสภาผูแ้ ทนฯ ขณะทีร่ พี บั ลิกนั ครองเสียงข้างมากในชัน้ วุฒสิ ภา เป็ นอีกปั จจัยสาคัญที่
หนุนเม็ดเงินให้ไหลเข้าสูส่ นิ ทรัพย์เสีย่ ง เนื่องจากนโยบายสุดโต่งต่างๆ เช่น การเพิม่ เพดานภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา และโดยเฉพาะการเพิม่ ภาษีนิตบิ ุคคลจากปั จจุบนั ที่ 21% เป็ น 28% ซึง่ เป็ นลบต่อกาไรของ
บริษทั จดทะเบียนและ EPS ของตลาดหุน้ สหรัฐฯ รวมถึงการเก็บภาษี Capital Gain คาดว่าจะไม่สามารถ
ผ่านชัน้ วุฒสิ ภาและบังคับใช้เป็ นกฎหมายได้

สรุปนโยบายของ Joe Biden


Policy
Economy - เน้นกระตุน้ เศรษฐกิจผ่านนโยบายการคลังวงเงินสูงถึง US$3.4 ล้านล้าน รวมถึงการ
ลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐาน สนับสนุนการเติบโตของชนชัน้ กลาง ขึน้ ค่าแรงขัน้ ต่าเป็ น
US$15 ต่อชัวโมง ่
Taxes - ขึน้ ภาษีนติ บิ ุคคลจาก 21% เป็ น 28%
- เพิม่ เพดานภาษีบุคคลธรรมดาสูงสุดจาก 37% เป็ น 39.6%
- เก็บภาษี Capital Gain Tax
Trade - ยังดารงสถานะไม่ให้สหรัฐฯเสียประโยชน์ แต่ใช้วธิ กี ารและท่าทีประนีประนอมและ
ร่วมมือชาติพนั ธมิตรมากขึน้
Healthcare - เพิม่ สวัสดิการ Obama Care (Affordable Care Act) ให้คลอบคลุมมากขึน้
Immigrant - กลับเป็ นประเทศทีเ่ ป็ นมิตรต่อผูอ้ พยพ และยกเลิกนโยบายที่ทรัมป์ เคยดาเนินการ
Violence - นโยบายลดบทลงโทษของการมียาเสพติดและกัญชา (ให้ถอื ว่าผูเ้ สพติดเป็ นผูป้ ่ วย
ไม่ใช่อาชญากร)
- ให้มรี ะบบประกันตัวโดยไม่ตอ้ งวางเงินสดและเพิม่ งบประมาณจ้างทนายสาธารณะ
Foreign - เพิม่ ความร่วมมือกับพันธมิตรระหว่างประเทศมากขึน้ และยังต่ อต้านการค้าจีนทีไ่ ม่เป็ น
ธรรม
Energy - เน้นพลังงานสะอาด
Source: Finansia Research Summarizes

เดโมแครตครองเสียงข้างมากในสภาผู้แทนฯ ส่วนรีพบั ลิ กนั ครองชัน้ วุฒิสภา

Source: Edison Research/NEP via Reuters and BBC

หน้า 13 จาก 22
STRATEGY REPORT

สภาพคล่องล้น ดอกเบีย้ ตา่ กระแสเงิ นทุนไหลเข้าเอเชี ย


การขยายงบดุลของธนาคารกลางสาคัญของโลก (FED, ECB, PBOC, BOJ) รวมถึงธนาคารกลางประเทศ
อื่นๆ เพื่อประคองเศรษฐกิจทีถ่ ูกกระทบอย่างรุนแรงจาก COVID-19 คิดเป็ นขนาดใหญ่ถงึ 22% ของ GDP
โลก งบดุลของ Fed ทีเ่ ริม่ ปรับลงในช่วงต้นปี 2019 เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วตัง้ แต่เดือน มี.ค. 2020 ในช่วงการ
แพร่ระบาดของ COVID-19 ในสหรัฐรุนแรงขึน้ จนต้องปิ ดเมือง โดย Fed ซือ้ สินทรัพย์ต่างๆ รวมถึงตราสาร
หนี้ภาคเอกชนโดยตรง (จากเดิมซื้อผ่านกองทุน ETF) และเป็ นการซือ้ โดยไม่จากัดปริมาณเงิน (Unlimited
QE) จนขนาดงบดุลของ FED ณ สิน้ เดือน พ.ย. 2020 พุง่ ขึน้ ไปถึง US$7.2 ล้านล้าน สูงสุดเป็ น
ประวัตกิ ารณ์ คิดเป็ นประมาณ 32% ของ GDP เช่นเดียวกับธนาคารกลางอื่นทัง้ ECB, BOJ และ PBOC
หากเทียบปริมาณเงิน (M2) ของสหรัฐในยุค COVID-19 (สิน้ เดือน พ.ย. 2020) สูงกว่าปี 2009 ที่ Fed อัด
ฉีดเม็ดเงินด้วย QE ไปแล้วถึง 2.3 เท่า ส่วน M2 ในจีนสูงกว่าปี 2009 ถึงกว่า 4 เท่า

งบดุลของ Fed เพิ่มขึน้ สูงสุดเป็ นประวัติการณ์ เช่นเดียวกับ ECB และ BOJ

Source: Bloomberg, Finansia Research

ปริมาณเงิน (M2) สูงกว่าในช่วง Subprime หลายเท่า แต่อตั ราเงินเฟ้ อกลับตา่ ลง

Source: Bloomberg, Finansia Research

หน้า 14 จาก 22
STRATEGY REPORT

แม้วา่ อัตราเงินเฟ้ อในหลายประเทศจะอยูใ่ นระดับต่า บางประเทศเงินเฟ้ อถึงขัน้ ติดลบ แต่ปริมาณเงินใน


ระบบโลกทีส่ งู มาก ค่าเงินดอลลาร์มแี นวโน้มอ่อนค่า และกิจกรรมทางเศรษฐกิจทีค่ อ่ ยๆฟื้ นตัว จะทาให้อตั รา
เงินเฟ้ อทยอยเพิม่ สูงขึน้ อย่างช้าๆในอนาคต แต่การปรับเปลีย่ นนโยบายการเงินครัง้ สาคัญของ Fed ในการ
ประชุมปลายเดือน ส.ค. 2020 ทีเ่ ปลีย่ นมาใช้เป้ าหมายอัตราเงินเฟ้ อเฉลีย่ (Flexible Average Inflation
Targeting) แทนเป้ าหมายเดิมทีใ่ ช้อตั ราเงินเฟ้ อคงที่ หมายถึง Fed ยินยอมให้เงินเฟ้ อสูงขึน้ เกินเป้ าหมายที่
2% ได้ในบางช่วงเวลาโดยไม่จาเป็ นต้องรีบปรับขึน้ อัตราดอกเบี้ย ยิง่ เป็ นสัญญาณบวกต่อสินทรัพย์เสีย่ ง
โดยเฉพาะตลาดหุน้ ในเอเชีย

อัตราดอกเบีย้ จะอยู่ในระดับตา่ ต่อไปอีกระยะใหญ่ อัตราดอกเบีย้ สุทธิ หลายประเทศยังติ ดลบ

Source: Bloomberg, Finansia Research

นักลงทุนต่างชาติขายหุน้ ไทยติดต่อกันเป็ นปี ท่ี 4 นับตัง้ แต่ปี 2017 ถึง พ.ย. 2020 รวมเป็ นเม็ดเงิน 6.14
แสนล้านบาท ปั จจุบนั สัดส่วนการถือครองหุน้ ไทยลดเหลือเพียง 26% ต่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ หากนับการ
กลับมาซือ้ หุน้ ไทยของนักลงทุนต่างชาติตงั ้ แต่ตน้ เดือน พ.ย. ทีม่ ขี า่ ววัคซีนของ Pfizer มีประสิทธิภาพ
มากกว่า 90% จนถึงปั จจุบนั รวมเป็ นการซือ้ สุทธิ 4.1 หมื่นล้านบาท เทียบกับทีข่ ายในช่วง lockdown (มี.ค.-
มิ.ย.) 1.8 แสนล้านบาท หากนักลงทุนต่างชาติกลับมาซือ้ ทัง้ หมดของทีข่ ายไปในช่วง lockdown กระแส
เงินทุนไหลเข้าน่าจะใช้เวลาอีกราว 3-4 เดือน

ยอดซื้อขายสะสมของต่างชาติ ในตลาดหุ้นเอเชีย ยอดซื้อขายของต่างชาติ ในหุ้นไทยปี 1995-2020

Source: Bloomberg, Finansia Research

หน้า 15 จาก 22
STRATEGY REPORT

เงินทุนที่ไหลเข้าหุ้นไทยน่ าจะใช้เวลาอีก 3-4 เดือน แนวโน้ มบาทแข็งยังดึงดูดเม็ดเงินต่างชาติ

Source: Bloomberg, Finansia Research

ประเทศในเอเชียรับมือกับ COVID-19 ได้ดีกว่า ตลาดหุ้นในเอเชียปรับตัวดีกว่าตลาด DM เช่นกัน

Source: Bloomberg, FSS Research

คาดการณ์ EPS Growth +28.2% 2Y CAGR ประเมิ น SET Target 1,600 จุด
เราคาดการณ์ EPS ปี 2020 หดตัวติดต่อกันเป็ นปี ทส่ี อง -38.8% Y-Y เหลือ 53.41 บาทจากการหดตัวของ
หุน้ กลุ่มทีเ่ กีย่ วกับการท่องเทีย่ ว และกลุ่ม Commodity อย่างกลุ่มพลังงานและปิ โตรเคมี อย่างไรก็ตาม EPS
ปี 2021 คาดฟื้ นแรง +44.2% Y-Y เป็ น 77.02 บาท และฟื้ นต่อเนื่อง +13.9% Y-Y เป็ น 87.72 บาทในปี
2022 (ใช้เวลา 2 ปี กาไรจึงกลับไปเท่าปี 2019) คิดเป็ นการเติบโตเฉลีย่ ในช่วง 2 ปี ขา้ งหน้า 28.2% CAGR
สูงกว่าการเติบโตเฉลีย่ ของตลาดหุน้ ในภูมภิ าคที่ 23.5% CAGR ทัง้ นี้ ประมาณการของเราต่ากว่า
Bloomberg consensus 5%
SET Index ปั จจุบนั ที่ 1,450 จุด คิดเป็ น 2021PE 18.2 เท่า หรือ PEG (2Y) 0.65 ต่ากว่าค่าเฉลีย่ ใน
ภูมภิ าคที่ 0.77 เราประเมิน SET Index ปี 2021 อิง PEG 0.73 discount จากภูมภิ าค 5% ได้ 1,600 จุด ณ
ระดับดัชนีดงั กล่าวคิดเป็ น Implied PE ปี 2021 ที่ 20.7 เท่า แม้จะสูงกว่าค่าเฉลีย่ 5 ปี ยอ้ นหลังที่ 15.6 เท่า
แต่ยงั ต่ากว่า PE (high) ในปี 2008-2009 ที่ 23 เท่าซึง่ เป็ นปี ทก่ี ระแสเงินทุนไหลเข้าจาก QE และปริมาณ
เงินในระบบน้อยกว่าปั จจุบนั นอกจากนี้ ระดับดัชนี 1,600 จุดคิดเป็ น Implied PBV 1.76 เท่า หรือ -0.5SD
ของค่าเฉลีย่ ย้อนหลัง 5 ปี

หน้า 16 จาก 22
STRATEGY REPORT

คาดการณ์ EPS Growth ของตลาดหุ้นไทย ความสามารถในการทากาไรของไทยตา่ กว่าเพื่อนบ้าน

Source: Finansia Research, Bloomberg

EPS CAGR (2Y) ของหุ้นไทยสูงกว่าค่าเฉลี่ยในภูมิภาค PEG (2021-2022) ของหุ้นไทยถูกกว่าภูมิภาค

Source: Thai stock market numbers are calculated by Finansia Research. Other markets are from Bloomberg consensus.

PBV ของหุ้นไทยตา่ กว่าค่าเฉลี่ย 15 ปี แต่ดแู พงในมุมของ PE

Source: Finansia Research, Bloomberg

หน้า 17 จาก 22
STRATEGY REPORT

Value stocks ได้อานิ สงส์จาก Fund Flow ก่อน แต่ Growth stocks ควรอยู่ในเรดาร์
จากประเด็นบวกใหม่ทห่ี ลั ่งไหลเข้าสูต่ ลาดหุน้ โดยเฉพาะการมีวคั ซีนโควิด-19 ซึง่ ทาให้เศรษฐกิจโลกไม่
กลับไปถดถอยแต่จะทยอยฟื้ นตัว ทาให้นักลงทุนหันกลับมาหา Value stocks เพราะ Valuation ทีย่ งั ถูก
โดยกลุ่มธนาคาร กลุ่มพลังงานและปิ โตรเคมี และกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ เป็ น 3 กลุ่มทีม่ ี Forward PE และ
PBV ถูกทีส่ ดุ จะเห็นว่า SET50 (ซึง่ มีสดั ส่วนของกลุ่มธนาคารและพลังงานจานวนมาก) ในช่วงตัง้ แต่ Fund
flow เริม่ ไหลเข้าในช่วงต้นเดือน พ.ย. ปรับตัวขึน้ แรงกว่า sSET อย่างไรก็ตาม แม้วา่ Growth stocks จะมี
Valuation สูงกว่า แต่การเติบโตของกาไรในระยะยาวสูงกว่าเช่นกัน เราคิดว่าหุน้ ทีม่ กี าไรเติบโตสูงและเป็ น
กาไรทีม่ คี ุณภาพควรได้รบั ความสนใจจากนักลงทุน จังหวะการพักฐานของหุน้ เหล่านี้เป็ นโอกาสทีด่ ใี นการ
เลือกสะสม

กระแสเงินทุนไหลเข้าผลักดันหุ้นขนาดใหญ่

Source: SET

Value stocks มี Valuations ถูกกว่า Growth stocks จึงได้รบั ความสนใจในลาดับแรก

Source: Bloomberg

หน้า 18 จาก 22
STRATEGY REPORT

Theme #1: New economy – Tech stocks


หุน้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเทคโนโลยียงั คงเป็ นหุน้ ที่ได้ประโยชน์ จาก COVID-19 ในระยะยาว เพราะเป็ นปั จจัยทีเ่ ร่ง
ให้คนรับการใช้งานดิจติ อลเข้ามาเป็ นส่วนหนึ่งของชีวติ ได้เร็วขึน้ ในแทบทุกกิจกรรม ทัง้ การเรียนการสอน
การทางาน การประชุม ออกกาลังกาย กีฬา การแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ นโยบายสนับสนุนและกระตุน้
การบริโภคของภาครัฐทีด่ าเนินการแผ่นแอพพลิเคชั ่น “เป๋ าตัง” เป็ นอีกปั จจัยกระตุน้ สาคัญให้ประชาชนระดับ
รากหญ้าเข้าถึงการใช้งานเทคโนโลยี นอกจากนี้บริษทั หลายแห่งมีการลงทุนเปลี่ยนระบบการทางาน
ซอฟต์แวร์จากระบบ On Premise เป็ นระบบ On Cloud ซึง่ มีความยืดหยุ่นและสะดวกสาหรับเทรด์ Work
from Anywhere ส่งผลให้การใช้งานด้าน Data เพิม่ มากขึน้ อย่างทวีคณ ู ซึง่ จากพฤติกรรมผูบ้ ริโภคที่
เปลีย่ นแปลงและรับกับเทคโนโลยีได้มากขึน้ คาดว่าจะช่วยหนุนให้อตั ราการตอบรับ (Adoption Rate) ของ
เทคโนโลยี 5G ทีเ่ พิง่ เปิ ดตัวในไทยตัง้ แต่ 4Q20 คาดว่ามีโอกาสทีจ่ ะปรับตัวเพิม่ ขึน้ เร็วกว่าทีต่ ลาดคาด
รวมถึงไปถึงทาให้เกิดการทยอยเปลีย่ นอุปกรณ์ให้รองรับการใช้งาน 5G รวมถึงการเชื่อมโยงของอุปกรณ์
และ Gadget ต่างๆหรือทีเ่ รียกว่า IoT ทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ อย่างมากในระยะยาว แม้วา่ ในอนาคต COVID-19 จะมี
บทบาทน้อยลงและผ่านไปหลังจากหลายประเทศเริม่ ใช้งานวัคซีน COVID-19 ฉุกเฉินแล้ว แต่การใช้
เทคโนโลยีจะเป็ น Next normal ทีย่ งั คงอยูถ่ าวร เราประเมินผูท้ ่ไี ด้ประโยชน์ ได้แก่ กลุ่มผูใ้ ห้บริการ
โครงข่ายโทรคมนาคมอย่าง ADVANC ผูใ้ ห้บริการวางระบบโครงสร้างพืน้ ฐานและซอฟต์แวร์ ITEL IIG
HUMAN รวมถึงผูจ้ าหน่ายสินค้าไอทีและผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่าง CPW SYNEX KCE HANA
Our favorites
2021TP EPS growth (%) PE (x) PBV (x) Div Yld. ROE(%)
21E 22E 21E 22E 21E 22E 21E 21E
ADVANC 216.00 3.9 10.4 19.7 17.4 6.6 5.9 3.6 34.8
CPW 2.93 124.0 30.0 13.7 10.6 1.7 1.6 4.4 12.7
KCE 44.00 81.1 17.3 24.0 20.5 3.9 3.7 2.9 16.3
HANA 46.00 33.2 10.0 15.2 13.8 1.5 1.4 4.3 9.7
HUMAN 10.60 17.2 13.8 31.4 27.6 4.6 4.2 1.6 14.9
ITEL 3.80 -4.9 8.1 14.9 13.5 1.4 1.2 2.1 7.6
IIG 25.25 40.6 20.9 27.6 23.3 4.2 3.6 2.2 16.0
SYNEX 17.00 18.2 15.7 17.5 15.2 3.4 3.3 3.4 19.9
Source: Finansia Research

Theme #2: Resilient Consumption and E-commerce


เราคาดว่าการบริโภคภาคเอกชนปี 2021 จะกลับมาฟื้ นตัว +2.5% Y-Y จากทัง้ การฟื้ นตัวของ Demand ใน
ประเทศตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทยอยกลับมาคึกคักมากขึน้ รวมถึงคาดหวังการฟื้ นตัวของนักท่องเทีย่ ว
เข้ามาช่วยจับจ่ายใช้สอยและหนุ น SSSG ให้ฟ้ื นตัวโดยเฉพาะในช่วง 2H21 แรงหนุ นจากการเบิกจ่าย
งบประมาณของภาครัฐทีส่ งู ขึน้ และยังคงเป็ นหนึ่งในเครื่องยนต์หลักที่ขบั เคลื่อนเศรษฐกิจ รวมถึงคาดว่าจะ
ยังเห็นมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจและกาลังซือ้ จากภาครัฐทีท่ ยอยออกมาอย่างต่อเนื่ อง ซึง่ คาดว่าจะทาให้ผล
การดาเนินงานของกลุ่มค้าปลีกฟื้ นตัวได้แข็งแรงในปี 2021 จากฐานทีต่ ่าผิดปกติในปี 2020

Top Picks ในธีมการบริโภค เราเลือกกลุ่มค้าปลีก CPALL HMPRO และ DOHOME, กลุ่มเครื่องดื่ม OSP
และ TACC, กลุ่มอาหาร M และ TVO, กลุ่มโลจิสติกส์ทข่ี ยายตัวตามการจับจ่ายและ E-Commerce คือ
JWD รวมถึง BEM ทีเ่ ป็ นธุรกิจ Defensive แปรผันตามสภาพเศรษฐกิจ แม้ปี 2020 ได้รบั ผลกระทบจาก
COVID-19 จากการล็อกดาวน์ แต่เรามองว่าผ่านจุดต่าสุดแล้ว ทิศทางกาไรคาดฟื้ นตัวเด่นในปี 2021 ตาม
ปริมาณรถบนทางด่วน และจานวนผูใ้ ช้รถไฟฟ้ าเร่งขึ้นกลับสูร่ ะดับปกติ นอกจากนี้ กลุ่มอสังหาริมทรัพย์ จะ
ได้กาลังซือ้ และความเชื่อมั ่นทีฟ่ ้ื นตัวจะเป็ นแรงหนุ นต่อทิศทางอุปสงค์ของตลาดอสังหาฯ ซึง่ เป็ นหนึ่งใน
ปั จจัยสีข่ องการดารงชีวติ เราประเมินกาไรปี 2021 ของกลุ่มอสังหาฯจะฟื้ นตัวได้ครัง้ แรกในรอบ 2 ปี เทียบ

หน้า 19 จาก 22
STRATEGY REPORT

กับปี 2019 ทีถ่ ูกกดดันจากการเริม่ ใช้เกณฑ์ LTV ใหม่ และปี 2020 จาก COVID-19 เราเลือก NOBLE,
ORI, SPALI

Our favorites
2021TP EPS growth (%) PE (x) PBV (x) DivYld. ROE(%)
21E 22E 21E 22E 21E 22E 21E 21E
CPALL* 77.00 64.5 19.4 23.8 19.1 27.9 23.5 6.0 1.4
HMPRO* 16.50 14.5 13.8 25.2 10.1 31.1 28.1 8.3 2.6
DOHOME 15.00 13.5 11.1 30.6 13.9 32.5 28.6 3.8 1.4
JWD 10.00 20.5 9.3 25.6 23.4 2.9 2.8 2.8 11.3
OSP* 43.00 38.0 13.2 14.9 7.3 29.7 27.7 5.9 2.6
TACC 7.40 6.45 14.7 13.2 7.0 18.3 17.1 5.3 4.9
M 63.00 55.25 14.0 116.6 12.9 22.1 19.2 3.5 4.1
MTC* 70.00 23.8 24.5 19.7 15.8 4.7 3.7 0.8 26.5
TVO 39.00 31.25 24.8 39.7 0.5 11.2 11.1 2.7 7.6
BEM* 11.00 106.1 18.7 33.9 28.6 3.0 2.8 1.5 10.1
NOBLE 24.30 6.5 3.9 6.0 5.8 1.5 1.5 10.1 25.3
ORI 9.00 10.8 6.1 6.1 5.8 1.5 1.3 6.8 22.0
SPALI* 21.00 21.5 9.8 8.3 7.5 1.0 0.9 5.8 12.4
Note: * Figures are from FSSIA
Source: Finansia Research

Theme #3: Vaccine Plays and Health Conscious


เราประเมินพัฒนาการของวัคซีน COVID-19 ของทัง้ 3 บริษทั หลักอย่าง Pfizer&BioNTech Moderna และ
AstraZeneca เป็ นปั จจัยหลักในการปลดล็อคมาตรการควบคุมต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเดินทางระหว่าง
ประเทศทีค่ าดว่าจะทยอยกลับสูภ่ าวะปกติโดยเฉพาะในช่วง 2H21 หลังจากประเทศหลักๆในโลกได้ใช้งาน
วัคซีนอย่างเพียงพอในระดับหนึ่ง ซึง่ จะหนุนให้จานวนนักท่องเที่ยวทยอยฟื้ นตัวขึน้ ซึง่ เป็ นบวกต่อประเทศ
ไทยมากทีส่ ดุ เนื่องจากพึง่ พานักท่องเทีย่ วในระดับสูง แม้วา่ การฟื้ นตัวจะเป็ นไปอย่างค่อยเป็ นค่อยไปและยัง
ไม่กลับสูร่ ะดับปกติในเร็วๆนี้ แต่คาดว่าภาวะอุตสาหกรรมและผลการดาเนินงานผ่านช่วงทีแ่ ย่สุดไปแล้ว เรา
จึงมองบวกต่อกลุ่มโรงแรมอย่าง MINT CENTEL ส่วนการคลายมาตรการควบคุมการระบาดของภาครัฐเป็ น
บวกต่อธุรกิจโรงภาพยนต์อย่าง MAJOR รวมถึงได้แรงหนุนจากหนังทาเงินเกือบทัง้ หมดทีถ่ ูกเลื่อนมาอยูใ่ น
ปี 2021 นอกจากนี้ อีกหนึ่งอุตสาหกรรมทีจ่ ะได้ประโยชน์จากการกลับมาของนักท่องเทีย่ วต่างชาติคอื กลุ่ม
การแพทย์ ซึง่ ไทยมีจุดเด่นด้านบริการที่เป็ นเลิศและจาเป็ นต้องยกระดับให้เป็ น Medical Hub ของภูมภิ าค
รวมไปถึงแรงหนุนจากกระแสรักสุขภาพ (Heath Conscious) ทีม่ าแรง ซึง่ หนุ นให้บริการด้าน Preventive
Care (Wellness) มีการเติบโตทีด่ แี ละยังเป็ นกลุ่มทีย่ งั Laggard ตลาด เราชอบ BDMS BCH CHG EKH
และ IP

Our favorites
2021TP EPS growth (%) PE (x) PBV(x) DivYld. ROE(%)
21E 22E 21E 22E 21E 22E 21E 21E
BDMS* 28.00 33.0 34.9 39.5 29.5 3.9 3.7 1.8 10.1
BCH* 20.00 12.3 15.5 24.9 21.7 4.5 4.0 1.9 18.8
CHG* 3.30 21.1 15.2 29.6 25.0 6.4 5.7 2.0 22.6
CENTEL* 29.00 nm nm nm 56.5 3.4 3.2 0.0 -4.4
EKH 5.25 170.8 20.9 24.3 20.4 3.4 3.2 3.3 14.3
IP 15.00 28.0 15.2 30.0 26.5 2.7 2.5 1.6 16.1
MAJOR* 18.00 nm 35.9 21.6 15.9 2.7 2.5 4.4 13.1
MINT* 29.00 nm nm nm nm 2.3 2.2 0.0 -10.1
Note: * Figures are from FSSIA
Source: Finansia Research

หน้า 20 จาก 22
บริษ ัทหล ักทร ัพย์ ฟิ น ันเซีย ไซร ัส จาก ัด (มหาชน)
สาน ักงานใหญ่ สาน ักงานเอ็ ม บี เค ทาวเวอร์ สาน ักงานอ ัลม่าลิงค์ สาน ักงานอ ัมรินทร์ ทาวเวอร์ สาขา เซ็ นทร ัลปิ่ นเกล้า 1
999/9 อาคารดิ ออฟฟิ ศเศส แอท ้ 15 อาคารเอ็ม บี เค ทาวเวอร์
ชัน ้ 9,14,15
25 อาคารอัลม่าลิงค์ ชัน 496/502 อาคารอัมรินทร์ ทาวเวอร์ 7/129-221 อาคารเซ็นทรัล ปิ่ นเกล ้า
้ 18 , 25
เซ็นทรัลเวิลด์ ชัน เลขที่ 444 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ ซ.ชิดลม ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี ้ 20 ถ.เพลินจิต แขวงลุมพินี
ชัน ้ ที่ 16 ห ้อง 2160/1
ทาวเวอร์ ชัน
ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน จ.กรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน จ.กรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน จ.กรุงเทพมหานคร ถ.บรมราชชนนี แขวง อรุณอมรินทร์
เขตปทุมวัน จ.กรุงเทพมหานคร 02-680-0700, 02-680-0777 02-646-9600, 02-646-9999 02-660-5000, 02-264-6000 เขต บางกอกน ้อย จ.กรุงเทพมหานคร
02-658-9000, 02-658-9500 02-878-5999

สาขา บางกระปิ สาขา บางนา สาขา สินธร 1 สาขา เคีย


่ นหงวน (สินธร 2) สาขา แจ้งว ัฒนะ
้ 3
3105 อาคารเอ็นมาร์ค ชัน 589 หมู่ 12 อาคารชุดทาวเวอร์ 1 130-132 อาคารสินธร ทาวเวอร์ 1 140/1 อาคารเคีย ้ 18
่ นหงวน 2 ชัน 99, 99/9
ห ้องเลขที่ A3R02 ถ.ลาดพร ้าว ้ 19 ห ้องเลขที่ 589/105
ออฟฟิ ศ ชัน ้ 2 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี
ชัน ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เซ็นทรัลแจ ้งวัฒนะ ออฟฟิ ศ ทาวเวอร์
แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ (เดิม 1093/105) เขตปทุมวัน จ.กรุงเทพมหานคร เขตปทุมวัน จ.กรุงเทพมหานคร ยูนต ้ 19
ิ เลขที่ 1904 ชัน
จ.กรุงเทพมหานคร ถ.บางนา-ตราด(กม.3) แขวงบางนา 02-690-4100 02-254-1717 หมู่ 2 ถ.แจ ้งวัฒนะ, บางตลาด
02-378-4545 เขตบางนา จ.กรุงเทพมหานคร ปากเกร็ด, จ.นนทบุรี
02-740-7100 02-005-4193


สาขา ประชาชืน สาขา ร ังสิต สาขา ร ัตนาธิเบศร์
้ 4
105/1 อาคารบี ชัน ้ 2, 2.5, 3 หมู๋ 17
1/832 ชัน 576 ถ.รัตนาธิเบศร์
ถ.เทศบาลสงเคราะห์ แขวงลาดยาว ซอยพหลโยธิน 60 ถนนพหลโยธิน ต.บางกระสอ อ.เมืองนนทบุรี
เขตจตุจักร จ.กรุงเทพมหานคร ต.คูคต อ.ลาลูกกา จ.ปทุมธานี จ.นนทบุรี
02-580-9130 02-993-8180 02-831-8300

สาขา ขอนแก่น สาขา อุดรธานี สาขาเชียงใหม่ 2 สาขา เชียงราย สาขา แม่สาย


311/1 197/29, 213/3 310 353/15 หมู่ 4 ต.ริมกก 119 หมู่ 10 ต.แม่สาย
ถ.กลางเมือง (ฝั่ งริมบึงแก่นนคร) ถ.อุดรดุษฏี ต. หมากแข ้ง หมูบ
่ ้านเชียงใหม่แลนด์ อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย อ.แม่สาย จ.เชียงราย
ต. ในเมือง อ.เมืองอุดรธานี จ.อุดรธานี ถ.ช ้างคลาน ต.ช ้างคลาน 053-750-120 053-640-599
อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น 042-245-589 อ.เมือง จ.เชียงใหม่
043-058-925 053-235-889, 053-204-909

สาขา นครราชสีมา สาขา ออนไลน์ภเู ก็ต สาขา หาดใหญ่ สาขา ตร ัง สาขา สุราษฏ์ธานี
198/1 ตรอกสมอราย 22/18 ้ ลอย ถ.ประชาธิปัตย์
106 ชัน 59/28 ถ.ห ้วยยอด ต.ทับเทีย
่ ง 173/83-84 หมู่ 1 ถ.วัดโพธิ-์ บางใหญ่
ต.ในเมือง ถ.หลวงพ่อวัดฉลอง ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา อ.เมืองตรัง จ.ตรัง ต.มะขามเตีย
้ อ.เมืองสุราษฎ์ธานี
อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา ต.ตลาดใหญ่ อ.เมืองภูเก็ต 074-243-777 075-211-219 จ.สุราษฎ์ธานี
044-288-700, 044-014-322, จ.ภูเก็ต 077-222-595
044-014-323 076-210-499

สาขา ปัตตานี
300/69-70 หมู่ 4 ต.รูสะมิแล
อ.เมือง จ.ปั ตตานี
073-350-140-4

คานิยามของคาแนะนาการลงทุน
BUY ้ ” เนือ
“ซือ ่ งจากราคาปั จจุบน ั ตา่ กว่า มูลค่าตามปั จจัยพืน
้ ฐาน โดยคาดหวังผลตอบแทน 10%
HOLD “ถือ” เนือ ่ งจากราคาปั จจุบน ั ตา่ กว่า มูลค่าตามปั จจัยพืน
้ ฐาน โดยคาดหวังผลตอบแทน 0% - 10%
SELL “ขาย” เนือ ่ งจากราคาปั จจุบน ั สูงกว่า มูลค่าตามปั จจัยพืน ้ ฐาน
TRADING BUY “ซือ้ เก็งกาไรระยะสัน ้ ” เนือ
่ งจากมีประเด็นทีม ่ ผ ้ แม ้ว่าราคาปั จจุบน
ี ลบวกต่อราคาหุ ้นในระยะสัน ั จะสูงกว่ามูลค่าตามปั จจัยพืน
้ ฐาน
OVERWEIGHT “ลงทุนมากกว่าตลาด” เนือ ่ งจากคาดหวังผลตอบแทนที่ สูงกว่า ตลาด
NEUTRAL “ลงทุนเท่ากับตลาด” เนือ ่ งจากคาดหวังผลตอบแทนที่ เท่าก ับ ตลาด
UNDERWEIGHT “ลงทุนน ้อยกว่าตลาด” เนือ ่ งจากคาดหวังผลตอบแทนที่ ตา่ กว่า ตลาด
หมายเหตุ : ผลตอบแทนทีค ่ นแปลงตามความเสีย่ งของตลาดทีเ่ พิม
่ าดหวังอาจเปลีย ่ ขึน
้ หรือลดลงในขณะนัน

DISCLAIMER: รายงานฉบับนีจ ้ ัดทาโดยบริษัทหลักทรัพย์ ฟิ นันเซีย ไซรัส จากัด (มหาชน) “บริษัท” ข ้อมูลทีป ่ รากฏในรายงานฉบับนีถ ้ กู จัดทาขึน ้ บนพืน
้ ฐานของ
่ ว่าหรือควรเชือ
แหล่งข ้อมูลทีเ่ ชือ ่ ว่ามีความน่าเชือ ่ ถือ และ/หรือมีความถูกต ้อง อย่างไรก็ตามบริษัทไม่รับรองความถูกต ้องครบถ ้วนของข ้อมูลดังกล่าว ข ้อมูลและความเห็นที่
ปรากฏอยูใ่ นรายงานฉบับนีอ ้ าจมีการเปลีย ่ นแปลง แก ้ไข หรือเพิม ่ เติมได ้ตลอดเวลาโดยไม่ต ้องแจ ้งให ้ทราบล่วงหน ้า บริษัทไม่มค ี วามประสงค์ทจ ้ วนให ้ผู ้
ี่ ะชักจูงหรือชีช
ลงทุน ลงทุนซือ ้ หรือขายหลักทรัพย์ตามทีป ่ รากฏในรายงานฉบับนี้ รวมทัง้ บริษัทไม่ได ้รับประกันผลตอบแทนหรือราคาของหลักทรัพย์ตามข ้อมูลทีป ่ รากฏแต่อย่างใด บริษัท
จึงไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการนาข ้อมูลหรือความเห็นในรายงานฉบับนีไ้ ปใช ้ไม่วา่ กรณีใดก็ตาม ผู ้ลงทุนควรศึกษาข ้อมูลและใช ้ดุลยพินจ ิ อย่าง
รอบคอบในการตัดสินใจลงทุน
บริษัทขอสงวนลิขสิทธิใ์ นข ้อมูลและความเห็นทีป ่ รากฏอยูใ่ นรายงานฉบับนี้ ห ้ามมิให ้ผู ้ใดนาข ้อมูลและความเห็นในรายงานฉบับนีไ้ ปใช ้ประโยชน์ คัดลอก ดัดแปลง ทาซา้
นาออกแสดงหรือเผยแพร่ตอ ่ สาธารณชนไม่วา่ ทัง้ หมดหรือบางส่วน โดยไม่ได ้รับอนุญาตเป็ นลายลักษณ์อก ั ษรจากบริษัทล่วงหน ้า การลงทุนในหลักทรัพย์มค ี วามเสีย่ ง ผู ้
ลงทุนควรศึกษาข ้อมูลและพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนการตัดสินใจลงทุน

บริษัทหลักทรัพย์ ฟิ นันเซีย ไซรัส จากัด (มหาชน) อาจเป็ นผู ้ดูแลสภาพคล่อง (Market Maker) และผู ้ออกใบสาคัญแสดงสิทธิอนุพน
ั ธ์ (Derivative Warrants) บน
หลักทรัพย์ AAV, ADVANC, AEONTS, AMATA, ANAN, AOT, AP, BANPU, BBL, BCH, BCP, BCPG, BDMS, BEAUTY, BEC, BEM, BGRIM, BH, BJC, BLAND, BPP,
BTS, CBG, CENTEL, CHG, CK, CKP, COM7, CPALL, CPF, CPN, DELTA, DTAC, EA, EGCO, EPG, ERW, ESSO, GFPT, GLOBAL, GPSC, GULF, GUNKUL, HANA,
HMPRO, INTUCH, IRPC, IVL, JAS, JMT, KBANK, KCE, KKP, KTB, KTC, LH, MAJOR, MBK, MEGA, MINT, MTC, ORI, OSP, PLANB, PRM, PSH, PSL, PTG, PTT,
PTTEP, PTTGC, QH, RATCH, ROBINS, RS, SAWAD, SCB, SCC, SGP, SIRI, SPALI, SPRC, STA, STEC, SUPER, TASCO, TCAP, THAI, THANI, TISCO, TKN,
TMB, TOA, TOP, TPIPP, TRUE, TTW, TU, TVO, WHA และ SET50 Future โดยบริษัทฯ อาจจัดทาบทวิเคราะห์ของหลักทรัพย์อ ้างอิงดังกล่าว ดังนัน ้ นักลงทุนควร
ศึกษารายละเอียดในหนังสือชีช ้ วนของใบสาคัญแสดงสิทธิอนุพน
ั ธ์ดงั กล่าวก่อนตัดสินใจลงทุน

หน้า 21 จาก 22
Thai Institute of Directors Association (IOD) – Corporate Governance Report Rating 2019

ช่ ว งค ะแนน ั ลก
สญ ั ษ ณ์ ค วามหมาย
100-90 ดี เ ลิศ
80-89 ดี ม าก
70-79 ดี
60-69 ดี พอ ใช ้
50-59 ผ่ าน
<50 no logo giv en n/a

ส ัญล ักษณ์ N/R หมายถึง “ไม่ปรากฏชือ


่ ในรายงาน CGR”

IOD (IOD Disclaimer)

ผลสารวจการกากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนทีแ ่ สดงไว ้นี้ เป็ นผลทีไ่ ด ้จากการสารวจและประเมินข ้อมูลทีบ ่ ริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย


และตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ ("บริษัทจดทะเบียน") เปิ ดเผยต่อสาธารณะ และเป็ นข ้อมูลทีผ ่ ู ้ลงทุนทัว่ ไปสามารถเข ้าถึงได ้ ผลสารวจดังกล่าวจึงเป็ นการนาเสนอ
ข ้อมูลในมุมมองของบุคคลภายนอกต่อมาตรฐานการกากับดูแลกิจการของบริษัทจดทะเบียน โดยไม่ได ้เป็ นการประเมินผลการปฏิบต ั งิ านหรือการดาเนินกิจการของบริษัท
จดทะเบียน อีกทัง้ มิได ้ใช ้ข ้อมูลภายในของบริษัทจดทะเบียนในการประเมิน ดังนัน ้ ผลสารวจทีแ
่ สดงนีจ ้ งึ ไม่ได ้เป็ นการรับรองถึงผลการปฏิบต ั งิ านหรือการดาเนินการของ
บริษัทจดทะเบียน และไม่ถอ ื เป็ นการให ้คาแนะนาในการลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนหรือคาแนะนาใดๆ ผู ้ใช ้ข ้อมูลจึงควรใช ้วิจารณญาณของตนเองในการ
วิเคราะห์และตัดสินใจในการใช ้ข ้อมูลใด ๆ ทีเ่ กีย ่ วกับบริษัทจดทะเบียนทีแ ่ สดงในผลสารวจนี้
ั้ ้ บริษ ัทหล ักทร ัพย์ ฟิ น ันเซีย ไซร ัส จาก ัด (มหาชน) มิได้ยน
ทงนี ื ย ันหรือร ับรองถึงความครบถ้วนและถูกต้องของผลสารวจด ังกล่าวแต่อย่างใด

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

โครงการแนวร่วมปฏิบ ัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (THAI CAC)

1 ข ้อมูล CG Score ประจาปี 2562 จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

2 ข ้อมูลบริษัททีเ่ ข ้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัตข
ิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต ้านทุจริต (Thai CAC) ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย

(ข ้อมูล ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2561) มี 2 กลุม


่ คือ

- ได ้ประกาศเจตนารมณ์เข ้าร่วม CAC

- ได ้รับการรับรอง CAC

หน้า 22 จาก 22

You might also like