You are on page 1of 198

คูมือการควบคุมและบำรุงรักษาระบบบำบัดน้ำเสียโรงพยาบาล ระบบบอปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ

คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ a
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
b ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
ที่ปรึกษา
นายแพทย์กรกฤช ลิ้มสมมุติ ผู้อ�ำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข
ผศ.ดร. สมพงษ์ หิรัญมาศสุวรรณ นักวิชาการอิสระ (ด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)

ผู้จัดพิมพ์และเรียบเรียง
1) นางสาววิระวรรณ เมืองประทับ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
2)นางสาวศุภษร วิกล วิศวกรสิ่งแวดล้อม

จัดพิมพ์และแผยแพร่โดย
กองบริหารการสาธารณสุข ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ ต�ำบลตลาดขวัญ อ�ำเภอเมือง
จังหวัดนนทบุรี 11000

สถานที่พิมพ์
บริษัท บอร์ท ทู บี พับลิชชิ่ง จ�ำกัด
53/1 หมู่ 7 ถนนสวนหลวงร่วมใจ ต�ำบลสวนหลวง
อ�ำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 74110
โทรศัพท์ 0 2813 7378 โทรสาร 0 2813 7378

พิมพ์ครั้งที่ 1 กันยายน 2565 จ�ำนวน 500 เล่ม


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ ก

บทน�ำ
โรงพยาบาลถือว่าเป็นหน่วยงานที่ให้บริการประชาชนด้านการส่งเสริม ป้องกันและรักษา
สุขภาพ ในกระบวนการและกิจกรรมการรักษาส่งผลให้เกิดของเสียภายในโรงพยาบาล เช่น
น�้ำเสีย มูลฝอยรวมถึงการใช้เคมีในการรักษาซึ่งเกิดจากกิจกรรมการรักษาพยาบาลและกิจกรรม
สนับสนุนการให้บริการ โดยของเสียที่เกิดขึ้นล้วนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน
โดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็นต้องได้รับการบ�ำบัดและก�ำจัดอย่างถูกวิธีตามหลักมาตรฐาน
โดยน�้ ำ เสี ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทางโรงพยาบาลได้ จั ด ให้ มี ร ะบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย เพื่ อ ท� ำ การบ� ำ บั ด น�้ ำ ทิ้ ง
ก่อนระบายออกสู่สาธารณะ
ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียในโรงพยาบาลมีความแตกต่างกันตามความเหมาะสมกับบริบท โดยอาจจะ
ขึ้นอยู่กับลักษณะของการใช้น�้ำและกิจกรรมของโรงพยาบาล ขนาดของพื้นที่ สถานที่ตั้งและพื้นที่
โดยรอบ เป็นต้น จากการศึกษาชนิดของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาลในสังกัดส�ำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขปีงบประมาณ 2565 จ�ำนวน 901 แห่ง พบว่าระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ส่วนใหญ่เป็นระบบเอเอสแบบสมบูรณ์จ�ำนวน 256 แห่ง (ร้อยละ 28.41) รองลงมาระบบบ�ำบัด
น�้ำเสียชนิดส�ำเร็จรูป (แบบถังไร้อากาศและแบบเติมอากาศ) จ�ำนวน 157 แห่ง (ร้อยละ 17.46)
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบเอสบีอาร์ จ�ำนวน 150 แห่ง (ร้อยละ 16.65) ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
คลองวนเวียนจ�ำนวน 122 แห่ง (ร้อยละ 13.54) ระบบบึงประดิษฐ์ จ�ำนวน 140 แห่ง (ร้อยละ 11.54)
ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียสระเติมอากาศ จ�ำนวน 72 แห่ง (ร้อยละ 7.99) และระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียบ่อปรับเสถียร
จ�ำนวน 40 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 4.44 ตามล�ำดับ จะพบว่าโรงพยาบาลในสังกัดส�ำนักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีการบ�ำบัดน�ำ้ เสียด้วยระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียบ่อปรับเสถียร สระเติมอากาศ
และบึงประดิษฐ์จ�ำนวน 176 แห่งคิดเป็นร้อยละ 17 ของระบบทั้งหมด โดยระบบดังกล่าว
มีความเหมาะสมในการบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีเ่ กิดขึน้ การด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษาเหมาะสมกับศักยภาพ
ของบุคลากร ดังนัน้ เพือ่ ให้การบ�ำบัดน�ำ้ เสียได้ตามมาตรฐานของทางราชการทีก่ ำ� หนดไว้ กองบริหาร
การสาธารณสุข ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจึงได้รว่ มกับ ผศ.ดร. สมพงษ์ หิรญ ั มาศสุวรรณ
ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จัดท�ำคู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
โรงพยาบาล ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศและระบบบึงประดิษฐ์ขนึ้ เพือ่ เป็นแนวทาง
ส�ำหรับโรงพยาบาลในการควบคุมดูแลและบ�ำรุงรักษาทุกองค์ประกอบของระบบอย่างถูกต้อง
รวมถึงการตรวจประเมินประสิทธิภาพของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียดังกล่าวในโรงพยาบาล

กองบริหารการสาธารณสุข
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ข ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

สารบัญ
หน้า
บทน�ำ
บทที่ 1 น�้ำเสียในโรงพยาบาล 1
1.1 แหล่งก�ำเนิดน�้ำเสียในโรงพยาบาล 1
1.2 ลักษณะของน�้ำเสียและมาตรฐานน�้ำทิ้ง 2

บทที่ 2 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงพยาบาล 11
2.1 ระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย 11
2.2 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย 20
2.3 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขั้นที่หนึ่ง 21
2.4 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขั้นที่สอง 27
2.5 ระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ 29
2.6 บ่อปรับเสถียร (Waste Stabilization Pond) 31
2.7 สระเติมอากาศ (Aerated Lagoon) 47
2.8 ระบบบึงประดิษฐ์ (Constructed Wetland) 55

บทที่ 3 การควบคุมและดูแลระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย 69
3.1 ระบบรวบรวมน�้ำเสีย 69
3.2 การดูแลรักษาบ่อสูบ/เครื่องสูบน�้ำ 72
3.3 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย 75
3.4 บ่อปรับเสถียร 83
3.5 สระเติมอากาศ 88
3.6 ระบบบึงประดิษฐ์ 93

บทที่ 4 การบ�ำรุงรักษาและการติดตามผล 99
4.1 การบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์และระบบไฟฟ้า 99
ของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
4.2 การติดตามผลการด�ำเนินงานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย 109
4.3 เอกสาร การบันทึกผลและการรายงานผลของการควบคุม 121
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ ค

สารบัญ (ต่อ)
หน้า

บทที่ 5 ปัญหาต่าง ๆ และวิธีการแก้ไขระบบ 131


5.1 ปัญหาของระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย บ่อสูบน�้ำเสียและแนวทางแก้ไข 131
5.2 ปัญหาในการเดินระบบบ�ำบัดน�้ำเสียและแนวทางแก้ไข 141
5.3 ระบบฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีน (ระบบบ�ำบัดขั้นที่ 3) 156

ภาคผนวก 161
ประกาศกระทรวงฯ เรื่อง ก�ำหนดมาตรฐานควบคุม การระบายน�้ำทิ้ง 163
จากอาคารบางประเภทและบางขนาด ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องก�ำหนดปริมาณไข่หนอนพยาธิ 170
และแบคทีเรียอีโคไล (Escherichia Coli) และวิธีการเก็บตัวอย่าง
และการตรวจหาไข่หนอนพยาธิและแบคทีเรียอีโคไล (Escherichia Coli)
ในน�้ำทิ้งและกากตะกอนที่ผ่านระบบก�ำจัดสิ่งปฏิกูลแล้ว พ.ศ. 2561

บรรณานุกรม 182
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ง ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

สารบัญรูป (ต่อ)
หน้า
รูปที่ 1-1 ค่า BOD ที่เพิ่มขึ้นตามเวลา 6
รูปที่ 2-1 ขนาดท่อน�้ำทิ้งของอาคารและท่อรวบรวมน�้ำเสียจากอาคาร [9] 13
รูปที่ 2-2 ท่อรวบรวมน�้ำเสียและบ่อสูบน�้ำเสีย 14
รูปที่ 2-3 รูปแบบการต่อเชื่อมท่อในบ่อตรวจ 15
รูปที่ 2-4 บ่อตรวจส�ำหรับท่อรวบรวมน�้ำเสียขนาดเล็ก [10] 15
รูปที่ 2-5 ฝาบ่อตรวจแบบต่าง ๆ 16
รูปที่ 2-6 อุปกรณ์เปิดฝาบ่อตรวจแบบต่าง ๆ 16
รูปที่ 2-7 บ่อตรวจลดระดับ 17
รูปที่ 2-8 บ่อตรวจลดระดับ (ก) ก่อนติดตั้งท่อตรง (ข)หลังติดตั้งท่อตรง 17
รูปที่ 2-9 ตัวอย่างแบบแปลนแสดงเส้นระดับความสูงของพื้นที่โรงพยาบาล 18
รูปที่ 2-10 รูปตัดของการวางท่อ : แผนที่แนวท่อและระดับความลาดเอียงของพื้นดิน 19
และระดับความลึกของการวางท่อตามแนวท่อ
รูปที่ 2-11 ขั้นตอนการบ�ำบัดน�้ำเสีย 21
รูปที่ 2-12 ถังดักไขมันติดตั้งใต้ที่ล้างจาน 22
รูปที่ 2-13 รูปตัดถังดักไขมันนอกอาคารและไขมันและน�้ำมันที่ดักไว้ 23
รูปที่ 2-14 ตะแกรงดักขยะแบบหยาบ (ก) ตะแกรงแบบตะกร้าสแตนเลส (ข) 24
และ (ค) ตะแกรงหยาบ
รูปที่ 2-15 ตะแกรงดักขยะแบบละเอียด (ก) และ (ข) แบบ Static screen 24
(ค) แบบ Drum screen
รูปที่ 2-16 รูปแบบของบ่อสูบและอุปกรณ์ติดตั้งส�ำหรับเครื่องสูบน�้ำแบบจมน�้ำ 25
รูปที่ 2-17 ถังปรับเสมอและระบบเติมอากาศแบบหัวฟู่และแบบเจ็ท 27
รูปที่ 2-18 แผนภูมิระบบเอเอส 30
รูปที่ 2-19 รูปแบบการวางผังระบบบ่อปรับเสถียรแบบต่าง ๆ 32
รูปที่ 2-20 บ่อแอนแอโรบิก (ก) น�้ำภายในบ่อมีสีด�ำ และ (ข) ผิวน�้ำของบ่อมีสีแดง [14] 33
รูปที่ 2-21 บ่อแฟคัลเททีฟ 33
รูปที่ 2-22 กลไกการก�ำจัดสารอินทรีย์และปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในบ่อแฟคัลเททีฟ [14] 34
รูปที่ 2-23 การเปลีย่ นแปลงค่า DO และ pH ของน�ำ้ ในบ่อแฟคัลเททีฟในช่วงเวลาหนึง่ วัน [14] 36
รูปที่ 2-24 ความหนาของชั้นแอโรบิกในบ่อปรับเสถียรที่แปรผันตามอัตราภาระสารอินทรีย์ 37
รูปที่ 2-25 การติดตั้งท่อน�้ำเสียเข้าและท่อน�้ำทิ้งออกจากบ่อแฟคัลเททีฟแบบเยื้องกัน 45
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ จ

สารบัญรูป (ต่อ)
หน้า
รูปที่ 2-26 บึงประดิษฐ์ที่นิยมใช้ส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสีย (ก) ประเภทน�้ำไหลบนผิวชั้นกรอง 57
อย่างอิสระ (ข) ประเภทน�้ำไหลผ่านชั้นกรองในแนวนอน และ (ค) ประเภท
น�้ำไหลผ่านชั้นกรองในแนวดิ่ง
รูปที่ 2-27 สภาพแอโรบิกและแอนแอโรบิกที่เกิดขึ้นในแต่ละความลึกของน�้ำในบึงประดิษฐ์ 58
รูปที่ 2-28 ระยะเหนือน�้ำ (free board) ส�ำหรับบึงประดิษฐ์แบบ FW 62
รูปที่ 2-29 รูปแบบการปลูกต้นไม้และการกระจายน�้ำเสียเข้า-ออกเพื่อไม่ให้เกิดการไหล 63
ลัดวงจรและให้ได้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดสูงสุด [15]
รูปที่ 2-30 รากของพืชลอยน�้ำ (ก) รากผักตบที่เจริญเติบโตในบ่ออย่างหนาแน่น 65
(ข) รากผักตบชวาที่เจริญเติบโตในบ่ออย่างหลวม ๆ [14]
รูปที่ 3-1 การตรวจสอบไหลของน�้ำเสียในท่อรวบรวมน�้ำเสีย (ก) น�้ำเสียไหลแบบปกติ 70
(ข) น�้ำขังในบ่อตรวจเนื่องจากท่อเกิดการอุดตัน
รูปที่ 3-2 ขอบบ่อตรวจ (ก) ขอบบ่อตรวจยกสูงเหนือพื้นดิน (ข) ขอบบ่อตรวจระดับเดียวกับ 72
พื้นดิน
รูปที่ 3-3 ระดับน�้ำในบ่อสูบน�้ำเสีย (ก) ระดับน�้ำอยู่ต�่ำกว่าตะแกรง ไม่มีน�้ำขังในบ่อตรวจ 73
(ข) ระดับน�้ำท่วมท่อน�้ำเสียและด้านล่างของตะแกรงมีน�้ำเสียขังในบ่อตรวจ
รูปที่ 3-4 การวัดอัตราการไหลของเครื่องสูบน�้ำ (ก) การใช้ขวดน�้ำ 2 ขวดในบ่อสูบ 78
(ข) รูปจริงในบ่อสูบ
รูปที่ 3-5 เวียร์รูปตัว V ที่มีมุมเท่ากับ และมีระดับน�้ำสูง H 79
รูปที่ 3-6 เวียร์สันคมวัดอัตราการไหลของน�้ำ (ก) เวียร์สี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยม (ข) ระยะวัด 80
ระดับน�้ำ (ค) ถัง V-notch ที่มีแผ่นขวางการไหลและต�ำแหน่งติดตั้งไม้บรรทัด
รูปที่ 3-7 เวียร์สันคมวัดอัตราการไหลของน�้ำ (ก) เวียร์สามเหลี่ยมที่มีองศาต่าง ๆ 81
(ข) ถัง V-notch แบบเวียร์สี่เหลี่ยมและแบบสามเหลี่ยมที่มีมุมน้อยกว่า 60 องศา
รูปที่ 3-8 อุปกรณ์วัดชั่วโมงท�ำงานของเครื่องสูบ (Counter meter) 82
รูปที่ 3-9 การสะสมของสลัดจ์ที่ก้นบ่อปรับเสถียรบริเวณใกล้ท่อน�้ำเสียเข้า 87
รูปที่ 3-10 การก�ำจัดสลัดจ์ด้วยการใช้แพและเครื่องสูบน�้ำแบบจุ่มน�้ำ 87
รูปที่ 3-11 พืชขึ้นอย่างหนาแน่นเกินไปท�ำให้เกิดการไหลลัดวงจร 96
รูปที่ 3-12 แหนในบึงประดิษฐ์ 96
รูปที่ 4-1 การบ�ำรุงรักษาเครื่องเป่าอากาศ เติมน�้ำมันหล่อลื่นประจ�ำเดือน 102
รูปที่ 4-2 ไส้กรองอากาศของเครื่องเป่าอากาศสกปรก 102
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ฉ ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

สารบัญรูป (ต่อ)
หน้า
รูปที่ 4-3 การบ�ำรุงรักษาเครื่องเติมอากาศแบบเจ็ท อัดจารบีลูกปืนสัปดาห์ละครั้ง 103
รูปที่ 5-1 ฝาบ่อตรวจอยู่ระดับเดียวกับพื้นถนน 132
รูปที่ 5-2 บ่อตรวจแตกช�ำรุดจาก (ก) รากของต้นไม้ (ข) และ (ค) ถูกเจาะเพื่อระบาย 132
น�้ำล้างถังขยะ
รูปที่ 5-3 ฝาบ่อตรวจแตกหักเสียหาย 133
รูปที่ 5-4 ผนังบ่อตรวจแตกช�ำรุดจากการก่อสร้างและการเชื่อมท่อน�้ำเสียเข้าบ่อตรวจ 133
รูปที่ 5-5 ขอบบ่อตรวจยกระดับสูงกว่าพื้นถนน 134
รูปที่ 5-6 น�้ำเสียไหลในท่อรวบรวม (ก) น�้ำเสียไหลแบบปกติ (ข) น�้ำเสียจากท่อด้านบน 134
ไหลช้าจากการมีตะกอนสะสม (ค) ตะกอนสะสมในท่อน�้ำเสียไหลได้ช้าและเกิด
การสะสมของตะกอนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
รูปที่ 5-7 ลักษณะท่ออุดตัน (ก) และ (ข) น�้ำเสียล้นฝาบ่อตรวจ (ค) ตะกอนสะสมในบ่อตรวจ 134
รูปที่ 5-8 ท่ออุดตันจาก (ก) ทราย และ (ข) ท่อพีวซี หี ลังจากการก่อสร้าง (ค) ท่ออุดตันจากขยะ 135
รูปที่ 5-9 ก่อสร้างท่อรวบรวมน�ำ้ เสียไม่ถกู ต้อง (ก) ก่อสร้างเป็นหลุมรับน�ำ้ (ข) ระดับท้องท่อเข้า 136
และออกจากบ่อตรวจอยูส่ งู กว่าพืน้ ก้นบ่อตรวจ (ค) ถึง (ฉ) ใช้ทอ่ ทีม่ ขี นาดเล็กเกินไป
สร้างบ่อตรวจไม่ถกู ต้อง ออกแบบไม่ถกู ต้องและความลาดชันของท่อไม่ถกู ต้องตามเกณฑ์
ออกแบบ
รูปที่ 5-10 บ่อตรวจและท่อรวบรวมน�้ำเสียอยู่ใต้อาคารและสิ่งปลูกสร้าง 137
รูปที่ 5-11 ท่อน�้ำทิ้งจากอาคารต่อเข้ารางระบายน�้ำฝน 138
รูปที่ 5-12 มีน�้ำขังอยู่ในรางระบายน�้ำฝนของโรงพยาบาล 138
รูปที่ 5-13 ระดับน�้ำในบ่อสูบน�้ำเสียท่วมด้านล่างของตะแกรงดักขยะ 139
รูปที่ 5-14 พืชลอยน�้ำปกคลุมผิวน�้ำของบ่อ 143
รูปที่ 5-15 ก�ำจัดพืชลอยน�้ำปกคลุมผิวน�้ำของบ่อออก 143
รูปที่ 5-16 ติดตั้งเครื่องเติมอากาศเสริมค่า DO และช่วยก�ำจัดพืชลอยน�้ำ 143
รูปที่ 5-17 พบปลาตายในบ่อปรับเสถียร 145
รูปที่ 5-18 สาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียวขึ้นในบ่อปรับเสถียร 146
รูปที่ 5-19 ติดตั้งเครื่องเติมอากาศในบ่อปรับเสถียรท�ำให้น�้ำขุ่นลดความเข้มข้นของสาหร่าย 148
รูปที่ 5-20 ติดตั้งอุปกรณ์บังแสงแดดเพื่อลดความเข้มข้นของสาหร่ายในบ่อปรับเสถียร 149
รูปที่ 5-21 เครื่องเติมอากาศแบบเจ็ทที่ติดตั้งด้านปลายไปทางเดียวกัน 151
รูปที่ 5-22 ภายในสระเติมอากาศมีสิ่งกีดขวางการผสมของน�้ำ 151
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ ช

สารบัญรูป (ต่อ)
หน้า
รูปที่ 5-23 เกิดสภาพไร้อากาศในบึงประดิษฐ์ 155
รูปที่ 5-24 คลอรีนอิสระที่เหลืออยู่ต�่ำเกินกว่า 0.5 มิลลิกรัม/ลิตร หลังจากท�ำปฏิกิริยา 30 นาที 158
รูปที่ 5-25 น�้ำทิ้งในถังสัมผัสคลอรีนไม่ใส 158
รูปที่ 5-26 เวลาสัมผัสคลอรีนไม่เพียงพอ (ก) ระดับน�้ำในถังต�่ำท�ำให้ปริมาตรถังเก็บกักน�้ำ 159
ได้น้อยกว่า 30 นาที (ข) ระดับน�้ำในท่อทางออกอยู่ท�ำให้น�้ำล้นแผ่นกั้น
(ค) ถังสัมผัสไม่มีแผ่นกั้นน�้ำไหลลัดวงจร
รูปที่ 5-27 ถังเตรียมสารละลายคลอรีนสกปรก มีตะกอนสนิมเหล็กตกค้าง 159
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ซ ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

สารบัญตาราง
หน้า
ตารางที่ 1-1 สัดส่วนของเสียทีเ่ กิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงพยาบาลและมลพิษหลักทีพ่ บ [1] 2
ตารางที่ 1-2 ลักษณะน�้ำเสียของโรงพยาบาล มาตรฐานน�้ำทิ้งและข้อก�ำหนดน�้ำทิ้งของโรง 3
พยาบาลขนาด 30 เตียงขึ้นไป
ตารางที่ 2-1 ประเภทของท่อรวบรวมน�้ำเสีย 12
ตารางที่ 2-2 ชนิดของวัสดุท่อและลักษณะการใช้งานท่อในระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย 14
ตารางที่ 2-3 การเปรียบเทียบระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบชีวภาพแบบต่าง ๆ 29
ตารางที่ 2-4 ผลกระทบของกระบวนการสังเคราะห์แสงในเวลากลางวันและกระบวนการ 38
หายใจในเวลากลางคืนที่มีต่อค่า pH ของน�้ำในบ่อแฟคัลเททีฟ
ตารางที่ 2-5 ผลของสภาพแวดล้อมในบ่อปรับเสถียรที่มีต่อประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสีย 38
ตารางที่ 2-6 อุณหภูมิเฉลี่ยของน�้ำในบ่อที่แปรผันกับอุณหภูมิของบรรยากาศ [15] 39
ตารางที่ 2-7 ข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบของการใช้ระบบบ่อปรับเสถียร 40
ตารางที่ 2-8 เกณฑ์การออกแบบบ่อปรับเสถียรประเภทต่าง ๆ (อุณหภูมิเฉลี่ย 20OC) 41
ตารางที่ 2-9 ค่าก�ำหนดออกแบบบ่อแฟคัลเททีฟส�ำหรับน�้ำเสียชุมชนของประเทศไทย 41
ตารางที่ 2-10 ตัวอย่างประสิทธิภาพการก�ำจัดเชื้อโรคและแบคทีเรียโคลิฟอร์มในระบบบ่อปรับ 47
เสถียรที่ใช้บ่อแฟคัลเททีฟอย่างเดียวและบ่อแฟคัลเททีฟร่วมกับบ่อบ่ม
ตารางที่ 2-11 ลักษณะของสระเติมอากาศเปรียบเทียบกับระบบเอเอส 49
ตารางที่ 2-12 คุณลักษณะของตัวกลางส�ำหรับระบบบึงประดิษฐ์แบบ SF 56
ตารางที่ 2-13 เกณฑ์การออกแบบบึงประดิษฐ์ 61
ตารางที่ 2-14 องค์ประกอบของผักตบชวาที่เจริญเติบโตในบ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย 65
ตารางที่ 2-15 เกณฑ์ออกแบบระบบบ่อผักตบชวาส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสีย 67
ตารางที่ 3-1 สีของน�้ำในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มและสภาวะที่เกิดขึ้น 84
ตารางที่ 3-2 วิธีการตรวจวัด ความถี่และพารามิเตอร์ที่ส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์ 86
ตารางที่ 3-3 สีและกลิ่นที่แสดงสภาพของระบบสระเติมอากาศ 90
ตารางที่ 3-4 วิธีการตรวจวัด ความถี่และพารามิเตอร์ที่ส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์ 92
ตารางที่ 3-5 ตารางเวลาการด�ำเนินงานและตรวจสอบระบบบึงประดิษฐ์ 98
ตารางที่ 4-1 การตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเบื้องต้น 105
ตารางที่ 4-2 ตัวอย่างแบบรายการตรวจสอบการด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษา ส�ำหรับระบบ 107
บ่อปรับเสถียร สระเติมอากาศและบึงประดิษฐ์
ตารางที่ 4-3 ค่ามาตรฐานควบคุมการระบายน�้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด 111
ตารางที่ 4-4 เกณฑ์ปริมาณไข่หนอนพยาธิและแบคทีเรียอีโคไล (Escherichia Coli) 111
ตารางที่ 4-5 วิธีการเก็บรักษาตัวอย่างน�้ำเพื่อน�ำส่งห้องปฏิบัติการ 113
ตารางที่ 4-6 สภาวะของบ่อปรับเสถียรจากการสังเกตสีและแนวทางการแก้ไข 114
ตารางที่ 4-7 สภาวะของบ่อปรับเสถียรจากการตรวจสอบกลิ่นและแนวทางการแก้ไข 114
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ ฌ

สารบัญตาราง (ต่อ)
หน้า
ตารางที่ 4-8 สภาวะของบ่อปรับเสถียรจากการสังเกตตะกอน ต้นพืชในบ่อและแนวทาง 115
การแก้ไข
ตารางที่ 4-9 สีและกลิ่นที่แสดงสภาพของระบบสระเติมอากาศและบ่อบ่ม และแนวทางแก้ไข 117
ตารางที่ 4-10 สภาวะของระบบสระเติมอากาศจากการสังเกตตะกอน ต้นพืชในบ่อและ 117
แนวทางการแก้ไข
ตารางที่ 4-11 สภาวะของระบบสระเติมอากาศจากการตรวจสอบค่า pH และ DO และ 118
แนวทางการแก้ไข
ตารางที่ 4-12 สภาวะของบึงประดิษฐ์จากการสังเกตระดับน�้ำในบึงประดิษฐ์และแนวทาง 119
การแก้ไข
ตารางที่ 4-13 สาเหตุของการไหลไม่สม�่ำเสมอและแนวทางแก้ไขการไหลไม่สม�่ำเสมอ 120
ในบึงประดิษฐ์
ตารางที่ 4-14 สาเหตุของการเกิดกลิ่นเหม็นในบึงประดิษฐ์และแนวทางแก้ไข 120
ตารางที่ 4-15 สาเหตุของการเกิดยุงในบึงประดิษฐ์จ�ำนวนมากและแนวทางแก้ไข 121
ตารางที่ 4-16 ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลการเดินระบบประจ�ำวันของระบบบ่อปรับเสถียร 124
ตารางที่ 4-17 ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลการเดินระบบประจ�ำวันของระบบสระเติมอากาศ 125
ตารางที่ 4-18 ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลการเดินระบบประจ�ำวันของระบบบึงประดิษฐ์ 126
ตารางที่ 4-19 ตัวอย่างแบบฟอร์มบันทึกประจ�ำวันของเวลาสูบน�้ำและอัตราการไหลของน�้ำเสีย 128
ตารางที่ 4-20 ตัวอย่างแบบฟอร์มบันทึกประจ�ำวันการตรวจวัดคุณภาพน�้ำ 129
ตารางที่ 4-21 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน�้ำทิ้งจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลประจ�ำปี 130
ตารางที่ 5-1 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาท่อแตกหักช�ำรุด 131
ตารางที่ 5-2 สาเหตุและแนวทางแก้ไขไม่มีข้อมูลระบบท่อรวบรวมน�้ำเสียและท่อระบายน�้ำฝน 132
ตารางที่ 5-3 สาเหตุและแนวทางแก้ไขน�้ำฝนไหลเข้าบ่อตรวจ 133
ตารางที่ 5-4 สาเหตุและแนวทางแก้ไขท่ออุดตัน น�้ำเสียไหลไม่สะดวก ค้างในท่อ 135
และเกิดมีกลิ่นเหม็น
ตารางที่ 5-5 สาเหตุและแนวทางแก้ไขการก่อสร้างระบบท่อรวบรวมที่ไม่ถูกตามหลักวิชาการ 136
ตารางที่ 5-6 สาเหตุและแนวทางแก้ไขท่อรวบรวมน�้ำเสียและบ่อตรวจอยู่ใต้อาคารหรือ 137
สิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ
ตารางที่ 5-7 สาเหตุและแนวทางแก้ไขท่อน�้ำทิ้งจากอาคารไหลลงสู่ท่อระบายน�้ำฝน 138
ตารางที่ 5-8 สาเหตุและแนวทางแก้ไขรางระบายน�้ำฝนมีน�้ำขังอยู่ตลอดเวลา 139
ตารางที่ 5-9 สาเหตุและแนวทางแก้ไขขยะหลุดลอดออกจากตะกร้าดักขยะในบ่อสูบ 139
ตารางที่ 5-10 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขเครื่องสูบน�้ำช�ำรุด 140
ตารางที่ 5-11 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขระบบท่อและวาล์วช�ำรุด 140
ตารางที่ 5-12 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขระบบไฟฟ้าควบคุมช�ำรุด 141
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ญ ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

สารบัญตาราง (ต่อ)
หน้า
ตารางที่ 5-13 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาตะกอนและวัสดุลอยน�้ำในบ่อปรับเสถียร 142
ตารางที่ 5-14 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า DO ในบ่อปรับเสถียรมีแนวโน้ม 142
ต�ำ่ กว่า 3 มิลลิกรัม/ลิตร
ตารางที่ 5-15 สาเหตุและการแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นในบ่อปรับเสถียร 144
ตารางที่ 5-16 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาปลาตายในบ่อปรับเสถียร 145
ตารางที่ 5-17 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า pH ในบ่อปรับเสถียรมีแนวโน้มลดต�่ำลง 146
ตารางที่ 5-18 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาสาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียวในบ่อปรับเสถียร 146
ตารางที่ 5-19 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาต้นไม้โผล่พ้นน�้ำโตขึ้นในบ่อปรับเสถียร 147
ตารางที่ 5-20 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาแมลงเพิ่มจ�ำนวนอย่างรวดเร็วในบ่อปรับเสถียร 147
ตารางที่ 5-21 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาปัญหาน�้ำทิ้งมีความเข้มข้นของสาหร่ายสูงเกิน 148
มาตรฐาน
ตารางที่ 5-22 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า BOD5 ของน�้ำทิ้งเกินค่ามาตรฐาน 149
ตารางที่ 5-23 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า DO มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 150
ตารางที่ 5-24 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า DO มีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็ว 150
ตารางที่ 5-25 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาเกิดจุดบอด (Dead zone) ของการผสมภายสระ 151
เติมอากาศ
ตารางที่ 5-26 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาปัญหาน�้ำทิ้งมีความเข้มข้นของสาหร่ายสูงเกิน 152
มาตรฐาน
ตารางที่ 5-27 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขเครื่องเติมอากาศผิวน�้ำช�ำรุด 153
ตารางที่ 5-28 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขเครื่องเติมเป่าอากาศ (Air Blower) ช�ำรุด 153
ตารางที่ 5-29 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า DO ในบึงประดิษฐ์มีแนวโน้ม 154
ต�่ำกว่า 1 มิลลิกรัม/ลิตร
ตารางที่ 5-30 สาเหตุและการแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นในบึงประดิษฐ์ 155
ตารางที่ 5-31 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า BOD5 ของน�้ำทิ้งเกินค่ามาตรฐาน 156
ตารางที่ 5-32 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขค่าฟีคัลโคลิฟอร์ม > 1,000 MPN/100 มิลลิลิตร 157
ตารางที่ 5-33 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขค่า TDS > 500 มิลลิกรัม/ลิตร จากน�้ำประปา 160
ตารางที่ 5-34 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขค่าซัลไฟด์ (SO22-) > 1 มิลลิกรัม/ลิตร 160
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 1

บทที่
1 น�้ำเสียในโรงพยาบาล

1.1 แหล่งก�ำเนิดน�้ำเสียในโรงพยาบาล

น�ำ้ เสีย หมายถึง น�ำ้ ทีผ่ า่ นการใช้จากการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การช�ำระล้างร่างกาย


และสิ่งของ การขับถ่าย การประกอบอาหาร แล้วท�ำให้มีสิ่งเจือปนและความสกปรกต่าง ๆ ใน
ปริมาณมากจนไม่เป็นที่ต้องการ และน่ารังเกียจ แหล่งที่มาของน�้ำเสียในโรงพยาบาลมีดังต่อไปนี้
1 อาคารผู้ป่วย เกิดจากกิจกรรมการรักษาพยาบาล และการใช้ห้องน�้ำห้องส้วมของญาติ
และผู้ป่วย โดยน�้ำเสียที่เกิดขึ้นจากส่วนนี้จะมีการปนเปื้อนสารอินทรีย์และจุลินทรีย์ ทั้งจุลินทรีย์
ที่ก่อโรคหรือไม่ก่อโรคและการปนเปื้อนสารเคมีจากน�้ำยาฆ่าเชื้อโรค น�้ำยาล้างแผล เป็นต้น
2 บ้านพักของเจ้าหน้าที่/สถานที่ท�ำการต่าง ๆ ลักษณะน�้ำเสียที่เกิดขึ้นคล้ายกับน�้ำเสีย
ชุมชน โดยกิจกรรมส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมการอุปโภคบริโภคจากการช�ำระล้างร่างกาย
การขับถ่ายน�้ำเสียส่วนนี้มักปนเปื้อนสิ่งสกปรกจ�ำพวกสารอินทรีย์
3 โรงซักฟอก กิจกรรมส่วนใหญ่เกิดจากการซักฟอกเสื้อผ้าผู้ป่วย ซึ่งมีทั้งติดเชื้อและ
ไม่ติดเชื้อ น�้ำเสียจึงมีการปนเปื้อนสารอินทรีย์และจุลินทรีย์จากคราบเศษอาหาร คราบเลือด
คราบเสมหะ เป็นต้น และนอกจากนี้ในการซักล้างยังมีการปนเปื้อนจากผงซักฟอก น�้ำยาซักผ้า
ปรับผ้านุ่ม เป็นต้น
4 โรงครัวและโรงอาหาร ประกอบด้วย อาหารทีม ่ ไี ขมัน เศษอาหาร ซึง่ เป็นสารพวกอินทรีย์
ที่ปะปนมาในน�้ำทิ้ง ท�ำให้เกิดปัญหาการอุดตันของเศษอาหาร อาจก่อให้เกิดปัญหาการเพาะเลี้ยง
จุลินทรีย์ในระบบ
5 ห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร ลั ก ษณะของน�้ ำ เสี ย ประกอบด้ ว ยจุ ลิ น ทรี ย ์ จ ากการเพาะเลี้ ย งเชื้ อ
ในห้องปฏิบตั กิ าร มีทงั้ จุลนิ ทรียท์ กี่ อ่ โรคและไม่กอ่ โรค นอกจากนีย้ งั มีสารเคมีทใี่ ช้ในห้องปฏิบตั กิ าร
รวมทั้งสารอินทรีย์ เช่น เลือดสด ปัสสาวะ อุจจาระ ชิ้นเนื้อของผู้ป่วย เป็นต้น
6 น�้ำเสียจากห้องผ่าตัด ห้องคลอด และห้องเก็บรักษาศพ ลักษณะของน�้ำเสียที่เกิดขึ้นจะ
มีการปนเปื้อนของเลือด จากการท�ำคลอดทารก และที่เกิดจากการใช้สารเคมี น�้ำยาฆ่าเชื้อโรค
7 ห้องจ่ายยา/ห้องผลิตยา ลักษณะของน�้ำเสียที่จากการปนเปื้อนของเภสัชภัณฑ์
8 หน่วยล้างไต ลักษณะของน�ำ้ เสียมีสารละลายเกลือสูง ท�ำให้นำ�้ ทิง้ มีคา่ ของแข็งละลายน�ำ้
(TDS) สูงเกินมาตรฐาน
9 ส่วนอื่น ๆ เช่น ร้านค้าสวัสดิการต่าง ๆ เป็นต้น ลักษณะของน�้ำเสียที่เกิดขึ้นคล้ายกับ
น�้ำเสียชุมชน โดยกิจกรรมส่วนใหญ่เกิดจากกิจกรรมการอุปโภคบริโภค
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
2 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

อัตราการใช้นำ�้ เฉลีย่ ของโรงพยาบาลทีม่ กี ารส�ำรวจในต่างประเทศมีคา่ อยูใ่ นช่วง 200 - 1,200


ลิตร/เตียง-วัน [1] ซึ่งอัตราการเกิดน�้ำเสียจะขึ้นกับจ�ำนวนเตียง อัตราการครองเตียง สภาพภูมิ
อากาศ ภูมปิ ระเทศ ศาสนา สังคมและวัฒนธรรม และอายุของโรงพยาบาล ส�ำหรับในประเทศไทย
ใช้อตั ราการใช้นำ�้ ที่ 800 - 1,200 ลิตร/เตียง-วัน การประมาณปริมาณน�ำ้ เสียนิยมคิดจากอัตราการ
ใช้น�้ำโดยคิดที่ร้อยละ 80 ของปริมาณน�้ำใช้ที่จดจากมิเตอร์ ท�ำให้ปริมาณน�้ำเสียเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ
800 ลิตร/เตียง-วัน [2] จากการลงพื้นที่ส�ำรวจระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลในช่วงปี พ.ศ.
2562 – 2563 พบว่าอัตราการใช้น�้ำของโรงพยาบาลหลายแห่งมีค่าสูงกว่าค่าดังกล่าว 2 – 3 เท่า
ตรวจสอบพบว่าเกิดจากระบบท่อประปาแตกหักจากความเก่าของโรงพยาบาลทีใ่ ช้งานนานกว่า 20 ปี
ดังนั้นการคิดปริมาณน�้ำเสียจากค่าการใช้น�้ำจากมิเตอร์อาจท�ำให้เข้าใจผิดพลาดในเรื่องของการ
ประมาณปริมาณน�ำ้ เสียทีเ่ กิดขึน้ จริง จึงควรตรวจสอบความถูกต้องของการใช้นำ�้ ประปา การรัว่ ไหล
ของน�้ำประปา ดังนั้นตรวจสอบปริมาณน�้ำเสียที่เข้าระบบบ�ำบัดน�้ำเสียจริงจากบ่อสูบน�้ำเสีย

1.2 ลักษณะของน�้ำเสียและมาตรฐานน�้ำทิ้ง

น�้ำเสียโรงพยาบาลประกอบด้วยน�้ำเสียจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีมลพิษหลักแตกต่างกันตาม
กิจกรรมที่ใช้น�้ำตารางที่ 1-1 แสดงสัดส่วนของน�้ำเสียที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงพยาบาล
(ไม่มีรวมน�้ำหล่อเย็นของระบบปรับอากาศของโรงพยาบาลขนาดใหญ่) และมลพิษหลักที่พบ
เนือ่ งจากมลพิษทีเ่ กิดขึน้ มีความแตกต่างกันตามกิจกรรม จึงควรพิจารณาติดตัง้ ระบบบ�ำบัดขัน้ ต้น
เพื่อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากมลพิษเหล่านี้ เช่น การติดตั้งถังดักไขมันที่โรงครัว เป็นต้น

ตารางที่ 1-1 สัดส่วนของเสียที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงพยาบาลและมลพิษหลักที่พบ [1]


กิจกรรมใช้น�้ำ ร้อยละ ประเภทของมลพิษหลัก
สิ่งอ�ำนวยความสะดวก 60 สารอินทรีย์ (BOD, COD), SS, TKN (NH4+ - N,
ด้านสุขาภิบาล Org-N), แบคทีเรีย, ไวรัส, ฮอร์โมน, สารเมตาโบไลท์
(อ่างล้าง, อาบน�้ำ, ห้องน�้ำ)
การรักษาพยาบาล 20 สารเคมี, ยา, สารกัมมันตรังสี, โลหะหนัก,
ยาปฏิชีวนะ, สารฆ่าเชื้อโรค
ห้องอาหาร/ครัว 12 สารอินทรีย์, TKN, น�้ำมันและไขมัน
การซักผ้า 7 สารซักฟอก, สารฆ่าเชื้อโรค
การล้างไต 1 TDS
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 3

น�้ำเสียจากกิจกรรมต่าง ๆ จะไหลเข้าท่อรวบรวมและมารวมกันที่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ตารางที่ 1-2 แสดงการเปรียบเทียบลักษณะของน�ำ้ เสียทีม่ กี ารส�ำรวจในหลายประเทศในระยะเวลา
มากกว่า 20 ปี เปรียบเทียบกับมาตรฐานน�ำ้ ทิง้ อาคารประเภท ก ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อมและข้อก�ำหนดน�ำ้ ทิง้ ของกรมอนามัย น�ำ้ เสียของโรงพยาบาลจะต้องถูกบ�ำบัดให้ได้
ตามมาตรฐานน�ำ้ ทิง้ ของกรมควบคุมมลพิษและข้อก�ำหนดของกรมอนามัยก่อนระบายออกสูแ่ หล่งน�ำ้
สาธารณะ

ตารางที่ 1-2 ลักษณะน�ำ้ เสียของโรงพยาบาล มาตรฐานน�ำ้ ทิง้ และข้อก�ำหนดน�ำ้ ทิง้ ของโรงพยาบาล


ขนาด 30 เตียงขึ้นไป
มาตรฐานน�้ำทิ้งอาคาร ข้อก�ำหนดน�้ำทิ้ง
พารามิเตอร์ ช่วงค่า
ประเภท ก กรมอนามัย
ความเป็นกรดด่าง (pH) 6-9 5-9 -
BOD5 (มก./ล.) 100 - 400 < 20 -
ปริมาณของแข็ง (มก./ล.) -
- ปริมาณสารแขวนลอย 116 – 500 < 30
- ปริมาณตะกอนหนัก - < 0.5
(Settleable Solids) (มล./ล.)
- สารที่ละลายได้ทั้งหมด (TDS) 80 - 400 < 500 (+TDS น�้ำใช้)
ซัลไฟด์ (Sulfide) (มก./ล.) - <1 -
ไนโตรเจนในรูป TKN (มก./ล.) 60 – 230 < 35 -
น�้ำมันและไขมัน 50 - 210 < 20 -
(Fat, Oil & grease) (มก./ล.)
ไข่หนอนพยาธิ (ฟอง/ล.) - - <1
แบคทีเรียอีโคไล (MPN/100 มล.) 103 - 104 - < 1,000

คุณลักษณะของน�ำ้ เสียจากโรงพยาบาลสามารถจ�ำแนกออกได้เป็นลักษณะทางกายภาพ ทาง


เคมีและชีวภาพ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

1.2.1 ลักษณะน�ำ้ เสียทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพใช้อธิบายถึงลักษณะทางกายภาพ


ของน�้ำเสียได้แก่ ปริมาณของแข็งทั้งหมด กลิ่น สีและอุณหภูมิ
1 อุณหภูมิ (Temperature) อุณหภูมใิ ช้สำ� หรับวัดระดับความร้อนของน�ำ้ เสีย เป็น
ตัวแปรชนิดหนึ่งที่ส�ำคัญส�ำหรับระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย เนื่องจากอุณหภูมิที่สูงเกินไปจะส่งผลกระทบ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
4 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ต่อจุลินทรีย์ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียทางชีวภาพ ไม่ควรเกิน 35 องศาเซลเซียส และออกซิเจน


จะละลายน�้ำได้ลดลงเมื่ออุณหภูมิน�้ำสูงขึ้น
2 กลิ่น (Odor) การรับรู้กลิ่นจะแตกต่างกันตามความไวต่อกลิ่นของแต่ละคน
อย่างไรก็ตามการตรวจสอบกลิ่นของน�้ำเสียเป็นประโยชน์ต่อการตรวจสอบสภาพของน�้ำเสียและ
การควบคุมระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย น�ำ้ เสียสดทีย่ งั ไม่ผา่ นการบ�ำบัดจะมีกลิน่ เหม็นสาบ แต่นำ�้ เสียทีอ่ ยู่
ในสภาวะไร้อากาศจะมีกลิ่นเหม็นของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์หรือก๊าซไข่เน่า ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
แบบแอกติเวเต็ดสลัดจ์การเกิดกลิน่ เหม็นนีแ้ สดงถึงสภาวะทีร่ ะบบเติมอากาศไม่สามารถท�ำงานได้
ตามปกติ และไม่สามารถบ�ำบัดน�้ำเสียได้
3 ของแข็ ง (Solids) ของแข็ ง ที่ พ บในน�้ ำ เสี ย จ� ำ แนกออกได้ เ ป็ น ตะกอนหนั ก
(Settleable solids) ของแข็งแขวนลอย (Suspended solids) และของแข็งละลายน�้ำ (Total
dissolved solids) ของแข็งลอยน�้ำแสดงถึงการเกิดสภาวะมลพิษของแหล่งน�้ำ การวิเคราะห์
หาความเข้มข้นของของแข็งประเภทต่าง ๆ มีความส�ำคัญในการควบคุมระบบบ�ำบัดน�้ำเสียให้ได้
ตามมาตรฐานน�้ำทิ้ง
3.1) ตะกอนหนัก (Settleable solids) คือของแข็งที่ตกตะกอนด้วยแรงโน้ม
ถ่วงของโลกในสภาวะที่น�้ำนิ่ง ปกติจะไม่มีการวิเคราะห์หาตะกอนหนักในน�้ำเสีย แต่จะวิเคราะห์
ในน�ำ้ ทิง้ เนือ่ งจากในมาตรฐานน�ำ้ ทิง้ ของกรมควบคุมมลพิษก�ำหนดให้ปริมาณตะกอนหนักในน�ำ้ ทิง้
ต้องมีค่าไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัม/ลิตร ในการวิเคราะห์จะใช้กรวย Imhoff ขนาด 1 ลิตรที่มีขีดบอก
ปริมาตรชัดเจน โดยเทน�้ำทิ้งลงไป 1 ลิตร และตั้งทิ้งไว้ 1 ชั่วโมง
3.2) ของแข็งแขวนลอย (Suspended solids, SS) คือของแข็งที่แขวนลอยอยู่
ในน�้ำเสียและไม่ตกตะกอน ต้องท�ำการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการโดยกรองน�้ำเสียหรือน�้ำทิ้งผ่าน
กระดาษกรองแล้วน�ำไปชัง่ น�ำ้ หนัก น�ำน�ำ้ หนักกระดาษกรองมาเปรียบเทียบเพือ่ หาน�ำ้ หนักของ SS
ทีเ่ พิม่ ขึน้ บนกระดาษกรอง ในน�ำ้ เสียจากโรงพยาบาลมีความเข้มข้นของแข็งแขวนลอยเฉลีย่ เท่ากับ
160 มิลลิกรัม/ลิตร [1] ในน�้ำทิ้งที่ผ่านการบ�ำบัดจะต้องมีค่า SS ไม่เกิน 30 มิลลิกรัม/ลิตร
3.3) ของแข็งละลายน�ำ้ (Total dissolved solids, TDS) คือของแข็งทีเ่ หลืออยู่
ในน�ำ้ ทีผ่ า่ นการกรองด้วยกระดาษกรอง วิเคราะห์ได้ดว้ ยการน�ำน�ำ้ ทีผ่ า่ นการกรองไประเหยน�ำ้ ออก
แล้วชั่งน�้ำหนัก ของแข็งละลายน�้ำเป็นของแข็งที่ไม่สามารถบ�ำบัดหรือก�ำจัดให้ความเข้มข้นลดลง
ได้ด้วยกระบวนการบ�ำบัดทางชีวภาพแบบปกติ ดังนั้นจึงต้องใช้วิธีบริหารจัดการด้วยการเจือจาง
น�้ำทิ้งจากแหล่งต่าง ๆ ในสัดส่วนที่เหมาะสมเพื่อให้ได้น�้ำทิ้งที่มีค่า TDS ไม่เกินมาตรฐานน�้ำทิ้ง
มาตรฐานน�้ำทิ้งก�ำหนดให้น�้ำทิ้งจากโรงพยาบาลจะต้องมีค่า TDS ไม่เกิน 500 มิลลิกรัม/ลิตร
จากค่า TDS น�้ำประปาที่ใช้ในโรงพยาบาล ตัวอย่างเช่น ถ้าน�้ำประปาของโรงพยาบาลมีค่า TDS
เท่ากับ 400 มิลลิกรัม/ลิตร ค่า TDS ของน�้ำทิ้งจะต้องมีค่าไม่เกิน 900 มิลลิกรัม/ลิตร เป็นต้น
4) อัตราการไหลของน�ำ้ เสีย อัตราการไหลของน�ำ้ เสียทีเ่ กิดขึน้ ในโรงพยาบาลมีการ
เปลี่ยนแปลงตามเวลาและตามจ�ำนวนผู้ใช้น้�ำในโรงพยาบาล จ�ำแนกออกได้เป็นอัตราการไหล
ต่อชัว่ โมง และอัตราการไหลต่อวันอัตราการไหลของน�ำ้ เสียสูงสุดจะเกิดขึน้ ในช่วง 8.00 – 15.00 น.
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 5

ซึง่ อัตราการไหลต่อชัว่ โมงสูงสุดนีอ้ าจมีคา่ ระหว่าง 1.5 – 2.5 เท่าของอัตราการไหลเฉลีย่ ซึง่ ค�ำนวณ
จากอัตราการไหลต่อวันหารด้วย 24 ชั่วโมง

1.2.2 ลักษณะน�้ำเสียทางเคมี ลักษณะน�้ำเสียทางเคมีหาได้จากการวิเคราะห์คุณสมบัติ


ทางเคมีของสารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ทั้งที่ละลายน�้ำและไม่ละลายน�้ำที่มีในน�้ำเสีย
1 สารอินทรีย์ สารอินทรียใ์ นน�ำ้ เสียประกอบด้วยแป้ง น�ำ้ ตาล น�ำ้ มัน ไขมัน เส้นใย
จากพืช รวมทั้งสารอินทรีย์จากการใช้ยา ได้แก่ ฮอร์โมน สารเมตาโบไลท์และยาปฏิชีวนะ ฯลฯ
สารอินทรีย์บางชนิดย่อยสลายได้โดยจุลินทรีย์ และบางชนิดย่อยสลายไม่ได้
ในแหล่งน�้ำธรรมชาติ เช่น แม่น�้ำที่อยู่ในสภาวะที่มีออกซิเจนความเข้มข้นของ
ออกซิเจนละลายน�้ำ (Dissolved oxygen, DO) อาจมีค่าประมาณ 4 มิลลิกรัม/ลิตร เมื่อมี
การระบายน�ำ้ เสียทีม่ สี ารอินทรียล์ งสูแ่ หล่งน�ำ้ จุลนิ ทรียท์ ใี่ ช้ออกซิเจนจะเริม่ ย่อยสลายสารอินทรีย์
ที่ย่อยสลายได้และใช้ออกซิเจนในแหล่งน�้ำดังสมการที่ 1-1

สารอินทรีย์ย่อยสลายได้ + จุลินทรีย์ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) +


ออกซิเจน (O2) น�้ำ (H2O) (1-1)

ถ้าสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ในน�้ำเสียมีปริมาณมากเกินไปจะท�ำให้ปริมาณ
ออกซิเจนในแหล่งน�้ำถูกจุลินทรีย์ใช้ไปจนหมด แหล่งน�้ำนั้นจะเข้าสู่สภาวะไร้อากาศ (Anaerobic
condition) จากนั้นจุลินทรีย์กลุ่มที่สอง ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ใช้ออกซิเจนจะเริ่มย่อยสลายสาร
อินทรียท์ ยี่ อ่ ยสลายได้และเปลีย่ นให้เป็นกรดอินทรีย์ แอลกอฮอล์ ก๊าซมีเทนและก๊าซไข่เน่า เป็นต้น
ดังสมการที่ 1-2 ส่งผลให้เกิดกลิ่นเหม็น แหล่งน�้ำมีสีด�ำที่เกิดจาก FeS และมีสภาพน่ารังเกียจ

จุลินทรีย์ กรดอินทรีย์ แอลกอฮอล์


สารอินทรีย์ย่อยสลายได้
ก๊าซมีเทน ก๊าซไข่เน่า ฯลฯ (1-2)

1.1) BOD (Biochemical Oxygen Demand, BOD) หมายถึงปริมาณออกซิเจน


ทีจ่ ลุ นิ ทรียใ์ ช้ในการย่อยสลายสารอินทรียท์ ยี่ อ่ ยสลายได้ในสภาวะทีม่ อี อกซิเจน (Aerobic condition)
การวิเคราะห์หาความเข้มข้นของสารอินทรีย์ท่ีย่อยสลายได้ในน�้ำเสียท�ำโดยตรงไม่ได้ จึงต้อง
วิเคราะห์หาทางอ้อมแทน โดยวิเคราะห์หาปริมาณออกซิเจนทีใ่ ช้ในการย่อยสลายอินทรียด์ งั สมการ
ที่ 1-1 จากความสัมพันธ์นี้ท�ำให้เราสามารถแปรผลข้อมูล BOD เป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้
ค่า BOD จึงเป็นค่าที่แสดงถึงความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ที่มีในน�้ำเสีย ถ้าค่า
BOD สูงแสดงว่าน�้ำเสียมีความเข้มข้นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้สูง
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
6 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

การทดสอบหาค่า BOD ท�ำในห้องปฏิบัติการที่ 20 OC เป็นเวลา 5 วัน ดังนั้น


ค่า BOD 5 วันหรือ BOD5 เป็นเพียงส่วนหนึ่งของค่า BOD ทั้งหมด (BOD ultimate, BODU)
เนื่องจากในขวดทดสอบ BOD มีความเข้มข้นของจุลินทรีย์น้อยและทดสอบที่ 20 OC จุลินทรีย์จะ
ต้องใช้เวลาเกือบ 30 วันจึงจะย่อยสลายสารอินทรีย์ได้ทั้งหมดดังแสดงในรูปที่ 1-1 และพบว่าค่า
BOD ในเวลา 5 วัน หรือ BOD5 มีค่าประมาณร้อยละ 70 ของ BODU

รูปที่ 1-1 ค่า BOD ที่เพิ่มขึ้นตามเวลา

นอกจากนี้พบว่าในการทดสอบ BOD มีจุลินทรีย์ในน�้ำเสียที่สามารถใช้ออกซิเจน


ในการออกซิไดซ์ แอมโนเนียในปฏิกิริยาไนตริฟิเคชัน แต่ปฏิกิริยานี้จะเกิดขึ้นหลังจาก 10 วัน
ของการทดสอบเนื่องแบคทีเรียกลุ่มนี้เจริญเติบโตได้ช้า ค่า BOD ควรเป็นตัวแทนของสารอินทรีย์
ที่ย่อยสลายได้เท่านั้น จึงนิยมใช้ค่า BOD5 ใช้ส�ำหรับการประมาณความเข้มข้นของน�้ำเสียในรูป
ของความต้องการออกซิเจนที่ใช้ส�ำหรับการย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีอยู่ในน�้ำเสียนั้น และเป็นวิธี
ทดสอบชนิดเดียวที่ใช้ส�ำหรับการวัดปริมาณสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ ค่า BOD ของ
น�ำ้ เสียเป็นข้อมูลส�ำคัญส�ำหรับการพิจารณาออกแบบและควบคุมระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย และใช้สำ� หรับ
ค�ำนวณหาขนาดหน่วยบ�ำบัดต่าง ๆ โดยเฉพาะในระบบแอกติเวเต็ดสลัดจ์หรือระบบเอเอส และ
ใช้ส�ำหรับตรวจสอบคุณภาพของน�้ำทิ้งและประเมินประสิทธิภาพของระบบ
ส�ำหรับน�้ำเสียที่มีค่า BOD5 เท่ากับ 150 มิลลิกรัม/ลิตร หรือเท่ากับ 150 กรัม/
ลูกบาศก์เมตร หมายความว่าน�้ำเสีย 1 ลิตร ต้องการออกซิเจน 150 มิลลิกรัม หรือน�้ำเสีย
1 ลูกบาศก์เมตร ต้องการออกซิเจน 150 กรัม ส�ำหรับจุลินทรีย์ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์
ถ้าโรงพยาบาลมีนำ�้ เสีย 60 ลูกบาศก์เมตร/วัน ความต้องการออกซิเจนต่อวันหรือเรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า
อัตราภาระบีโอดีต่อวันส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสียค�ำนวณได้ดังต่อไปนี้
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 7

น�้ำเสีย 1 ลิตร ต้องการออกซิเจน = 150 มิลลิกรัม


น�้ำเสีย 1 ลูกบาศก์เมตร ต้องการออกซิเจน = 150 กรัม
น�้ำเสีย 60 ลูกบาศก์เมตร/วัน ต้องการออกซิเจน
= 60 ลูกบาศก์เมตร x 150 กรัม x 1 กิโลกรัม
วัน ลูกบาศก์เมตร 1,000 กรัม
= 9 กิโลกรัม O2/วัน
กิโลกรัม 1. วัน
= 9 x = 0.375 กิโลกรัม O2/ชั่วโมง
กรัม 24 ชั่วโมง
และ BOD5 = 0.7 BODU หรือ BODU = 1.5 BOD5
ดังนั้นอัตราภาระ BODU ทั้งหมด = 1.5 x 0.375 = 0.563 กิโลกรัม O2/ชั่วโมง
ดั ง นั้ น ในระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ของโรงพยาบาลจะต้ อ งติ ด ตั้ ง เครื่ อ งเติ ม อากาศ
ทีส่ ามารถให้ปริมาณออกซิเจนละลายลงในน�ำ้ เสียได้มากกว่าอัตราภาระ BODU ต่อชัว่ โมงดังกล่าว
และเนื่องจากอัตราไหลของน�้ำเสียในช่วงกลางวันอาจมีค่าสูงกว่าในช่วงกลางคืนถึง 2 เท่า
ใน 1 ชั่วโมงดังนั้นเครื่องเติมอากาศจะต้องใช้ออกซิเจนได้เป็น 2 เท่าของอัตราภาระ BOD U
เฉลี่ยต่อชั่วโมง ซึ่งควรมีค่ามากกว่า 2 x 0.563 = 1.13 กิโลกรัม O2/ชั่วโมง
ค่า BOD5 เฉลี่ยของน�้ำเสียจากโรงพยาบาลจากการส�ำรวจในหลายประเทศมีค่า
เท่ากับ 200 มิลลิกรัม/ลิตร [1] ส�ำหรับในประเทศไทยได้รับข้อมูลที่ได้จากหลายโรงพยาบาล
และจากการลงพื้นที่ส�ำรวจโรงพยาบาลมากกว่า 70 แห่งในช่วงปีพ.ศ. 2562 – 2563 พบว่า
มีค่าอยู่ในช่วง 100 – 200 มิลลิกรัม/ลิตร
1.2) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand, COD) หมายถึงปริมาณออกซิเจน
ที่ใช้ส�ำหรับการย่อยสลายสารอินทรีย์ทางเคมี ในการทดสอบหาค่า COD ใช้สารเคมีที่เป็นสาร
ออกซิไซด์ที่รุนแรง คือ K2CrO7 ภายใต้สภาวะที่เป็นกรด ท�ำให้สารอินทรีย์เกือบทุกชนิดรวมทั้ง
สารอนินทรีย์บางชนิดในน�้ำเสียถูกออกซิไดซ์ไปด้วย โดยสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้จะถูกเปลี่ยน
ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน�้ำเช่นเดียวกับการย่อยสลายด้วยจุลินทรีย์ รวมทั้งสารอินทรีย์
ที่จุลินทรีย์ย่อยสลายไม่ได้ เช่น ลิกนิน จะถูกออกซิไดซ์ได้สมบูรณ์ด้วยเช่นกัน ดังนั้นจึงท�ำให้
ค่า COD สูงกว่าค่า BODU และทั้งสองค่านี้จะแตกต่างกันมากขึ้นถ้าในน�้ำมีองค์ประกอบของ
สารอินทรีย์ที่ย่อยสลายทางชีวภาพไม่ได้เป็นจ�ำนวนมาก
ข้อจ�ำกัดทีส่ ำ� คัญของการวิเคราะห์หาค่า COD คือไม่สามารถแบ่งแยกระหว่างสาร
อินทรีย์ที่ย่อยได้และสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายไม่ได้ทางชีวภาพ แต่ข้อได้เปรียบคือสามารถหาค่าได้
ในเวลา 3 ชั่วโมงแทนที่จะเป็น 5 วันของการวิเคราะห์หาค่า BOD5 ด้วยเหตุนี้จึงนิยมใช้แทนการ
วิเคราะห์หาค่า BOD5 ในหลายกรณี ซึ่งสามารถน�ำค่า COD มาประมาณเป็นค่า BOD5 ด้วยการ
วิเคราะห์ข้อมูลจ�ำนวนมากจนได้อัตราส่วนของ COD/ BOD5 ที่เชื่อถือได้
ถึงแม้วา่ ในมาตรฐานน�ำ้ ทิง้ จากอาคารของกรมควบคุมมลพิษไม่มคี า่ COD ของน�ำ้ ทิง้
ก�ำหนดไว้ แต่มกี ำ� หนดไว้ในมาตรฐานน�ำ้ ทิง้ จากโรงงานอุตสาหกรรมให้ไม่เกิน 120 มิลลิกรัม/ลิตร
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
8 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

สารอนินทรีย์ คือสารประกอบของธาตุต่าง ๆ ที่ไม่มีสารอินทรีย์คาร์บอนรวม


2
อยู่ด้วย สารอนินทรีย์ที่พบในน�้ำเสียประกอบด้วย กรวด ทรายและแร่ธาตุต่าง ๆ ทั้งที่อยู่ในรูป
ของแข็งแขวนลอยและของแข็งละลายน�้ำ สารเหล่านี้ได้แก่คลอไรด์ ไฮโดรเจนไอออน ไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส และสารประกอบที่มีฤทธิ์เป็นด่าง สารประกอบของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสเป็นธาตุ
อาหารที่จ�ำเป็นส�ำหรับการเจริญเติบโตจุลินทรีย์ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย สารอนินทรีย์ชนิดอื่น เช่น
โลหะหนัก ถ้ามีความเข้มข้นสูงเกินไปจะเป็นพิษต่อระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบชีวภาพ
2.1) ความเป็นกรด-ด่าง (pH) เป็นค่าที่บอกถึงความเป็นกรด-ด่างของน�้ำเสีย
ค่า pH จะเริ่มตั้ง 1 ถึง 14 และค่า pH ที่ต�่ำกว่า 7 ถือมีสภาวะเป็นกรด และค่า pH ที่สูงกว่า 7
ถือว่ามีสภาวะเป็นด่าง จุลินทรีย์ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียสามารถท�ำงานได้ดีในช่วงค่า pH เป็นกลาง
ในช่วงค่า 6 – 8 และพบว่าปฏิกิริยาการไนตริฟิเคชันที่เกิดขึ้นในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบเอเอส
จะสร้างกรดขึน้ จากการเปลีย่ นแอมโมเนียให้เป็นไนเตรทและท�ำให้คา่ pH ของน�ำ้ ในถังเติมอากาศ
ลดต�่ำลงและอาจท�ำให้ค่า pH ต�่ำกว่า 6 ได้
2.2) สภาพความเป็นด่าง (Alkalinity) เป็นการวัดความสามารถในการป้องกัน
การเปลี่ยนแปลงของค่า pH ของน�้ำเสียหรือบัฟเฟอร์ ได้จากการท�ำปฏิกิริยาของกรดหรือด่าง
กับไอออนของไบคาร์บอเนต (HCO3-) คาร์บอเนต (CO23-) และไฮดรอกไซด์ (OH-) ปกตินำ�้ เสียของ
โรงพยาบาลที่มีความเข้มข้นของสภาพความเป็นด่างต�่ำ อาจท�ำให้ค่า pH ของน�้ำเสียเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็วเมื่อมีการเพิ่มของกรดหรือด่างอย่างกะทันหัน
2.3) ไนโตรเจน สารประกอบไนโตรเจนทีพ่ บในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียมีอยู่ 4 รูปแบบ
ได้แก่ สารอินทรียไ์ นโตรเจน (Org-N) แอมโมเนียไนโตรเจน (NH+4 -N) ไนไตรท์ไนโตรเจน (NO2- - N)
และไนเตรทไนโตรเจน (NO3- - N) ในน�้ำเสียดิบจะพบสารประกอบไนโตรเจนในรูปของ Org-N
เป็นส่วนใหญ่ และพบ NH4+ - N เป็นส่วนน้อย และพบ NO2- - N และ NO3- - N ปริมาณน้อยมาก
ในน�้ำเสีย ทั้ง Org-N และ NH4+ - N สามารถวิเคราะห์หาความเข้มข้นรวมกันได้ในรูปของค่า TKN
ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบเอเอส Org-N ทั้งหมดจะถูกย่อยสลายโดยแบคทีเรียแล้วเปลี่ยนให้เป็น
NH4+ - N และจากการลงพื้นที่ส�ำรวจโรงพยาบาลมากกว่า 70 แห่งในช่วงปีพ.ศ. 2562 – 2563
พบว่าความเข้มข้นของ TKN ในน�้ำเสียจากโรงพยาบาลมีค่าเท่ากับ 30 ถึง 60 มิลลิกรัม/ลิตร
NH4+ - N จะถูกออกซิไดซ์โดยแบคทีเรียที่มีในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบเอเอส ซึ่งจะเปลี่ยน
NH4+ -N ไปเป็น NO2- - N และจากนั้นเปลี่ยนให้เป็น NO3- - N ในสภาวะที่มีออกซิเจน ดังสมการ
ต่อไปนี้
Nitrosomonas gr
2NH4+ -N + 3O2 2NO2- - N + 4H+ + 2H2O (1-3)
Nitrobacter gr
2NO2- - N + O2 2NO3- - N (1-4)
ปฏิกิริยารวมทั้งสองสมการนี้เรียกว่าไนตริฟิเคชัน (Nitrification)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 9

ในระบบเอเอสถ้าปล่อยให้สลัดจ์ค้างอยู่ในถังตกตะกอนเป็นเวลานานจนท�ำให้เกิดสภาวะ
ไร้อากาศ ทั้ง NO3- - N และ NO2- - N จะถูกรีดิวซ์และเปลี่ยนให้เป็นก๊าซไนโตรเจน (N2) โดย
แบคทีเรียในถังตกตะกอน เรียกกระบวนการนีว้ า่ ดิไนตริฟเิ คชัน (Denitrification) ถ้าในถังตกตะกอน
มีความเข้มข้น NO3- - N เพียงพอและมีค่า DO ต�่ำจะท�ำให้เกิดก๊าซ N2 ซึ่งฟองก๊าซจะไปจับกับ
สลัดจ์แล้วลอยขึ้นผิวน�้ำถังตกตะกอน ซึ่งสังเกตได้จากก้อนสลัดจ์ที่ลอยบนผิวน�้ำถังตกตะกอน
มีสีน�้ำตาลและอาจมีฟองก๊าซติดอยู่ภายใน ในกรณีที่สลัดจ์ขาดออกซิเจนจนตายนั้นก้อนสลัดจ์
ที่ลอยขึ้นผิวน�้ำจะมีสีด�ำ
2.4) ฟอสฟอรัส เป็นธาตุอาหารที่จ�ำเป็นส�ำหรับกระบวนการเมตาบอลิซึมของ
จุลินทรีย์ในการสร้างเซลล์ใหม่ ในน�้ำเสียจะพบฟอสฟอรัสในรูปของฟอสเฟต การปล่อยน�้ำทิ้งที่มี
ฟอสเฟตสูงจะท�ำให้สาหร่ายบางชนิดเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจะเกิดเป็นปรากฏการณ์ยโู ทรฟิเคชัน
(Eutrophication) ท�ำให้เกิดน�ำ้ เน่าเสียได้ ปกติในน�ำ้ เสียของโรงพยาบาลมีฟอสเฟตในความเข้มข้น
ที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์อยู่แล้ว
2.5) ก�ำมะถันหรือซัลเฟอร์ (Sulfur) ในน�้ำเสียจะพบสารประกอบของซัลเฟอร์
ในรูปของซัลเฟต (SO42-) ในสภาวะไร้อากาศซัลเฟตจะถูกรีดวิ ซ์ให้เป็นซัลไฟด์ (SO42-) โดยแบคทีเรีย
ดังสมการ 1-5 ซัลไฟด์จะจับตัวกับไฮโดรเจนไอออนเป็นไฮโดรเจนซัลไฟด์ ดังสมการที่ 1-6
ซึ่งท�ำให้เกิดกลิ่นเหม็น

SO42-+ สารอินทรีย์ S2- + H2O + CO2 (1-5)


2S2- + H+ H2S (1-6)

2.6) โลหะหนัก (Heavy Metals) โลหะหนักเป็นสารพิษต่อสิง่ มีชวี ติ เช่น ปรอท


แคดเมียม ตะกั่ว ฯลฯ โลหะหนักที่มีความเข้มข้นสูงจะมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์
ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย

1.2.3 ลักษณะน�้ำเสียทางชีวภาพ
1 แบคทีเรีย (Bacteria) แบคทีเรียเป็นจุลนิ ทรียท์ มี่ คี วามส�ำคัญทีส่ ดุ ในระบบบ�ำบัด
น�้ำเสีย ท�ำหน้าที่ย่อยสลายสารอินทรีย์และท�ำให้เกิดการรวมตัวเป็นฟล็อก คุณลักษณะของสาร
อินทรียท์ มี่ ใี นน�ำ้ เสียจะเป็นตัวก�ำหนดชนิดของแบคทีเรียทีม่ คี วามเด่นเหนือชนิดอืน่ น�ำ้ เสียประเภท
โปรตีนจะพบ Alcaligenes, Flavobacteriam และ Bacillus ส่วนน�ำ้ เสียประเภทคาร์โบไฮเดรตหรือ
ไฮโดรคาร์บอนจะพบ Pseudomonas เป็นส่วนใหญ่ เป็นต้น
เชือ้ โรคหลายชนิดแพร่กระจายทางน�ำ้ จุลนิ ทรียท์ เี่ ป็นเชือ้ โรคไม่สามารถเจริญเติบโต
และขยายพันธุ์ได้ในน�้ำเสียหรือน�้ำสะอาดแต่สามารถอยู่รอดได้หลายวัน เซลล์ที่มีชีวิตจะตาย
อย่างรวดเร็ว แต่สปอร์และ cyst สามารถคงทนอยูไ่ ด้นาน แบคทีเรียทีเ่ ป็นเชือ้ โรคทีพ่ บในน�ำ้ ได้แก่
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
10 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

Salmonella typhosa, Shigella dysenteriae และ Vibrio comma นอกจากนี้ยังพบแบคทีเรีย


ดื้อยาปฏิชีวนะในน�้ำเสียจากโรงพยาบาลในหลายประเทศ [6] [7]
2 โปรโตชัว (Protozoa) และโรติเฟอร์ (Rotifer) โปรโตซัวเป็นจุลน ิ ทรียเ์ ซลล์เดียว
ไม่มสี ว่ นในการย่อยสลายสารอินทรียใ์ นระบบเอเอส มีดว้ ยกันหลายประเภท เช่น Free–swimming
ciliated, Suctoia และ Stalked ciliate เป็นต้น ส่วนใหญ่กินแบคทีเรียทั้งที่มีชีวิตและตายแล้ว
เป็นอาหาร ใช้เป็นดัชนีชี้วัดสภาวะของสลัดจ์ในระบบเอเอส ส่วน Rotifer เป็นสัตว์หลายเซลล์
พบเป็นจ�ำนวนมากในระบบเอเอสประเภททีม่ กี ารย่อยสลายสารอินทรียอ์ ย่างสมบูรณ์ (อายุสลัดจ์สงู
และค่า F/M ต�่ำ) โรติเฟอร์สามารถใช้ของแข็งแขวนลอยที่เป็นส่วนที่แตกออกจากสลัดจ์เป็น
อาหารและเป็นตัวชี้วัดว่าระบบเอเอสอยู่ในสภาพที่มีสารอินทรีย์เหลืออยู่น้อย ทั้งโปรโตซัวและ
โรติเฟอร์ช่วยท�ำให้น�้ำล้นถังตกตะกอนใส นอกจากนี้พบว่าโปรโตซัวบางชนิดเป็นเชื้อโรค เช่น
Endamoeba histolytica พบได้ในระบบท่อน�้ำประปาในบางประเทศ
3 ไวรัส (Virus) เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่สุด ไม่มีลักษณะเป็นเซลล์ มีชีวิตแบบ
ปรสิต โดยเชือ้ ไวรัสก่อให้เกิดโรคด้วยการแพร่ระบาดทางน�ำ้ ได้แก่ โปลิโอ ไวรัสตับอักเสบ เป็นต้น
เนื่องจากไวรัสมีขนาดเล็กและลักษณะการเจริญเติบโตที่ต้องการ host จึงท�ำให้หลุดลอดจากการ
ฆ่าเชื้อโรคได้ง่าย และการตรวจสอบไวรัสท�ำได้ยาก
4 แบคทีเรียชี้วัด (Indicator bacteria) ในการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ
โรคในน�้ำทิ้งควรตรวจสอบว่าในน�้ำมีเชื้อโรคหรือไม่ แต่การวิเคราะห์หาแบคทีเรียที่เป็นเชื้อโรคมี
อันตรายและยุ่งยาก แบคทีเรียที่เป็นเชื้อโรคเพาะเลี้ยงได้ยากกว่าแบคทีเรียทั่วไป จึงท�ำให้วิธีการ
ตรวจสอบแบคทีเรียแบบปกติไม่สามารถท�ำได้ ดังนั้นแทนที่จะท�ำการวิเคราะห์หาเชื้อโรคพบว่า
กลุ่มของแบคทีเรียที่มีจุดต้นก�ำเนิดมาจากทางเดินอาหารสามารถใช้เป็นตัวชี้วัดการปนเปื้อนของ
อุจจาระหรือการคงอยู่ของเชื้อโรคได้ เรียกว่าโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (Coliform bacteria)
โคลิฟอร์มแบคทีเรียอยู่ในแฟมมิลิ Enterobactoriaceae ซึ่งได้แก่ Escherichia
และ Aerobactor แต่เดิมคิดว่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียทั้งหมดมีต้นก�ำเนิดมาจากอุจจาระทั้งหมด
แต่พบว่า Aerobactor และ Escherichia บางชนิดสามารถเจริญเติบโตได้ในดิน ดังนั้นการพบ
โคลิฟอร์มแบคทีเรียในน�ำ้ จึงไม่ได้หมายความว่าเกิดการปนเปือ้ นจากอุจจาระทัง้ หมด จึงได้มคี วาม
พยายามในการแยกความแตกต่างระหว่างโคลิฟอร์มที่มาจากอุจจาระหรือฟีคัลโคลิฟอร์ม (Fecal
coliform) และโคลิฟอร์มที่ไม่ได้มาจากอุจจาระ และมีข้อสรุปว่า Escherichia coli (E. coli)
ทั้งหมดเป็นฟีคัลโคลิฟอร์ม และ Escherichia บางชนิดและ Aerobactor มีต้นก�ำเนิดมาจากดิน
ในการควบคุมความสะอาดของน�ำ้ จึงวิเคราะห์หาโคลิฟอร์มทัง้ หมดคือโคลิฟอร์มและฟีคลั โคลิฟอร์ม
รวมกัน เนื่องจากวงจรชีวิตของพยาธิส่วนหนึ่งจะอาศัยอยู่ในดิน
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 11

บทที่
2 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ในโรงพยาบาล
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลมีหน้าที่ในการป้องกันปัญหาสุขอนามัยและสภาพ
แวดล้อมของชุมชนที่จะเกิดขึ้นจากน�้ำเสียของโรงพยาบาล เนื่องจากน�้ำเสียจากโรงพยาบาลมี
ปริมาณมากและในน�ำ้ เสียยังประกอบด้วยสารอินทรีย์ ยาปฏิชวี นะและเชือ้ โรค น�ำ้ เสียทีเ่ กิดขึน้ จาก
แหล่งก�ำเนิดต่าง ๆ ในโรงพยาบาลจะไหลลงสูท่ อ่ รวบรวมน�ำ้ เสียและถูกส่งเข้าสูร่ ะบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
ของโรงพยาบาลเพื่อบ�ำบัดให้ได้ตามมาตรฐานน�้ำทิ้งของกรมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และน�้ำทิ้งจะต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคเพื่อให้ได้คุณภาพตามข้อก�ำหนดของกรมอนามัยก่อนระบาย
ออกสู่แหล่งน�้ำสาธารณะ องค์ประกอบระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลประกอบด้วยระบบ
ท่อรวบรวมน�้ำเสียและระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย

2.1 ระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย

ท่อรวบรวมน�ำ้ เสียถูกออกแบบให้รวบรวมน�ำ้ เสียทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ ในโรงพยาบาลให้ไหลตาม


แรงโน้มถ่วงของโลกไปยังระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย จึงต้องใช้ท่อรวบรวมน�้ำเสียที่มีขนาดของเส้นผ่าน
ศูนย์กลางที่ใหญ่เพียงพอและเหมาะสม และวางท่อรวบรวมน�้ำเสียให้มีความลาดชันที่ถูกต้อง

2.1.1 ท่อรวบรวมน�้ำเสีย
1 ประเภทของระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย
ระบบท่อรวบรวมน�้ำเสียแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
1.1) ระบบท่อรวม (Combines sewer system) เป็นระบบท่อเดียวที่รวบรวม
ทั้งน�้ำฝนและน�้ำเสียภายในท่อเดียวกัน ในช่วงที่ไม่มีฝนระบบท่อจะรวบรวมน�้ำเสียทั้งหมดไปยัง
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ส่วนในช่วงที่ฝนตกทั้งน�้ำฝนและน�้ำเสียจะถูกรวบรวมและส่งเข้าระบบบ�ำบัด
น�้ำเสีย เมื่อมีน�้ำฝนเข้าระบบท่อจ�ำนวนมากเกินไปส่วนหนึ่งของน�้ำฝนที่มีน�้ำเสียเจือปนจะล้นออก
จากระบบท่อผ่านบ่อผันน�้ำเสียลงสู่แหล่งน�้ำสาธารณะ ระบบท่อรวมเป็นระบบท่อที่ใช้ในเขตพื้นที่
เทศบาลในประเทศไทยและไม่ใช้ในโรงพยาบาล
1.2) ระบบท่อแยก (Separated sewer system) เป็นระบบท่อที่ประกอบด้วย
ท่อ 2 ชนิด ได้แก่ท่อรวบรวมน�้ำเสียและท่อระบายน�้ำฝน ระบบท่อระบายน�้ำฝนท�ำหน้าที่ระบาย
น�้ำฝนออกจากพื้นที่โดยรอบโรงพยาบาล อาจใช้เป็นรางระบายน�้ำร่วมกับท่อระบายน�้ำ ส่วนระบบ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
12 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ท่อรวบรวมน�ำ้ เสียท�ำหน้าทีร่ วบรวมเฉพาะน�ำ้ เสียส่งไปยังระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ทัง้ ท่อรวบรวมน�ำ้ เสีย


และท่อระบายน�้ำฝนจะต้องถูกออกแบบและก่อสร้างให้มีความลาดชันเพียงพอเพื่อให้น�้ำไหลออก
จากพื้นที่และไม่มีน�้ำท่วมขังภายในท่อหรือบ่อตรวจ และไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุง
2 ชนิ ด ของท่ อ รวบรวมน�้ ำ เสี ย ท่ อ รวบรวมน�้ ำ เสี ย แบ่ ง ประเภทตามการใช้ ง าน
ดังแสดงในตารางที่ 2-1

ตารางที่ 2-1 ประเภทของท่อรวบรวมน�้ำเสีย


ชนิดของท่อ หน้าที่
ท่อจากอาคาร ท่อระบายน�้ำเสียจากอาคารเป็นท่อที่ใช้ต่อจากอาคารของโรงพยาบาล
(Building sewer) เพือ่ ล�ำเลียงน�้ำเสียจากอาคารซึ่งปกติมีขนาด 4 นิ้วมาสู่ท่อแขนง ซึ่งมี
ท่อขนาด 6 นิ้ว หรือ 150 มิลลิเมตร
ท่อแขนง ท่อแขนงท�ำหน้าที่ล�ำเลียงน�้ำเสียจากอาคาร หอพักหรือบ้านพักมาสู่
(Lateral sewer) ท่อระบายหลัก ปกติใช้ท่อขนาดตั้งแต่ 150 มิลลิเมตร หรือ 6 นิ้วขึ้นไป
ขึ้นกับอัตราไหลของน�้ำเสียที่รองรับ
ท่อหลัก ท่อหลักใช้ในการล�ำเลียงน�้ำเสียจากท่อรอง หรือท่อแขนง เข้าระบบ
(Main sewer) บ�ำบัดน�้ำเสีย ใช้ท่อที่มีขนาดตั้งแต่ 150 มิลลิเมตร หรือ 6 นิ้วขึ้นไป
ขึ้นกับอัตราไหลของน�้ำเสียที่รองรับ
ท่อหลักความดัน ท่อความดัน เป็นท่อที่ต่อจากบ่อสูบน�้ำเสียไปยังจุดรับน�้ำเสีย โดยอาศัย
(Force main) แรงดันจากเครื่องสูบน�้ำ
ที่มา: [8]
ขนาดของท่อและความลาดเอียง ขนาดของท่อรวบรวมน�้ำเสียที่ใช้จะต้องใหญ่
3
เพียงพอเพื่อป้องกันการอุดตันจากขยะ เศษใบไม้และสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ ปกติท่อระบายน�้ำเสีย
จากห้องน�้ำของอาคารมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 นิ้ว (100 มิลลิเมตร) ดังนั้นท่อแขนงเชื่อมท่อ
จากอาคารควรมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ว (150 มิลลิเมตร) ส�ำหรับท่อระบายหลักอาจมี
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 หรือ 8 นิ้ว (200 มิลลิเมตร) ขึ้นกับอัตราไหลของน�้ำเสียที่รองรับ
ดังแสดงในรูปที่ 2-1
ท่อรวบรวมน�้ำเสียจะต้องถูกวางให้มีความลาดชันเพียงพอเพื่อให้น�้ำในท่อไหล
ตามแรงโน้มถ่วงของโลกด้วยความเร็วมากกว่า 0.6 เมตร/วินาที ซึ่งเป็นความเร็วต�่ำสุดที่ท�ำให้
ตะกอนสารอินทรียถ์ กู ชะล้างไปและไม่ตกตะกอนสะสมในท่อ ไม่ทำ� ให้เกิดปัญหาเรือ่ งกลิน่ จากการ
เน่าสลายของตะกอนสารอินทรีย์ ความลาดชันนีเ้ รียกว่าความลาดต�ำ่ สุด และความลาดต�ำ่ สุดของ
ท่อ 6 นิ้ว มีเท่ากับ 0.005 หรือ 1/200 หมายความว่าทุกระยะของการวางท่อยาว 200 เมตร
ท้องท่อด้านปลายจะอยู่ต�่ำกว่าท้องท่อต้นทาง 1 เมตร ส�ำหรับท่อขนาด 8 นิ้ว ความลาดชันต�่ำสุด
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 13

มีค่าเท่ากับ 0.0044 [8] ส่วนความเร็วสูงสุดของการไหลของน�้ำเสียต้องไม่เกิน 3 เมตร/วินาที


เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับท่อ ดังนั้นการท่อรวบรวมน�้ำเสียจะต้องไม่ลาดเอียงจนเกินไป
4 ความลึ ก ของการวางท่ อ ท่ อ รวบรวมน�้ ำ เสี ย จากอาคารควรจะต้ อ งถู ก วางที่ ร ะดั บ
ความลึกต�่ำกว่าอาคารเพียงพอเพื่อให้น�้ำเสียไหลได้สะดวก ความลึกต�่ำสุดของการวางท่อโดยให้
มีดินคลุมหลังท่อต้องไม่น้อยกว่า 0.3 – 0.45 เมตร อาจพิจารณาวางท่อที่ระดับต�่ำกว่านี้ เช่น
1 – 2 เมตร โดยพิจารณาแรงกดจากน�ำ้ หนักดินและน�ำ้ หนักรถทีส่ ญ ั จรเหนือท่อเพือ่ ไม่ให้ทอ่ แตกหัก
เสียหาย ควรวางท่อรวบรวมน�้ำเสียให้ต�่ำกว่าท่อประปา และความลึกสูงสุดของการวางท่อด้วยวิธี
เปิดหน้าดินควรลึกไม่เกิน 4 ถึง 7 เมตรขึ้นกับลักษณะของชั้นดิน เนื่องจากความลึกมากจะท�ำให้
งบประมาณการก่อสร้างสูงและยากต่อการก่อสร้าง ในกรณีนคี้ วรพิจารณาก่อสร้างสถานีสบู น�ำ้ เสีย
เพื่อยกระดับน�้ำเสียแทนการขุดเปิดหน้าดิน
5 ท่อหลักความดัน ท่อหลักความดันเป็นท่อที่ต่อจากเครื่องสูบน�้ำที่ติดตั้งในบ่อสูบไปยัง
จุดรับน�ำ้ หรือไปยังระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียโดยอาศัยความดันจากเครือ่ งสูบน�ำ้ การวางท่อหลักความดัน
สามารถวางให้ขนานไปตามความลาดเอียงของพื้น จะต้องเลือกขนาดท่อให้เหมาะกับอัตราการ
สูบน�้ำเสีย เพื่อให้ได้ความเร็วของการไหลของน�้ำในท่อไม่ต�่ำกว่า 0.6 เมตร/วินาที และความเร็ว
สูงสุดไม่เกิน 3.0 เมตร/วินาทีเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับท่อ
6 ชนิดวัสดุท่อและการใช้งานของท่อ ชนิดของท่อที่นิยมใช้ในระบบรวบรวมน�้ำเสียและ
ลักษณะการใช้งานแสดงในตารางที่ 2-2

รูปที่ 2-1 ขนาดท่อน�้ำทิ้งของอาคารและท่อรวบรวมน�้ำเสียจากอาคาร [9]


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
14 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 2-2 ชนิดของวัสดุท่อและลักษณะการใช้งานท่อในระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย


ชนิดของท่อ หน้าที่
ท่อซีเมนต์ใยหิน น�้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย รับแรงกดทับได้ไม่ดี ท�ำให้แตกหักเมื่อเกิดดินทรุด
ใช้เป็นท่อรวบรวมน�้ำเสียของโรงพยาบาลหลายแห่งที่ก่อสร้างมานาน
ท่อคอนกรีต ใช้กันแพร่หลายส�ำหรับงานรวบรวมน�้ำเสียและระบายน�้ำฝนของเทศบาล
ท่อพีวีซี ท่อพลาสติก น�้ำหนักเบา รับแรงกดทับได้ดีพอใช้ ผิวเรียบและทนการ
กัดกร่อนได้ดี ใช้เป็นท่อหลักความดันได้ มีราคาแพง
ท่อเอชดีพีอี ท่อพลาสติก น�้ำหนักเบา รับแรงกดทับได้ดีพอใช้ ผิวเรียบทนการกัดกร่อน
ได้ดี ใช้เป็นท่อหลักความดันได้ ยืดหยุ่น มีราคาแพงมาก
ที่มา: [8]

2.1.2 บ่อสูบน�้ำเสีย (Pump station)


ปกติน�้ำเสียจะไหลในท่อรวบรวมน�้ำเสียด้วยแรงโน้มถ่วงของโลก แต่ในบางพื้นที่ที่มี
สภาพไม่เหมาะสม เช่น ระดับพืน้ ดินของท่อรวบรวมน�ำ้ เสียอยูต่ ำ�่ กว่าระดับพืน้ ดินของระบบบ�ำบัด
น�้ำเสีย หรือระบบบ�ำบัดน�้ำเสียอยู่ไกลจึงต้องวางท่อเป็นระยะทางไกลท�ำให้ต้องวางท่อที่ระดับ
ความลึกมากเกินไป ส่งผลให้ท�ำการก่อสร้างได้ยากหรือมีต้นทุนสูงเกินไป ในสภาพพื้นที่แบบนี้
การสร้างบ่อสูบน�ำ้ เสียเพือ่ ยกระดับน�ำ้ เสียอาจมีตน้ ทุนถูกกว่า นอกจากนีบ้ อ่ สูบน�ำ้ เสียยังใช้สำ� หรับ
สูบน�้ำเสียที่รวบรวมได้ในบ่อพักเข้าสู่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียดังแสดงในรูปที่ 2-2

รูปที่ 2-2 ท่อรวบรวมน�้ำเสียและบ่อสูบน�้ำเสีย

2.1.3 บ่อตรวจ (Manhole)


หน้ า ที่ แ ละวั ต ถุ ป ระสงค์ ได้ แ ก่ (1) ใช้ เ ป็ น จุ ด บรรจบของท่ อ จากอาคาร
1
และท่อรวบรวมน�้ำเสีย (2) ใช้เป็นจุดเชื่อมต่อท่อในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของท่อ
มีการเปลี่ยนแปลงความลาดชันและความลึกของท่อและมีการเปลี่ยนทิศทางการไหลของน�้ำเสีย
(3) ใช้เป็นจุดบรรจบระหว่างท่อหลักความดันและท่อน�้ำเสียปกติ
1) หน้1) าทีหน้ ่และวั
1)าทีหน้
ต่แถุละวั
าปทีระสงค์
่แตละวั
ถุประสงค์
ตได้ถุแปก่ระสงค์
ไ(1)
ด้แใช้
ก่ไเด้(1)
ป็แนก่ใช้
จุด(1)
เบรรจบของท่
ป็นใช้จุเดป็บรรจบของท่
นจุดบรรจบของท่
อจากอาคารและท่
อจากอาคารและท่
อจากอาคารและท่
อรวบรวมน้อรวบรวมน้
าเสี
อรวบรวมน้
ย (2)
าเสีใช้
ย าเสี
(2)ยใช้(2) ใช้
เป็นจุดเป็เชืน่อจุมต่
เป็
ดเชือนท่่อจุอมต่
ดในกรณี
เชือ่อท่มต่
อในกรณี
อทท่ี่มอีกในกรณี
ารเปลี
ที่มีการเปลี
่ยทนแปลงขนาดของท่
ี่มีการเปลี
่ยนแปลงขนาดของท่
่ยนแปลงขนาดของท่
อ มีการเปลี คูอ่มือมีการควบคุ
การเปลี
่ยอนแปลงความลาดชั
มีการเปลี
่ยมนแปลงความลาดชั
และบ�่ยำนแปลงความลาดชั
นและความลึ
รุงรักษาระบบบ� นำและความลึ
บัดน�น้ำกและความลึ
เสีของท่กอของท่กของท่
ยโรงพยาบาล อ อ
และมีกและมี
ารเปลีและมีก่ยารเปลี
นทิกศารเปลี
ทางการไหลของน้
่ยนทิศ่ยทางการไหลของน้
นทิศทางการไหลของน้ าเสีย (3) าเสีใช้
ย เาเสี
(3)
ป็นยใช้
จุด(3)
เบรรจบระหว่ ระบบบ่
ป็นใช้จุดเป็บรรจบระหว่ าองท่
นจุดบรรจบระหว่ปรัอบหลั
เสถี
างท่กยความดั
อร หลั
าระบบสระเติ
งท่กอความดั มนอากาศ
นหลัและท่
กความดั
อและท่ และระบบบึ
น้าเสี
นและท่
อยน้ปกติ งประดิ
าเสีอยน้ปกติ
าเสี ษฐ์ 15
ยปกติ

รูปที่ 2-3 รูปทีรู่ ป2-3 รูแบบการต่


ปทีรู่ 2-3
ปแบบการต่รูปอแบบการต่
เชื่อมท่
อเชือในบ่่อมท่
อเชืออ่อตรวจ
ในบ่
มท่อในบ่ ตรวจอตรวจ
รูปที่ 2-3 รูปแบบการต่อเชื่อมท่อในบ่อตรวจ
2) รูปร่2)างของบ่
รูป2)ร่ารูงของบ่
อปตรวจ
ร่างของบ่ อตรวจ อตรวจ
บ่อตรวจมี บ่อตรวจมี ใช้บ่ทอั้งตรวจมี
แบบสี
ใช้ทั้ง่เแบบสี
ใหลี
ช้ท่ยั้งมและทรงกลม
แบบสี
่เหลี่ย่มและทรงกลม
เหลี่ยมและทรงกลม บ่อตรวจทรงกลมรับ่อตรวจทรงกลมรั
บ่อตรวจทรงกลมรั
บแรงกดได้ บแรงกดได้
ดบีกแรงกดได้
ว่า ดีกว่าดีกว่า
และสามารถเชื
และสามารถเชื
และสามารถเชื
่อมท่อได้ ่อมท่ ทุกอทิ่อได้ศมท่ทาง
ทอุกได้
ทิก้ศทนทาง
ุกบ่ทิอศตรวจควรท
ก้ทางนบ่อก้ตรวจควรทนบ่อาเป็ ตรวจควรท
นรางโค้าเป็นงรางโค้
าเป็
รูปตันวรางโค้
งยูรูเปพืตั่อวงลดแรงเสี
รูยูปเพืตั่อวลดแรงเสี
ยูเพืย่อดทานและท
ลดแรงเสี
ยดทานและท
ยาให้
ดทานและท
น้าเสี
าให้ยนไหล ้าเสี
าให้ยนไหล
้าเสียไหล
ได้อย่าได้
งสม่
อย่าเสมอ
ได้
างสม่ 2
อย่าาเสมอ รู
งสม่ ป
ในบ่าเสมอร่ า
อตรวจที งของบ่
ในบ่อในบ่ ตรวจที อ
่เปลีอ่ยตรวจทีตรวจ
นทิ่เปลีศ่ยทางการไหล
่เนทิบ่ อ ตรวจมี
ปลีศ่ยทางการไหล
นทิศทางการไหล ใ ช้
ความสูความสูท ง
้ ั แบบสี
งของรางโค้ความสู เ

งของรางโค้ หลีงควรมี ย

ของรางโค้ มและทรงกลม
งคควรมี
่าเท่งาควรมี
คกั่าบเท่75% บ่อ
าคกั่าบเท่ของเส้
า75% ตรวจทรงกลม
กับ 75% ของเส้
นผ่านของเส้ นผ่านนผ่าน
รัศูบนย์แรงกดได้
กลางของท่ ด
ศูนย์กศูลางของท่ี ก ว่
นย์อกรวบรวมน้ า
ลางของท่ และสามารถเชื
อรวบรวมน้ อาเสี
รวบรวมน้
ย (รูาเสีปทีย่ าเสี ่
(รู2-3) อ
ปยที่(รูมท่
พื2-3)อ ได้ ท
้นปบ่ทีอ่ พื2-3)
ควรมี ุ ก ทิ
้นบ่อพืคควรมี ศ ทาง
้นวามลาดเอี
บ่อควรมีความลาดเอี ก้ น
คยวามลาดเอี
งประมาณ บ่ อ ตรวจควรท�
ยงประมาณ ย4งประมาณ
- 8%4 เพื - 8%ำ เป็ น
่อ4ไม่-เพื
ใ8%รางโค้
ห้่อมไม่
ีตเพืะกอน ง รู
ห้ปมตั
ให้่อมไม่ีตใะกอน วยู
ีตะกอน
เพื
สารอิ่อลดแรงเสี
นสารอิ ทรียยน์สดทานและท�
ทรีย์สนสารอิ
ะสมบนพื ทรี
ะสมบนพื
ย้น์สบ่ะสมบนพื ำ้นรูให้
อ รู้นปบ่ทีอ่ 2-4 น่ 2-4
รู�้ำปเสี
ปบ่ทีอแสดงบ่ ทีแสดงบ่ยตรวจแบบต่
่ อ2-4ไหลได้
แสดงบ่ ออย่าตรวจแบบต่
อตรวจแบบต่ งาๆงสม�
สาาหรัง่ำๆเสมอ
บาสท่งาหรั
อๆรวบรวมน้ ในบ่
สบาหรั บอท่าเสี
ท่อรวบรวมน้ ตรวจที าเสี่เยปลี
อรวบรวมน้
ยขนาดเล็ ก ่ยยนทิ
ขนาดเล็
าเสี กศทางการไหล
ขนาดเล็ ก
ความสูงของรางโค้งควรมีคา่ เท่ากับ 75% ของเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อรวบรวมน�ำ้ เสีย (รูปที่ 2-3)
พื้นบ่อควรมีความลาดเอียงประมาณ 4 - 8% เพื่อไม่ให้มีตะกอนสารอินทรีย์สะสมบนพื้นบ่อ
บทที่ 2 ระบบบาบัดนาเสียในโรงพยาบาล
รูปที่ 2-4 แสดงบ่อตรวจแบบต่าง ๆ ส�ำหรับท่อรวบรวมน�้ำเสียขนาดเล็ก

รูปทีรู่ ป2-4
ที่ 2-4บ่อบ่ตรวจส�
อตรวจส ำหรัาหรับท่บอท่รวบรวมน�
อรวบรวมน ้ำเสีาเสี ยขนาดเล็
ยขนาดเล็ ก ก[10][10]
3) ขนาดของบ่อตรวจ ในประเทศสหรัฐอเมริกานิยมใช้บ่อตรวจทรงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่
1.2 ม. สาหรับท่อรวบรวมน้3 ขนาดของบ่ าเสียขนาดเล็ อตรวจกและก้ นบ่อมีขนาดเท่
ในประเทศสหรั าเส้นกผ่านิ
ฐอเมริ านศูยนมใช้
ย์กบลาง เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถลงไป
่อตรวจทรงกลมขนาด
ตรวจสอบและบ
เส้นผ่านศูนย์ารุกงลางตั
รั ก ษาที
้งแต่่ ก้น1.2
บ่ อได้ และในหลายประเทศอาจใช้
เมตร ส�ำหรับท่อรวบรวมน�้ำเสียขขนาดเล็ นาดเส้ นกผ่และก้
านศู นย์บ่กอลาง 1.0 ม.า เส้ นผ่ า น
มีขนาดเท่
ศู น ย์เส้
นผ่านศูนย์กา กัลาง
ก ลางอาจเท่ เพือ่ ให้เ้ งจ้บ่าหน้
น ตลอดทั าทีส่ ามารถลงไปตรวจสอบและบ�
อ ตรวจหรื อ อาจเรี ย วขึ้ น ด้ า นบนดัำงรุแสดงในรู งรักษาทีก่ ปน้ ทีบ่่ อ2-4
ได้ และในหลาย
[10] ในบางพื้ น ที่ ข อง
ประเทศอาจใช้
โรงพยาบาลที ขนาดเส้นนสูผ่งอาจพบบ่
่มีความลาดชั านศูนย์กอลาง ตรวจตื 1.0 ้นเมตร เส้นผ่กานศู
ที่มีความลึ ต่ากว่นย์าก1.5ลางอาจเท่ ากันตลอดทั
ม.ซึ่งคนงานไม่ ง้ บ่อตรวจ
สามารถเข้ าไปทางานได้
หรื อ อาจเรี ย วขึ น
้ ด้ า นบนดั ง แสดงในรู ป ที ่ 2-4 [10] ในบางพื น
้ ที
ในกรณีควรใช้ฝาปิดที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดใหญ่ประมาณ 0.75 – 0.9 ม. เพื่อช่วยให้สามารถทางานได้ ข
่ องโรงพยาบาลที ม
่ ค
ี วามลาดชั น สูง สะดวก
อาจพบบ่อตรวจตื้นที่มีความลึกต�่ำกว่า 1.5 เมตร ซึ่งคนงานไม่สามารถเข้าไปท�ำงานได้ ในกรณี
ถ้าเป็นไปได้ควรให้ทาการบารุงรักษาจากด้านบน
4) บันไดในบ่อตรวจ ภายในบ่อตรวจควรติดตั้งบันได ให้ติดกับผนังด้านใดด้านหนึ่งซึ่ งตรงกับฝาปิดบ่อ
ตรวจเพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถลงไปทางานได้สะดวก บันไดควรทาจากเหล็กไร้สนิมหรือวัสดุทนการกัดกร่อน ขนาด
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
16 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ควรใช้ฝาปิดที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดใหญ่ประมาณ 0.75 – 0.9 เมตร เพื่อช่วยให้สามารถ


ท�ำงานได้สะดวก ถ้าเป็นไปได้ควรให้ท�ำการบ�ำรุงรักษาจากด้านบน
4 บันไดในบ่อตรวจ ภายในบ่อตรวจควรติดตัง้ บันได ให้ตด ิ กับผนังด้านใดด้านหนึง่
ซึ่งตรงกับฝาปิดบ่อตรวจเพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถลงไปท�ำงานได้สะดวก บันไดควรท�ำจาก
เหล็กไร้สนิมหรือวัสดุทนการกัดกร่อน ขนาดของบันไดไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร และติดตั้ง
ห่างกัน 30 – 40 เซนติเมตร
5 ฝาปิ ด บ่ อ ตรวจ ฝาบ่ อ ตรวจอาจเป็ น คอนกรี ต หรื อ โลหะและควรมี คุ ณ สมบั ติ
ดังต่อไปนี้ (1) มีขนาดใหญ่เพียงพอส�ำหรับการลงไปบ�ำรุงรักษาและควรมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ไม่นอ้ ยกว่า 0.6 เมตร [10] (2) ต้องแข็งแรงรองรับแรงกดทับด้านบนได้ (3) กรณีทฝี่ าท่ออยูก่ ลางถนน
ฝาท่อจะต้องปิดได้สนิทกับกรอบไม่เกิดเสียงรบกวน (4) ต้องสามารถเปิดได้ด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ
เช่น ฝาซีเมนต์อาจติดตั้งเหล็กส�ำหรับยกฝาท่อ แต่อาจต้องเปลี่ยนเป็นครั้งคราวจากการผุกร่อน
ของเหล็ก หรือมีรูเปิดกลางฝาท่อส�ำหรับสอดอุปกรณ์ช่วยเปิดดังแสดงในรูปที่ 2-5 และรูปที่ 2-6
(5) มีน�้ำหนักมากเพียงพอเพื่อป้องกันบุคคลอื่นหรือเด็กมาเปิด (6) รอยต่อระหว่างฝาท่อและ
กรอบต้องป้องกันการไหลเข้าของน�้ำฝน ส�ำหรับบทที ฝาท่อ่ บริ เระบบบ
วณที่มีนาบั
2 ่ ระบบบ �้ำท่ดวมขั งอาจพิ
นาเสี
าเสี จารณายกขอบ
ยยในโรงพยาบาล
ฝาท่อขึ้นเหนือระดับน�้ำท่วม
บทที
บทที
่ บทที
2 ่
บทที่ บทที บทที
ระบบบ
2
2 บทที
ระบบบ 2 ่ ระบบบ
2 ระบบบ
าบั
่ 2่ ระบบบ าบั

2 ระบบบ น
าบัดนาบัาบั
ดาเสี
นาบั

าเสี
าบั น
ยดในโรงพยาบาล
าเสี
นยาเสี
ในโรงพยาบาล
ในโรงพยาบาล

ยในโรงพยาบาล
ดนยดในโรงพยาบาล
าเสี
นาเสี
ยในโรงพยาบาล
ในโรงพยาบาล

รูรูปปทีทีรูป่่ 2-5
รูปทีที2-5 ่ทีรูรู่ 2-5
่ปป2-5
รูรูทีทีฝาบ่
2-5 ฝาบ่ปป่่ 2-5
ทีทีฝาบ่
ฝาบ่
2-5 ่่ ออ2-5
ฝาบ่
ตรวจแบบต่
ฝาบ่
ออตรวจแบบต่
2-5 ตรวจแบบต่
ฝาบ่
ออตรวจแบบต่
ตรวจแบบต่
ฝาบ่อฝาบ่
ออตรวจแบบต่
าางง าๆๆง ๆาางง าาๆๆงง ๆๆ
ตรวจแบบต่
ตรวจแบบต่
ตรวจแบบต่ าง ๆาง ๆ

รูรูปปทีทีรูป่่ 2-6 2-6 ทีรูรู่ปป2-6 รูรูทีทีอุอุปป่่ ปป2-6ทีทีอุกรณ์


2-6 ่่ ป2-6
กรณ์ 2-6 กรณ์
อุอุปปเเปิปิอุอุกรณ์
กรณ์ดดปปเปิฝาบ่
กรณ์
ฝาบ่
กรณ์ ดเเฝาบ่ปิปิออดดเเตรวจแบบต่ ปิปิฝาบ่
ตรวจแบบต่
ฝาบ่ อดดตรวจแบบต่ ฝาบ่
ฝาบ่ ออตรวจแบบต่ ตรวจแบบต่ ออตรวจแบบต่ ตรวจแบบต่ าางง าๆๆง ๆาางง าาๆๆงง ๆๆ
6) บรู(Dropรู ป
ปบบที(Dropที ่
่ 2-6 2-6 อุ ป
อุmanhole)
ปกรณ์กรณ์ เ ปิ เใช้ ด ฝาบ่
้้นนปิทีทีใใดใช้ ่่ททฝาบ่ อ ตรวจแบบต่
ี่มทีที้้นนีค่่ททอทีทีวามลาดเอี ี่มี่มตรวจแบบต่ ายงงมากท ๆยงมากท
าาให้ยยงงมากทกกๆารวางท่
6) 6) บ่บ่ออบ่ตรวจลดระดั
6)
6)อ6) ตรวจลดระดั
บ่บ่ออบ่บ่ตรวจลดระดั
ตรวจลดระดั
6) ออตรวจลดระดั
ตรวจลดระดั ตรวจลดระดั บบ (Drop
(Drop บบmanhole)
(Drop
manhole)(Drop
(Dropmanhole) manhole)
manhole) manhole) ใช้
ใช้ใใใช้ นพื
นพืในพื ใช้ ใช้้นนพื
นพื ทีี่มี่มใในพื ่ทีีคค้้นนวามลาดเอี
นพื วามลาดเอี ่่ททีีคคี่มี่มวามลาดเอี ีีคความลาดเอี
วามลาดเอี ยยงมากท
วามลาดเอี
งมากท ยงมากทาให้ าให้
งมากท าให้
ารวางท่
าให้การวางท่
าให้
กการวางท่
าให้ ออกกตามความลาด
ารวางท่ ารวางท่
อตามความลาด
ตามความลาด
ารวางท่ ออตามความลาด
ออตามความลาด
ตามความลาด ตามความลาด
เอี ย เอี
งถึย ง6)
เอี
งถึ
ก้ยน
เอียงถึงเอีก้ยนเอีงถึ
บ่
เอี
งงถึ
ก้ ย อ
นง
บ่ยองงถึ
ตรวจลดระดั
งถึ
บ่
อาจมี
ก้ อ


อาจมี ก้
อาจมี
บ่ น
อค บ่
อาจมี
วามลาดเอี

ก้นงก้บ่นอ6คบ่อาจมี คอาจมี
วามลาดเอี
อบ่อาจมี วามลาดเอี
ค บ
วามลาดเอี
ค (Drop
วามลาดเอี
ย งมากเกิ ย งมากเกิ manhole)
ย งมากเกิ นย งมากเกิ
ไป น ไป และใช้ น ไป
และใช้
น ใช้ ไป ใ
และใช้
ก นพื
รณี และใช้ก รณี
ท ้ น ่ ี ที

ม รณี

ี ่ ท ก ่ ี ม
อม
่ ี รณี
ี ท
น้ ี ค ่ อ
าเสี
ี มวามลาดเอี ท
น้
ี ่ ี ม
าเสี
อ ย ี ท
น้
ต่ ่ อาเสี
ย น้
เข้
ต่าเสี
อ ยา ย
เข้
ต่
บ่ ย
อ างมากท
ต่
เข้
บ่
ตรวจที
ออ าเข้
ตรวจที
บ่ า อ าให้
บ่
ตรวจที
่ รอ ะดั ก
ตรวจที
่ ร บ ารวางท่
ะดั ความสู
่ รบ ะดั
ความสู
่ ร ะดั
บ อ
ความสู
งบ ตามความลาด
มากกว่
ความสู
ง มากกว่ งงมากกว่
างงมากกว่ า าา าา
อคตรวจลดระดั
วามลาดเอี
ความลาดเอี
ยงมากเกิ ยงมากเกิ นยบงมากเกิ
ไป (Drop และใช้ นไปนไป และใช้
กmanhole)
รณี และใช้ ที่กมรณี ีทก่อรณี น้ทาเสี ี่มทีใช้ี่มอยีทใน้ต่นพื ่อาเสีน้เข้าเสี
้นยาต่บ่ทียอ่ทต่เข้ตรวจที
ี่มอาเข้ีคบ่วามลาดเอี
าอบ่ตรวจที
่รอะดั ตรวจทีบความสู ่ระดั่รยะดั บงมากท�
ความสู
งบมากกว่ความสู มากกว่
ำาให้ มากกว่ การ
เอี0.6
ย0.6งถึ0.6
งม.ก้0.6
ม. น
จากก้
ม.
0.6
จากก้บ่
0.6อ
จากก้
ม. อาจมี
น ม.
จากก้
บ่ นอ
จากก้
บ่ ค
[10]

น วามลาดเอี
บ่[10]
น อ โดยติ
บ่ [10]
อโดยติ [10]
ด โดยติ
ตั ้ ย

ด งมากเกิ
โดยติ
ท่ตั อ ้ ง
ด ท่
พี ตั อ
ว ด
้ งี ซ
พี
ท่ตั ี ตว

้ งน
รงด้
ี ซ
ท่
พี ี ไป

อ วรงด้
พี ี ซา ี และใช้


นในหรื
ี ซรงด้
า ี ตนในหรื
รงด้
า ก
นในหรื
อ า รณี
ด้นในหรื
าอ นนอกบ่
ด้ ทา อ ่ ี
นนอกบ่ม ด้ ี ท อ
า ่ อ
นนอกบ่
ด้ อ าน้ นนอกบ่ าเสี
ตรวจและให้ อ ย
ตรวจและให้
อ ต่ อ เข้
ตรวจและให้ า
ตรวจและให้น บ่
้ อ
าเสี
น ตรวจที
้ าเสี
ย นไหลผ่้ าเสี
ยนไหลผ่
้ ่
าเสี
ย ร
า ะดั
ไหลผ่
นลงสู
ยา บ
ไหลผ่ความสู
นลงสู
า ่ ก นลงสู
้ นา ่ ก
บ่
นลงสู
้ น อ บ่
เพื
่ ก ง อ
้ มากกว่
น่ อ ่ ก
เพื
บ่ ้ น
อ ่ อ
บ่
เพื
อ่อเพื า ่อ
วางท่ อ0.6ม.ตามความลาดเอี
นม.
จากก้
บ่อจากก้ [10]
นบ่นอโดยติ บ่[10] อ [10] ดโดยติ
ตัย้งโดยติ
ท่งถึอดพีงตัก้ วด้งีซท่ตันีตอ้งบ่รงด้ ท่พีออวพีีซอาจมี าีตวนในหรื ีซรงด้ ีตรงด้ าคนในหรือวามลาดเอี าด้นในหรื
านนอกบ่ อด้อานนอกบ่ ด้อายนนอกบ่ ตรวจและให้ งมากเกิ อตรวจและให้
อตรวจและให้นนไป ้าเสียและใช้ นไหลผ่ ้าเสี
น้าเสี ยาไหลผ่ นลงสู
กยไหลผ่
รณีา่กนลงสู ้ท
นาบ่ี่มนลงสู อีทเพื
่ก่อ้น่อ่กน�บ่้นอ้ำบ่เพื เสีอ่อเพืย ่อ
0.6เป็ นนเป็การลดระดั
เป็ม. นจากก้
เป็
เป็การลดระดั
นนเป็
การลดระดั เป็บ่การลดระดั
นนนการลดระดั
การลดระดั บ่บบอน้น้[10]
การลดระดับาดั
าดัน้งงาดั
บบแสดงในรู
น้น้โดยติ
แสดงในรู งบบาดั
แสดงในรู
าดัน้น้งงาดั
าดัแสดงในรู
ดงงตัแสดงในรู
แสดงในรูปป้งทีทีท่ป่่ อ2-7
แสดงในรู 2-7 ทีพี่ปปว2-7 ทีทีและรู
ีซปป่่ ีต2-7
และรู ทีทีและรู
2-7 ่่ 2-7
รงด้ 2-7 ปปและรู
และรูทีทีาป่่นในหรื
และรู
2-8
และรู
2-8 ที่ปป2-8 ทีทีซึซึปป่่ งง2-8
ทีทีอจะช่
2-8ซึ่่ด้่ง2-8
จะช่ 2-8 จะช่
าซึซึววนนอกบ่ ่่งงยป้ยป้ จะช่
ซึซึว่่งงออยป้
จะช่ จะช่
จะช่ งกั
ววอยป้
งกั ยป้ นนองกั
ววการไหลกระแทกของน้
ยป้
ออนงกั
งกัการไหลกระแทกของน้
ตรวจและให้ ออนนงกั
การไหลกระแทกของน้
ยป้ การไหลกระแทกของน้
งกั[10] นนการไหลกระแทกของน้
การไหลกระแทกของน้ น้าเสียไหลผ่
การไหลกระแทกของน้ าเสี
าเสี าเสี
ยยาทีทีนลงสู
าเสี
่่มมยทีีีคคาเสี
าเสี วามสู
่มยยีคทีที่กวามสู
าเสี
วามสู ยย่่มม้นทีทีีีคคงงบ่่่มมวามสู
วามสู อีีคคงเพื
วามสู
วามสู ่งงอ งง
ต่ อ เข้ า อ ตรวจที ร
่ ะดั บ ความสู ง มากกว่ า 0.6 เมตร จากก้ น บ่ อ โดยติ ด ตั ง
้ ท่ อ พี ว ซ
ี ต
ี รงด้ า นใน
เป็มากจนเกิ
มากจนเกิ
นการลดระดั
มากจนเกิ มากจนเกิ
ดดมากจนเกิ
มากจนเกิ การกั
มากจนเกิ
การกั ดการกั
บดดน้การกั
กร่
าดัดดดการกั
การกั
กร่ ออกร่
งนนแสดงในรู
การกั ดดอกร่
กร่ และป้
นดดออกร่
และป้ และป้
กร่ นนออออและป้
นนงกั
งกัปอและป้
และป้ ทีนนงกัน้น้่ ออ2-7
และป้ นาเสี
งกั
งกัน้ออาเสี
าเสี
หรือด้านนอกบ่อตรวจและให้นำ�้ เสียไหลผ่านลงสูก่ น้ บ่อเพือ่ เป็นการลดระดับน�ำ้ ดังแสดงในรูปที่ 2-7
นนยยงกั ไหลถู
น้น้นนาเสี
งกัและรู
ไหลถู ยน้น้ไหลถู
าเสี าเสี
ยยกกปไหลถู
าเสี ไหลถู เจ้
เจ้ทียยกาา่ ไหลถู
เจ้
หน้
หน้กกาหน้
2-8
ไหลถู เจ้
าาทีทีกกซึาา่ท่ทเจ้
เจ้ ่งาหน้
เจ้หน้ ทีจะช่
ี่ลี่ลาางไปตรวจสอบในบ่
่ทหน้
าาี่ลทีทีวงไปตรวจสอบในบ่
งไปตรวจสอบในบ่
หน้ ่ท่ทาายป้ ทีทีี่ลี่ล่ท่ทงไปตรวจสอบในบ่ อี่ลี่ลงไปตรวจสอบในบ่
งไปตรวจสอบในบ่ งกันการไหลกระแทกของน้
งไปตรวจสอบในบ่ ออ อ ออ ออ าเสียที่มีความสูง
มากจนเกิ
และรูดปการกั ดกร่อซึน่งจะช่
ที่ 2-8 และป้วยป้
องกัอนงกั
น้าเสี ยไหลถูกเจ้าหน้าที่ที่ลงไปตรวจสอบในบ่
นการไหลกระแทกของน� อ งมากจนเกิดการกัดกร่อน
้ำเสียที่มีความสู
และป้องกันน�้ำเสียไหลถูกเจ้าหน้าที่ที่ลงไปตรวจสอบในบ่อ
ป็นเป็การลดระดั
นการลดระดั
0.6 ม.0.6จากก้
บนน้บ่บาดั
ม. จากก้
น้งาดั
แสดงในรู
อ น[10]
งแสดงในรู
บ่อ โดยติ
ปทีป่ 2-7
[10] โดยติ
ที่ 2-7 และรู
ดตั้งท่ดอตัพี้งวท่ีซอีตพีรงด้
และรู
ปนในหรื
ทีป่ า2-8
วีซีตารงด้
ทีนในหรื
่ 2-8 ซึ่งจะช่
ซึอ่ด้งจะช่
อด้านนอกบ่
วยป้
านนอกบ่
วยป้
องกัออตรวจและให้
นงกัการไหลกระแทกของน้
อตรวจและให้
นการไหลกระแทกของน้
น้าเสีนยไหลผ่
้าเสียไหลผ่านลงสู
าเสีาเสี
านลงสู
ยที้นย่มบ่่อทีีคอ่มเพื
่ก้นบ่อ่กเพื
วาม
ีค่อว
มากจนเกิ
มากจนเกิ
เป็ดการกั
นดการลดระดั
การกั
เป็นการลดระดั ดกร่
บดน้อกร่
าดันบงอน้แสดงในรู
และป้
นาดัและป้
องกัปอทีนงกั่ น้2-7
งแสดงในรู นปาเสี
น้ที่ าเสี
ย2-7
ไหลถู
และรูยและรู
ไหลถู
ปทีก่ เจ้
ปกาทีเจ้
2-8 หน้ า่งหน้
่ ซึ2-8าทีซึ่ทาคู่งว่มทีจะช่
จะช่ ี่ลือยป้การควบคุ
่ทงไปตรวจสอบในบ่
ี่ลอวงไปตรวจสอบในบ่
งกั
ยป้นมอและบ�
การไหลกระแทกของน้อ อ าเสียทีาเสี่มีคยวามสู
งกันำรุการไหลกระแทกของน้
งรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล ที่มีความสู
ง ง
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 17
มากจนเกิ
มากจนเกิ
ดการกัดการกั
ดกร่อดนกร่และป้
อน และป้
องกันอน้งกัาเสีนยน้ไหลถู
าเสียไหลถู
กเจ้าหน้
กเจ้าาทีหน้
่ที่ลางไปตรวจสอบในบ่
ที่ที่ลงไปตรวจสอบในบ่
อ อ

รูปรูทีป่ 2-7
ที่ 2-7
รูปทีรูป่ รู2-7
บ่อบ่ตรวจลดระดั
อตรวจลดระดั
บบ
ทีป่ ที2-7
่ บ่2-7
อตรวจลดระดั
บ่อบ่ตรวจลดระดั
อตรวจลดระดั
บ บบ

ก ข

(ก) (ก) บ
รูปที่ 2-8 บ่อตรวจลดระดั (ข) (ข)ข หลังติดตั้งท่อตรง
ก่อนติดตั้งท่อตรง
รูปที่ รู2-8
(ก)(ก)
ปที่ บ่2-8
อตรวจลดระดั
บ่อตรวจลดระดั
บ (ก)บก่(ก)
อนติก่ดอตันติ

งท่ดอตัตรง
งท่อ(ข)หลั
ตรง (ข)หลั
(ข)(ข)
งติดตังงท่
ติดอตัตรง
งท่อตรง
รูป2.1.4
รูทีป่ 2-8
ทีการวางผั
่ 2-8
บ่อบ่ตรวจลดระดั
อตรวจลดระดั
งระบบท่อบ (ก)
บ (ก) ก่อก่นติอนติ
ดตัดงท่ตัองท่ตรง
อตรง
(ข)หลั
(ข)หลั
งติดงติตัดงท่ตัองท่ตรง
อตรง
ในการวางแผนก่อสร้างท่อรวบรวมน�ำ้ เสียใหม่ของโรงพยาบาล มีขอ้ พิจารณาดังต่อไปนี้
1 โรงพยาบาลควรมีแบบ Master plan ที่ก�ำหนดต�ำแหน่งของอาคาร สิ่งปลูกสร้าง
และถนนทั้งหมดที่โรงพยาบาลจะก่อสร้างในอนาคต ในกรณีที่โรงพยาบาลยังไม่ได้จัดท�ำ Master
plan อาจจัดท�ำแบบแปลนของโรงพยาบาลที่มีต�ำแหน่งของอาคารและสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ รวมทั้ง
ถนนหลักและก�ำหนดพืน้ ทีก่ อ่ สร้างอาคารในอนาคตไว้ในแบบนี้ เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนด
เส้นทางการวางแนวท่อหลักและแนวท่อรอง และหลีกเลีย่ งการสร้างสิง่ ปลูกสร้างทับแนวท่อรวบรวม
น�้ำเสียในอนาคต ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อการถ่ายเทน�้ำเสียเข้าระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
2 จัดท�ำแบบแปลนส�ำรวจทางภูมิศาสตร์ที่แสดงต�ำแหน่งของอาคาร สิ่งปลูกสร้าง
และถนนที่มีอยู่ในเขตพื้นที่โรงพยาบาล และแสดงระบบสาธารณูปโภคที่มีอยู่ เช่น ท่อจากอาคาร
ท่อระบายน�้ำฝน ท่อรวบรวมน�้ำเสีย และท่อประปา เป็นต้น
3 แบบแปลนแสดงเส้นระดับความสูง (Contour) ของพืน ้ ที่ (รูปที่ 2-9) แบบแปลน
ควรมีมาตราส่วนที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถวางแนวท่อแม่นย�ำ เส้นความสูงควรมีระยะห่างกัน
ไม่เกิน 0.5 เมตร
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
18 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

จั ด ท� ำ แบบแปลนการวางผั ง ระบบท่ อ รวบรวมน�้ ำ เสี ย ที่ ค รอบคลุ ม ทั่ ว ทุ ก


4
แหล่งก�ำเนิดน�้ำเสียจากอาคาร สิ่งปลูกสร้างรวมทั้งหอพักและบ้านพักของบุคลากรทางการแพทย์
โดยไม่มีการติดตั้งถังบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำเร็จรูป ในแบบแปลนควรก�ำหนดจุดทางออกของน�้ำเสียจาก
อาคาร สิ่งปลูกสร้างและบ่อตรวจที่ใช้เชื่อมท่อจากอาคารเข้าสู่ท่อแขนง ก�ำหนดแนวท่อรวบรวม
น�้ำเสียหลักที่รวบรวมน�้ำเสียจากท่อแขนงของกลุ่มอาคารไปยังระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย แบบแปลน
การวางผังระบบท่อจะต้องแสดงต�ำแหน่งองค์ประกอบต่าง ๆ อย่างชัดเจน ได้แก่ ท่อระบายหลัก
ท่อระบายรอง จุดเชื่อมท่อจากอาคาร บ่อตรวจ สถานีสูบน�้ำเสีย แนวท่อควรมีระยะสั้นที่สุด
และเป็นแนวท่อที่ไม่ต้องการบ่อสูบน�้ำเสียหรือใช้น้อยที่สุด
5 ควรวางแนวท่อน�้ำเสียหลักไว้ข้างถนนหลักของโรงพยาบาล เพื่อหลีกเลี่ยงการ
ก่อสร้างอาคารหรือสิง่ ปลูกสร้างใหม่ทบั แนวท่อ ควรหลีกเลีย่ งการวางท่อน�ำ้ เสียในบริเวณเดียวกับ
แนวท่อน�้ำประปา ถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้ควรวางท่อน�้ำเสียให้อยู่ต�่ำกว่าท่อประปาและวางท่อประปา
ให้อยู่ห่างจากท่อรวบรวมน�้ำเสีย เพื่อหลีกเลี่ยงในกรณีเกิดการรั่วซึม
6 จัดท�ำแบบแปลนรูปตัดแนวท่อรวบรวมน�้ำเสีย ในแบบแปลนจะต้องแสดงแผนที่
ที่ก�ำหนดแนวท่อรวบรวมน�้ำเสีย พร้อมกับรูปตัดแสดงความลาดเอียงของพื้นที่และระดับความลึก
ของการวางท่อ พร้อมต�ำแหน่งและระดับความลึกของบ่อตรวจตามแนวเส้นท่อที่ระบุไว้ในแผนที่
(รูปที่ 2-10) ระดับความลึกของท่อจะต้องลาดเอียงไปตามพื้นดินเพื่อให้น�้ำเสียไหลในท่อด้วย
ความเร็วไม่ต�่ำกว่า 0.6 เมตร/วินาที และไม่สูงกว่า 3.0 เมตร/วินาที

รูปที่ 2-9 ตัวอย่างแบบแปลนแสดงเส้นระดับความสูงของพื้นที่โรงพยาบาล


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 19

รูปที่ 2-10 รูปตัดของการวางท่อ : แผนที่แนวท่อและระดับความลาดเอียงของพื้นดิน


และระดับความลึกของการวางท่อตามแนวท่อ

2.1.5 การตรวจรับงานระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย
วัตถุประสงค์ของการด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษาระบบท่อรวบรวมน�้ำเสียคือท�ำให้
น�้ำเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลทั้งจากอาคารรักษาผู้ป่วยและจากที่พักอาศัยของบุคลากร
ทางการแพทย์ ถู ก รวบรวมเข้ า ระบบท่ อ รวบรวมน�้ ำ เสี ย และไหลไปยั ง ระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ได้
อย่างต่อเนื่อง ไม่เกิดปัญหาท่ออุดตันและไม่มีน�้ำฝนไหลเข้าระบบท่อรวบรวม ภายในบ่อตรวจ
จะต้องไม่มีน�้ำเสียตกค้างในท่อเพราะอาจส่งกลิ่นเหม็นและท�ำให้ท่ออุดตันได้ในภายหลัง ดังนั้น
ส�ำหรับการตรวจรับงานระบบท่อรวบรวมน�ำ้ เสียทีก่ อ่ สร้างใหม่ จะต้องท�ำการตรวจสอบเพือ่ ยืนยัน
ความสมบูรณ์และถูกต้องของการก่อสร้างดังต่อไปนี้
1 ผู ้ รั บ จ้ า งจะต้ อ งส่ ง มอบแบบแปลนก่ อ สร้ า งจริ ง (As-built drawing) ให้ กั บ
โรงพยาบาล ในแบบจะต้องระบุต�ำแหน่งของบ่อตรวจ ขนาดและวัสดุก่อสร้างของบ่อตรวจและ
ฝาบ่อ แสดงต�ำแหน่งแนวท่อรวบรวมน�้ำเสียหลัก แนวท่อรวบรวมน�้ำเสียรองและจุดเชื่อมต่อ
ท่ อ น�้ ำ เสี ย จากอาคารทั้ ง หมดเข้ า ระบบท่ อ รวบรวมน�้ ำ เสี ย รวมทั้ ง รู ป ตั ด แสดงความลึ ก และ
ความลาดเอียงของแนวท่อทั้งหมด
2 ตรวจสอบจ�ำนวน ต�ำแหน่งและความสมบูรณ์ของบ่อตรวจจะต้องตรงตามแบบ
จะต้องเปิดฝาบ่อตรวจด้วยอุปกรณ์ที่เหมาะสมที่ผู้รับจ้างจะต้องจัดหาให้ ตรวจสอบการก่อสร้าง
ภายในบ่อตรวจทุกบ่อและจะต้องไม่มีจุดแตกหักรั่วไหล ตรวจสอบขนาดและความหนาบ่อตรวจ
รวมทัง้ ความลึกของท่อรูปตัวยูทกี่ น้ บ่อตรวจในแนวท่อรวบรวมน�ำ้ เสีย ซึง่ ความลึกของก้นบ่อตรวจ
หลายบ่อในแนวท่อรวบรวมจะแสดงความลาดเอียงของการวางท่อ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
20 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

3 ตรวจสอบต�ำแหน่งและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อรวบรวมน�้ำเสียหลัก
ท่อรวบรวมน�้ำเสียรอง ท่อจากอาคาร แนวท่อรวบรวมน�้ำเสียหลัก แนวท่อรวบรวมน�้ำเสียรอง
จุดเชื่อมต่อท่อน�้ำเสียจากอาคารทั้งหมด รวมทั้งสถานีสูบ (ถ้ามี) จะต้องก่อสร้างได้สมบูรณ์
ตรงตามแบบ
4 ท่อรวบรวมน�ำ้ เสียทัง้ หมดจะต้องปราศจากขยะ ดิน กรวดทรายหรือเศษหิน หรือ
วัสดุอนื่ ใดทีจ่ ะขัดขวางการไหลของน�ำ้ เสีย ควรทดสอบการไหลของน�ำ้ ด้วยน�ำ้ และสังเกตการณ์ไหล
ของน�้ำที่บ่อตรวจ
5 น�้ ำ เสี ย จากโรงครั ว และร้ า นอาหารภายในโรงพยาบาลจะต้ อ งผ่ า นถั ง หรื อ
บ่อดักไขมันก่อนระบายน�้ำเสียเข้าสู่ท่อรวบรวมน�้ำเสีย และจะต้องก�ำจัดน�้ำมันและไขมันออกจาก
ถังดักไขมันอย่างสม�่ำเสมอ
6 ส�ำหรับโรงพยาบาลที่ก่อสร้างระบบท่อรวบรวมน�้ำเสียใหม่ และโรงพยาบาล
มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลางแล้ว ควรยกเลิกการใช้ถังบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำเร็จรูปทั้งหมด และ
ต่อท่อน�้ำเสียจากอาคารเข้าระบบท่อรวบรวมน�้ำเสียโดยตรง
7 ติดตั้งท่อคลีนเอ้าท์ (Cleanout) อย่างน้อย 1 ท่อในช่วงความยาวของน�้ำเสีย
จากอาคารที่ต่อเข้าระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย ติดตั้งท่อคลีนเอ้าท์ด้วยข้อต่อสามทางที่ยกปลายท่อ
ขึ้นเหนือพื้นดินและปิดด้วยฝาเกลียวโลหะ เช่น ทองเหลือง ที่สามารถเปิดเพื่อท�ำความสะอาด
ได้ในอนาคตเมือ่ ท่อเกิดการอุดตัน ควรติดตัง้ ในต�ำแหน่งทีเ่ ข้าถึงได้สะดวกและไม่ขดั ขวางการสัญจร

2.2 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย

วัตถุประสงค์ของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียได้แก่ (1) ก�ำจัดของแข็งแขวนลอยและของแข็งลอยน�้ำ


(2) ก�ำจัดสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้ (3) ก�ำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัส และ (4) ก�ำจัดเชื้อโรค
สารพิษและสารที่ไม่ต้องการออกจากน�้ำเสีย แม้ว่าคุณภาพของน�้ำทิ้งจะถูกก�ำหนดให้มีค่าคงที่แต่
อัตราไหลของน�ำ้ เสียและคุณภาพของน�ำ้ เสียมีการเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาตามช่วงเวลาในแต่ละวัน
และฤดูกาล และการเปลี่ยนแปลงยังเกิดขึ้นจากจ�ำนวนเตียงของโรงพยาบาลที่เพิ่มขึ้นและจาก
จ�ำนวนผู้ป่วยและผู้ติดตามที่มาใช้บริการที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นสุขอนามัยและสภาพแวดล้อมของชุมชน
จึงขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ปฏิบัติงานในการควบคุมระบบบ�ำบัดน�้ำเสียและการแก้ไขปัญหา
ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ผูป้ ฏิบตั งิ านและผูค้ วบคุมระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียจึงต้องมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถ
ดูแลและควบคุมทุกองค์ประกอบของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียอย่างถูกต้อง เพื่อให้บ�ำบัดน�้ำเสียได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังแสดงในรูปที่ 2-11 ได้แก่
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 21

1. ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขั้นที่หนึ่ง เป็นขั้นตอนการเตรียมคุณภาพน�้ำเสียให้เหมาะส�ำหรับ
การบ�ำบัดทางชีวภาพ น�้ำมันและไขมันจะต้องถูกก�ำจัดตั้งแต่ต้นทางด้วยถังดักไขมัน ของแข็ง
ขนาดใหญ่จะต้องถูกก�ำจัดด้วยตะแกรง อาจมีการใช้ถังปรับเสมอเพื่อช่วยในการปรับอัตราไหล
และความเข้มข้นของน�้ำเสียที่ไหลเข้าระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในแต่ละชั่วโมงให้มีค่าใกล้เคียงกัน

ระบบบ�ำบัด ระบบบ�ำบัด ระบบบ�ำบัด


น�้ำเสียขั้นที่หนึ่ง น�้ำเสียขั้นที่สอง น�้ำเสียขั้นที่สาม

รูปที่ 2-11 ขั้นตอนการบ�ำบัดน�้ำเสีย

2. ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขั้นที่สอง เป็นขั้นตอนของการเปลี่ยนสารอินทรีย์ทั้งที่อยู่ในรูป
ของสารละลายและสารแขวนลอยให้อยูใ่ นรูปของมวลชีวภาพทีส่ ามารถก�ำจัดได้ดว้ ยการตกตะกอน
และต้องสามารถลดความเข้มข้นของ BOD5 ในน�ำ้ เสียจาก 50 - 250 มิลลิกรัม/ลิตร หรือมากกว่า
ให้เหลือค่า BOD5 ในน�ำ้ ทิง้ เพียง 5 - 15 มิลลิกรัม/ลิตร ระบบบ�ำบัดขัน้ ทีส่ องส่วนใหญ่ประกอบด้วย
ระบบบ�ำบัดทางชีวภาพ ถังตกตะกอน และระบบบ�ำบัดสลัดจ์
3. ระบบบ�ำบัดขัน้ ทีส่ าม โดยปกติแล้วระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียขัน้ ทีส่ องพอเพียงทีจ่ ะท�ำให้นำ้� ทิง้
ผ่านมาตรฐาน น�้ำทิ้งของทางราชการทางด้านสารอินทรีย์และสารแขวนลอยแล้ว แต่ส�ำหรับน�้ำทิ้ง
ของโรงพยาบาลยังมีข้อก�ำหนดของแบคทีเรียอีโคไลและไข่พยาธิ จึงต้องมีการติดตั้งระบบ
การฆ่าเชือ้ โรค หรือในกรณีทตี่ อ้ งการน�ำน�ำ้ กลับมาใช้ใหม่อาจต้องติดตัง้ ระบบก�ำจัดสารแขวนลอย
ด้วยการกรองเพิ่มเติม เป็นต้น

2.3 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขั้นที่หนึ่ง

1. ถังดักไขมัน น�ำ้ มันและไขมันพบในน�ำ้ เสียจากห้องครัว ร้านอาหารและโรงอาหารทีต่ งั้ อยู่


ในโรงพยาบาล น�้ำมันและไขมันจะต้องถูกก�ำจัดออกจากน�้ำเสียก่อนเข้าสู่ระบบบ�ำบัดแบบชีวภาพ
เนือ่ งจากน�ำ้ มันและไขมันจะไปเคลือบผนังด้านในของท่อและท�ำให้ทอ่ ระบายน�ำ้ จากห้องครัวอุดตันได้
นอกจากนี้น�้ำมันและไขมันยังส่งผลต่อการท�ำงานของจุลินทรีย์ในถังเติมอากาศ โดยจะไปเคลือบ
ผนังเซลล์ของจุลนิ ทรียแ์ ละขัดขวางการถ่ายเทออกซิเจนและสารอืน่ ๆ เข้าสูเ่ ซลล์ การก�ำจัดน�ำ้ มัน
และไขมันควรท�ำที่แหล่งก�ำเนิดน�้ำเสียโดยการใช้บ่อดักไขมันหรือถังดักไขมัน บ่อดักไขมันและ
ถังดักไขมันเป็นถังพักน�้ำที่มีแผ่นกั้นขวางอยู่ตรงกลางและควรมีระยะเวลาเก็บกักน�้ำอย่างน้อย
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
22 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

0.5 - 1.0 ชั่วโมง รูปที่ 2-12 แสดงถังดักไขมัน


ส�ำหรับอ่างล้างจานทีม่ กี อ๊ กประหยัดน�ำ้ ทีม่ อี ตั ราไหล
ของน�้ำประปาเท่ากับ 4 ลิตร/นาที ถ้าล้างจาน
ต่อเนือ่ งเป็นเวลา 30 นาที และถังดักไขมันควรมี
ปริมาตรอย่างน้อย 70 - 120 ลิตร

ปกติน�้ำมันและไขมันอิสระ (ไม่ใช่น�้ำมัน
ทีผ่ สมน�ำ้ ยาล้างจานแล้ว) มีความถ่วงจ�ำเพาะน้อย
กว่าน�้ำจึงลอยขึ้นผิวน�้ำ ควรตักน�้ำมันและไขมัน
ออกและล้างถังดักไขมันเป็นประจ�ำ ส�ำหรับถังดัก
ไขมันทีอ่ ยูใ่ นอาคารมีตะกร้าดักเศษอาหารเพือ่ ดัก
เศษอาหารก่อนตกลงในถังดักไขมัน ควรท�ำความ
สะอาดตักไขมันและเศษอาหารทิง้ ทุกวันเพือ่ ไม่ให้
เกิดการบูดเน่าของเศษอาหาร ส่วนบ่อดักไขมัน
ทีต่ ดิ ตัง้ นอกอาคารควรท�ำความสะอาดอย่างน้อย
อาทิตย์ละ 1 ครั้ง ดังแสดงในรูปที่ 2-13 เป็นบ่อ
ทีม่ ปี ริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตรขึน้ ไป ติดตัง้ ตะแกรง
ดักขยะในช่องแรก น�ำ้ มันและไขมันจะลอยสะสม
อยู่ในช่องแรกและช่องที่สอง ถ้าพบไขมันลอยอยู่
ในช่องที่สามแสดงว่ามีน�้ำมันและไขมันสะสม
เป็นจ�ำนวนมากในช่องที่สอง ควรปรับความถี่
ในการตักไขมันออก และควรใช้ฝาปิดบ่อดักไขมัน
ที่มีน�้ำหนักเบาและสามารถเปิดออกได้สะดวก

รูปที่ 2-12 ถังดักไขมันติดตั้งใต้ที่ล้างจาน


บทที่ 2 ระบบบคู่มาบั ดนาเสีมยและบ�
ือการควบคุ ในโรงพยาบาล
ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
23
บทที
บทที
่ 2 ่ ระบบบ
2 ระบบบ
าบัาบั
ดนดาเสี
นาเสี
ยในโรงพยาบาล
ยในโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

รูปที่ 2-13 รูปตัดถังดักไขมันนอกอาค

2) ตะแกรง ใช้สาหรับดักเศษขยะที่ลอยมากับน้าเส
ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับเครื่องสูบน้าและการอ
ที่ใช้เป็ น อัน ดับ แรกในระบบบ าบั ดน้ าเสี ย แบ่ งตะแกรงอ
ละเอียด ปกติตะแกรงหยาบทาจากแท่งโลหะเรียงในแนวต
รูปที่ 2-13ขวางช่ รูปอตังทางที
ดถังดั่ใกห้ไขมั น้าเสีนยนอกอาคาร
ไหลผ่าน ตะแกรงจะถูกจัดวางในช่อ
และไขมันขนาดใหญ่ และน�้ำมัจะถู นทีกดั่ดกักอยู
ไว้่ระหว่างช่องว่างของตะแกรง การกาจ
รูปที่ 2-13 รูปตัดถังดักไขมันนอกอาคาร และ ไขมันและนามันที่ดักไว้
ทีรูป่ 2-13
ที่ 2-13 รูปตัรูดปถัตังดดัถักงไขมั
ดักไขมันนอกอาคาร
นนอกอาคาร และและ ไขมัไขมั นและน นและน ามันามัที่ดนักทีไว้ ่ดักไว้ เครื่องจักรกลช่วยทาความสะอาดแบบอัตโนมัติ
2) ตะแกรง ที่บก่อสูเป็บนน้ต้าเสี
น เพืย่อของโรงพยาบาลหลายแห่งใช้ตะแก
ใช้าหรั สาหรั
บดักบเศษขยะที
ดักเศษขยะที ่ลอยมากั
่ลอยมากับใช้น้2.
สาเสี
บาหรัย บเช่ยดันกเช่เศษขยะที
น้ตะแกรง
าเสี เศษไม้
น เศษไม้ ใช้่ลเศษกระดาษ
สอยมากั
เศษกระดาษ � ำ หรับบน้เศษพลาสติ
ดัาเสีกเศษพลาสติ
ย เช่นกเศษไม้
เศษขยะที เป็กนเป็ต้น่ ลเศษกระดาษ
น่อเพื่อ บเศษพลาสติ
อยมากั
ต้เพื น� ้ ำ เสี ย เช่ น เศษไม้ เศษกระดาษ
ครอบปลายท่
ว ตะแกรงจึงอเป็รวบรวมน้ นอุปกรณ์ าเสียที่บ่อสูบเพื่อดักขยะไม่ให้ไหล
าจเกิ
ที่อาจเกิ ดขึป้้นดอกัขึงกั กันบความเสี
บ้นเครื เครื น้ยาและการอุ
บหายที
่องสู่อบงสูเศษพลาสติ ่อาจเกิ
น้าและการอุ ดตักดนดขึภายในระบบท่
้นนกัภายในระบบท่
ตัเป็ บเครื่องสูบอน้และวาล์ าและการอุ
อ และวาล์ว ดตัตะแกรงจึ
ตะแกรงจึ
ว นภายในระบบท่
นต้น เพือ่ ป้องกันความเสียหายทีอ่ าจเกิดต้ขึอน้ งติกับดตัเครื ง เป็งน เป็
อุ ป
น กรณ์
อุ ป อกรณ์ และวาล์
อ่ งสูบน�ำ้ ่รและการอุ ดครอบท่
ตันภายใน
ะบบบ
นระบบบ ที ่ ใ ช้
าบัดาบัน้าเสี เ ป็ น อั
ดน้าเสี น ดั
ย แบ่ บ แรกในระบบบ
ย ระบบท่
งแบ่ตะแกรงออกได้
งตะแกรงออกได้ าบั ด น้ าเสี
เป็ นเวป็2นตะแกรงจึย แบ่
ประเภทคื
2 ประเภทคื ง ตะแกรงออกได้
องตะแกรงหยาบและตะแกรง
อตะแกรงหยาบและตะแกรง เ ป็ น 2 ประเภทคื อ ้
ตะแกรงหยาบและตะแกรงง ตะแกรงที ะดั บ ต่ าเพื ่ อ อ เนื่องจากตะแกร
ละเอี ยดงโลหะเรี
ปกติ ตะแกรงหยาบท อ และวาล์ าจากแท่ เป็ น อุ ป กรณ์ ท ใ
่ ี ช้ เ ป็ น อั น ดั บ แรกในระบบบ� ำ บั ด น� ำ
้ เสี ย แบ่ ง ตะแกรง
ยาบท
งหยาบท าจากแท่ าจากแท่ งโลหะเรี ยงในแนวตั
ยงในแนวตั ้งระยะห่
้งระยะห่ างระหว่างงระหว่
โลหะเรี ายงเหล็
างเหล็ งในแนวตั
กประมาณ
กประมาณ ้งระยะห่
20 20 ถึง าถึ75
งระหว่
ง 75 างเหล็
ม.ม.ม.ม. ตั้ง ตั้งกประมาณ ไม่ให้ท่ว20มตะแกรงเพราะขยะอาจลอยหลุ
ถึง 75 ม.ม. ตั้ง ดลอดออกจากต
ออกได้ เ ป็น 2 ประเภทคื อ ตะแกรงหยาบและตะแกรงละเอี ย ด ปกติ ต ะแกรงหยาบท� ำจากแท่ งโลหะ
สีหลผ่ านขวางช่
ยไหลผ่ าตะแกรงจะถูองทางทีก่ใจัห้ดนกวางในช่
น ตะแกรงจะถู จั้าเสี ยไหลผ่
ดวางในช่ องสีอา่ เงสี
นหลีตะแกรงจะถู
่ เ่ยหลีมและติ
่ยมและติ ดตั้งกดให้
จัตัด้งเให้
อีวางในช่ ง อ30-90
ยเงอีย30-90 งสีองศา
่ เหลีองศา
่ยมและติ
ของแข็ ของแข็งดทีตั่ม้งงีให้
ที่มเี อียออกไปก
ง 30-90 าจั องศา
ดวันของแข็
ละ 1งครั ที่ม้งี ดังแสดงในรูปที่ 2-14 (ก) ส่วนรูป
างช่าขนาดใหญ่
เรี
จะถูกดักอยูย งในแนวตั
่รการก
ะหว่ ง

าจัดาาจัขยะส่
งช่ดอขยะส่ ระยะห่
งว่วานนี า
งของตะแกรง งระหว่ า งเหล็
การก ก ประมาณ
ยาจัแรงงานคนหรื
ดยขยะส่ วนนี้ออาจท 20 ถึ ง
าได้โดยอาศั 75 มิ ล ลิ เ มตร ตั ง
้ ออาจใช้ งอเติงทางที
ขวางช่ ่ให้น�้ำเสีย
ยูหว่
่ระหว่ องช่งว่อางว่ งของตะแกรง
างของตะแกรง การก ว้อนนีาจท
้อาจท
าได้าได้โดยอาศั โดยอาศั แรงงานคนหรื อาจใช้
ออาจใช้ ไว้ดยักแรงงานคนหรื
ขยะก่อนไหลลงในถั มอากาศ
มสะอาดแบบอัเครื่องจักตโนมั
วามสะอาดแบบอั รกลช่
ตโนมัตไหลผ่
ิ วยท าน ตะแกรงจะถูตโนมั
ติ าความสะอาดแบบอั กจัตดิ วางในช่องสีเ่ หลีย่ มและติดตัง้ ให้เอียง 30-90 องศา ของแข็งทีม่ ขี นาดใหญ่
สีองโรงพยาบาลหลายแห่
ยของโรงพยาบาลหลายแห่ ที่บ่อสูจะถู ใช้กงตใช้
บน้งาเสี ยดัะแกรงหยาบแบบตะกร้
กตะแกรงหยาบแบบตะกร้
อยู่ระหว่างช่องว่าทีา่ทางงของตะแกรง
ของโรงพยาบาลหลายแห่ ใช้่ทตาจากแผ่
ทีาจากแผ่ ะแกรงหยาบแบบตะกร้
นสแตนเลสเจาะรู
นสแตนเลสเจาะรู การก�ปำิดาจัทีปด่ทิดขยะส่าจากแผ่วนนี ้อาจท�ำได้โปดยอาศั
นสแตนเลสเจาะรู ิด ยแรงงานคน
าเสี ยทีครอบปลายท่
มน้าเสี ่บย่อทีสู่บบ่อเพื ดัหรื
สูบ่อเพืดัก่ออขยะไม่ ออาจใช้
รวบรวมน้
กขยะไม่
ให้ไใหลลงสูห้าเสี เยครื
ไหลลงสู ที่บ่บ่อ่อ่อสู่บงจั
สูบ่อบสูกในบางพื
เพืบรกลช่
่อในบางพื ้นวทียท�
ดักขยะไม่ ใำ่ปห้ความสะอาดแบบอั
่ป้นทีลายท่ ไหลลงสู
ลายท่
ออยูอ่รอยู ่บ่ร่อบะดั
ะดั สูต่บามากท
บต่ในบางพื
ามากท าให้ต้นาให้
โนมั ติ ออยู่ระดับต่ามากทาให้
ที่ปลายท่
บต่
ะดัาเพื ต้่อครอบท่
บต่าเพื องติ ดตั้งอตะแกรงที
่อครอบท่ ่ระดับต่บ่
เนือ่อเนืงจากตะแกรงปิ
่องจากตะแกรงปิ าเพือด่อปากท่สูครอบท่
ดบปากท่ ออสไม่
น�อ้ ำไม่เสี เนื
นิยทส่อของโรงพยาบาลหลายแห่
จึนิงจากตะแกรงปิ
งทจะต้
จึงจะต้ ดปากท่
องรัอกงรัษาระดั
กษาระดั บอน้ไม่าในบ่
บน้าในบ่ สอนิสูทบอจึสูงบจะต้
ง ใช้อตงรัะแกรงหยาบแบบตะกร้
กษาระดับน้าในบ่อสูบ า ที่ ท� ำ จาก
ไม่
ะขยะอาจลอยหลุ
ราะขยะอาจลอยหลุ ใ ห้ ท ่ ว มตะแกรงเพราะขยะอาจลอยหลุ
ดแผ่ นสแตนเลสเจาะรู
ดลอดออกจากตะแกรงได้
ลอดออกจากตะแกรงได้ ควรดึ ด ลอดออกจากตะแกรงได้
ปิดงตะแกรงดั
ควรดึ ครอบปลายท่
งตะแกรงดั กขยะขึ
กขยะขึ ้นอมาเพืรวบรวมน�
้น มาเพื ควรดึ
่อเอาขยะ ง
่อเอาขยะ ตะแกรงดั ก ขยะขึ ้ น มาเพื ่ อ เอาขยะ
้ำเสียที่บ่อสูบเพื่อดักขยะไม่ให้ไหลลงสู่บ่อสูบ
ออกไปก
งครัดั้ง แสดงในรู
ดังแสดงในรู าจั
ปที่ป2-14ด วั น
ที่ 2-14 ละ 1
(ก) (ก)
ในบางพื ครั
ส่วนรู ้ ง
ส่้น ดั
วปนรู ง แสดงในรู
ทีที่ป่ป2-14
ทีลายท่
่ 2-14 (ข) อ(ข) ป ที
และ ่ 2-14
อยูและ (ค)
่ระดั(ค) (ก) ส่
แสดงตะแกรงดัว นรู
บแสดงตะแกรงดั ป ที ่ 2-14
ต�่ำมากท�กำขยะแบบหยาบ (ข)
ต้องติดตั้งแสดงตะแกรงดั
และ
ให้กขยะแบบหยาบ (ค) ตะแกรงที่รกะดัขยะแบบหยาบ
บต�่ำเพื่อครอบท่อ เนื่องจาก
งเติ ไว้
นถังมเติอากาศ
มอากาศดักขยะก่อนไหลลงในถั ง เติ ม อากาศ
ตะแกรงปิดปากท่อไม่สนิทจึงจะต้องรักษาระดับน�้ำในบ่อสูบไม่ให้ท่วมตะแกรงเพราะขยะอาจลอย
หลุดลอดออกจากตะแกรงได้ ควรดึงตะแกรงดักขยะขึ้นมาเพื่อเอาขยะออกไปก�ำจัดวันละ 1 ครั้ง
ดังแสดงในรูปที่ 2-14 แสดงตะแกรงดักขยะแบบหยาบไว้ดักขยะก่อนไหลลงในถังเติมอากาศ
บททีบทที
่ 2 ระบบบ
่บทที
2 ระบบบ
่ 2าบัระบบบ
ดาบั
นาเสี
ดนาบั
ยาเสี
ในโรงพยาบาล
ดนยในโรงพยาบาล
าเสียในโรงพยาบาล
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
24 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

บทที่ 2 ระบบบาบัดนาเสียในโรงพยาบาล
บทที
บทที่ 2่ ระบบบ
2 ระบบบ
าบัาบั
ดนดาเสี
นาเสี
ยในโรงพยาบาล
ยในโรงพยาบาล

ก ข ค

(ก) (ก) (ก) รูปที่ 2-14 (ข) ตะแกรงดั (ข) (ข)กขยะแบบหยาบ (ค) (ค) (ค)
(ก) กขยะแบบหยาบ (ข)ตะแกรงแบบตะกร้ (ค)
ที่ รู2-14
ปที่ 2-14 รูตะแกรงดั
ปที่ ตะแกรงดั 2-14กขยะแบบหยาบ ตะแกรงดั (ก)(ก)ก ตะแกรงแบบตะกร้
กขยะแบบหยาบ (ก) ตะแกรงแบบตะกร้
(ก) ตะแกรงแบบตะกร้ า(ก)
สแตนเลส(ข)(ข) าขสแตนเลส และ าสแตนเลส ค าตะแกรงหยาบ
(ข)
สแตนเลส และ(ข) (ค) และ
(ค)(ค)
(ข)ตะแกรงหยาบ
(ค) และตะแกรงหยาบ (ค) ตะแกรงหยาบ
รูปที่ 2-14 ตะแกรงดักขยะแบบหยาบ (ก) ตะแกรงแบบตะกร้าสแตนเลส (ข) และ (ค) ตะแกรงหยาบ
ในระบบบ ในระบบบ าบั
รูปในระบบบ
ทีดรูป่ น้2-14
าบั
ทีาเสี ดยน้ตะแกรงดั
่ 2-14 ของโรงพยาบาลหลายแห่
าเสี
าบั ดยน้ของโรงพยาบาลหลายแห่
ตะแกรงดั าเสี บักยดขยะแบบหยาบ
กขยะแบบหยาบ ของโรงพยาบาลหลายแห่ (ก)(ก) งตะแกรงแบบตะกร้
ติดตะแกรงแบบตะกร้
ตัง้งติตะแกรงแบบละเอี
ดตั้งงตะแกรงแบบละเอี
ติดตัาสแตนเลส ้งงตะแกรงแบบละเอี
ดตั้งยตะแกรงแบบละเอี
าติสแตนเลส ดที(ข)
(ข) ่ทและ
ยาจากแผ่
ดที
และ ่ทาจากแผ่
(ค) ย(ค)ตะแกรงหยาบ
ดทีนตะแกรงหยาบ
โลหะเจาะรู
่ทยาจากแผ่
นโลหะเจาะรู นโลหะเจาะรู
หรือ หรือ หรือ
ในระบบบในระบบบ� าบัดน้าเสียำของโรงพยาบาลหลายแห่ น�้ำเสียของโรงพยาบาลหลายแห่ งติดตั้งตะแกรงแบบละเอี ยดที่ทาจากแผ่นโลหะเจาะรู ดที ่ท�ำจาก หรือ
าจากลวดที
ลวดทีท่าจากลวดที
ทถาจากลวดที
ักกันแผ่ ่ถเป็ ักกันนในระบบบ ่ถในระบบบ
นโลหะเจาะรู
ตารางขนาดเล็
่ถเป็ นเป็าบั
เป็นดาบั
ักักกันกันตารางขนาดเล็ นน้ตารางขนาดเล็
ดาเสี
หรืน้าเสี
กยอของโรงพยาบาลหลายแห่
ตารางขนาดเล็ ทีท�ย่ตำของโรงพยาบาลหลายแห่
ั้จากลวดที
งกเอีทีก่ยตทีงให้
ั้ง่ตเอีั้งกเอีทียนย่ตถงให้
้าเสี งตินดยงตัตินตารางขนาดเล็
ั้งกเอีกันยนนย้าเสี
งให้ ้ไหลผ่
าเสี
งให้
เป็ ยไหลผ่ า้ดง้าเสี
ไหลผ่ ตะแกรงแบบละเอี
นตั้งาตะแกรงแบบละเอี
ตะแกรงละเอี
ยนาไหลผ่ นตะแกรงละเอี
ตะแกรงละเอีานกตะแกรงละเอีทียดที่ ตยยยั้ งดมี
ดที
่ทเอีาจากแผ่
ดมี ชช่ทย่อ่าจากแผ่
งเปิชนดน่อดยโลหะเจาะรู
องให้
ดมี
งเปิ
นดมี
งเปิโลหะเจาะรู
เสี2.3
�้ ำ2.3 ยชถึดไหลผ่
ง่อถึงเปิ 2.3
6.4ง หรื 6.4ดาถึอนหรืง2.3
มม.
อ6.4ถึมม.
มม. ง 6.4 มม
ยะถู
ดักไว้กขยะถูกน้ทไว้าาจากลวดที
ดัหขยะถู กทหกตะแกรงละเอี
ดัาจากลวดที
ตะแกรงและปล่
ดัน้กกาไว้
ไว้ตะแกรงและปล่
่ถัก่ถกัักนยกัเป็ดมี
หหน้น้าาตะแกรงและปล่
นนเป็ตารางขนาดเล็
ตะแกรงและปล่ ชน่อตารางขนาดเล็
อยให้ งเปิ
อขยให้ ดอยให้
ยะไหลลงรางรั ข2.3 กทีถึก่ตงทีั้งเอี
อยะไหลลงรางรั
ขยให้
ยะไหลลงรางรั
่ต6.4ั้งยเอีงให้
ขยะไหลลงรางรั บยขยะเป็
มิงให้ นล้าเสี
ลิบบนเขยะเป็
้าเสี
ยไหลผ่
มตร
ขยะเป็ นยแบบที ไหลผ่าน าตะแกรงละเอี
บนขยะถู
ขยะเป็
นแบบที
แบบที
นกตะแกรงละเอี
่เรีย่เดัรีนกว่กยแบบที
ไว้รีายหากว่
่เกว่ าย่เาตะแกรงและปล่
น้Static
Static ดมียดมี ช่อชงเปิ
รียStatic กว่ า่องเปิ
screen
screen
ด 2.3
Static ด 2.3
screen หรืหรื
ถึองยให้ ถึ6.4
อscreen
ออาจใช้ อาจใช้ง 6.4
หรื ขมม. ยะนมม.
เอป็อาจใช้
เหรื
ป็นออาจใช้
เป็น เป็น
ขยะถู ขยะถู กดักดัไว้กหไว้น้หาบตะแกรงและปล่
ไหลลงรางรั น้ขยะเป็
าตะแกรงและปล่ นแบบที อยให้ ่เอรียให้
ยขกว่ ยะไหลลงรางรั
ขยะไหลลงรางรั
า Static screen บขยะเป็บขยะเป็ นหรื แบบที นอแบบที ่เรีย่เกว่
อาจใช้ รียเาป็กว่นStatic าตะแกรงที Static screenscreen ่ท�ำหรืความสะอาด
อหรือาจใช้ ออาจใช้ เป็นเป็น
ะแกรงที
งที่ทาความสะอาดแบบอั
ตะแกรงที
่ทตะแกรงที
ตะแกรงทีาความสะอาดแบบอั
ตะแกรงที าความสะอาดแบบอั
่ทาความสะอาดแบบอั
แบบอั่ทตาความสะอาดแบบอั ่ทาความสะอาดแบบอั
โนมั
ตโนมัตตโนมั
ติ เช่นตะแกรงแบบดรั
ิ เช่ตโนมั
ตนตโนมั ตตะแกรงแบบดรั
ิตโนมั
เช่
ตโนมัตนิ เช่ตตะแกรงแบบดรั
ิ เช่นติ นตะแกรงแบบดรั
ิ เช่มเช่ นตะแกรงแบบดรั
ตะแกรงแบบดรั
น(Drum ตะแกรงแบบดรั มscreen)(drum มมม(drum ม(drum
(drum(drum screen)
มscreen)
มีช่อscreen)
(drum
screen)
งเปิ screen) มีมีมีชscreen)
ดขนาด
ชช่อ่อมี่องเปิมีงเปิ
งเปิ ่อชงเปิ
ช0.15
ด่อดขนาด
ขนาด
งเปิ
ขนาดดมีถึขนาด
ชดง ่อขนาด
0.15
0.15งเปิ
0.15ถึดถึมิงงขนาด
2.50.15
0.15
ถึ2.5
ลถึ2.5
ง มตร
ลิง เ2.5
2.5มม.
มม. ถึ0.15
งมม.
มม. 2.5ถึมม.
ง 2.5 มม
ามารถดั สามารถดั
ถดักกากตะกอนน้
สามารถดั
กสามารถดั
กากตะกอนน้ กกกากตะกอนน้
กากตะกอนน้
าเสี าเสียาเสี ยกาเสี
ขนาดเล็ กเช่กเช่นเช่กนกกากอาหาร
นเช่กากอาหาร เส้เส้
เส้นนนเส้ ใยผ้ าเส้
า่อเยื นา่อเยื กระดาษและเศษขยะที ่ม่ม่มาจากน้
าจากน้ าเสี ยยของ ของ
สามารถดั
สามารถดั กกากตะกอนน้ กยกากตะกอนน�
กกากตะกอนน้ ขนาดเล็ ขนาดเล็
าเสี
าเสี ยยขนาดเล็
เช่ยขนาดเล็
นกเสีกากอาหาร
้ำขนาดเล็ ยขนาดเล็ เช่กากอาหาร
นนกกากอาหาร กากอาหาร
เส้
เช่นนใยผ้ กากอาหาร าใยผ้
ใยผ้
นเยืใยผ้ าเยืกระดาษและเศษขยะที
่อใยผ้
เยื่อ่อกระดาษและเศษขยะที
นาใยผ้
กระดาษและเศษขยะที
เส้ เยื่อากระดาษและเศษขยะที
กระดาษและเศษขยะที เยื่อกระดาษและเศษขยะ ่มาจากน้
าจากน้ ่มาเสี าจากน้ าเสี
าเสี ย่มยของ
าจากน้
ของ
าเสียของ าเสียของ
าบาล
งพยาบาล น้โรงพยาบาล
โรงพยาบาล
าเสี น้ยทีจะไหลผ่
โรงพยาบาล าเสี
ม่ าจากน�
โรงพยาบาล ยน้น้จะไหลผ่
าเสี ำ้ าน้ยเสี
น้าเสี
าเสี นด้ ยจะไหลผ่
าเสี นด้าานด้
ยยจะไหลผ่
าของโรงพยาบาล
ยานหน้
จะไหลผ่
จะไหลผ่ าานหน้
นด้ าานหน้
าและดรั
นด้ นด้
านหน้ าและดรั
าาและดรั
นหน้
นหน้มาน�และดรั
จะหมุำ้าาและดรั มยมจะหมุ
เสีและดรั จะหมุ
นจะหมุและดั
มจะไหลผ่
มจะหมุ มนนจะหมุ
นและดั
และดั
กานนด้
และดั เศษขยะต่
และดั กากเศษขยะต่
นกนหน้
และดั
เศษขยะต่
เศษขยะต่
กเศษขยะต่ าางง ๆาๆงมโดยจะมี
ากงเศษขยะต่
าและดรั ๆ าโดยจะมี งโดยจะมี
ๆๆโดยจะมี
จะหมุ างนใใใและดั
โดยจะมี บปาดด้
ๆบปาดด้
บปาดด้โดยจะมี
ใบปาดด้ าาเศษขยะต่
ใกบปาดด้ นหน้
าานหน้
นหน้ ใาาบปาดด้
นหน้ ค่ค่าอาาอนหน้
ค่ยปาด
าอองยปาด
ค่ยปาด ยปาด
ๆาค่นหน้
อยปาด
าค่อยปาด
ขยะออกจากตะแกรง โดยจะมี น้ าเสี ย จะไหลผ่ า นลอดช่ อ งตะแกรงเพื อ
่ น าไปบ าบั ด ในขั น
้ ตอนต่ อ ไปดั ง แสดงในรู ป ที ่ 2-15
ยะออกจากตะแกรง
กจากตะแกรง ขยะออกจากตะแกรง
ขยะออกจากตะแกรง น้าเสีใบปาดด้
ขยะออกจากตะแกรง ยน้จะไหลผ่ านหน้
าเสียน้น้จะไหลผ่
าเสี
น้าาเสี
าเสี าจะไหลผ่
ยนลอดช่ ยค่จะไหลผ่
ยจะไหลผ่ อายปาดขยะออกจากตะแกรง
นลอดช่ อานลอดช่
าานลอดช่
งตะแกรงเพื
นลอดช่ องตะแกรงเพื
องตะแกรงเพื องตะแกรงเพื
องตะแกรงเพื
่อนาไปบ ่อ่อนน่อาไปบ นน�าไปบ
าไปบ
าบั ำ้ ด่อาบั
เสีในขั
นาบั ยดาบั
จะไหลผ่
ในขั
าไปบ ด้นดในขั
ในขั้นาบั
ตอนต่ ตอนต่ ดาตอนต่
้น้นตอนต่ นลอดช่
ออไปดั
ในขั ไปดัอ้นไปดั อแสดงในรู
องตอนต่งงตะแกรงเพื
งแสดงในรู
ไปดั แสดงในรู
งอแสดงในรูปทีปป่ ง2-15
ไปดั อ่ ่ 2-15
น�2-15
ทีทีแสดงในรู ปำไป ที่ 2-15 ปที่ 2-15
บ�ำบัดในขั้นตอนต่อไปดังแสดงในรูปที่ 2-15

ก ข ค

(ก)(ก)(ก) (ข)(ข)(ข) กขยะแบบละเอียด (ค)(ค)


รูปที่ 2-15 ตะแกรงดั
รูปรูทีป่ ทีรู2-15
ป่ 2-15
ที่ 2-15 ตะแกรงดั
ตะแกรงดั ตะแกรงดั กกขยะแบบละเอี
กขยะแบบละเอี และกขยะแบบละเอี ยยดด(ก) ย(ก)
ด (ก)
ข แบบ Static screen ค แบบ Drum screen
และ และและ (ข) (ข)(ข) แบบ
แบบ แบบ Static
Static Static screen
screen screen (ค)(ค) แบบ แบบ Drum Drum screen
screen screen
(ก)3)(ก) 3)บ่อ3) บ่สูอบบ่สู(ก) นอบสูาเสี
นบาเสี นยาเสี ยบ่อบ่ยสูอบ่บสูอบน้สูน้าเสี บาเสีน้ยาเสี ยททาหน้ ท(ข)
ยาหน้ าาทีที่ย่ยากระดั
าหน้ (ข)
ทีกระดั
่ยกระดั บบของน้ (ข)
ของน้
บของน้ าเสี
าเสีาเสี ยยทีที่อย่อยูทียู่ร่อระดั ยู่รบะดัต่บาเกิ ต่าเกินไปให้ น(ค) ไปให้ มีระดั ม(ค) ีรบะดัสูบงงตามความ
สูตามความ
(ค) งตามความ
ต้งการ
ปทีต้่ อ2-15
ที่ รู2-15 อปงการ
ต้ที
องการ
รูตะแกรงดั เช่
่ เช่ตะแกรงดั
2-15น 3. นยกกระดั
เช่กยกกระดั
นบ่ อยกกระดั
ขยะแบบละเอี
ตะแกรงดั น้บน�าเสี
สูกบบขยะแบบละเอี น้้ำบาเสี
เสีกน้ยาเสี ยให้บ่เยยข้เอให้
ยให้
ขยะแบบละเอี ดาข้สูสูาเสู่บร(ก)
ข้่ะบบท่
รยาน�ะบบท่
สูด้ำ่ รเสี
ะบบท่
และ
(ก) ยออยรวบรวมน้
ท�รวบรวมน้
อหน้
ดำและ
(ข) รวบรวมน้
(ก)าแบบ (ข) าเสี
่ยาเสี
ทีและ ยาเสี
แบบ
กระดั ยหรื
หรืยบออหรื
Static
(ข) ป้Static
ป้ของน�
แบบออนน้ป้screen
นน้อาเสี ้ำนน้
าเสีเสี าเสี
ยยเข้ทียา่อ(ค)
Static
screen เข้
ยูา่รscreen
ระบบบ ระบบบ
ะดั แบบ
(ค) บาบัต�แบบ่ำดาบั น้(ค)
Drum
เกิ ดาเสี
นน้ไปให้
าเสี
ยDrum
แบบพืพืยscreen
้น้นมพืบ่บ่ีร้นออDrum
บ่ควร
ะดัควรอบควร screen
screen
ถูกถูปรั กปรั
ถูบกเอี บปรัเอี
ยบงเข้ยเอีงเข้ ายหาเครื
งเข้
าหาเครื าหาเครื ่องสูบ่อเพื
อ่อน้องการ
งสู บงสูเพื่อเช่ บป้่อเพืนป้อ่องกัป้งกั นอนการสะสมของตะกอน
งกัการสะสมของตะกอน
นการสะสมของตะกอน าสูบ่บ่่รยอบอะบบท่
สูบ่สูบบอน้สูน้าเสี บาเสี อทีน้ะดั าเสี
ยยมีหยน้มีหาทีน้่เาก็ที้ำบเสี ่เก็กับกยน้กัหรื
กาเสี น้อาเสี ยป้ให้อยนน�
เให้พีพียยเ้ำพีงพอที
ยงพอที
งพอที ่จ่จะาะ่จะ
3) บ่อ3)สูทบาให้ บ่ทสูนอาให้
ง3) ตามความต้
าเสี
สูเครื บเ่อครื
บ่นยงสูอาเสี สู
บ่ บ
อ ย น
สู บ าเสี
บ่ ย
าเสี
สู บ น้
บ่
ย ท
าเสี
อ สู
าหน้ บย ยกระดั
น้ ท า
าเสี
าหน้
ที ่ ย ย บทีาหน้
กระดั

ท น�่ย้ำกระดั
เสี
บ ายทีให้่ยบเกระดั
ของน้ ข้ของน้
าเสี ที
าเสี
ของน้ ่ อ ยูย ่ ร รวบรวมน�
าเสี
่ อ ยู บ ่ รย ต่
ะดั
ทีาเกิ
่ อ บยู ต่
น ่ ร าเกิ
ไปให้
ะดั บ น ต่ไปให้
ม าเกิ
ี ร ะดัน ม บ ไปให้
ี รสูะดั งเสี
ตามความ
บ มยสูีเข้
ร งะดัตามความ
บสูงตามความ
ทาให้เระบบบ� ครื่องสูบ่อำน้บงสู น้
าเดิ บ าเดิ
น้
น าเดิ

เครื เครื น
่ อ เครื
่ อ
งแต่ งแต่ ่ อ ลงแต่ล
ะครั ะครั
บัดน�้ำเสีย พื้นบ่อควรถูกปรับเอียงเข้าหาเครื่องสูบเพื่อป้องกันการสะสมของตะกอนล ้ ะครั
ง ้
เป็ง เป็น ้ ง น เป็
ระยะเวลาที

ระยะเวลาที ระยะเวลาที ่ น ่ น านพอ
านพอ ่ น านพอ (ไม่
(ไม่ เ(ไม่
เดิ ดิ นน เ ดิ
เครืเครื น เครื
่ อ งบ่ ่ อ องบ่ยเกิ อ ยเกิ
น น
ไป) ไป) เพื ่ อ เพื
ยื ่ อ
ด ยื
อายุ

อายุ อายุ
กก ารใช้ก
ารใช้ ารใช้ งง านาน ง าน
องการ
ร เช่นต้อของเครื
ยกกระดั
เช่งการ นของเครื
ของเครื ยกกระดั
เช่่ อบน น้
งสู
่ อ บยกกระดั
งสูาเสีบบ น้ยและบ่ ให้
าเสีเบข้ยาน้ให้ สูาเสี ่ รเน้ยข้ะบบท่
ยายบควรเก็
สูให้ ่ ระบบท่เข้อารวบรวมน้ สู่ รอะบบท่ รวบรวมน้ าเสี
อานเกิ
รวบรวมน้
นยานเกิ
หรื
าเสี อนยป้เพืหรื
เพือำาเสี่อนน้อไม่ไม่ป้่อยใใาเสี
อห้หรื เนน้
เใกิ่อกิห้ยอดงสู
เเข้
าเสี
ป้กิสภาพเน่
ดบอาสภาพเน่
นน้
ระบบบ
ยเข้าเสี าระบบบ ยยเสีาบั
เข้ยและมี าดระบบบน้กาบั
าเสี
ลิ่นกลดลิเหม็
น้ย่นาเสีาบั
พืนน้นรูดนรูยปบ่ปน้ทีรูอพืทีาเสี
ควร
้นบ่ยอพืควร
้นบ่อควร
บ่่อองสู สูบบน�และบ่ ้ำและบ่
เสี ยอมีสูอหบสูน้น้บอสูาเสี าน้ทีบาเสี ่เก็าเสี
ควรเก็ กัยควรเก็
กบน�บกั้ำกักเสีบกน้น้กัยาเสี กาเสี
ให้น้ยาเสี
เยไม่พีไม่นยยนไม่
านเกิ
งพอที นนไป
่จไปะท� ไป ่อให้ เพื เครื ห้ไม่ น�้ำเดิาเสีนาเครื และมี ่องแต่ เหม็
ะครั เหม็ ้งเป็นป่ ่ ที่
กปรั
เอียบงเข้
ถูเอีก2-16
ปรั
าย2-16
หาเครื
งเข้
บ2-16
เอีาแสดงรู
แสดงรู หาเครื
ย่อแสดงรู
งเข้
งสู
ปแบบของบ่ปาบแบบของบ่
หาเครื
่อปเพืงสู ่อบป้เพื
แบบของบ่ อ่ อสูงกั
งสู
อ่อบสูป้ด้บนอบอวสูด้การสะสมของตะกอน
เพื
บงกัด้่อวนป้ยเครื
วยเครื
ยเครื ่อการสะสมของตะกอน
อ่งสูงสู
งกับ่อบน้งสู
นน้าจมน้
การสะสมของตะกอน
บาจมน้น้าจมน้ าและอุ
าและอุ าและอุ ปบ่ปกรณ์
อปสูกรณ์
กรณ์ บตบ่ติดน้ิดอตัตัตาเสี
สู้ง้งิดทีบทีตั่จ่จน้ยบ่้งาเป็
มีาเสี
อ่จหสูาเป็
ทีาเป็ นนน้บยาน้นมีทีาเสี
ห่เน้ก็าบยทีมีกั่เหกก็น้บาเสี ากัทีก่เน้ยก็ให้ าเสี
บกัเพีกยน้ให้ ยาเสี งพอที เพียให้ งพอที
่จะเพีย่จงพอที
ะ ่จ ะ
ครื
าให้่อเงสูครื
ทาให้
บ่อน้งสูาเดิ
เครื
บน้นเครื เครื
่อาเดิ
เครื
งสู่องสูเครื
บ่อน่องสู ่อาเดิ
น้บงสูาที
น้บเครื
งแต่ น้่อบลาที น้ะครั
่ใาที
น่ใงแต่
ช้เครื เช้ป็เ่ในป็ลช้้ง่อเครื
นะครั
เเป็ ป็เครื
งแต่น่อนเครื
่อ้งระยะเวลาที
งสู ลงสูเป็บ่อะครั
บชนิ
งสู
นชนิระยะเวลาที
บด้งชนิ
ดแช่
เป็แช่ดนนนแช่
้าแบบหอยโข่
่นนานพอ
ระยะเวลาที
้าแบบหอยโข่ ้าแบบหอยโข่
่นานพอ งงทั่นทัเ้งงดิ้งานพอ
(ไม่ ตัทันวว้งเรืเครื
ตั(ไม่ เรืตัเอวดิอเรื นสู
นสู อเครื
น่อ(ไม่ บนสู
งบ่ บ (pumpเ(pump
อบดิ่อยเกิ
น(pump
งบ่เครื อนcase) case)
ยเกิ
่อไป) case)
งบ่ นเพือและมอเตอร์
ไป) ยเกิ
และมอเตอร์่อและมอเตอร์
ยืเพื
นดอายุ ่อยืดแแกเพื
ไป) ช่อายุ
ช่ารใช้ใแในน้
ช่ใยืนน้
่อนน้ กาดางารใช้
า กงาน
อายุ
าน ารใช้งาน
เสี ยเสี
และถูย และถู ก หล่ ก หล่
อ เย็ อน เย็ด้ น
ว ยน้ด้ ว ยน้
าเสี าเสี

เสียและถูกหล่อเย็นด้วยน้าเสียในบ่อตลอดเวลา จึงใช้ความถี่ในการเดินเครื่องได้สูงกว่าเครื่องสูบน้าแบบธรรมดาในบ่
ย ในบ่ อ ตลอดเวลา
อ ตลอดเวลา จึ ง ใช้
จึ งค ใช้วามถี
ค วามถี ่ ใ นการเดิ
่ ใ นการเดิ น เครื น เครื
่ อ งได้ ่ อ งได้
ส ู ง กว่
ส ู ง ากว่ เครื า เครื
่ อ งสู ่ อ บ งสู น้บาแบบธรรมดา
น้ าแบบธรรมดา
องเครื
องสูของเครื
บ่องสู
และบ่
บ ่อและบ่
องสูสูบน้อและบ่
าเสี
สูบน้ยควรเก็
าเสี
อสูบยน้ควรเก็
บาเสี
กักยน้บควรเก็
าเสี
กักน้ยไม่
าเสี
บกันกยานเกิ
น้ไม่าเสี
นานเกิ
นยไป
ไม่นเพืานเกิ
ไป่อไม่เพืนให้่อไปเไม่กิดเพื
ให้สภาพเน่
่อเกิไม่ดสภาพเน่
ให้เากิเสี
ดสภาพเน่
ยและมี
าเสียและมี
กาลิเสี่นยเหม็
กและมี
ลิ่นนเหม็
รูกปลินที่น่ เหม็
รูปทีน่ รูปท
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 25

ระยะเวลาที่นานพอ (ไม่เดินเครื่องบ่อยเกินไป) เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องสูบ และบ่อสูบ


น�้ำเสียควรเก็บกักน�้ำเสียไม่นานเกินไป เพื่อไม่ให้เกิดสภาพเน่าเสียและมีกลิ่นเหม็น รูปที่ 2-16
แสดงรูปแบบของบ่อสูบด้วยเครื่องสูบน�้ำจมน�้ำและอุปกรณ์ติดตั้งที่จ�ำเป็น
เครื่องสูบน�้ำที่ใช้เป็นเครื่องสูบชนิดแช่น�้ำแบบหอยโข่ง ทั้งตัวเรือนสูบ (Pump case)
และมอเตอร์แช่ในน�ำ้ เสียและถูกหล่อเย็นด้วยน�ำ้ เสียในบ่อตลอดเวลา จึงใช้ความถีใ่ นการเดินเครือ่ ง
ได้สูงกว่าเครื่องสูบน�้ำแบบธรรมดา โดยอาจมีค่าสูงถึง 15 ครั้งต่อชั่วโมงได้ ใบพัดที่ใช้ควรเป็น
ใบพัดกึ่งเปิด (Semi open impeller) มีแผ่นเหล็กประกบด้านหลังเท่านั้นและมีหลายครีบใบพัด
ซึ่งเหมาะส�ำหรับสูบน�้ำเสียดิบที่มีปริมาณของแข็งแขวนลอยปานกลางและใช้กับการหมุนเวียน
สลัดจ์กลับ ความสามารถในการสูบของแข็งแขวนลอยขึ้นกับระยะห่างระหว่างใบพัดกับเรือนสูบ
หรื อ ใช้ ใ บพั ด กึ่ ง เปิ ด แบบมี ใ บมี ด ส� ำ หรั บ ตั ด วั ส ดุ เ ส้ น ใยที่ เ ข้ า เครื่ อ งสู บ ซึ่ ง เหมาะส� ำ หรั บ สู บ
กากตะกอนน�้ำเสียและจากส้วม
ภายในบ่อสูบติดตั้งท่อน�ำร่อง (Guide rail) ซึ่งท�ำจากท่อเหล็กชุบสังกะสี ใช้ส�ำหรับเป็น
ตัวน�ำเครือ่ งสูบน�ำ้ ไปยังชุดตีนเป็ด (Auto coupling) ซึง่ อยูด่ า้ นล่างยึดติดกับพืน้ บ่อและท่อทางออก
เพื่อติดตั้งเครื่องสูบน�้ำเข้ากับท่อจ่ายน�้ำเสีย ทางด้านหน้าจานของท่อทางออกของเครื่องสูบน�้ำ
มีเขาควาย (Guide shoe) ติดตัง้ อยูเ่ พือ่ ท�ำหน้าทีย่ ดึ เครือ่ งสูบน�ำ้ ให้ตดิ อยูก่ บั ท่อน�ำร่อง (Guide rail)
ดังแสดงในรูปที่ 2-16

รูปที่ 2-16 รูปแบบของบ่อสูบและอุปกรณ์ติดตั้งส�ำหรับเครื่องสูบน�้ำแบบจมน�้ำ


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
26 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

อุปกรณ์ที่ใช้ส�ำหรับควบคุมการเดินหรือตัดการท�ำงานของเครื่องสูบเป็นแบบอัตโนมัติ
โดยใช้ระดับน�้ำในบ่อสูบผ่านอุปกรณ์ควบคุมคือสวิทซ์ลูกลอย ควรติดตั้งห่างจากต�ำแหน่งน�้ำเข้า
และอาจติดตั้งยึดกับท่อแนวดิ่งเพื่อป้องกันสายเคเบิลลูกลอยแกว่ง เศษขยะอาจติดลูกลอยหรือ
สายเคเบิลท�ำให้เครื่องสูบท�ำงานผิดพลาด และควรท�ำความสะอาดลูกลอยเมื่อเกิดติดขัดหรือ
มีน�้ำมันหรือขยะเกาะติดลูกลอย ถ้าเป็นไปได้ควรปรับระดับลูกลอยให้เครื่องสูบน�้ำท�ำงานเฉลี่ย
10 – 15 นาทีต่อครั้งและหยุดประมาณ 20 – 30 นาที และปรับให้ระดับน�้ำไม่ท่วมตะแกรง
แบบตะกร้าเพื่อไม่ให้ขยะหลุดลอยออกจากตะแกรง และระดับน�้ำในบ่อต้องไม่สูงกว่าปลายท่อ
เพื่อให้น�้ำเสียไหลได้สะดวก

4. ถังปรับเสมอ (Equalization tank) หรือบ่อปรับสภาพ อัตราการไหลและความเข้มข้น


ของน�้ำเสียในโรงพยาบาลมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพ
ของหน่ ว ยบ� ำ บั ด ต่ า ง ๆ รวมทั้ ง คุ ณ ภาพของน�้ ำ ทิ้ ง เครื่ อ งสู บ น�้ ำ เสี ย ในบ่ อ พั ก หรื อ บ่ อ ตรวจ
จะเดินเครือ่ งตามระดับน�ำ้ ในบ่อสูบโดยใช้ลกู ลอย ดังนัน้ น�ำ้ เสียจะถูกสูบเข้าระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียมาก
เมือ่ มีปริมาณน�ำ้ เสียไหลเข้าบ่อพักในปริมาณมาก โดยเฉพาะในช่วงเช้าจะมีนำ�้ เสียเข้าระบบบ�ำบัด
น�้ำเสียในปริมาณที่มากกว่าช่วงกลางคืน ถ้าบ่อสูบน�้ำเสียมีขนาดเล็กเครื่องสูบน�้ำเสียจะสูบน�้ำเสีย
ส่วนใหญ่เข้าสู่ระบบในช่วงกลางวัน และไม่มีการสูบน�้ำเสียเข้าระบบในช่วงเวลากลางคืน
ถั ง ปรั บ เสมอเป็ น ถั ง พั ก น�้ ำ เสี ย ที่ มี ข นาดใหญ่แ ละมี ค วามจุ เ พี ย งพอส� ำ หรั บ รองรั บ
ความแปรปรวนดังกล่าว วัตถุประสงค์ของถังปรับเสมอส�ำหรับระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียโรงพยาบาลได้แก่
1 ปรับความเข้มข้นของน�้ำเสียที่มีความแปรปรวนให้มีความเข้มข้นสม�่ำเสมอ
2 ช่วยควบคุมค่า pH ของน�้ำเสีย
3 ช่วยในการปรับและควบคุมอัตราการไหลให้มค ี า่ คงที่ โดยไม่ตอ้ งสูบน�ำ้ เสียเข้าระบบ
ในปริมาณมากในช่วงกลางวันที่มีน�้ำเสียเข้าจ�ำนวนมาก
4 ป้องกันสารพิษที่มีความเข้มข้นสูงเข้าสู่ระบบชีวภาพ ช่วยลดความเข้มข้นด้วยการ
เจือจางกับน�้ำเสียที่มีอยู่ในถัง
ภายในถังปรับเสมอจะต้องมีการเติมอากาศเพือ่ ป้องกันการเกิดสภาวะไร้อากาศ และการ
เติมอากาศภายในถังปรับเสมอยังช่วยออกซิไดซ์สารอินทรีย์ในน�้ำเสียและลดค่า BOD ของน�้ำเสีย
ได้บางส่วน (รูปที่ 2-17) นอกจากนีก้ ารเติมอากาศยังท�ำให้เกิดการผสมอย่างทัว่ ถึงในถัง ท�ำให้นำ�้ เสีย
ภายในถังมีความเข้มข้นเท่ากันและป้องกันการตกตะกอนของของแข็ง อาจใช้เครื่องเติมอากาศ
ผิวน�ำ้ ทีร่ ะดับของพลังงาน 4 ถึง 8 วัตต์/ลูกบาศก์เมตร ของปริมาตรน�ำ้ ในถังปรับเสมอ หรือใช้ระบบ
เติมอากาศแบบหัวฟู่ดังแสดงในรูปที่ 2-17 ส�ำหรับน�้ำเสียโรงพยาบาลที่มีของแข็งแขวนลอยต�่ำ
อัตราการให้อากาศทีช่ ว่ ยรักษาสภาพแอโรบิกในถังปรับเสมอมีคา่ เท่ากับ 0.6 ถึง 1.0 ลูกบาศก์เมตร/
ลูกบาศก์เมตร - ชั่วโมง [11]
ของแข็
ของแข็
งแขวนลอยต่
งแขวนลอยต่
า อัตาราการให้
อัตราการให้
อากาศที
อากาศที
่ช่วยรั่ชก่วษาสภาพแอโรบิ
ยรักษาสภาพแอโรบิกในถักงในถั
ปรับงเสมอมี
ปรับเสมอมี
ค่าเท่คา่ากัเท่บ า0.6
กับ ถึ0.6
ง 1.0
ถึง ลบ.ม./
1.0 ลบ.ม./
ลบ.ม.-ชม.
ลบ.ม.-ชม.
[11] [11] คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 27

รูปทีรู่ 2-17
ปที่ 2-17
ถังปรัถับงปรั
เสมอและระบบเติ
บเสมอและระบบเติ
มอากาศแบบหั
มอากาศแบบหั
วฟู่แวละแบบเจ๊
ฟู่และแบบเจ๊
ท ท
รูปที่ 2-17 ถังปรับเสมอและระบบเติมอากาศแบบหัวฟู่และแบบเจ็ท

5. อัตราการไหลของน�้ำเสีย การวัดอัตราการไหลของน�้ำเสียเข้าสู่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
เป็นสิ่งที่จ�ำเป็น ส�ำหรับน�ำไปค�ำนวณเพื่อควบคุมการด�ำเนินงานระบบบ�ำบัดน�้ำเสียได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เช่น อัตราการเติมอากาศ อัตราการทิง้ สลัดจ์และอัตราการเติมคลอรีน เป็นต้น ปกติ
หน่วยบ�ำบัดต่าง ๆ ในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียจะใช้คา่ อัตราไหลเฉลีย่ ต่อชัว่ โมงในการออกแบบ โดยคิดจาก
ปริมาณน�้ำเสียที่เกิดขึ้นต่อวันแล้วหารด้วย 24 ชั่วโมง น�ำไปค�ำนวณหาปริมาตรถังเติมอากาศ
และขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดของถังตกตะกอนของระบบแอ็กติเวเต็ดสลัดจ์ และปริมาตรถังสัมผัสคลอรีน
ของระบบฆ่าเชือ้ โรคในน�ำ้ เสีย ดังนัน้ จะต้องควบคุมอัตราการไหลของน�ำ้ เสียเข้าระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
ให้มีค่าใกล้เคียงกับอัตราไหลเฉลี่ยที่ออกแบบไว้

2.4 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขั้นที่สอง

น�้ำเสียหลังจากผ่านกระบวนการบ�ำบัดขั้นต้นแล้วจะไหลเข้าสู่ขั้นตอนการบ�ำบัดต่อเนื่อง
ต่อไปคือระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขั้นที่สอง ซึ่งเป็นขั้นตอนการก�ำจัดสารอินทรีย์ด้วยกระบวนการทาง
ชีวภาพ ในกระบวนการนี้จุลินทรีย์จะใช้สารอินทรีย์เป็นแหล่งพลังงานและแปรเปลี่ยนสารอินทรีย์
นั้นให้เป็นเซลล์จุลินทรีย์ใหม่หรือเรียกว่ามวลชีวภาพ (Biomass) และเนื่องจากในน�้ำเสียมีสาร
อินทรีย์ปนเปื้อนอยู่หลายชนิดจึงต้องการจุลินทรีย์หลายชนิด และแต่ละชนิดจะใช้แหล่งอาหาร
ที่เหมาะสมกับกระบวนการเมตาบอลิซึมของตัวเอง ในกลุ่มจุลินทรีย์ยังประกอบด้วยผู้ล่าซึ่งอาศัย
จุลินทรีย์ชนิดอื่นเป็นอาหารปะปนอยู่ด้วย มวลชีวภาพที่เกิดขึ้นในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียจะต้อง
ถูกก�ำจัดออกจากน�้ำทิ้งด้วยการตกตะกอนจึงจะท�ำให้การบ�ำบัดน�้ำเสียสมบูรณ์
จุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเป็นชนิดเดียวกันกับจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายสาร
อินทรีย์ในแหล่งน�้ำธรรมชาติ ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียจะควบคุมการท�ำงานของจุลินทรีย์ให้เกิดขึ้น
ในถังปฏิกรณ์ (เช่น บ่อเติมอากาศ) เพื่อให้ได้อัตราการย่อยสลายสารอินทรีย์ที่เร็วที่สุดและเกิด
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
28 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ปฏิกิริยาสมบูรณ์ที่สุด การก�ำจัดสารอินทรีย์ในแหล่งน�้ำธรรมชาติต้องใช้เวลาหลายวันเนื่องจาก
มีความเข้มข้นของมวลชีวภาพต�ำ่ แต่ในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียใช้เวลาเพียงไม่กชี่ วั่ โมงเท่านัน้ เนือ่ งจาก
ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียมีมวลชีวภาพที่มีความเข้มข้นสูง
ตัวแปรสภาพแวดล้อมที่มีผลต่ออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการย่อยสลายสารอินทรีย์
ได้แก่ อุณหภูมิ pH และสารพิษต่าง ๆ อัตราการเจริญเติบโตและอัตราการใช้สารอินทรีย์ของ
จุลินทรีย์ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียจะเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิ โดยจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าทุก ๆ 10 องศา
เซลเซียสทีเ่ พิม่ ขึน้ จนถึงค่าอุณหภูมสิ งู สุดประมาณ 37 องศาเซลเซียส ความร้อนจะท�ำลายเอนไซม์
และท�ำลายเซลล์จลุ นิ ทรีย์ ค่า pH ของน�ำ้ ทีอ่ ยูร่ อบ ๆ เซลล์จลุ นิ ทรียม์ ผี ลต่อการท�ำงานของเอนไซม์
ซึ่งเอนไซม์ท�ำงานได้ดีในช่วงค่า pH แคบ ๆ และจุลินทรีย์ย่อยสลายสารอินทรีย์และเจริญเติบโต
ได้ดีที่สุดในช่วงค่า pH เป็นกลางระหว่าง 6 ถึง 8
ตัวแปรอื่น ๆ ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ได้แก่ สารพิษต่าง ๆ ความเข้มข้นของ
TDS และสารออกซิไดซ์ ซึง่ ความเข้มข้นของ TDS จะมีผลต่อความดันออสโมซิสของน�ำ้ รอบจุลนิ ทรีย์
จุลนิ ทรียบ์ างชนิดไม่สามารถเจริญเติบโตได้ในสภาวะทีค่ า่ ความเข้มข้นของ TDS สูง สารออกซิไดซ์
มีผลในการท�ำลายเอนไซม์และส่วนประกอบของเซลล์ จุลินทรีย์มีความสามารถในการปรับตัว
ให้เข้ากับตัวแปรต่าง ๆ ในสภาวะแวดล้อมได้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ ในกรณีของการ
เปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันเช่น ค่า pH ของน�้ำเสียลดต�่ำลงอย่างรวดเร็วหรือมีความเข้มข้น
ของ TDS สูงไหลเข้ามาอย่างรวดเร็วจะมีผลท�ำให้จุลินทรีย์หยุดการเจริญเติบโต
ในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียแบบชีวภาพอาจใช้ถงั ปฏิกรณ์ทมี่ กี ารไหลของน�ำ้ เสียเข้าถังแบบแบทช์
(Batch) หรือการไหลแบบต่อเนื่อง (Continuous) จุลินทรีย์อาจอยู่ในสภาพที่แขวนลอยอยู่ใน
น�้ำ (Suspended growth) หรือเจริญเติบโตอยู่บนตัวกลางที่อยู่กับที่ (Attached growth หรือ
fixed film)
โรงพยาบาลมีการเลือกใช้ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีแ่ ตกต่างกันตามความเหมาะสมกับสภาพของ
พื้นที่ โดยอาจจะขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้น�้ำและกิจกรรมของโรงพยาบาล ลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิอากาศ ขนาดพื้นที่ของโรงพยาบาล สถานที่ตั้งและชุมชนโดยรอบ เป็นต้น จากการส�ำรวจ
ข้อมูลสถานการณ์ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในโรงพยาบาลของส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ปี พ.ศ. 2559-2562 พบว่าโรงพยาบาลมีการใช้ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่แตกต่างกันตามบริบท
ของพื้นที่ ประเภทของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่ใช้ในโรงพยาบาลในประเทศไทยได้แก่ (1) ระบบ
แอกทิเวเต็ดสลัดจ์หรือระบบเอเอสประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ระบบเอเอสแบบคลองวนเวียน (Oxidation
Ditch) ระบบเอเอสแบบผสมสมบูรณ์ (Completely Mixed Activated Sludge) และระบบเอเอส
แบบเอสบีอาร์ (SBR : Sequence Batch Reactor) (2) ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบส�ำเร็จรูป
มี 2 แบบคือ แบบถังไร้อากาศและแบบเติมอากาศ (3) ระบบสระเติมอากาศ (Aerated Lagoon)
(4) ระบบบ่อปรับเสถียร (Waste Stabilization Pond) และ (5) ระบบบึงประดิษฐ์ (Constructed
Wetland)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 29

แนวทางในการพิจารณาเลือกประเภทของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส�ำหรับโรงพยาบาลได้แก่
(1) ประสิทธิภาพการบ�ำบัดได้ตามมาตรฐานน�้ำทิ้ง และสามารถรองรับน�้ำเสียทั้งในด้านปริมาณ
และคุณภาพทัง้ ในปัจจุบนั และในอนาคต (2) ค่าใช้จา่ ยในการก่อสร้าง ด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษาไม่สงู
(3) สภาพความเหมาะสมของพืน้ ทีแ่ ละขนาดของพืน้ ทีส่ ำ� หรับการก่อสร้าง และ (4) ความยากง่าย
ในการด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษา และตัวแปรอืน่ เช่น เสียง กลิน่ และทัศนียภาพ เป็นต้น ตารางที่ 2-3
แสดงการเปรียบเทียบเกณฑ์การพิจารณาในด้านความยืดหยุน่ การเดินระบบ ขนาดพืน้ ทีแ่ ละอืน่ ๆ
ของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบชีวภาพประเภทต่าง ๆ
ตารางที่ 2-3 การเปรียบเทียบระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบชีวภาพแบบต่าง ๆ

เกณฑ์การพิจารณา บ่อปรับ สระเติม คูวนเวียน เอเอส


เสถียร อากาศ แบบอื่นๆ
ความยืดหยุ่น การเพิ่มปริมาณน�้ำเสีย ดี ดี ปรับได้ ปรับได้
อย่างกะทันหัน
การปรับระบบเมื่อมี ดี ดี ปรับได้ น้อยมาก
การขยายโรงพยาบาล
การเดินระบบ ความยากง่ายของการ ง่ายที่สุด ง่ายมาก ง่าย ง่าย
เดินระบบ
จ�ำนวนรายการส�ำหรับ น้อยที่สุด น้อยมาก มาก มากทีส่ ุด
ตรวจสอบบ�ำรุงรักษา
ความต้องการเทคโนโลยี น้อยที่สุด น้อยมาก มาก มากทีส่ ุด
ความต้องการผู้เชี่ยวชาญ น้อย น้อย มาก มาก
ขนาดพื้นที่ (คูวนเวียน = 100) 700 270 100 55
อื่นๆ ปริมาณสลัดจ์/ตะกอน น้อย น้อย ปานกลาง มาก
ที่ต้องก�ำจัด
ที่มา: [12]

2.5 ระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์

ระบบแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ (Activated sludge) หรือระบบเอเอสเป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่ใช้


จุลินทรีย์ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน�้ำเสียในสภาวะที่มีออกซิเจนอย่างเพียงพอ สารอินทรีย์
ในน�้ำเสียที่อยู่ในรูปสารละลายและของแข็งแขวนลอยจะถูกจุลินทรีย์ท�ำการย่อยสลายไปเป็น
คาร์บอนไดออกไซด์และน�้ำ และบางส่วนของสารอินทรีย์จะถูกน�ำไปสร้างเซลล์ใหม่ซึ่งจะต้องถูก
ก�ำจัดออกด้วยการตกตะกอนดังสมการต่อไปนี้
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
30 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

สารอินทรีย์ + ออกซิเจน + CO2 + H2O + เซลล์จุลินทรีย์ใหม่


จุลินทรีย์ + พลังงาน (2-1)

แอกทิเวเต็ดสลัดจ์คอื กลุม่ จุลนิ ทรียท์ ปี่ ระกอบด้วยแบคทีเรีย โปรโตซัว โรติเฟอร์และเชือ้ รา


แบคทีเรียเป็นจุลินทรีย์ที่ท�ำหน้าที่หลักในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในสภาวะที่มีออกซิเจน
โปรโตซัวและโรติเฟอร์มคี วามส�ำคัญในการก�ำจัดแบคทีเรียทีแ่ ขวนลอยในน�ำ้ เสียเพือ่ ไม่ให้หลุดลอด
ออกไปกับน�้ำเสียที่ผ่านการบ�ำบัดแล้ว
การรวมตัวกันเป็นฟล็อกเป็นผลมาจากการท�ำปฏิกิริยากันของโพลิเมอร์ที่สะสมอยู่รอบ ๆ
ผิวด้านนอกของเซลล์ซึ่งจะเกิดขึ้นในสภาวะที่เซลล์ขาดแคลนสารอินทรีย์และมีอายุแก่เหมาะสม
เซลล์แบคทีเรียจะเชื่อมติดกันเป็นกลุ่มก้อนด้วยพันธะทางกายภาพและพันธะทางไฟฟ้าสถิตของ
โพลิเมอร์เหล่านี้กับผิวนอกของเซลล์รวมกันเป็นฟล็อก
มวลชีวภาพหรือสลัดจ์จะต้องถูกก�ำจัดออกจากน�้ำเสียที่ผ่านการบ�ำบัดแล้วเพื่อให้ได้น�้ำทิ้ง
ทีม่ คี ณ
ุ ภาพตามมาตรฐาน เนือ่ งจากมวลชีวภาพเองเป็นสารอินทรียช์ นิดหนึง่ และสามารถวิเคราะห์
เป็นค่า BOD ได้เช่นกัน ถังตกตะกอนจะถูกใช้เป็นขั้นตอนก�ำจัดมวลชีวภาพและท�ำให้ได้น�้ำทิ้ง
ที่มีคุณภาพ โดยปกติค่า BOD5 ละลายน�้ำในน�้ำทิ้งจากระบบเอเอสจะมีค่าต�่ำประมาณ 5 ถึง
10 มิลลิกรัม/ลิตรเท่านั้น แต่เนื่องจากมวลชีวภาพบางส่วนจะไหลล้นออกจากถังตกตะกอนปะปน
ไปกับน�้ำทิ้งจึงอาจท�ำให้ค่า BOD5 รวมของน�้ำทิ้งมีค่าใกล้เคียง 20 มิลลิกรัม/ลิตรหรือมากกว่า
หลั ง จากการแยกน�้ ำ ส่ ว นใสออกจากสลั ด จ์ แ ล้ ว จะต้ อ งก� ำ จั ด สลั ด จ์ ส ่ ว นเกิ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น
และน�ำสลัดจ์ส่วนที่เหลือกลับเข้าสู่ถังเติมอากาศเพื่อรักษาความเข้มข้นของสลัดจ์ในระบบให้มี
ความเข้มข้นสูงและมีค่าค่อนข้างคงที่ ประสิทธิภาพของกระบวนการบ�ำบัดจะขึ้นกับการสูบสลัดจ์
กลับในปริมาณที่เพียงพอ ถ้าการแยกน�้ำใสและการรวบรวมมวลชีวภาพเพื่อสูบกลับล้มเหลว
จะท�ำให้ระบบบ�ำบัดทั้งหมดล้มเหลวไปด้วย แผนภูมิของระบบเอเอสแสดงในรูปที่ 2-18

น�้ำเสีย ถังเติมอากาศ น�้ำสลัดจ์ ถังตกตะกอน น�้ำทิิ้ง

สลัดจ์เวียนกลับ

สลัดจ์ส่งก�ำจัด

รูปที่ 2-18 แผนภูมิระบบเอเอส


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 31

2.6 บ่อปรับเสถียร (Waste Stabilization Pond)

บ่อปรับเสถียรเป็นระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีอ่ ยูใ่ นรูปแบบของบ่อเก็บกักน�ำ้ ขนาดใหญ่ เป็นบ่อดิน


ที่มีผนังลาดเอียง ความชันของผนังบ่อขึ้นกับสภาพของดินที่ก่อสร้างเพื่อให้ผนังบ่อมีความมั่นคง
ไม่พังทลาย ผนังด้านในและพื้นของบ่อควรปูด้วยแผ่นพลาสติกหรือดาดด้วยคอนกรีตเพื่อป้องกัน
การปนเปือ้ นของน�ำ้ เสียลงสูช่ นั้ น�ำ้ ใต้ดนิ บ่อมีรปู ทรงสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั หรือสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าทีม่ คี วามลึก
น�ำ้ ไม่มาก มีนำ�้ เสียไหลเข้าและน�ำ้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วไหลออกอย่างต่อเนือ่ ง น�ำ้ เสียจะถูกเก็บกัก
ไว้ภายในบ่อเป็นระยะเวลานานและใช้กระบวนการทางธรรมชาติในการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย โดยทีบ่ างส่วน
ของน�ำ้ ในบ่อต้องอยูใ่ นสภาวะทีม่ อี อกซิเจนละลายน�ำ้ (DO) ตลอดเวลาเพือ่ ทีจ่ ะบ�ำบัดน�ำ้ เสียให้ได้
ตามมาตรฐานน�้ำทิ้ง ออกซิเจนส่วนใหญ่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์แสงของสาหร่าย และ
บางส่วนได้จากการถ่ายเทออกซิเจนจากอากาศลงสูผ่ วิ น�ำ้ ในกรณีทปี่ ริมาณออกซิเจนจากสาหร่าย
ไม่เพียงพอจะต้องติดตัง้ เครือ่ งเติมอากาศเพือ่ เพิม่ อัตราการให้ออกซิเจนลงสูน่ ำ�้ และจะเรียกบ่อน�ำ้
ประเภทนี้ว่าสระเติมอากาศ

1) บ่อปรับเสถียรประเภทต่าง ๆ
บ่อปรับเสถียรที่นิยมใช้ส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสียชุมชนในประเทศไทยมี 3 ประเภทได้แก่
1.1) บ่อแอนแอโรบิก (Anaerobic Pond) เป็นบ่อทีม่ คี วามลึก 2.5 – 5.0 เมตร รองรับ
อัตราภาระสารอินทรีย์สูงท�ำให้เกิดสภาพไร้อากาศทั่วทั้งบ่อตลอดความลึก บ่อมีระยะเวลากักน�้ำ
20 – 30 วัน
1.2) บ่อแฟคัลเททีฟ (Facultative Pond) เป็นบ่อน�ำ้ ความลึก 1.2 – 2.5 เมตร ด้านบน
ของบ่อเป็นชั้นน�้ำที่มีออกซิเจนละลายน�้ำอยู่ตลอดเวลาซึ่งได้จากการสังเคราะห์แสงของสาหร่าย
ในเวลากลางวันและจากการแพร่กระจายของออกซิเจนจากอากาศลงสู่ผิวน�้ำ ชั้นน�้ำช่วงตรงกลาง
บ่อจะมีออกซิเจนละลายน�ำ้ เฉพาะช่วงเวลากลางวันเท่านัน้ ในช่วงเวลากลางคืนอาจไม่มอี อกซิเจน
ละลายน�้ำจึงเรียกว่าชั้นนี้ว่าชั้นแฟคัลเททีฟ บ่อมีระยะเวลากักน�้ำ 5 – 30 วัน
1.3) บ่อบ่ม (Maturation Pond) เป็นบ่อที่ใช้ในการท�ำให้น�้ำเสียที่ผ่านการบ�ำบัดจาก
กระบวนการบ�ำบัดทางชีวภาพแล้วมีความสะอาดยิ่งขึ้น ออกซิเจนละลายน�้ำจะมีอยู่ทั่วบ่อตลอด
ความลึกซึ่งได้จากกระบวนการสังเคราะห์แสงและได้จากการถ่ายเทออกซิเจนจากอากาศ
ปัจจุบันไม่นิยมใช้บ่อแอนแอโรบิกส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสียชุมชนในประเทศไทย เนื่องจาก
น�้ำในบ่อมีสีด�ำและเกิดกลิ่นเหม็นของก๊าซไข่เน่ารบกวนชุมชนใกล้เคียง ระบบบ่อปรับเสถียรที่ใช้
ส�ำหรับโรงพยาบาลจึงใช้เพียงบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มเท่านั้น
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
32 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

2) รูปแบบการวางผังส�ำหรับระบบบ่อปรับเสถียร
ระบบบ่อปรับเสถียรส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลจะจัดวางผังระบบโดยใช้
บ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มต่อเนือ่ งกัน อาจมีการใช้บอ่ แฟคัลเททีฟ 1 บ่อหรือ 2 บ่อแล้วตามด้วยบ่อบ่ม
และติดตั้งถังสัมผัสคลอรีนส�ำหรับฆ่าเชื้อโรคที่เหลืออยู่ในขั้นตอนสุดท้ายดังแสดงในรูปที่ 2-19
D
น�้ำเสีย
F M C

D
น�้ำเสีย
F F M C

A = บ่อแอนแอโนบิก F = บ่อแฟคัลเททีฟ M = บ่อบ่ม


C = ถังสัมผัสส�ำหรับฆ่าเชื้อโรค D = สารฆ่าเชื้อโรค

รูปที่ 2-19 รูปแบบการวางผังระบบบ่อปรับเสถียรแบบต่าง ๆ

2.6.1 บ่อแอนแอโรบิก (Anaerobic Pond)


บ่อแอนแอโรบิกเป็นบ่อเก็บกักน�้ำที่มีความลึก 2.5 – 5.0 เมตร รองรับอัตราภาระ
สารอินทรีย์สูงกว่า 100 กรัม BOD5/ลูกบาศก์เมตร-วัน [13] ซึ่งมากกว่าความสามารถในการผลิต
ออกซิเจนของสาหร่าย ท�ำให้เกิดสภาพไร้อากาศทัว่ ทัง้ บ่อและตลอดความลึก เปรียบเสมอถังเกรอะ
(Septic) ทีเ่ ปิดโล่ง บ่อมีระยะเวลากักน�ำ้ ยาวนาน 20 – 30 วัน ท�ำให้ของแข็งแขวนลอยตกตะกอน
ได้ดีและสะสมที่ก้นบ่อ โดยปกติบ่อแอนแอโรบิกจะถูกใช้เป็นระบบบ�ำบัดขั้นต้นส�ำหรับน�้ำเสีย
โรงงานอุตสาหกรรมที่มีอุณหภูมิสูงหรือส�ำหรับน�้ำเสียที่มีความเข้มข้นสารอินทรีย์สูง ปฏิกิริยา
การย่อยสลายสารอินทรีย์ในสภาวะไร้อากาศท�ำให้เกิดก๊าซมีเทนและก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์หรือ
ก๊าซไข่เน่า กลิ่นเหม็นที่เกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์เป็นข้อเสียส�ำหรับการใช้บ่อแอนแอโรบิก
ปริมาณก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์อาจเกิดขึ้นไม่สูงมากถ้าในน�้ำเสียมีความเข้มข้นของซัลเฟต < 500
มิลลิกรัม/ลิตร [13] ในบางกรณีอาจพบเห็นผิวน�้ำของบ่อแอนแอโรบิกมีสีแดงหรือสีม่วงที่เกิดจาก
การเจริญเติบโตของแบคทีเรียทีอ่ อกซิไดซ์ซลั ไฟด์ซงึ่ ช่วยลดปัญหาของกลิน่ ได้บางส่วน ดังรูปที่ 2-20
สู งมากถ้า ในน้ าเสี ย มีความเข้มข้น ของซัล เฟต < 500 มก./ล. [13] ในบางกรณีอ าจพบเห็ น ผิ ว น้ าของบ่ อแอน
แอโรบิ กมีกสมีีแสดงหรื
แอโรบิ อสีอมสี่วมงที
ีแดงหรื ่วงที่เกิ่เดกิจากการเจริ
ดจากการเจริญญเติเติบบโตของแบคที
โตของแบคทีเรีเรียยทีที่อ่ออกซิ
อกซิไดซ์
ไดซ์ซซัลัลไฟด์
ไฟด์ซซึ่งึ่งช่ช่ววยลดปั
ยลดปัญญหาของกลิ
หาของกลิ่น่นได้
ได้
2.6.2 บ่อแฟคัลเททีฟ (Facultative Pond)
บางส่ วนวน
บางส่ คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 33

บ่อแฟคัลเททีฟมีความลึกน้า 1.5 ถึง 2.5 ม. ไม่ค


โผล่พ้นน้า เช่น ธูปฤาษี เติบโตขึ้นภายในบ่อ ชั้นน้าด้านบ
ตลอดเวลา ออกซิเจนส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์แส
ก ข

รูปที่ 2-20 บ่อแอนแอโรบิ (ก)(ก) ก น�้ำภายในบ่อมีสีด�ำ และ ผิ(ข)(ข)


ก ข วน�้ำของบ่อมีสีแดง [14]
ออกซิเจนจะได้ รูปรูทีป่ ที2-18 จ ากการแพร่
่ 2-18บ่อบ่แอนแอโรบิ
อแอนแอโรบิกก(ก)(ก)นนาภายในบ่
2.6.2 บ่อแฟคัลเททีฟ (Facultative Pond)
ก ระจายของออกซิ
าภายในบ่ออมีมีสสีดีดาาและ
และ(ข)
(ข)ผิผิววนนาของบ่
าของบ่ออมีมีสสีแีแดง
ดง [14]
[14]
เจนจากอ
ละลายน้ าเฉพาะช่ วงเวลากลางวันเท่านั้น ส่วนในช่วงเวล
บ่อแฟคัลเททีฟมีความลึกน�้ำ 1.5 ถึง 2.5 เมตร ไม่ควรใช้บ่อที่มีความลึกน�้ำต�่ำกว่า
1.0 เมตร เพราะจะท�ำให้พืชโผล่พ้นน�้ำ เช่น ธูปฤาษี เติบโตขึ้นภายในบ่อ ชั้นน�้ำด้านบนของ
บ่อแฟคัลเททีฟเป็นชั้นน�้ำที่มีออกซิเจนละลายน�้ำอยู่ตลอดเวลา ออกซิเจนส่วนใหญ่ได้จากการ
ว่าชัสั้นงเคราะห์
แฟคั ลระบบบ
บททีแ่ 2สงของสาหร่ เททีาบัฟายในเวลากลางวัดนและด้
าเสียในโรงพยาบาลานนล่
และในช่างของบ่ วงเวลากลางคือนอยู ออกซิ่ใเจนจะได้
นสภาวะไร้ จากการ ออก
แพร่กระจายของออกซิเจนจากอากาศลงสู่ผิวน�้ำ ชั้นน�้ำช่วงกลางของบ่ออาจมีออกซิเจนละลายน�้ำ
ve Pond)5 ถึ ง เฉพาะช่30 วั
วงเวลากลางวั น น้ นาในบ่
เท่านั้น ส่วอ แฟคั
นในช่ ล
วงเวลากลางคื เทที ฟ
นอาจไม่ มอาจมี
ีออกซิเจน ส เรียี เกว่ขีาชัย
้นน�วอ่
้ำ อ นถ
ตรงกลางบ่
น้า 1.5 ถึง 2.5 ม. ไม่ ควรใช้บ่อทีอ่มนีีค้ววามลึ
่าชั้นแฟคั
กน้าต่ลากว่
เททีาฟ1.0และด้ านล่างของบ่
ม. เพราะจะท าให้พอืชอยู่ในสภาวะไร้ออกซิเจน ปกติระยะเวลา
รายละเอี
ายในบ่อ ชั้นน้าด้านบนของบ่
จากการสังเคราะห์ทีแ่เสงของสาหร่
ยดของบ่
กักน�ำ้ ของบ่อแฟคั
อแฟคั
กิดจากการเจริ
ลเทที
ลเทที
ญเติบโตของสาหร่
ายในเวลากลางวั
อนแฟคั
ฟเป็ฟนอยูชั้ใน่ นช่
และในช่ าย ดัวงล
น้าทีวง่ม5ีออกซิ
ถึง 30
รูปเทที
ที่ 2-21 ฟ
วัน น�ำ้ ในบ่
เจนละลายน้
งเวลากลางคื
มีดยังดของบ่
าอยูอแฟคั
ต่ออไปนี ้ ฟมีดังต่อไปนี้
่ ลเททีฟอาจมีสเี ขียวอ่อนถึงสีเขียวเข้ม
รายละเอี
น แฟคัลเทที
ยของออกซิเจนจากอากาศลงสู่ผิวน้า ชั้นน้าช่วงกลางของบ่ออาจมีออกซิเจน
ท่านั้น ส่วนในช่วงเวลากลางคืนอาจไม่มีออกซิเจน เรียกว่าชั้นน้าตรงกลางบ่อนี้
บ่ออยู่ในสภาวะไร้ออกซิเจน ปกติระยะเวลากักน้าของบ่อแฟคัลเททีฟอยู่ในช่วง
ฟอาจมี สี เ ขี ย วอ่ อ นถึ ง สี เ ขี ย วเข้ ม ที่ เ กิ ด จากการเจริ ญ เติ บ โตของสาหร่ า ย
ต่อไปนี้

รูปที่ 2-19 บ่อแฟคัลเททีฟ


รูปที่ 2-21 บ่อแฟคัลเททีฟ

ในบ่อแฟคัลเททีฟประกอบด้วย 2 กลไกหลักดังแสดงในรูปที่ 2-20 ได้แก่


รูปที่ 2-19 บ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
34 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

กลไกการบ�ำบัดน�้ำเสีย
1
กลไกการก�ำจัดสารอินทรียใ์ นบ่อแฟคัลเททีฟประกอบด้วย 2 กลไกหลักดังแสดง
ในรูปที่ 2-22 ได้แก่

รูปที่ 2-22 กลไกการก�ำจัดสารอินทรีย์และปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในบ่อแฟคัลเททีฟ [14]

1.1) การตกตะกอนและการย่อยสลายแบบไร้อากาศของตะกอนก้นบ่อ: น�ำ้ เสีย


ที่ไหลเข้าสู่บ่อแฟคัลเททีฟจะอยู่ภายในบ่อเป็นเวลาหลายวัน ของแข็งแขวนลอยในน�้ำเสียจะ
ตกตะกอนลงสู่ก้นบ่อและสะสมเป็นชั้นสลัดจ์ เกิดเป็นชั้นแอนแอโรบิกที่ปราศจากออกซิเจน
และเกิดการย่อยสลายสารอินทรียแ์ บบไร้อากาศ กรดอินทรียท์ เี่ กิดขึน้ จากการย่อยสลายสารอินทรีย์
ในชัน้ แอนแอโรบิกจะกลายเป็นอาหารส�ำหรับแบคทีเรียในชัน้ แอโรบิกด้านบน และธาตุอาหารต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้นจะถูกสาหร่ายน�ำไปใช้ประโยชน์ เซลล์แบคทีเรียและสาหร่ายที่ผลิตขึ้นในชั้นแอโรบิก
เมือ่ ตายจะตกตะกอนลงสูด่ า้ นล่างของบ่อกลายเป็นอาหารส�ำหรับแบคทีเรียแอนแอโรบิก โดยปกติ
ซัลไฟด์จะเกิดขึ้นในชั้นสลัดจ์ที่อยู่ในสภาวะแอนแอโรบิกและแพร่กระจายขึ้นมาสู่ชั้นน�้ำแอโรบิก
ด้านบนและถูกออกซิไดซ์ได้กรดซัลฟูรกิ ถ้ามีซลั ไฟด์ผลิตขึน้ เป็นจ�ำนวนมากหรือถ้าน�ำ้ ชัน้ แอโรบิก
มีปริมาณออกซิเจนไม่เพียงพอจะท�ำให้เกิดปัญหาด้านกลิ่นได้
1.2) การย่ อ ยสลายสารอิ น ทรี ย ์ แ บบใช้ อ อกซิ เ จน: การก� ำ จั ด สารอิ น ทรี ย ์
เกิดจากปฏิกิริยาของแอโรบิกแบคทีเรีย สารอินทรีย์จะถูกออกซิไดซ์ได้คาร์บอนไดออกไซด์
น�ำ้ และสารอนินทรียโ์ ดยใช้ออกซิเจนทีม่ ใี นบ่อน�ำ้ ส่วนคาร์บอนไดออกไซด์และธาตุอาหารทีไ่ ด้จาก
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 35

แบคทีเรียจะถูกสาหร่ายน�ำไปใช้ในการเจริญเติบโต โดยแบคทีเรียและสาหร่ายมีความสัมพันธ์
แบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน สาหร่ายใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในกระบวนการสังเคราะห์แสงและ
ผลิตออกซิเจนให้แอโรบิกแบคทีเรีย ดังนั้นในสภาวะปกติที่มีแสงแดดกระบวนการเมตาบอลิซึม
ของจุลินทรีย์ทั้งสองกลุ่มจะสนับสนุนซึ่งกันและกัน เนื่องจากความต้องการแสงแดดจึงพบว่า
สาหร่ายส่วนใหญ่จะอยูใ่ กล้ ๆ ผิวน�ำ้ (ประมาณ 0.5 – 1.0 เมตร) ซึง่ เป็นบริเวณทีม่ กี ารผลิตปริมาณ
ออกซิเจนสูงทีส่ ดุ และความเข้มของแสงจะลดลงตามความลึกของน�ำ้ ท�ำให้ความเข้มข้นของสาหร่าย
ลดลงตามความลึกของน�้ำ
ชั้นน�้ำด้านบนของบ่อเป็นชั้นแอโรบิกซึ่งอยู่ในสภาวะที่มีออกซิเจนตลอดเวลา ออกซิเจน
ส่วนใหญ่มาจากกระบวนการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายในเวลากลางวัน กระแสลมทีพ่ ดั ผ่านผิวน�ำ้
มีความส�ำคัญมากท�ำให้เกิดคลืน่ และเกิดการผสมของน�ำ้ ภายในบ่อ และท�ำให้การถ่ายเทออกซิเจน
จากอากาศลงสู่ผิวน�้ำเพิ่มสูงขึ้นในช่วงเวลากลางคืน
ช่วงรอยต่อระหว่างชัน้ แอโรบิกและชัน้ แอนแอโรบิกมีการเปลีย่ นแปลงขยับขึน้ ลงไม่อยูก่ บั ที่
เมือ่ มีการผสมจากลมและแสงแดดทีแ่ รงพอส่องทะลุลงมาอาจท�ำให้ชนั้ แอโรบิกเคลือ่ นตัวลงด้านล่าง
ในทางกลับกันในสภาพที่ไม่มีลมและแสงแดดอ่อนอาจท�ำให้ชั้นแอนแอโรบิกเคลื่อนตัวขึ้นด้านบน
สภาพการเปลี่ยนแปลงของแสงแดดในหนึ่งวันจะท�ำให้ชั้นรอยต่อนี้มีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย
เช่นกัน ชัน้ น�ำ้ ในส่วนทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงความเข้มข้นออกซิเจนละลายน�ำ้ แตกต่างกันอย่างมากนี้
เรียกว่าชั้นแฟคัลเททีฟ
2 การเจริญเติบโตของสาหร่ายในบ่อปรับเสถียร
สาหร่ายมีความส�ำคัญมากในบ่อแฟคัลเททีฟและมีความเข้มข้นมากกว่าแบคทีเรีย
ซึง่ สังเกตได้จากน�ำ้ ในบ่อทีม่ สี เี ขียว ปกติมคี วามเข้มข้นของสาหร่ายจะมีคา่ ต�ำ่ กว่า 200 มิลลิกรัม/ลิตร
ขึ้นกับอัตราภาระสารอินทรีย์ สาหร่ายที่พบในบ่อปรับเสถียรแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มได้แก่
(1) สาหร่ายสีเขียว (Green algae) เป็นสาหร่ายขนาดเล็กประมาณ 20 ไมโครเมตร
เนื่องจากมีขนาดเล็กและความหนาแน่นต�่ำจึงอยู่ในสภาพแขวนลอยตลอดเวลา เป็นสาหร่าย
ที่พบมากที่สุดและท�ำให้น�้ำในบ่อมีสีเขียว (2) สาหร่ายสีเขียวแกมน�้ำเงิน (Blue green algae)
มีความสามารถในการตรึงไนโตรเจนจากอากาศ จึงไม่ตอ้ งการแอมโมเนียหรือไนโตรเจนในน�ำ้ เสีย
ส�ำหรับสังเคราะห์เซลล์ใหม่ จึงพบในบ่อน�้ำที่อยู่ในสภาวะที่มีธาตุอาหารต�่ำและค่า pH ต�่ำ ซึ่งเป็น
สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมส�ำหรับสาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียวสามารถเคลื่อนที่
ได้เล็กน้อยและรวมตัวกันเป็นแพไปขัดขวางแสงแดดที่จะส่องลงไปในความลึกของน�้ำ ท�ำให้การ
สังเคราะห์แสงลดลงและเกิดสภาพไร้อากาศด้านล่างของบ่อและอาจเกิดกลิ่นเหม็นเขียวขึ้นได้
การรวมตัวกันของสาหร่ายอาจมีความยาวถึง 200 ถึง 700 ไมโครเมตร (3) ไดอะตอม (Diatom)
พบเป็นจ�ำนวนน้อย มีขนาดใหญ่และเคลื่อนที่ไม่ได้ (4) ยูกลีนา (Euglena) และคลาไมโดโมแนส
(Chlamydomonas) เป็นสาหร่ายที่มีเม็ดสี (pigment) ที่มีแฟลเจลลา (flagella) เคลื่อนที่ได้
มีขนาด 15 - 30 ไมโครเมตร
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
36 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในบ่อภายใน 1 วัน
3
3.1) DO : ออกซิเจนที่ได้จากกระบวนสังเคราะห์แสงจะเกิดขึ้นเฉพาะในช่วง
กลางวันที่มีแสงสว่างเท่านั้น ส่วนในช่วงกลางคืนสาหร่ายจะแย่งชิงทั้งออกซิเจนและสารอินทรีย์
กับแบคทีเรีย ท�ำให้ปริมาณออกซิเจนของน�้ำในบ่อลดน้อยลง ดังนั้นความเข้มข้นของออกซิเจน
ละลายน�้ำ (DO) ที่มีอยู่ในบ่อจะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงในช่วงเวลาหนึ่งวันดังแสดงในรูปที่ 2-23
ในเวลากลางวันที่มีแสงแดดจัด ๆ ค่า DO อาจสูงมากกว่าการใช้ออกซิเจนของแบคทีเรีย และ
มีคา่ สูงกว่าความเข้มข้นอิม่ ตัวของออกซิเจนในน�ำ้ (เรียกว่า Super saturation) เช่น ค่า DO สูงถึง
13 มิลลิกรัม/ลิตร ส่วนในเวลากลางคืนค่า DO ในน�้ำจะลดต�่ำลงหรืออาจมีค่าเป็นศูนย์ถ้าน�้ำในบ่อ
มีปริมาณสาหร่ายอยู่เป็นจ�ำนวนมากจนเกินไป

รูปที่ 2-23 การเปลีย่ นแปลงค่า DO และ pH ของน�ำ้ ในบ่อแฟคัลเททีฟในช่วงเวลาหนึง่ วัน [14]

สาหร่ายส่วนใหญ่จะอยู่ใกล้ผิวน�้ำเพื่อได้รับพลังงานสูงสุด จึงท�ำให้น�้ำในบ่อใกล้
ผิวน�ำ้ มีความเข้มข้นของออกซิเจนละลายน�ำ้ สูงสุด และแสงแดดจะส่องลงในน�ำ้ ได้นอ้ ยลงตามความ
ลึกของน�้ำ ท�ำให้มีความเข้มข้นของสาหร่ายลดลง เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร
ทีแ่ สงแดดมีความเข้มสูงท�ำให้ความลึกน�ำ้ ทีแ่ สงแดดส่องถึงส�ำหรับการสังเคราะห์แสงของสาหร่าย
(Photic zone) ได้เกือบ 1 เมตร ของความลึกน�ำ้ ดังนัน้ น�ำ้ ทีอ่ ยูเ่ หนือความลึกดังกล่าวจะอยูใ่ นสภาพ
แอโรบิก ส่วนน�้ำที่ความลึกต�่ำลงไปจะอยู่ในสภาพแอนแอโรบิก ในช่วงเวลากลางคืนความลึกน�้ำ
ที่อยู่ในสภาวะแอโรบิกจะลดลง
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 37

ความหนาของชั้นแอโรบิกจะเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลา 1 วันและจะเปลี่ยนแปลง
ตามอัตราภาระสารอินทรีย์ของน�้ำเสียที่เข้าบ่อ บ่อปรับเสถียรที่มีอัตราภาระสารอินทรีย์สูงจะมี
ความหนาของชั้นแอโรบิกจะลดลงและมีชั้นแอนแอโรบิกสูง รูปที่ 2-24 แสดงผลของอัตราภาระ
สารอินทรีย์ที่มีต่อความหนาของชั้นแอโรบิกในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน

รูปที่ 2-24 ความหนาของชั้นแอโรบิกในบ่อปรับเสถียรที่แปรผันตามอัตราภาระสารอินทรีย์

3.2) pH : น�้ำในบ่อควรมีค่า pH มากกว่า 7.5 และค่า pH จะเปลี่ยนแปลงตาม


เวลาใน 1 วันดังแสดงในรูปที่ 2-23 และค่า pH จะเปลี่ยนแปลงตามความลึกของน�้ำ ซึ่งเกิดจาก
กระบวนการสังเคราะห์แสงในเวลากลางวันและกระบวนการหายใจของทั้งสาหร่ายและแบคทีเรีย
ในเวลากลางคืน ผลกระทบของกระบวนการสังเคราะห์แสงและกระบวนการหายใจที่มีต่อค่า pH
ของน�้ำในบ่อแฟคัลเททีฟแสดงในตารางที่ 2-4
ในช่วงเวลากลางวันที่มีปฏิกิริยาการสังเคราะห์แสงเกิดขึ้นสูงสุดอาจท�ำให้น�้ำ
มีค่า pH>9 ซึ่งค่า pH ที่สูงจะมีผลต่อเนื่องได้แก่ (1) ท�ำให้ไอออนของแอมโมเนียม (NH4+ )
ถูกเปลีย่ นให้เป็นแอมโมเนียอิสระ (NH3) ซึง่ เป็นพิษต่อปลาทีค่ วามเข้มข้นสูง (NH3>0.2 มิลลิกรัม/ลิตร)
และ NH3 ที่เกิดขึ้นจะระเหยออกสู่บรรยากาศในรูปของก๊าซแอมโมเนีย (2) เกิดตะกอนฟอสเฟต
ทีไ่ ม่ละลายน�ำ้ และตกตะกอนลงก้นบ่อและ (3) เกิดการเปลีย่ นแปลงของก๊าซ H2S ไปเป็นไบซัลไฟด์
(HS-) ที่ละลายน�้ำได้ ท�ำให้ไม่เกิดกลิ่นเหม็นหรือกลิ่นเหม็นลดลง
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
38 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 2-4 ผลกระทบของกระบวนการสังเคราะห์แสงในเวลากลางวันและกระบวนการหายใจ


ในเวลากลางคืนที่มีต่อค่า pH ของน�้ำในบ่อแฟคัลเททีฟ
กระบวนการสังเคราะห์แสง ในเวลากลางวัน
- สาหร่ายใช้ CO2 ที่ละลายน�้ำจากปฏิกิริยาของแบคทีเรียและจากไบคาร์บอเนต
- เมื่อ CO2 หมดสาหร่ายจะสกัดไบคาร์บอเนตในน�้ำเสียให้เป็น CO2 จะได้ด่าง (OH-)
หลงเหลือในน�้ำ
- ด่างที่ผลิตขึ้นท�ำให้ค่า pH สูงขึ้น
กระบวนการหายใจ ในเวลากลางคืน
- ทั้งแบคทีเรียและสาหร่ายใช้ O2 ในการหายใจผลิต CO2
- CO2 ละลายน�้ำเพิ่มขึ้นได้กรดคาร์บอนิก ซึ่งแตกตัวต่อได้ไบคาร์บอเนต และ H+
- กรด (H+) ท�ำให้ค่า pH ลดลง

ผลของสภาพแวดล้อมในบ่อแฟคัลเททีฟทีม่ ตี อ่ ประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย


4
สภาพแวดล้อมหลักทีม่ ผี ลต่อการบ�ำบัดน�ำ้ เสียของบ่อแฟคัลเททีฟได้แก่ แสงแดด
อุณหภูมิและกระแสลม ดังแสดงในตารางที่ 2-5
ตารางที่ 2-5 ผลของสภาพแวดล้อมในบ่อปรับเสถียรที่มีต่อประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสีย
ตัวแปร ผลที่เกิดขึ้น
แสงแดด อัตราการสังเคราะห์แสง
อุณหภูมิ อัตราการสังเคราะห์แสง
อัตราการย่อยสลายสารอินทรีย์
การถ่ายเทและการละลายน�้ำของก๊าซ
กระแสลม การผสมของน�้ำในบ่อ
การละลายน�้ำของออกซิเจน

4.1) แสงแดด : เมื่อแสงแดดมีความเข้มสูงขึ้นรวมทั้งจ�ำนวนวันที่มีแดดมากขึ้น


จะท�ำให้ปฏิกิริยาสังเคราะห์แสงเกิดได้มากขึ้น ท�ำให้บ่อแฟคัลเททีฟมีค่า DO สูงตลอดเวลา
ซึง่ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ในทางตรงกันข้ามในช่วงฤดูฝนทีไ่ ม่มแี สงแดดจัดเป็นเวลา
หลายวัน อาจส่งผลต่อค่า DO ในบ่อและท�ำให้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดลดลง ซึ่งสามารถแก้ไข
ได้ด้วยการติดตั้งเครื่องเติมอากาศและเปิดใช้ในช่วงจ�ำเป็น
4.2) การผสม : การผสมของน�ำ้ ภายในบ่อแฟคัลเททีฟเกิดขึน้ จากกระแสลมเป็นหลัก
ความส�ำคัญของการผสมที่มีต่อประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสียของบ่อมีดังต่อไปนี้ (1) ลดการไหล
ลัดวงจรของน�้ำเสีย (2) ลดการเกิดโซนที่ไม่มีการผสมหรือ Dead zone (3) ท�ำให้สารอินทรีย์
สาหร่ายและออกซิเจนกระจายตัวในน�้ำในแนวดิ่งได้ดี และ (4) ท�ำให้สาหร่ายที่เคลื่อนที่ไม่ได้
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 39

แขวนลอยอยู่ในชั้นที่มีแสงแดดและไม่ตกตะกอนลงก้นบ่อ ในกรณีที่ไม่กระแสลมจะท�ำให้ไม่เกิด
การผสม สาหร่ายเกาะกันหนาในช่วงกลางวันและป้องกันแสงแดดไม่ให้ส่องลงในน�้ำด้านล่าง
ส่งผลให้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�ำ้ เสียลดลง ดังนัน้ จึงไม่ควรปลูกต้นไม้ใหญ่รอบ ๆ บ่อแฟคัลเททีฟ
นอกจากจะบังกระแสลมที่พัดผ่านผิวน�้ำของบ่อแล้ว ยังอาจบังแสงแดดที่มีความส�ำคัญส�ำหรับ
การสังเคราะห์แสง
4.3) อุณหภูมิ : อุณหภูมิของน�้ำในบ่อที่สูงขึ้นจะช่วยเร่งอัตราการสังเคราะห์
แสงของสาหร่ายและอัตราการย่อยสลายสารอินทรีย์ของแบคทีเรีย อุณหภูมิของน�้ำในบ่อที่น�ำมา
พิจารณาในการออกแบบเป็นอุณหภูมเิ ฉลีย่ ของน�ำ้ ทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ ในช่วงฤดูหนาว และพบว่าอุณหภูมขิ อง
บรรยากาศและอุณหภูมขิ องน�ำ้ ในบ่อจะแตกต่างกันเล็กน้อย ในฤดูหนาวเมือ่ บรรยากาศมีอณ ุ หภูมิ
อยู่ในช่วง 15 – 25oC อุณหภูมิของน�้ำในบ่อจะมีค่าสูงกว่าอุณหภูมิของบรรยากาศ แต่ในฤดูร้อน
อุณหภูมนิ ำ�้ จะเป็นตรงข้ามคือมีคา่ ต�ำ่ กว่าอุณหภูมขิ องบรรยากาศดังแสดงในตารางที่ 2-6 และพบว่า
อุณหภูมิของผิวน�้ำจะมีค่าสูงกว่าอุณหภูมิเฉลี่ยของน�้ำในบ่อประมาณ 1 – 5oC โดยในช่วงฤดูร้อน
จะมีค่าต่างกันสูงสุด ดังนั้นในช่วงฤดูหนาวที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยในหนึ่งวันต�่ำกว่า 15oC เป็นเวลานาน
อาจส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสีย ซึ่งแตกต่างจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบ
แอกติเวเต็ดสลัดจ์ ซึ่งอุณหภูมิของบรรยากาศที่ลดต�่ำลงไม่มีผลกระทบประสิทธิภาพการบ�ำบัด
น�้ำเสียของระบบเนื่องจากในถังเติมอากาศมีความเข้มข้นของจุลินทรีย์สูงมาก [14]
ตารางที่ 2-6 อุณหภูมิเฉลี่ยของน�้ำในบ่อที่แปรผันกับอุณหภูมิของบรรยากาศ [15]
อุณหภูมิของบรรยากาศ (oC) อุณหภูมิเฉลี่ยของน�้ำในบ่อ (oC)
15 20.8
20 23.5
25 26.2
30 28.9
35 31.6
ที่มา : [15]

2.6.3 บ่อบ่ม (Maturation Pond)


บ่อบ่มใช้ส�ำหรับปรับปรุงคุณภาพน�้ำที่ผ่านการบ�ำบัดมาแล้วจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ประเภทต่างๆ ให้มคี วามสะอาดยิง่ ขึน้ ทัง้ ในด้านของความเข้มข้นสารอินทรีย์ เชือ้ โรค และธาตุอาหาร
ก่อนระบายน�ำ้ ออกสูแ่ หล่งน�ำ้ ธรรมชาติ จึงใช้บอ่ บ่มส�ำหรับรองรับน�ำ้ ต่อเนือ่ งจากบ่อแฟคัลเททีฟหรือ
สระเติมอากาศ สารอินทรียส์ ว่ นใหญ่ถกู ก�ำจัดออกไปแล้วในระบบบ�ำบัดหลัก เช่น บ่อแฟคัลเททีฟ
วัตถุประสงค์หลักของบ่อบ่มคือการฆ่าเชื้อโรค ไม่ใช่เป็นระบบเพิ่มเติมส�ำหรับก�ำจัดสารอินทรีย์
พบ DO ทัว่ บ่อตลอดความลึกซึง่ ได้จากกระบวนการสังเคราะห์แสงและได้จากการถ่ายเทของออกซิเจน
จากอากาศ ปกติใช้ความลึกของน�้ำเท่ากับบ่อแฟคัลเททีฟ (1 – 2 เมตร)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
40 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

2.6.4 ข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบ
ตารางที่ 2-7 แสดงข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบของการใช้ระบบบ่อปรับเสถียร
เมื่อเทียบกับการใช้ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียประเภทอื่น
ตารางที่ 2-7 ข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบของการใช้ระบบบ่อปรับเสถียร
ข้อได้เปรียบ ข้อเสียเปรียบ
- ค่าใช้จ่ายในการลงทุนก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาต�่ำกว่า - ต้องการพื้นที่ก่อสร้างระบบ
และไม่ต้องใช้พลังงานนอกจากแสงแดด ขนาดใหญ่กว่าระบบบ�ำบัด
- การบ�ำรุงรักษาง่าย ไม่ต้องการบุคลากรที่มีความรู้สูง น�้ำเสียประเภทอื่น
- มีประสิทธิภาพในการก�ำจัดโคลิฟอร์มแบคทีเรียได้สูงถึง - น�้ำทิ้งจากบ่อบ่มอาจมีสาหร่าย
99.99% และก�ำจัดซีสต์โปรโตซัวและไข่พยาธิได้ 100% ปนอยู่จ�ำนวนมาก และอาจ
- ระบบมีขนาดใหญ่สามารถรองรับการเพิม่ ขึน้ อย่างกะทันหัน ท�ำให้ค่าของแข็งแขวนลอย
ของปริมาณน�้ำเสียและสารอินทรีย์ได้ เกินมาตรฐานน�้ำทิ้ง
- เมือ่ ปริมาณน�ำ้ เสียสูงเกินค่าทีอ่ อกแบบ สามารถปรับระบบ
ให้เป็นสระเติมอากาศได้ทนั ทีดว้ ยการเพิม่ เครือ่ งเติมอากาศ
- ง่ายต่อการน�ำทีด่ นิ กลับมาใช้ในอนาคต ด้วยการปรับระบบ
บ�ำบัดน�ำ้ เสียให้เป็นแบบสระเติมอากาศและระบบแอกติเวเต็ด
สลัดจ์

2.6.5 การพิจารณาออกแบบ
ตัวแปรหลักทีใ่ ช้ในการออกแบบระบบบ่อแฟคัลเททีฟ ได้แก่ อัตราภาระสารอินทรีย์
(BOD5) ต่อพื้นที่ผิวน�้ำ ความลึกน�้ำ ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ โครงสร้างและรูปทรงของบ่อ
1 อัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพื้นที่ผิวน�้ำ
อั ต ราภาระสารอิ น ทรี ย ์ ต ่ อพื้ น ที่ผิว น�้ำเป็นตัว แปรหลักที่ใช้ส�ำหรับ ออกแบบ
บ่อแฟคัลเททีฟ ซึง่ อยูบ่ นพืน้ ฐานของขนาดพืน้ ทีข่ องบ่อทีร่ บั แสงแดดส�ำหรับกระบวนการสังเคราะห์แสง
ของสาหร่าย และขนาดพืน้ ทีผ่ วิ น�ำ้ ของบ่อต้องใหญ่เพียงพอเพือ่ ใช้ผลิตปริมาณออกซิเจนให้มากพอ
ส�ำหรับความต้องการใช้ออกซิเจนของแบคทีเรียในการย่อยสลายสารอินทรีย์ (BOD5) ดังนัน้ อัตรา
ภาระสารอินทรีย์ต่อพื้นที่จึงเป็นตัวแปรออกแบบที่ตอบสนองกับความต้องการออกซิเจนส�ำหรับ
การย่อยสลายสารอินทรีย์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมของสาหร่ายและความสมดุลระหว่างการผลิต
ออกซิเจนและการใช้ออกซิเจน สมการค�ำนวณแสดงดังต่อไปนี้
Ls = (QS0)
A
เมื่อ Ls = อัตราภาระสารอินทรีย์ (BOD5) ต่อพื้นที่ผิวน�้ำ (กรัมบีโอดี/
ตารางเมตร- วัน)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 41

Q = อัตราการไหลของน�้ำเสีย (ลูกบาศก์เมตร/วัน)
S0 = ค่าบีโอดี (BOD5) ของน�้ำเสีย (มิลลิกรัม/ลิตร)
A = พื้นที่บ่อที่จุดครึ่งหนึ่งของความลึกน�้ำ (ตารางเมตร)
ค่าอัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพื้นที่ (Ls) จะแปรผันกับอุณหภูมิ ความเข้มของ
แสงแดด (ละติจดู ) จ�ำนวนวันทีม่ แี สงแดด โดยจะต้องพิจารณาอุณหภูมเิ ฉลีย่ ในหนึง่ วันทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ ของปี
เกณฑ์ออกแบบบ่อปรับเสถียรประเภทต่าง ๆ ที่อุณหภูมิเฉลี่ย 20oC แสดงในตารางที่ 2-8
สถานทีก่ อ่ สร้างระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียแบบบ่อปรับเสถียรทีม่ คี า่ Ls สูงกว่าจะใช้ขนาดของพืน้ ทีก่ อ่ สร้าง
บ่อแฟคัลเททีฟต�่ำกว่า

ตารางที่ 2-8 เกณฑ์การออกแบบบ่อปรับเสถียรประเภทต่าง ๆ (อุณหภูมิเฉลี่ย 20oC)


อัตราภาระ ระยะ ความลึก การก�ำจัด ความเข้ม ของแข็ง
บี โ อดี ต อ
่ พื น
้ ที ่ เวลา บีโอดี
ชนิดของบ่อ (ม.) ข้นสาหร่าย แขวนลอย
(ก./ตร.ม./ กักน�้ำ ละลายน�ำ้ (มก./ล.) (มก./ล.)
วัน) (วัน) (ร้อยละ)
บ่อแอนแอโรบิก 20 - 55 20 – 50 2 – 5 50 – 85 0–5 80 – 160
บ่อแฟคัลเททีฟ 5 – 25 5 – 30 1.5 – 2.5 80 – 95 5 – 20 40 – 60
บ่อบ่ม <2 5 – 20 1.0 – 1.5 60 – 80 5 – 10 10 – 30
สระเติมอากาศ - 3 – 10 2–6 85 – 95 – 80 – 250
ที่มา : [11], [16]

คณะผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเทคโนโลยีการบ�ำบัดน�ำ้ เสียจากโครงการจัดท�ำคูม่ อื การออกแบบระบบ


รวบรวมและบ�ำบัดน�ำ้ เสียชุมชน กรมควบคุมมลพิษ แนะน�ำเกณฑ์ออกแบบบ่อแฟคัลเททีฟทีเ่ หมาะสม
กับท้องถิ่นของประเทศไทยดังแสดงในตารางที่ 2-9

ตารางที่ 2-9 ค่าก�ำหนดออกแบบบ่อแฟคัลเททีฟส�ำหรับน�้ำเสียชุมชนของประเทศไทย


รายการ ค่าแนะน�ำ
อัตราภาระบีโอดี (กรัม บีโอดี/ตารางเมตร/วัน)
อุณหภูมิ 15 oC 10 – 15
อุณหภูมิ 20 oC 15 – 20
อุณหภูมิ 25 oC 20 – 25
ความลึกน�้ำ (เมตร) > 1.5 เมตร
ประสิทธิภาพการก�ำจัดบีโอดี (ร้อยละ) 65 – 75
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
42 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

2 ความลึกน�้ำ
จากรูปที่ 2-22 ชัน้ แอโรบิกของบ่อแฟคัลเททีฟจะอยูด่ า้ นบนและความหนาของชัน้ นี้
จะขึ้นกับความลึกของแสงแดดที่ส่องลงไปในบ่อท�ำให้เกิดปฏิกิริยาสังเคราะห์แสง ความเข้มของ
แสงจะลดลงตามความลึกของน�้ำโดยเฉพาะน�้ำที่มีสีเข้มและมีความขุ่นสูง ดังนั้นจะไม่พบสาหร่าย
เจริญเติบโตที่ระดับความลึกค่าหนึ่งของบ่อน�้ำ
ความลึกน�้ำของบ่อ (D) ที่ต้องการจะแปรผันกับปริมาตรน�้ำของบ่อและพื้นที่
ผิวของน�ำ้ (D = V/A) ความลึกน�ำ้ ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับบ่อแฟคัลเททีฟควรอยูใ่ นช่วง 1.5 – 2.5 เมตร
แม้วา่ บ่อทีม่ คี วามลึกประมาณ 1.0 เมตร จะมีสภาพเป็นบ่อแอโรบิกทัว่ ทัง้ บ่อ แต่การก่อสร้างจะต้องใช้
พื้นที่ผิวน�้ำขนาดใหญ่ และจะต้องลอกตะกอนสะสมที่ก้นบ่อถี่ขึ้น เพราะเมื่อความลึกน�้ำของบ่อ
ลดต�่ำลงจนมีค่าน้อยกว่า 0.6 เมตร พืชโผล่พ้นน�้ำที่มีรากอยู่ที่ดินก้นบ่อ เช่น ธูปฤาษี เป็นต้น
จะเจริญเติบโตได้ดี และความลึกน�ำ้ ของบ่อไม่ควรมีคา่ มากเกินไปเพือ่ หลีกเลีย่ งปัญหากลิน่ ทีอ่ าจจะ
เกิดขึ้นจากการย่อยสลายแบบไร้อากาศของตะกอนสะสมที่ก้นบ่อ
3 ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ
ระยะเวลาเก็บกักน�ำ้ ของบ่อแฟคัลเททัฟจะขึน้ กับปริมาตรน�ำ้ ในบ่อและอัตราไหล
ของน�้ำเสีย ดังสมการต่อไปนี้
t = V
Q
เมื่อ t = ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ (วัน)
V = ปริมาตรน�้ำของบ่อ (ลูกบาศก์เมตร)
Q = อัตราไหลน�้ำเสีย (ลูกบาศก์เมตร/วัน)
ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ (t) ที่ต้องการส�ำหรับการย่อยสลายสารอินทรีย์จะแปรผัน
ตามสภาวะแวดล้อม โดยเฉพาะอุณหภูมขิ องน�ำ้ ในบ่อ ค่า t จะมีคา่ ลดลงเมือ่ อุณหภูมขิ องน�ำ้ สูงขึน้
ท�ำให้ปริมาตรน�้ำของบ่อบ�ำบัดลดลง ค่า t ของบ่อแฟคัลเททีฟในประเทศไทยควรมีค่าอยู่ในช่วง
5 – 30 วัน ขึ้นกับอัตราภาระสารอินทรีย์
4 รูปทรงของบ่อ
ปกติบ่อแฟคัลเททีฟมีรูปทรงแบบสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีอัตราส่วนของความยาว
ต่อความกว้าง (L/B) อยู่ในช่วง 2:1 – 4:1 ค่าอัตราส่วนนี้มีผลต่อการผสมของน�้ำภายในบ่อ
ซึง่ กระแสลมจะช่วยให้เกิดการผสมภายในบ่อทีด่ ขี นึ้ การออกแบบบ่ออาจพิจารณาสภาพของพืน้ ที่
และปรับค่าอัตราส่วน L/B ให้มากขึ้นซึ่งจะท�ำให้เกิดสภาพการไหลแบบตามกัน นอกจากนี้
บ่อแฟคัลเททีฟอาจถูกปรับให้โค้งตามสภาพของพื้นที่ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นแบบสี่เหลี่ยม และเพื่อให้
เกิดการผสมจากลมที่ดีอาจพิจารณาออกแบบให้ด้านยาวของบ่ออยู่ในแนวเดียวกับทิศทางลม
การค�ำนวณหาขนาดของพืน้ ทีผ่ วิ น�ำ้ ของบ่อปรับเสถียรจะใช้ความกว้างและความ
ยาวที่จุดกึ่งกลางความลึกของบ่อเนื่องจากผนังบ่อมีความลาดเอียง ในแบบก่อสร้างจะต้องระบุ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 43

ความยาวและความกว้างของขอบบ่อและระยะ free board ซึ่งความสูงของ free board ใช้ส�ำหรับ


ป้องกันน�ำ้ ไหลล้นขอบบ่อจากคลืน่ ทีเ่ กิดจากกระแสลม ส�ำหรับบ่อทีม่ ขี นาดพืน้ ทีน่ อ้ ยกว่า 10,000
ตารางเมตร ควรมีระยะ free board เท่ากับ 0.5 เมตร [21]

เมื่อ L = ความกว้างหรือความยาวที่จุดกึ่งกลางบ่อ
D = ความลึกน�้ำของบ่อ
n = ความชันของคันดิน
ปริมาตรของบ่อ = พื้นที่จุดกึ่งกลางบ่อ x ความลึกน�้ำ
= L1 x L2 x D
ความยาวหรือความกว้างขอบบ่อ = L + nD + 2n (free board)

ตัวอย่างที่ 2-1 จงค�ำนวณหาขนาดพืน้ ทีก่ อ่ สร้างของบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่ม ส�ำหรับบ�ำบัดน�ำ้ เสีย


โรงพยาบาลขนาด 60 เตียง น�ำ้ เสียมีคา่ BOD5 เท่ากับ 150 มิลลิกรัม/ลิตร และต้องการประสิทธิภาพ
การบ�ำบัดร้อยละ 90
วิธีท�ำ
(1) บ่อแฟคัลเททีฟ
(1.1) เลือกค่า Ls = 15 กรัมบีโอดี/ตารางเมตร/วัน ส�ำหรับประสิทธิภาพการบ�ำบัดร้อยละ 90
จากตารางที่ 2-8
Ls = QS0
A
A = QS0 = (60)(150) = 600 ตารางเมตร
Ls 15
(1.2) ค�ำนวณหาขนาดพื้นที่ผิวและปริมาตรของบ่อ
ก�ำหนดความลาดชันของผนังบ่อ (n) = 1 : 1.5
พื้นที่กึ่งกลางบ่อ (A) = 600 ตารางเมตร
ก�ำหนดความลึกน�้ำ (D) = 1.5 เมตร
ก�ำหนด กว้าง (W) : ยาว (L) = 1 : 2
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
44 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

A = W x 2W = 600 ตารางเมตร
W = 600 = 17.3 18 เมตร
2
L = 2 x 18 = 36 เมตร
ปริมาตรน�้ำของบ่อ = 18 x 36 x 1.5 = 972 ลูกบาศก์เมตร
ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ (t) = V = 972 = 16.2 วัน
Q 60
(1.3) ค�ำนวณหาขนาดขอบบ่อ
ก�ำหนดระยะจากระดับน�้ำถึงขอบบ่อ (Free board) = 0.5 เมตร

ความยาวขอบบ่อ = L + nD + 2n(free board)


= 36 + (1.5 x 1.5) + 2(1.5)(0.5)
= 39.75 40 เมตร
ความกว้างขอบบ่อ = 18 + (1.5 x 1.5) + 2(1.5)(0.5)
= 21.25 22 เมตร

(2) บ่อบ่ม
(2.1) ค�ำนวณหาปริมาตรบ่อ (V)
ก�ำหนดระยะเวลาเก็บกักน�ำ้ (t) = 5 วัน
V = Qt = 60 x 5 = 300 ลูกบาศก์เมตร
(2.2) ค�ำนวณหาพื้นที่ผิว ขนาดบ่อ และปริมาตร
ก�ำหนดความลาดชันของผนังบ่อ n = 1 : 1.5 และความลึกน�้ำ D = 1.5 เมตร
พื้นที่กึ่งกลางบ่อ (A) = V = 300 = 200 ตารางเมตร
D 1.5
ก�ำหนด กว้าง (W) : ยาว (L) = 1 : 2
A = W x 2W = 200 ตารางเมตร
W = 200 = 10 เมตร
2
L = 2 x 10 = 20 เมตร
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 45

ก�ำหนดระยะจากระดับน�้ำถึงขอบบ่อ (free board) = 0.5 เมตร


ความยาวขอบบ่อ = L + nD + 2n(free board)
= 20 + (1.5 x 1.5) + 2(1.5)(0.5) = 23 เมตร
ความกว้างขอบบ่อ = 10 + (1.5 x 1.5) + 2(1.5)(0.5) = 13 เมตร

5 การพิจารณาด้านธรณีวิทยา
วัตถุประสงค์ของการพิจารณาด้านธรณีวิทยาเพื่อให้มั่นใจว่าออกแบบคันดินได้
อย่างถูกต้อง และต้องตรวจสอบการซึมน�้ำของดินเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน�้ำใต้ดินด้วยการ
ปูแผ่นพลาสติก (lining) และควรตรวจสอบคุณสมบัติของดินจนถึงระดับต�่ำกว่าก้นบ่อ 1 เมตร
และระดับน�้ำใต้ดินสูงสุด เพื่อใช้เป็นข้อมูลส�ำหรับออกแบบคันดินที่มีเสถียรภาพ
การก่อสร้างคันดินของบ่อปรับเสถียรควรใช้ดินที่ขุดจากพื้นที่และปรับให้สมดุล
ระหว่างดินทีใ่ ช้สร้างคันดินและดินทีข่ ดุ ขึน้ มา ในการก่อสร้างคันดินจะต้องบดอัดดินทีล่ ะชัน้ ๆ ละ
15 - 25 เซนติเมตรที่ความหนาแน่น 90% proctor และดินที่บดอัดจะต้องมีค่าการซึมน�้ำต�่ำกว่า
10 - 7 เซนติเมตร/วินาที และความชันของคันดินอาจมีค่า 1 : 1.5 ถึง 1 : 3 ขึ้นกับคุณสมบัติ
ของดินทีใ่ ช้กอ่ สร้าง ควรคลุมผิวคันดินด้านในด้วยซีเมนต์หรือปูแผ่นพลาสติก และเพือ่ เพิม่ ความมัน่ คง
ของคันดินควรมีมาตรการป้องกันด้านนอกของคันดินจากการกัดเซาะของน�้ำฝนและน�้ำท่วม
และมีการป้องกันการกัดเซาะด้านในของคันดินจากคลื่น วิธีการป้องกันอาจใช้แผ่นคอนกรีต
หรือใช้หินทิ้ง (riprap) ปูทับผิวด้านในของคันดินตามแนวความชัน

6 ทางเข้าและทางออก และการกระจายน�้ำเสีย
ควรติดตั้งท่อเข้าและท่อออกของน�้ำจากบ่อปรับเสถียรให้เหมาะสมเพื่อป้องกัน
การกัดเซาะคันดินและการไหลลัดวงจร และจะต้องท�ำให้น�้ำเสียกระจายตัวและผสมกันได้
โดยติดตั้งท่อเข้าและท่อออกอยู่ที่มุมด้านยาวของบ่อเยื้องกันดังรูปที่ 2-25

รูปที่ 2-25 การติดตั้งท่อน�้ำเสียเข้าและท่อน�้ำทิ้งออกจากบ่อแฟคัลเททีฟแบบเยื้องกัน


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
46 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

การก�ำจัดเชื้อโรค
7
การก�ำจัดเชือ้ โรคเป็นวัตถุประสงค์ทสี่ ำ� คัญของระบบบ่อปรับเสถียร จุลนิ ทรียท์ กี่ อ่
ให้เกิดโรคในน�้ำเสียที่ถูกก�ำจัด ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส โปรโตซัวและไข่พยาธิ เชื้อโรคจะถูกก�ำจัด
ในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มได้ระดับหนึ่ง และเชื้อโรคส่วนใหญ่จะถูกก�ำจัดในบ่อบ่มซึ่งเป็นหน้าที่
หลักของบ่อบ่ม เมื่อใช้บ่อแฟคัลเททีฟร่วมกับบ่อบ่มจะสามารถก�ำจัดได้มากกว่า 99.99% [13]
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมส�ำหรับการอยู่รอดของเชื้อโรคคือภายในล�ำไส้ของ
มนุษย์ และเมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียหรือในแหล่งน�้ำธรรมชาติซึ่งมีสภาพแวดล้อมไม่
เหมาะสมเชื้อโรคจะเริ่มตาย ตัวแปรที่มีผลต่อการก�ำจัดแบคทีเรียและไวรัส ได้แก่ (1) อุณหภูมิ
อัตราการตายของเชือ้ โรคและโคลิฟอร์มแบคทีเรียจะสูงขึน้ เมือ่ อุณหภูมขิ องน�ำ้ สูงขึน้ (2) แสงแดด
ความลึกน�้ำของบ่อบ่มไม่ควรมากกว่า 1.5 เมตร เพื่อให้แสงแดดและแสงอัลตราไวโอเลตสามารถ
ส่องลงในบ่อเกือบตลอดความลึกได้ และความลึกน�ำ้ ควรมีคา่ มากว่า 1 เมตร เพือ่ ป้องกันการเจริญเติบโต
ของพืชโผล่พ้นน�้ำ เช่น ธูปฤาษี เป็นต้น (3) pH อัตราการตายของแบคทีเรียและไวรัสจะสูงขึ้น
เมื่อค่า pH ของน�้ำสูงขึ้น ซึ่งปกติค่า pH ของน�้ำในบ่อบ่มจะมีค่ามากกว่า 8.5 เนื่องจากปฏิกิริยา
สังเคราะห์แสงของสาหร่าย (4) ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ บ่อบ่มที่มีระยะเวลาเก็บกักน�้ำยาวนาน
จะท�ำให้อัตราการตายของเชื้อโรคสูงขึ้น (5) การขาดอาหารและผู้ล่า เนื่องจากสารอินทรีย์ในน�้ำ
ส่วนใหญ่ถกู ก�ำจัดออกไปทีบ่ อ่ แฟคัลเททีฟ ท�ำให้นำ�้ ภายในบ่อบ่มมีความเข้มข้นของสารอินทรียต์ ำ�่
แบคทีเรียส่วนใหญ่จะอยู่ในสภาวะขาดอาหารและมีผู้ล่าตามธรรมชาติ เช่น โปรโตซัว ช่วยลด
ปริมาณแบคทีเรียในบ่อบ่ม และเมื่ออัตราภาระของสารอินทรีย์เข้าบ่อบ่มสูงขึ้นจะท�ำให้อัตรา
การก�ำจัดโคลิฟอร์มแบคทีเรียลดลง (6) DO ค่า DO ของน�้ำในบ่อบ่มจะมีค่าสูงมากโดยเฉพาะ
ในเวลากลางวัน ซึง่ เป็นสภาวะทีเ่ หมาะส�ำหรับแอโรบิกแบคทีเรีย ในการก�ำจัดโคลิฟอร์มแบคทีเรีย
ได้สูงขึ้น บ่อบ่มถูกออกแบบมาเพื่อใช้ประโยชน์ของกลไกการก�ำจัดเชื้อโรคเหล่านี้ โดยเฉพาะการ
ก�ำจัดแบคทีเรียและไวรัสซึ่งใช้โคลิฟอร์มแบคทีเรียเป็นตัวชี้วัด ปกติความสามารถในการก�ำจัด
โคลิฟอร์มแบคทีเรียของบ่อบ่มจะสูงกว่า 99.99%
จึงท�ำให้ระบบบ่อปรับเสถียรมีความสามารถในการฆ่าเชือ้ โรคสูงกว่าระบบบ�ำบัด
น�้ำเสียประเภทอื่น ส่วนการก�ำจัดสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นที่ไม่สามารถใช้โคลิฟอร์มแบคทีเรียเป็นตัวชี้วัด
ได้แก่ ซีสต์ของโปรโตซัวและไข่พยาธินั้นจะถูกก�ำจัดออกได้ 100% ในบ่อบ่มด้วยกลไกของการ
ตกตะกอน [13] จึงกล่าวได้ว่าระบบบ่อปรับเสถียรมีความสามารถในการฆ่าเชื้อโรคสูงกว่าระบบ
บ�ำบัดน�ำ้ เสียประเภทอืน่ และเพือ่ ความมัน่ ใจจะต้องฆ่าเชือ้ โรคด้วยคลอรีนก่อนระบายน�ำ้ ทิง้ ออกสู่
สิ่งแวดล้อม
การก�ำจัดไข่พยาธิ
8
ไข่พยาธิจะถูกก�ำจัดด้วยกระบวนการตกตะกอนและส่วนใหญ่จะถูกก�ำจัดใน
บ่อแฟคัลเททีฟ ถ้ามีไข่พยาธิหลงเหลือจะถูกก�ำจัดอย่างต่อเนือ่ งในบ่อบ่ม และในน�ำ้ ทิง้ ของโรงพยาบาล
จะต้องมีไข่พยาธิไม่เกิน 1 ใบต่อลิตร ส�ำหรับระบบบ่อปรับเสถียรที่มีระยะเวลาเก็บกักน�้ำยาวนาน
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 47

เพียงพอท�ำให้ไม่พบไข่พยาธิในน�ำ้ ทิง้ และในบ่อปรับเสถียรทีบ่ ำ� บัดน�ำ้ เสียต่อกันแบบอนุกรม พบว่า


น�ำ้ ทิง้ จะปราศจากซีสต์และไข่พยาธิเมือ่ ระยะเวลาเก็บกักน�ำ้ ของทุกบ่อรวมกันมีคา่ มากกว่า 11 วัน [13]
ตารางที่ 2-10 แสดงประสิทธิภาพการก�ำจัดเชือ้ โรคและแบคทีเรียโคลิฟอร์มในระบบบ่อปรับเสถียร
ที่ใช้บ่อแฟคัลเททีฟอย่างเดียวและบ่อแฟคัลเททีฟร่วมกับบ่อบ่ม

ตารางที่ 2-10 ตัวอย่างประสิทธิภาพการก�ำจัดเชือ้ โรคและแบคทีเรียโคลิฟอร์มในระบบบ่อปรับ


เสถียรที่ใช้บ่อแฟคัลเททีฟอย่างเดียวและบ่อแฟคัลเททีฟร่วมกับบ่อบ่ม
พารามิเตอร์ บ่อแฟคัลเททีฟอย่างเดียว บ่อแฟคัลเททีฟร่วมกับบ่อบ่ม
แบคทีเรียโคลิฟอร์ม 90 – 99% 99.9 – 99.9999%
แบคทีเรีย (เชื้อโรค) 90 – 99% 99.9 – 99.9999%
ไวรัส < 90% 99 – 99.99%
ซีสต์โปรโตซัว 100% 100%
ไข่พยาธิ 100% 100%
ที่มา : [15]

2.7 สระเติมอากาศ (Aerated Lagoon)

สระเติมอากาศเป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่ใช้บ่อน�้ำขนาดใหญ่เช่นเดียวกับบ่อแฟคัลเททีฟ
แต่ปริมาณออกซิเจนทีใ่ ช้ในการย่อยสลายสารอินทรียม์ าจากเครือ่ งเติมอากาศ และเครือ่ งเติมอากาศ
ยังช่วยให้เกิดการผสมของสารอินทรียแ์ ละแบคทีเรียได้ดี ท�ำให้ได้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดทีร่ วดเร็ว
ขึ้น จึงท�ำให้ปริมาตรของบ่อสระเติมอากาศมีขนาดเล็กกว่าบ่อแฟคัลเททีฟ
การใช้เครื่องเติมอากาศท�ำให้ระบบสระเติมอากาศสามารถรองรับอัตราภาระสารอินทรีย์
ทีส่ งู กว่าระบบบ่อปรับเสถียร และระยะเวลาเก็บกักน�ำ้ ทีต่ อ้ งการส�ำหรับการย่อยสลายสารอินทรีย์
ลดลง ท�ำให้ต้องการพื้นที่ก่อสร้างที่เล็กกว่าระบบบ่อปรับเสถียร น�้ำในบ่อจะปั่นป่วนและมีความ
ขุ่นตลอดเวลา แสงแดดไม่สามารถส่องผ่านในน�้ำได้ท�ำให้สาหร่ายเจริญเติบโตได้น้อยหรือไม่ได้
เลย แต่การใช้เครื่องเติมอากาศจะท�ำให้ระบบมีความซับซ้อนมากขึ้นและต้องใช้พลังงานส�ำหรับ
เครื่องเติมอากาศ
ระบบสระเติมอากาศต้องการพืน้ ทีใ่ นการก่อสร้างมากกว่าระบบเอเอส นิยมใช้สำ� หรับพืน้ ที่
ทีม่ รี าคาทีด่ นิ ไม่สงู มาก ระบบสระเติมอากาศเป็นระบบทีส่ ามารถดัดแปลงจากระบบบ่อปรับเสถียร
ได้ง่ายโดยติดตั้งเครื่องเติมอากาศเพิ่มเติมเมื่ออัตราภาระบีโอดีสูงเกินกว่าที่ระบบบ่อปรับเสถียร
จะสามารถรองรับได้ นอกจากนี้ยังสามารถดัดแปลงระบบสระเติมอากาศให้เป็นระบบเอเอสได้
โดยติดตั้งถังตกตะกอนเพิ่มเติมพร้อมกับระบบสูบสลัดจ์กลับ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
48 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

2.7.1 ประเภทของสระเติมอากาศ
สระเติมอากาศแบ่งออกเป็น 2 ชนิดตามระดับของการผสม ได้แก่
1.1) สระเติมอากาศแบบผสมสมบูรณ์ (Complete-mixed aerobic lagoon)
ออกแบบให้ใช้เครื่องเติมอากาศที่ระดับพลังงานต่อปริมาตรน�้ำสูงเพียงพอส�ำหรับการผสมอย่าง
สมบูรณ์ ของแข็งแขวนลอยทัง้ หมดในบ่อเติมอากาศจะอยูใ่ นสภาพแขวนลอยจึงไม่มกี ารสะสมของ
ตะกอนทีก่ น้ บ่อ ท�ำให้เกิดการผสมของสารอินทรียแ์ ละแบคทีเรียทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ดังนัน้ ระยะเวลา
กักน�้ำที่ต้องการส�ำหรับสระเติมอากาศแบบผสมสมบูรณ์ในการก�ำจัดบีโอดีจะมีค่าต�่ำกว่าสระเติม
อากาศแบบผสมบางส่วน แต่พลังงานของเครื่องเติมอากาศที่ต้องใช้ส�ำหรับการผสมสมบูรณ์อาจ
มีค่ามากกว่าพลังงานที่ใช้ส�ำหรับแบบผสมบางส่วน นอกจากนี้ของแข็งแขวนลอยที่ปนไปกับน�้ำทิ้ง
จากสระเติมอากาศแบบผสมสมบูรณ์จะมีค่าสูงกว่าน�้ำทิ้งจากสระเติมอากาศแบบผสมบางส่วน
1.2) สระเติมอากาศแบบผสมบางส่วน (Partial-mix aerated lagoon) ใช้เมื่อ
ต้องการระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบใช้อากาศที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าระบบบ่อปรับเสถียรหรือใช้เมื่อ
อัตราภาระสารอินทรียส์ งู เกินความสามารถในการบ�ำบัดของบ่อแฟคัลเททีฟ ด้วยการติดตัง้ เครื่อง
เติมอากาศทีม่ รี ะดับพลังงานเพียงพอส�ำหรับให้ปริมาณออกซิเจนทีเ่ พียงพอส�ำหรับการก�ำจัดบีโอดี
เท่านั้น และท�ำให้ออกซิเจนกระจายไปทั่วทั้งบ่อแต่ระดับพลังงานต่อปริมาตรน�้ำไม่มากพอที่จะให้
เกิดการผสมอย่างสมบูรณ์ ท�ำให้ของแข็งแขวนลอยตกตะกอนและสะสมที่ก้นบ่อ สารอินทรีย์ใน
ตะกอนจะถูกย่อยสลายแบบไร้อากาศ ผลผลิตจากการย่อยสลายแบบไร้อากาศ เช่น กรดอินทรีย์
สารประกอบไนโตรเจนและฟอสฟอรัสจะถูกแบคทีเรียทีใ่ ช้อากาศน�ำไปใช้ในการเจริญเติบโตต่อไป
ตะกอนทีย่ อ่ ยสลายไม่ได้จะค้างสะสมอยูท่ กี่ น้ บ่อ ดังนัน้ อาจต้องลอกตะกอนออกจากบ่อเติมอากาศ
2-3 ปีต่อครั้ง โดยทั่วไปนิยมใช้สระเติมอากาศแบบผสมบางส่วนมากกว่าสระเติมอากาศแบบ
ผสมสมบูรณ์ เนื่องจากสามารถบ�ำบัดน�้ำเสียจนได้น�้ำทิ้งที่มีคุณภาพดีเช่นเดียวกันแต่ใช้พลังงาน
น้อยกว่า และเมือ่ พลังงานของเครือ่ งเติมอากาศทีใ่ ช้นอ้ ยกว่าจึงท�ำให้เกิดการตกตะกอนของของแข็ง
แขวนลอยภายในบ่อพร้อม ๆ กับการก�ำจัดบีโอดี ข้อเสียเปรียบของระบบนี้คือต้องใช้เวลากักน�้ำ
ที่นานกว่าระบบสระเติมอากาศแบบผสมสมบูรณ์ จึงต้องใช้พื้นที่ก่อสร้างที่มีขนาดใหญ่กว่า
ในการใช้ระบบสระเติมอากาศทัง้ สองแบบจะต้องออกแบบให้มรี ะบบตกตะกอนเสมอ
หรืออาจใช้ระบบบ่อปรับเสถียร เช่น บ่อบ่ม เพือ่ ตกตะกอนของแข็งแขวนลอยของจุลนิ ทรียท์ เี่ กิดขึน้
ลักษณะที่แตกต่างกันของระบบสระเติมอากาศทั้ง 2 แบบเปรียบเทียบกับระบบเอเอสแสดง
ในตารางที่ 2-11 และเนื่องจากระยะเวลาเก็บกักน�้ำของสระเติมอากาศทั้ง 2 แบบไม่นานมากพอ
จึงไม่เกิดปฏิกิริยาไนตริฟิเคชัน
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 49

ตารางที่ 2-11 ลักษณะของสระเติมอากาศเปรียบเทียบกับระบบเอเอส


ระบบเอเอส
สระเติมอากาศแบบ สระเติมอากาศ
รายการ หน่วย แบบเติมอากาศ
ผสมบางส่วน แบบผสมสมบูรณ์ ยืดเวลา
ของแข็งแขวนลอย มก./ล. 50 – 200 100 – 400 1,500 – 3,000
ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ วัน 4 – 10 3–6 0.25 – 2
K (รวม) ที่ 20 OC วัน-1 0.5 – 0.8 0.5 – 1.5
ความลึก ม. 2–5 2–5 2–5
ลักษณะการผสม - ผสมบางส่วน ผสมเกือบสมบูรณ์ ผสมสมบูรณ์
พลังงานต�่ำสุด กิโลวัตต์/103 1–2 5.0 – 8.0 16 – 20
ลบ.ม.
การสะสมสลัดจ์ - สลัดจ์สะสมอยู่ สลัดจ์สะสมนอกบ่อ สลัดจ์ถูกสูบย้อน
ภายในบ่อเติมอากาศ ในบ่อตกตะกอน กลับและระบาย
ออกไปก�ำจัด
ไนตริฟิเคชัน - ไม่เกิด ไม่เกิด เกิดได้ดี
ที่มา : [18]

2.7.2 ข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบ
ข้อได้เปรียบของระบบสระเติมอากาศต่อระบบเอเอสคือ (1) การด�ำเนินงานและ
บ�ำรุงรักษาง่าย (2) ไม่ต้องการผู้ควบคุมระบบที่มีความรู้และความช�ำนาญ (3) บ่อมีขนาดใหญ่
เป็นเสมือนถังปรับสภาพจึงไม่ตอ้ งมีระบบบ�ำบัดขัน้ ต้น (4) ไม่มรี ะบบก�ำจัดสลัดจ์และไม่ตอ้ งทิง้ สลัดจ์
ออกจากระบบเป็นประจ�ำ (5) ความสามารถในการกระจายความร้อนออกได้ดี ส�ำหรับข้อเสียเปรียบ
ได้แก่ (1) ใช้พื้นที่ขนาดใหญ่ บ่อเติมอากาศมีขนาดใหญ่ต้องเก็บกักน�้ำเป็นเวลานาน (2) น�้ำทิ้ง
ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วมีของแข็งแขวนลอยสูงจึงต้องมีระบบตกตะกอน (3) ประสิทธิภาพการบ�ำบัด
เปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ
2.7.3 การพิจารณาออกแบบ
สมการออกแบบ
1
วิธีออกแบบระบบสระเติมอากาศคือการสมมติให้ประสิทธิภาพการก�ำจัดบีโอดี
อยู่ในรูปของฟังก์ชันของปฏิกิริยาอันดับที่ 1 ประสิทธิภาพการก�ำจัดบีโอดีวัดจากค่า BOD5 ของ
น�้ำเสียเข้าและออกจากสระเติมอากาศ สมการที่ใช้ออกแบบคือ
Se = 1
S0 1+Kt
เมื่อ Se = ค่า BOD5 รวมของน�้ำทิ้งที่ออกจากสระเติมอากาศ (มิลลิกรัม/ลิตร)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
50 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

S0 = ค่า BOD5 รวมของน�้ำเสียเข้าสระเติมอากาศ (มิลลิกรัม/ลิตร)


K = ค่าคงที่ของการก�ำจัดบีโอดีรวมที่ 20 OC (วัน-1)
t = ระยะเวลากักน�้ำ (วัน)
ค่า K ส�ำหรับการก�ำจัด BOD5 รวมของระบบสระเติมอากาศแบบผสมสมบูรณ์
จะสูงกว่าค่า K ของระบบสระเติมอากาศแบบผสมบางส่วน ตัวแปรส�ำหรับการออกแบบอืน่ ๆ เช่น
ระยะเวลาเก็บกักน�้ำและความลึกน�้ำแสดงในตารางที่ 2-11 ค่า K จะแปรผันตามอุณหภูมิของ
ุ หภูมเิ ฉลีย่ ต�ำ่ สุดในฤดูหนาว ถ้าอุณหภูมแิ ตกต่างจาก 20 OC จะต้อง
น�ำ้ ในบ่อ และจะออกแบบทีอ่ ณ
ปรับค่า K ดังสมการต่อไปนี้

เมื่อ K20 = ค่าคงที่ของการก�ำจัดบีโอดีรวมที่ 20 OC (วัน-1)


KT = ค่าคงที่ของการก�ำจัดบีโอดีรวมที่ T OC (วัน-1)
= สัมประสิทธิ์ของอุณหภูมิ (= 1.06)
น�้ำเสียจะต้องผ่านตะแกรงเพื่อก�ำจัดขยะและของแข็งชิ้นใหญ่ที่อาจไปท�ำให้
เครื่องเติมอากาศเสียหาย นอกจากนี้น�้ำทิ้งที่ออกจากสระเติมอากาศยังคงมีความเข้มข้นของแข็ง
แขวนลอยเกินค่ามาตรฐาน จึงต้องออกแบบระบบตกตะกอนต่อเนื่อง อุปกรณ์ที่ต้องพิจารณา
ในการออกแบบได้แก่ การปูแผ่นพลาสติกหรือดาดคอนกรีตเพือ่ ป้องกันการปนเปือ้ นของน�ำ้ ใต้ดนิ
โครงสร้างท่อเข้าและออก เครื่องเติมอากาศ ความแข็งแรงของคันดิน
พลังงานของเครื่องเติมอากาศที่ใช้ในระบบสระเติมอากาศแบบผสมบางส่วน
ท�ำให้เกิดความปั่นป่วนเพียงพอส�ำหรับกระจายออกซิเจนละลายน�้ำให้ทั่วบ่อเท่านั้น ส่วนของแข็ง
แขวนลอยภายในบ่อจะไม่อยู่ในสภาพแขวนลอยตลอดเวลา แต่จะตกตะกอนลงสู่ก้นบ่อและเกิด
การย่อยสลายแบบไร้อากาศ พลังงานของเครื่องเติมอากาศต่อปริมาตรมีค่าประมาณ 1 – 2 วัตต์/
ลูกบาศก์เมตร
สมการส�ำหรับการค�ำนวณหาปริมาณออกซิเจนที่ต้องการส�ำหรับระบบสระ
เติมอากาศผสมบางส่วนเป็นดังนี้
= 1.5Q(S0 – Se) x 10-3
เมื่อ = ปริมาณออกซิเจนที่ต้องการต่อวัน (กิโลกรัมO2/วัน)
S0 = ค่า BOD5 ของน�้ำทิ้ง (มิลลิกรัม/ลิตร)
Se = ค่า BOD5 ของน�้ำเสีย (มิลลิกรัม/ลิตร)
ส�ำหรับสระเติมอากาศแบบผสมสมบูรณ์จะมีปริมาตรของบ่อเล็กกว่า โดยมีระยะ
เวลาเก็บกักน�้ำ 3 วันส�ำหรับน�้ำเสียชุมชน แต่ต้องการพลังงานของเครื่องเติมอากาศต่อปริมาตร
สูงกว่าส�ำหรับการผสมสมบูรณ์และมีค่าเท่ากับ 5 – 8 วัตต์/ลูกบาศก์เมตร ซึ่งปกติจะมีค่าสูงกว่า
พลังงานที่ต้องการส�ำหรับปริมาณออกซิเจนที่ต้องการ และในสระเติมอากาศแบบผสมสมบูรณ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 51

ของแข็งจะแขวนลอยอยู่ตลอดเวลา ไม่ตกตะกอนลงก้นบ่อ จึงไม่ต้องลอกตะกอนออกจากบ่อเติม


อากาศ
2 เครื่องเติมอากาศ
เครือ่ งเติมอากาศทีน่ ยิ มใช้สำ� หรับระบบสระเติมอากาศคือเครือ่ งเติมอากาศผิวน�ำ้
หรืออาจใช้เครือ่ งเติมอากาศแบบหัวฟู่ เครือ่ งเติมอากาศทัง้ 2 ระบบต้องการการบ�ำรุงรักษาตามรอบ
ของการใช้งาน การติดตัง้ เครือ่ งเติมอากาศลอยบนผิวน�ำ้ ของบ่อท�ำโดยไม่ตอ้ งก่อสร้างทางเดินเชือ่ ม
หรื อ ฐานติ ด ตั้ ง เหมื อ นระบบเอเอส และควรพิ จ ารณาหั ว ข้ อ ต่ อ ไปนี้ ป ระกอบในการติ ด ตั้ ง
เครื่องเติมอากาศ รายละเอียดดังนี้
(1) ติดตั้งเครื่องเติมอากาศในลักษณะที่ท�ำให้เกิดการผสมที่ดี เพื่อกระจาย
ออกซิเจนไปได้ทั่วทั้งบ่อ
(2) ส�ำหรับสระเติมอากาศรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ควรพิจารณาติดตัง้ เครือ่ งเติมอากาศ
ใกล้กับบริเวณท่อน�้ำเสียเข้า ซึ่งเป็นบริเวณที่ต้องการออกซิเจนในปริมาณสูง
(3) ปรับเครือ่ งเติมอากาศในลักษณะให้นำ�้ ภายในบ่อหมุนวนในลักษณะไหลตาม
หรือทวนเข็มนาฬิกา เพื่อให้น�้ำในบ่อหมุนเวียนและไม่มีพื้นที่ที่ไม่มีการผสม (Dead zone)
(4) ถ้าต้องการให้ได้นำ�้ ล้นออกจากบ่อทีม่ คี วามเข้มข้นของของแข็งแขวนลอยต�ำ่
ไม่ควรติดตั้งเครื่องเติมอากาศบริเวณช่วงท้ายของบ่อเพื่อให้เกิดการตกตะกอน
(5) ส�ำหรับบ่อขนาดเล็กควรติดตั้งเครื่องเติมอากาศอย่างน้อย 2 เครื่อง
(6) ตรวจสอบคูม่ อื และข้อแนะน�ำการใช้เครือ่ งเติมอากาศในด้าน ความลึกของบ่อ
และประสิทธิภาพการถ่ายเทออกซิเจน
3 การก�ำจัดของแข็งแขวนลอย
น�้ำทิ้งที่ผ่านการบ�ำบัดจากระบบสระเติมอากาศแล้วอาจมีความเข้มข้นของแข็ง
แขวนลอยสูงเกินค่ามาตรฐานน�้ำทิ้ง ดังนั้นจะต้องก�ำจัดของแข็งแขวนลอยในน�้ำทิ้งออกโดยปกติ
นิยมใช้บอ่ ตกตะกอนทีเ่ ป็นบ่อดินขนาดใหญ่หรือบ่อบ่ม และมีขอ้ พิจารณาดังต่อไปนี้ (1) ระยะเวลา
เก็บกักน�ำ้ จะต้องมากเพียงพอเพือ่ ให้ได้นำ�้ ทิง้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดได้ตามมาตรฐานน�ำ้ ทิง้ (2) ปริมาตร
บ่อจะต้องเพียงพอส�ำหรับกักเก็บสลัดจ์เป็นระยะเวลาหนึง่ (3) จะต้องท�ำให้มสี าหร่ายเจริญเติบโต
น้อยที่สดุ (4) หาทางควบคุมกลิ่นที่อาจเกิดจากการย่อยสลายแบบไร้อากาศของสลัดจ์ทสี่ ะสมอยู่
และ (5) ตรวจสอบความจ�ำเป็นของการปูแผ่นพลาสติกเพื่อป้องกันการปนเปื้อนของน�้ำใต้ดิน
ซึ่งขึ้นกับข้อก�ำหนดและสภาพของพื้นที่
ส่วนใหญ่ระยะเวลากักเก็บน�้ำต�่ำสุดของบ่อตกตะกอนมีค่าเท่ากับ 1 วัน แต่ใน
ความเป็นจริงจะต้องเผือ่ ปริมาตรส�ำหรับเก็บกักสลัดจ์ เพือ่ ให้สลัดจ์ทสี่ ะสมในบ่อไม่ไปลดปริมาตร
เก็บกักเก็บน�ำ้ และลดระยะเวลาเก็บกักเก็บน�ำ้ ปัญหาส�ำคัญของการใช้บอ่ ตกตะกอนคือการเจริญเติบโต
ของสาหร่ายและการเกิดกลิน่ การควบคุมการเจริญเติบโตของสาหร่ายท�ำได้โดยการจ�ำกัดระยะเวลา
กักน�้ำให้มีค่าไม่เกิน 2 วัน ซึ่งจะเท่ากับระยะเวลาการแบ่งตัวของสาหร่าย
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
52 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

4 การพิจารณาด้านธรณีวิทยาและรูปทรงของบ่อ
ระบบสระเติ ม อากาศส่ ว นใหญ่ จ ะติ ด ตั้ ง เครื่ อ งเติ ม อากาศผิ ว น�้ ำ ท� ำ หน้ า ที่
เติมออกซิเจนลงสู่น�้ำและท�ำให้น�้ำเกิดความปั่นป่วน ซึ่งความปั่นป่วนที่มีความรุนแรงนี้อาจท�ำให้
พื้นก้นบ่อที่เป็นดินธรรมดาถูกกัดเซาะ ดังนั้นพื้นก้นบ่อควรปูด้วยแผ่นพลาสติกหรือดาดด้วย
คอนกรีต นอกจากช่วยป้องกันดินก้นบ่อจากการกัดกร่อนของเครื่องเติมอากาศและยังช่วยเพื่อ
ป้องกันน�ำ้ เสียไม่ให้รวั่ ซึมลงสูช่ นั้ น�ำ้ ใต้ดนิ ขอบบ่อสร้างเป็นคันดินทีม่ คี วามลาดชันทีเ่ หมาะสมตาม
คุณลักษณะของดินเพื่อให้คันดินมีความแข็งแรง และทนต่อการกัดเซาะจากฝนและน�้ำไหลนอง
นิยมก่อสร้างสระเติมอากาศเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีอัตราส่วนความยาวต่อ
ความกว้าง 3:1 ถึง 4:1 ซึ่งท�ำให้เกิดประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสียที่ดี เนื่องจากการไหลของ
น�ำ้ ในสระเติมอากาศจะเป็นในลักษณะแบบไหลตามกัน และติดตัง้ ท่อน�ำ้ เสียเข้าและออกตรงมุมบ่อ
ให้เยือ้ งกันมากทีส่ ดุ เพือ่ ป้องกันการไหลลัดวงจร ความลึกของน�ำ้ ในสระเติมอากาศอาจมีคา่ เท่ากับ
3 – 4 เมตร โดยพิจารณาจากข้อก�ำหนดของเครื่องเติมอากาศจากผู้ผลิต

ตัวอย่างที่ 2-2 จงค�ำนวณหาขนาดของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของโรงพยาบาลขนาด 60 เตียง น�ำ้ เสีย


มีค่า BOD5 เท่ากับ 150 มิลลิกรัม/ลิตร ต้องการน�้ำทิ้งจากสระเติมอากาศมีค่า BOD 5 รวม
20 มิลลิกรัม/ลิตร ถ้าอุณหภูมเิ ฉลีย่ ของน�ำ้ ในฤดูหนาว = 25 OC ค่า K ส�ำหรับ BOD5 รวม = 0.8 วัน-1
ที่ 20 OC และค่า = 1.06 ก�ำหนดความลึกน�้ำของบ่อเติมอากาศ 2.5 เมตร ระยะขอบบ่อ
เหนือน�ำ้ = 0.5 เมตร และระยะเวลากักน�ำ้ ของบ่อตกตะกอน = 2 วัน ให้ออกแบบ (1) สระเติมอากาศ
แบบผสมบางส่วน (2) สระเติมอากาศแบบผสมสมบูรณ์ (3) บ่อตกตะกอน ความลึก 1.5 เมตร
วิธีท�ำ
1) ออกแบบสระเติมอากาศแบบผสมบางส่วน
1.1) ค�ำนวณหาค่า K ที่ 25OC : K20 = 0.8 วัน-1
K25 = K20 T-2 = (0.8)(1.06)5 = 1.07 วัน-1
1.2) ค�ำนวณหาปริมาตรของบ่อเติมอากาศ
Se = 1
S0 1+Kt
t = Se - S0 = 150 - 20 = 6 วัน
KSe (1.07)(20)
ปริมาตรของบ่อเติมอากาศ (V) = Qt = (60)(6) = 360 ลูกบาศก์เมตร
พื้นที่กึ่งกลางบ่อเติมอากาศ (A) = V/D = 360/2.5 = 144 ตารางเมตร
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 53

1.3) ก�ำหนดขนาดของบ่อต่าง ๆ ก�ำหนดความลาดชันของผนังบ่อ = 1 : 2


1.3.1)สระเติมอากาศพื้นที่กึ่งกลางบ่อต่อบ่อ 144 ตารางเมตร
ก�ำหนด กว้าง (W): ยาว (L) = 1 : 2
A = W x 2W = 144 ตารางเมตร
W = 144 = 8.5 เมตร
2
L = 2 x 8.5 = 17 เมตร
ก�ำหนดความลึกน�้ำ = 2.5 เมตร
ระยะขอบบ่อเหนือน�้ำ = 0.5 เมตร
ความยาวขอบบ่อ = L+nD+2n (free board)
= 17 + (2 x 2.5) + 2 (2 x 0.5)= 24 เมตร
ความกว้างของบ่อ = 8.5 + (2 x 2.5) + 2 (2 x 0.5)= 15.5 เมตร
1.4) ค�ำนวณหาปริมาณออกซิเจนที่ต้องการ
= 1.5Q(S0 – Se) x 10-3
= 1.5(60)(150 - 20)x10-3 = 7.8 กิโลกรัมO2/วัน
1.5) เครื่องเติมอากาศผิวน�้ำ ก�ำหนดใช้เครื่องเติมอากาศแบบเจ็ทที่มีประสิทธิภาพถ่ายเท
ออกซิเจนในสภาวะใช้งานจริงเท่ากับ 0.5 กิโลกรัมO2/กิโลวัตต์
พลังงานเครื่องเติมอากาศ = 7.8 x 1 = 0.65 กิโลวัตต์
0.5 24
ติดตัง้ เครือ่ งเติมอากาศแบบเจ็ทขนาด 0.75 กิโลวัตต์ 2 เครือ่ ง สลับกันเดินทีละเครือ่ ง

2) ออกแบบสระเติมอากาศแบบผสมสมบูรณ์
2.1) ค�ำนวณหาค่า K ที่ 25 OC: K20 = 1.5 วัน-1
K25 = K20 T-2 = (1.5)(1.06)5 = 2.0 วัน-1
2.2) ค�ำนวณหาปริมาตรของบ่อเติมอากาศ
t = Se - S0 = 150 - 20 = 3.25 วัน
KSe (2.0)(20)
ปริมาตรของบ่อเติมอากาศ (V) = Qt = (60)(3.25) = 195 ลูกบาศก์เมตร
พื้นที่กึ่งกลางบ่อเติมอากาศ (A) = V/D = 195/2.5 = 78 ตารางเมตร
2.3) ก�ำหนดขนาดของบ่อต่าง ๆ ก�ำหนดความลาดชันของผนังบ่อ = 1 : 2
2.3.1) สระเติมอากาศพื้นที่กึ่งกลางบ่อต่อบ่อ 78 ตารางเมตร
ก�ำหนด กว้าง (W): ยาว (L) = 1 : 2
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
54 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

A = W x 2W = 78 ตารางเมตร
W= 78 = 6.25 เมตร
2
L = 2 x 6.25 = 12.5 เมตร
ก�ำหนดความลึกน�้ำ D = 2.5 เมตร
ระยะขอบบ่อเหนือน�้ำ = 0.5 เมตร
ความยาวขอบบ่อ = L+nD+2n(free board)
= 12.5 + (2 x 2) + 2(2 x 0.5) = 24 เมตร
ความกว้างของบ่อ = 9.5 + (2 x 2) + 2(2 x 0.5) = 14.5 เมตร
2.4) ค�ำนวณหาปริมาณออกซิเจนที่ต้องการ ก�ำหนดค่า = 1.5
= 1.5Q (S0 – Se) x 10-3
= 1.5(60)(150 - 20)x10-3 = 7.8 กิโลกรัมO2/วัน
2.5) ค�ำนวณหาขนาดเครือ่ งเติมอากาศผิวน�ำ้ ส�ำหรับปริมาณออกซิเจน ก�ำหนดใช้เครือ่ งเติม
อากาศแบบเจ็ททีม่ ปี ระสิทธิภาพถ่ายเทออกซิเจนในสภาวะใช้งานจริงเท่ากับ 0.5 กิโลกรัมO2/กิโลวัตต์
พลังงานเครื่องเติมอากาศ = 7.8/0.5 x 1/24 = 0.65 กิโลวัตต์
2.6) ค�ำนวณหาขนาดเครือ่ งเติมอากาศส�ำหรับการผสมสมบูรณ์ ก�ำหนดพลังงานต่อปริมาตร
ส�ำหรับการผสมสมบูรณ์เท่ากับ 6 วัตต์/ลูกบาศก์เมตร
พลังงานเครื่องเติมอากาศ = 8 x 195 x10-3 = 1.56 กิโลวัตต์
พลังงานของเครื่องเติมอากาศส�ำหรับการผสมสมบูรณ์สูงกว่า เลือกใช้เครื่องเติม
อากาศที่ 1.56 กิโลวัตต์
ติดตั้งเครื่องเติมอากาศแบบเจ็ทขนาด 1.5 กิโลวัตต์ 2 เครื่อง เดินเครื่องตลอดเวลา

3) ค�ำนวณหาปริมาตรของบ่อตกตะกอน
ปริมาตรบ่อตกตะกอน (V) = Qt = 60 x 2 = 120 ลูกบาศก์เมตร
ก�ำหนดความลึกน�้ำ = 1.5 เมตร
พื้นที่กึ่งกลางบ่อตกตะกอน (A) = V/D = 120/1.5 = 80 ตารางเมตร
3.1) ขนาดบ่อตกตะกอน พื้นที่กึ่งกลางบ่อ 80 ตารางเมตร
W= 80 = 6.3 6.5 เมตร
2
L = 2 x 6.5 = 13 เมตร
ความยาวขอบบ่อ = 13 + (2 x 1.5) + 2(2 x 0.5) = 18 เมตร
ความกว้างของบ่อ = 6.5 + (2 x 1.5) + 2(2 x 0.5) = 11.5 เมตร
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 55

2.8 ระบบบึงประดิษฐ์ (Constructed Wetland)

พื้นที่ชุ่มน�้ำ (Wetland) หมายถึงพื้นที่ที่มีน�้ำท่วมขังหรือชุ่มไปด้วยน�้ำเหนือผิวดินหรือ


น�้ำใต้ดินเป็นระยะเวลานานเพียงพอที่ท�ำให้พื้นดินบริเวณนั้นคงสภาพการอิ่มตัวด้วยน�ำ้ และมีพืช
บางชนิดเจริญเติบโตอยู่ ความสูงของระดับน�้ำในพื้นที่ชุ่มน�้ำมีค่าประมาณ 0.3 ถึง 0.6 เมตรและ
น�้ำจะไหลผ่านพื้นที่ที่มีพืชขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น บึงประดิษฐ์ถูกสร้างขึ้นเพื่อจ�ำลองสภาพของพื้นที่
ชุ่มน�้ำที่มีในธรรมชาติด้วยการปลูกพืชในบ่อที่กักเก็บน�้ำ พืชที่ปลูกอาจเป็นพืชโผล่พ้นน�้ำที่ราก
โตจากดินจ�ำพวก กก แฝก ธูปฤาษี หรือพืชลอยน�้ำเช่น บัว ผักตบชวา เป็นต้น

2.8.1 ประเภทของบึงประดิษฐ์
โดยปกตินิยมใช้บึงประดิษฐ์ในการปรับปรุงคุณภาพน�้ำทิ้งที่ผ่านการบ�ำบัดแล้ว
หรือใช้บ�ำบัดน�้ำเสียที่มีค่าบีโอดีไม่สูงมาก เช่น น�้ำเสียชุมชน เป็นต้น บึงประดิษฐ์แบ่งออกเป็น
3 ประเภทตามลักษณะการไหล (รูปที่ 2-24) ได้แก่
1 ระบบน�้ำไหลบนผิวชั้นดินอย่างอิสระ (Free water surface system, FW)
ประกอบด้วยบ่อน�้ำที่พื้นบ่อเป็นชั้นดินเพื่อให้รากพืชยึดเกาะอยู่ได้ และอาจ
ปูชนั้ กันซึม เช่น ชัน้ ดินเหนียวหรือแผ่นพลาสติกใต้ชนั้ ดินส�ำหรับปลูกพืชเพือ่ ป้องกันการปนเปือ้ น
น�ำ้ ใต้ดนิ บ่อควรมีโครงสร้างทางเข้าและออกของน�ำ้ ทีเ่ หมาะสมเพือ่ ให้สามารถปรับระดับน�ำ้ ในบึงได้
ระดับน�ำ้ อาจถูกรักษาให้อยูท่ รี่ ะดับไม่กเี่ ซนติเมตรจนถึง 0.8 เมตรหรือมากกว่า ขึน้ กับวัตถุประสงค์
ของบึงประดิษฐ์และชนิดของพืชที่ใช้ ระดับน�้ำปกติที่ใช้คือ 0.3 เมตร น�้ำจะไหลอยู่เหนือผิวดิน
อย่างช้า ๆ ตามความยาวของบ่อผ่านใบไม้และต้นพืชที่เจริญเติบโตอยู่ ถ้าการกระจายของน�้ำ
เป็นไปอย่างสม�่ำเสมอจะท�ำให้การไหลเป็นแบบไหลตามกัน
2 ระบบน�้ำไหลใต้ชั้นกรอง (Subsurface flow system, SF)
เป็นบ่อขุดที่บรรจุด้วยตัวกลางที่น�้ำไหลซึมผ่านได้ดี (ตารางที่ 2-12) เช่น หินบด
และกรวด ซึ่งใช้เป็นฐานให้พืชยึดเกาะและเจริญเติบโต อาจใช้พืชชนิดเดียวกันกับบึงประดิษฐ์
แบบ FW แต่ปลูกในส่วนด้านบนของชัน้ กรอง อาจปูวสั ดุกนั ซึมใต้ชนั้ กรองเพือ่ ป้องกันชัน้ น�ำ้ ใต้ดนิ
ปกติชนั้ ตัวกลางมีความหนา 0.3 – 0.6 เมตร น�ำ้ ทีไ่ หลเข้าบึงประดิษฐ์จะถูกรักษาระดับให้อยูต่ ำ�่ กว่า
ผิวหน้าของชัน้ ตัวกลางตลอดเวลา น�ำ้ เสียจะไหลเข้าบึงด้านหนึง่ และไหลออกอีกด้านหนึง่ ซึง่ น�ำ้ เสีย
จะสัมผัสกับโซนทีอ่ ยูใ่ นสภาวะแอโรบิก แอนนอกซิกและแอนแอโรบิก บริเวณทีม่ ี DO จะอยูร่ อบ ๆ
รากของพืช ออกซิเจนจะถูกส่งจากใบลงสู่รากและลงสู่น้�ำ แอโรบิกแบคทีเรียจะอาศัยอยู่รอบ ๆ
รากพืชและได้ออกซิเจนส�ำหรับย่อยสลายสารอินทรีย์ บึงประดิษฐ์ประเภทนีไ้ ม่สามารถออกซิไดซ์
แอมโมเนียได้ดีเนื่องจากการถ่ายเทออกซิเจนไม่เพียงพอ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
56 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 2-12 คุณลักษณะของตัวกลางส�ำหรับระบบบึงประดิษฐ์แบบ SF


ขนาดประสิทธิผล ความพรุน ค่าคงทีอ่ ตั ราการซึมน�ำ้
ชนิดของตัวกลาง
(มม.) (ร้อยละ) (ลบ.ม./ตร.ม.-วัน)
ทรายหยาบ 2 28 – 32 100 – 1,000
ทรายกรวด 8 30 – 35 500 – 5,000
กรวดเล็ก 16 35 – 38 1,000 – 10,000
กรวดหยาบ 32 35 – 40 10,000 – 50,000
หินหยาบ 128 38 – 45 50,000 – 250,000
ที่มา : [19]

2 น�้ำไหลผ่านชั้นกรองในแนวดิ่ง (Vertical flow system, VF)


บึงประดิษฐ์ประเภทนีพ้ ฒ ั นาขึน้ ในยุโรปเพือ่ แก้ไขปัญหาการออกซิไดซ์แอมโมเนีย
ท�ำให้เกิดปฏิกริ ยิ าไนตริฟเิ คชันได้ดกี ว่าบึงประดิษฐ์ประเภทอืน่ ต้องใช้ตวั กลางทีน่ ำ�้ ไหลซึมผ่านได้
ประกอบด้วยชั้นทรายหรือกรวดด้านล่างและชั้นกรวดหรือทรายที่ปลูกพืชด้านบน น�้ำเสียถูกสูบ
เข้าบึงอย่างรวดเร็วให้ทว่ มชัน้ ตัวกลางทัง้ หมดในครัง้ เดียว แล้วปล่อยให้นำ�้ ซึมผ่านชัน้ ตัวกลางลงสู่
ท่อรวบรวมด้านล่างอย่างช้า ๆ เป็นการปล่อยน�ำ้ เสียเข้าบึงประดิษฐ์แบบไม่ตอ่ เนือ่ ง และให้นำ�้ เสีย
ไหลผ่านชัน้ ตัวกลางทีม่ รี พู รุนทีน่ ำ�้ ไหลผ่านได้สะดวกเช่นเดียวกันกับบึงประดิษฐ์แบบ SF และหลักการ
ในการบ�ำบัดน�้ำเสียคล้ายคลึงกัน การป้อนน�้ำเสียเป็นแบบครั้งคราวโดยป้อนน�้ำเสียจ�ำนวนมาก
ให้ทว่ มทัง้ ผิวหน้าของบึงประดิษฐ์ น�ำ้ เสียจะไหลซึมผ่านชัน้ ตัวกลางลงสูท่ อ่ รวบรวมด้านล่างอย่างช้า ๆ
จนหมด ท�ำให้ชั้นตัวกลางทั้งหมดสัมผัสกับอากาศ เมื่อสูบน�้ำเสียเข้าบึงครั้งถัดไป น�้ำเสียจะดัก
เก็บอากาศในตัวกลางไว้รวมทั้งเกิดการเติมอากาศที่เกิดจากการไหลซึมของน�้ำผ่านตัวกลางอย่าง
รวดเร็วท�ำให้การถ่ายเทออกซิเจนเกิดขึน้ ได้ดกี ว่าบึงประดิษฐ์แบบอืน่ การสูบน�ำ้ เสียเข้าเป็นครัง้ คราว
จนท่วมชัน้ ตัวกลางนีเ้ ป็นวิธที ที่ ำ� ให้การถ่ายเทออกซิเจนได้สงู ถึง 23 – 64 กรัมO2/ตารางเมตร-วัน [19]
ส่วนออกซิเจนที่ได้จากต้นพืชเท่ากับ 2 กรัมO2/ตารางเมตร-วัน
ชั้นตัวกลางที่ใช้ในบึงประดิษฐ์แบบ SF มีพ้ืนที่ผิวที่ให้แอโรบิกแบคทีเรียเกาะ
เจริญเติบโตมากกว่าแบบ FW ท�ำให้ปฏิกิริยาชีวภาพเกิดได้เร็วกว่าจึงสามารถใช้พ้ืนที่ขนาดเล็ก
กว่า และการรักษาระดับน�ำ้ ต�ำ่ กว่าผิวหน้าชัน้ กรองจึงท�ำให้ไม่มปี ญ ั หาเรือ่ งยุง และไม่เห็นน�ำ้ ทีไ่ หล
ในบึงประดิษฐ์จึงไม่มีปัญหาด้านมวลชน ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบของบึงประดิษฐ์ประเภท SF และ VF
ในประเทศสหรัฐอเมริกานิยมใช้บึงประดิษฐ์ SF เป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบประจ�ำที่ (On site
treatment) ส�ำหรับโรงเรียน สวนสาธารณะ อาคารต่าง ๆ [19] แม้ว่าระบบบึงประดิษฐ์แบบ SF
จะใช้พื้นที่ก่อสร้างน้อยกว่าแต่ที่ต้องใช้ตัวกลางจ�ำนวนมาก ท�ำให้ต้นทุนค่าตัวกลาง ค่าขนส่ง
และค่าก่อสร้างโดยรวมมีค่าสูงกว่าบึงประดิษฐ์แบบ FW เว้นแต่ในกรณีที่ที่ดินมีราคาสูง ขนาด
ของตัวกลางทีใ่ ช้สำ� หรับระบบบึงประดิษฐ์แบบ SF และ VF เท่ากับ 1 – 8 มิลลิเมตร และมีคา่ คงที่
ของการซึมน�้ำมากกว่า 500 ลูกบาศก์เมตร/ตารางเมตร-วัน (5.78 x10-3 เมตร/วินาที) [15]
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 57

รูปที่ 2-26 บึงประดิษฐ์ที่นิยมใช้ส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสีย


ก ประเภทน�้ำไหลบนผิวชั้นกรองอย่างอิสระ ข ประเภทน�้ำไหลผ่านชั้นกรองในแนวนอน
และ ค ประเภทน�้ำไหลผ่านชั้นกรองในแนวดิ่ง
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
58 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ระบบบึงประดิษฐ์แบบ SF และ VF ยังไม่มีการใช้งานจริงในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของ


โรงพยาบาลในประเทศไทย เนื่องจากค่าก่อสร้างและค่าตัวกลางมีราคาแพงกว่าระบบบึงประดิษฐ์
แบบ FW มาก แต่จากการลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของโรงพยาบาลในช่วงปี พ.ศ 2562 –
2563 พบว่าบึงประดิษฐ์ของโรงพยาบาลบางแห่งถูกออกแบบเลียนแบบระบบบึงประดิษฐ์แบบ VF
แต่ใช้ดนิ เป็นตัวกลางซึง่ มีอตั ราการซึมน�ำ้ ต�ำ่ ไม่ใช้กรวดหรือตัวกลางทีม่ อี ตั ราการซึมน�ำ้ ทีส่ งู ท�ำให้
ดินเกิดการอุดตันและน�้ำท่วมพื้นที่บึงประดิษฐ์ และสูบน�้ำเสียเข้าบึงประดิษฐ์อย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่
สูบน�้ำเสียเข้าจนท่วมและปล่อยให้แห้ง ท�ำให้ดินอยู่ในสภาวะไร้อากาศตลอดเวลา จึงต้องเปลี่ยน
การเดินระบบเป็นแบบ FW แทบทั้งสิ้น ดังนั้นจากนี้ไปจะอธิบายหัวข้อต่าง ๆ ของบึงประดิษฐ์
แบบ FW เท่านั้น

2.8.2 ระบบบึงประดิษฐ์แบบ FW
บึงประดิษฐ์แบบ FW เป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่สร้างเลียนแบบพื้นที่ชุ่มน�้ำธรรมชาติ
น�ำ้ เสียจะไหลเข้าบึงประดิษฐ์ดา้ นหนึง่ แล้วไหลอย่างช้า ๆ ผ่านต้นไม้โผล่พน้ น�ำ้ ไปยังทางออกทีอ่ ยู่
อีกด้านหนึง่ ของบึง น�ำ้ เสียจะไหลเหนือรากพืชทีเ่ ติบขึน้ จากดิน พืชทีป่ ลูกอยูใ่ นบึงประดิษฐ์จะต้อง
ทนทานต่อดินทีอ่ มิ่ ตัวด้วยน�ำ้ และอยูใ่ นสภาวะไร้อากาศได้ดี ค่า DO ของน�ำ้ ในแต่ละระดับความสูง
ของน�้ำในบึงจะแตกต่างกันดังแสดงในรูปที่ 2-27 บริเวณใกล้ผิวน�้ำที่สัมผัสกับอากาศจะมีค่า DO
สูงที่สุดและจะมีค่าลดลงตามความลึกของน�้ำ น�้ำที่ก้นบึงจะมีค่า DO ต�่ำมาก และลึกลงในชั้นดิน
ไม่กี่มิลลิเมตรจะมีค่า DO เป็นศูนย์ นอกจากนี้น�้ำในบริเวณพื้นที่ใกล้ท่อน�้ำเสียเข้าจะมีค่า DO
ต�่ำเนื่องจากความต้องการออกซิเจนในการย่อยสลายสารอินทรีย์จากน�้ำเสีย ซึ่งสภาวะ DO ต�่ำนี้
เหมาะส�ำหรับการเจริญเติบโตของลูกน�้ำ รายละเอียดของบึงประดิษฐ์แบบ FW มีดังต่อไปนี้

รูปที่ 2-27 สภาพแอโรบิกและแอนแอโรบิกที่เกิดขึ้นในแต่ละความลึกของน�้ำในบึงประดิษฐ์


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 59

1 การถ่ายเทออกซิเจน
ออกซิเจนทีแ่ บคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรียม์ าจาก (1) การแพร่จากอากาศ
(2) การสังเคราะห์แสงของสาหร่าย (3) การสังเคราะห์แสงของพืชใต้นำ�้ และ (4) จากฝนทีต่ กลงมา
ท�ำให้บึงประดิษฐ์แบบ FW มีอัตราการถ่ายเทออกซิเจนลงสู่น�้ำที่ไม่สูง จึงต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่
ที่สุดส�ำหรับการก่อสร้างเมื่อเปรียบเทียบกับบึงประดิษฐ์ประเภทอื่น อัตราการถ่ายเทออกซิเจน
ลงสูน่ ำ�้ ทัง้ หมดมีคา่ เท่ากับ 5 – 10 กรัม/ตารางเมตร พืน้ ทีช่ มุ น�ำ้ /วัน [20] ซึง่ ต�ำ่ กว่าอัตราการถ่ายเท
ออกซิเจนของบ่อแฟคัลเททีฟ ออกซิเจนที่ต้นพืชผลิตขึ้นจะถูกส่งไปที่รากและถ่ายเทลงสู่ดิน และ
น�้ำเสียจะไหลอยู่เหนือระดับดินจึงไม่มีการสัมผัสกันระหว่างน�้ำเสียกับรากพืชโดยตรง ดังนั้น
ออกซิเจนที่ผลิตจากต้นพืชไม่ได้ใช้ในการบ�ำบัดน�้ำเสีย และเมื่อต้นพืชเติบโตขยายจ�ำนวนมากขึ้น
จะท�ำให้พื้นที่ผิวของฟิล์มแบคทีเรียเพิ่มขึ้น แต่จะท�ำให้สาหร่ายเจริญเติบโตน้อยลงและไปลด
ปริมาณออกซิเจนที่ผลิตจากสาหร่าย
2 การก�ำจัดบีโอดี
ส่วนล�ำต้นของพืชและเศษซากพืชที่เน่าสลายสะสมในบึงประดิษฐ์แบบ FW
จะถูกใช้เป็นพืน้ ทีผ่ วิ ส�ำหรับแบคทีเรียทีเ่ จริญเติบโตแบบเกาะติด (Attached-growth) ซึง่ เป็นกลุม่
แบคทีเรียหลักทีย่ อ่ ยสลายสารอินทรียใ์ นน�ำ้ เสียในบึงประดิษฐ์ และเนือ่ งจากในบึงประดิษฐ์มพี นื้ ทีผ่ วิ
จ�ำนวนมากให้แบคทีเรียเกาะติด จึงท�ำให้สามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ได้อย่างรวดเร็ว ในส่วน
ของพื้นที่โล่งที่สัมผัสกับแสงแดด แบคทีเรียและสาหร่ายจะท�ำงานร่วมกันในการย่อยสลาย
สารอินทรีย์ สารอินทรียใ์ นรูปแข็งแขวนลอยจะตกตะกอนอย่างรวดเร็วเนือ่ งจากน�ำ้ ในบ่ออยูใ่ นสภาพนิง่
สารอินทรีย์จะถูกก�ำจัดทั้งในสภาพแอโรบิกและแอนแอโรบิกที่มีอยู่ในบึงประดิษฐ์
3 การก�ำจัดของแข็งแขวนลอย
ต้นพืชโผล่พ้นน�้ำที่ขึ้นอยู่ในบึงประดิษฐ์แบบ FW นอกจากจะให้พื้นที่ผิวส�ำหรับ
แบคทีเรียเจริญเติบโตแล้ว ยังช่วยก�ำจัดของแข็งแขวนลอย ได้แก่ (1) ลดความปัน่ ป่วนท�ำให้นำ�้ ในบึง
อยูใ่ นสภาพนิง่ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการตกตะกอน (2) ใบของพืชช่วยบังแสงแดดลดการเจริญเติบโต
ของสาหร่าย และ (3) ท�ำให้เกิดการรวมตัวของคอลลอยด์ขนาดเล็กเป็นตะกอนขนาดใหญ่ทตี่ กตะกอน
ได้ง่าย
4 การก�ำจัดไนโตรเจน
ไนโตรเจนถูกก�ำจัดได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยปฏิกิริยาชีวภาพในบึงประดิษฐ์
แม้ว่าพืชดูดซึมไนโตรเจนเพื่อการเจริญเติบโต แต่พบว่าไนโตรเจนที่ถูกก�ำจัดด้วยการดูดซึมของ
พืชนี้เป็นสัดส่วนที่น้อย พบว่าพืชสามารถก�ำจัดไนโตรเจนได้เพียงร้อยละ 10 ของไนโตรเจนที่
ถูกก�ำจัดทัง้ หมดเท่านัน้ [19] ความสามารถในการก�ำจัดไนโตรเจนของบึงประดิษฐ์อาจต้องใช้เวลา
พัฒนาเป็นปี ระบบอาจเข้าสู่สมดุลหลังจากการเจริญเติบโตของพืชผ่านไป 2 ถึง 3 รุ่นส�ำหรับ
ระบบราก ดิน และตะกอนก้นบ่อ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
60 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ปฏิกริ ยิ าไนตริฟเิ คชันและตามด้วยดิไนตริฟเิ คชันเป็นกลไกหลักส�ำหรับการก�ำจัด


ไนโตรเจนในระบบบึงประดิษฐ์ แบคทีเรียไนตริไฟเออร์ชอบเกาะติดผิวและเจริญเติบโตบนพื้นที่
ผิวของตัวกลางหรือเศษซากพืชวัสดุต่าง ๆ ได้ดี โดยปกติปฏิกิริยาไนตริฟิเคชันเกิดขึ้นได้อย่าง
รวดเร็วในสภาพแอโรบิกที่อุณหภูมิสูง แต่เนื่องจากปริมาณออกซิเจนที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด และแหล่ง
ออกซิเจนหลักของระบบบึงประดิษฐ์แบบ FW มาจากการแพร่กระจายจากอากาศลงสู่น�้ำ ท�ำให้
มีออกซิเจนละลายน�้ำเฉพาะบริเวณผิวน�้ำ และน�้ำส่วนอื่นจะอยู่ในสภาพไร้อากาศ ดังนั้นปฏิกิริยา
ไนตริฟิเคชันจึงเกิดขึ้นใกล้ผิวน�้ำ
ปฏิกิริยาดิไนตริฟิเคชันต้องการสภาวะแอนนอกซิก (สภาวะที่ไม่มีออกซิเจน
แต่มีไนเตรท) มีปริมาณสารอินทรีย์คาร์บอนที่เพียงพอและอุณหภูมิเหมาะสม โดยปกติสภาวะ
แอนนอกซิกเกิดขึน้ ในบึงประดิษฐ์อยูแ่ ล้ว และอุณหภูมใิ นประเทศไทยนัน้ อยูใ่ นช่วงทีเ่ หมาะสม ดังนัน้
ปริมาณสารอินทรีย์คาร์บอนจึงเป็นปัจจัยหลักที่ควบคุมกระบวนการ โดยทางทฤษฎีการก�ำจัด
ไนเตรท 1 กรัมต้องการสารอินทรีย์ 5 ถึง 9 กรัมบีโอดี ดังนัน้ น�ำ้ เสียทีม่ ไี นเตรท 15 มิลลิกรัม/ลิตร
ต้องการบีโอดีสูงถึง 135 มิลลิกรัม/ลิตร [19] ส�ำหรับแหล่งสารอินทรีย์คาร์บอนในบึงประดิษฐ์
นั้นมีอย่างมากมายจากซากพืชที่เน่าสลายและสารอินทรีย์อื่นที่อยู่ใต้น�้ำ ซึ่งเพียงพอส�ำหรับ
การก�ำจัดไนเตรทที่เกิดขึ้นในบึงประดิษฐ์
5 การก�ำจัดเชื้อโรค
ระบบบึงประดิษฐ์แบบ FW สามารถก�ำจัดเชื้อโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลไก
ในการก�ำจัดเชื้อโรคได้แก่ การตกตะกอน การกรองและการดูดซับ เมื่อเชื้อโรคถูกดักเก็บไว้
ในระบบบึงประดิษฐ์ เชื้อโรคจะลดจ�ำนวนอย่างรวดเร็วจากการตายและการล่าของสิ่งมีชีวิตที่เป็น
ผูล้ า่ ทีอ่ ยูใ่ นบึง นอกจากนีแ้ สง UV จากแสงแดดช่วยฆ่าเชือ้ โรคและเชือ้ โรคทีต่ ายแล้วจะกลายเป็น
อาหารของแบคทีเรีย [19]
6 การพิจารณาออกแบบ
6.1) การบ�ำบัดขั้นต้น (Pretreatment)
น�้ำเสียที่เข้าระบบบึงประดิษฐ์ควรผ่านการบ�ำบัดขั้นต้นเพื่อก�ำจัดขยะและ
ก�ำจัดตะกอนหนักทีม่ ใี นน�ำ้ เสียออกก่อน เนือ่ งจากน�ำ้ ในบึงประดิษฐ์อยูใ่ นสภาพน�ำ้ นิง่ ท�ำให้บริเวณที่
น�ำ้ เสียไหลเข้าบึงประดิษฐ์อาจมีกรวดทราย เศษขยะ และของแข็งอืน่ ๆ สะสมอยู่ จึงต้องก�ำจัดออก
ล่วงหน้าก่อนไหลเข้าบึงประดิษฐ์ ส�ำหรับระบบบึงประดิษฐ์ขนาดเล็ก เช่น ส�ำหรับโรงพยาบาลขนาด
30 – 60 เตียง ระบบทีง่ า่ ยทีส่ ดุ คือการใช้ถงั บ�ำบัดแบบ Septic แต่สำ� หรับระบบทีม่ ขี นาดใหญ่ควรใช้
ตะแกรงดักขยะและบ่อเก็บน�ำ้ ทีม่ รี ะยะเวลาเก็บกักน�ำ้ ไม่นาน เช่น 2 วันและติดตัง้ เครือ่ งเติมอากาศผิวน�ำ้
6.2) ขนาดพื้นที่ผิวน�้ำ
ตัวแปรที่ส�ำคัญที่สุดส�ำหรับการก�ำจัดบีโอดีและไนโตรเจนในบึงประดิษฐ์
แบบ FW คือการแพร่กระจายของออกซิเจนจากอากาศละลายลงสู่น�้ำ ปริมาณออกซิเจนที่ได้รับ
จากอากาศในบึงประดิษฐ์แบบ FW จะแปรผันโดยตรงกับพื้นที่ผิวของบึงประดิษฐ์ การค�ำนวณ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 61

หาขนาดพื้นที่ผิวน�้ำของบึงประดิษฐ์นิยมใช้อัตราภาระสารอินทรีย์ต่อพื้นที่เช่นเดียวกันกับระบบ
บ่อปรับเสถียร โดยใช้อัตราภาระบีโอดีต่อพื้นที่หน้าตัดและระยะเวลากักน�้ำในช่วงค่าดังแสดง
ในตารางที่ 2-13 สมการค�ำนวณแสดงดังต่อไปนี้
Ls = QS0
A
เมื่อ Ls = อัตราภาระบีโอดีตอ่ พืน้ ทีผ่ วิ น�ำ้ (กรัมบีโอดี/ตารางเมตร-วัน)
Q = อัตราไหลน�้ำเสีย (ลูกบาศก์เมตร/วัน)
S0 = ค่าบีโอดี (BOD5) ของน�้ำเสีย (มิลลิกรัม/ลิตร)
A = พื้นที่ผิวน�้ำของบึงประดิษฐ์ (ตารางเมตร)
ตารางที่ 2-13 เกณฑ์การออกแบบบึงประดิษฐ์
บึงประดิษฐ์แบบ FW บึงประดิษฐ์แบบ SF
รายการ
ช่วงค่า ค่าทั่วไป ช่วงค่า ค่าทั่วไป
ขนาดพื้นที่ที่ต้องการขั้นต�่ำ (ตร.ม./ ลบ.ม./วัน) 0.2 – 0.7 0.4 – 0.6 0.12 – 0.17 80 – 95
ความลึกสูงสุดของระดับน�้ำ (ม.) - 0.5 - -
ความสูงของชั้นตัวกลาง - 0.3 – 0.9 -
สัดส่วนขั้นต�่ำความยาวต่อความกว้าง - 2:1 - -
ระยะเวลากักน�้ำ (วัน) 4 – 15 - 5 – 10 -
อัตราภาระชลศาสตร์ (ซม./วัน) 1.5 – 5.0 - 6–8 -
อัตราภาระบีโอดี (ก. บีโอดี/ตร.ม./วัน) < 10 8 – 12 -
อัตราภาระไนโตรเจน (ก./ตร.ม/วัน) - 6 - 6
ที่มา : [16]

6.3) ความลึกน�้ำ
ความลึกน�ำ้ ปกติของบึงประดิษฐ์แบบ FW เท่ากับ 0.3 – 0.6 เมตร พืชโผล่พน้ น�ำ้
ในบึงประดิษฐ์ไม่สามารถเจริญเติบโตได้ทรี่ ะดับน�ำ้ สูงกว่า 0.6 เมตร ดังนัน้ จึงต้องควบคุมระดับความลึก
ของน�้ำในบึงไม่สูงเกินค่าดังกล่าว
6.4) ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ
ระยะเวลาเก็บกักน�ำ้ ของบึงประดิษฐ์จะขึน้ กับปริมาตรน�ำ้ ในบึงประดิษฐ์และ
อัตราไหลของน�้ำเสีย ดังสมการต่อไปนี้
t = V
Q
เมื่อ t = ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ (วัน)
V = ปริมาตรน�้ำของบ่อ (ลูกบาศก์เมตร)
Q = อัตราไหลน�้ำเสีย (ลูกบาศก์เมตร/วัน)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
62 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ค่าระยะเวลาเก็บกักน�้ำ (t) ของบึงประดิษฐ์แบบ FW ในประเทศไทย


ควรมีค่าอยู่ในช่วง 4 – 15 วัน และเนื่องจากความลึกน�้ำของบึงประดิษฐ์แบบ FW ไม่สูง ท�ำให้
ปรับค่าระยะเวลาเก็บกักน�้ำของบึงประดิษฐ์ได้น้อย เช่น การเพิ่มความลึกน�้ำจาก 0.3 เมตร
เป็น 0.6 เมตร ระยะเวลาเก็บกักน�้ำจะถูกเพิ่มเป็น 2 เท่า แต่ประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสีย
จะไม่เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า เนื่องจากปริมาณออกซิเจนที่ได้รับจะแปรผันกับพื้นที่หน้าตัดของบึง
และการเพิ่มระดับน�้ำมากเกินไปจะท�ำให้พืชตายและท�ำให้ประสิทธิภาพลดลง ดังนั้นอัตราภาระ
สารอินทรีย์ของบึงประดิษฐ์จะค�ำนวณตามพื้นที่ผิวน�้ำไม่ใช่ปริมาตรน�้ำ
6.5) อัตราส่วนของความกว้างต่อความยาวของบึงประดิษฐ์
บึงประดิษฐ์ส่วนใหญ่ก่อสร้างรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า อัตราส่วนความกว้าง
ต่อความยาวมีความส�ำคัญต่อรูปแบบการไหลของน�ำ้ และการไหลลัดวงจร อัตราส่วนของความกว้าง
ต่อความยาวที่เหมาะสมเท่ากับ 2:1 – 4:1 [15] ในทางทฤษฎีการไหลในบ่อที่มีลักษณะแคบ
และยาวจะให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่า (ไหลแบบตามกัน)
6.6) การไหลของน�้ำเสียในบึงประดิษฐ์
การค�ำนวณหาขนาดของพืน้ ทีบ่ งึ ประดิษฐ์เป็นเพียงส่วนหนึง่ ของกระบวนการ
ออกแบบบึงประดิษฐ์ เพือ่ ให้สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในบึงประดิษฐ์จะต้องสามารถ
ปลูกพืชทีโ่ ผล่เหนือน�ำ้ ได้ และสามารถรองรับอัตราการไหลของน�ำ้ เสียสูงสุดของวันได้ ทัง้ ระดับน�ำ้
และพื้นที่ภายในบึงประดิษฐ์แบบ FW ถูกออกแบบให้ปลูกพืชที่เติบโตขึ้นโผล่พ้นน�้ำ จึงต้องเดิน
ระบบให้มีระดับน�้ำที่เหมาะสมส�ำหรับพืชที่จะใช้ พืชโผล่พ้นน�้ำไม่สามารถอยู่รอดได้ที่ระดับน�้ำ
สูงมากกว่า 0.6 เมตร ดังนั้นระดับน�้ำที่ออกแบบส�ำหรับบึงประดิษฐ์แบบ FW ควรมีค่าเท่ากับ
0.3 เมตรเพื่อให้มีระยะเวลากักเก็บน�้ำเพียงพอ และมีระยะเหนือน�้ำ (free board) มีค่าระหว่าง
0.3 – 0.6 เมตรเพือ่ ให้รองรับอัตราไหลสูงสุดของวันและรองรับน�ำ้ ฝนในช่วงทีม่ พี ายุโดยทีน่ ำ�้ ไม่ลน้
ออกจากบึงดังแสดงในรูปที่ 2-28

free board

รูปที่ 2-28 ระยะเหนือน�้ำ (free board) ส�ำหรับบึงประดิษฐ์แบบ FW


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 63

6.7) การจัดการต้นพืชและองค์ประกอบภายในบึงประดิษฐ์
การจัดการองค์ประกอบภายในบึงประดิษฐ์ให้เหมาะสมจะมีผลต่อประสิทธิภาพ
การบ�ำบัด ในทางทฤษฎีถา้ สามารถควบคุมความหนาแน่นของต้นพืชทีข่ นึ้ ในบึงประดิษฐ์ให้มคี า่ สูง
เหมาะสมจะท�ำให้ตน้ พืชทัง้ หมดได้สมั ผัสกับน�ำ้ เสีย ท�ำให้การกระจายน�ำ้ เสียสม�ำ่ เสมอไม่ไหลลัดวงจร
และท�ำให้ระบบมีประสิทธิภาพการบ�ำบัดสูงสุด ดังนั้นในช่วงของการออกแบบควรพิจารณาการ
จัดการต้นพืชและองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น ท่อกระจายน�้ำเสียเข้าและออก เป็นต้น เพื่อหลีกเลี่ยง
ไม่ให้เกิดการไหลลัดวงจร
รูปที่ 2-29 แสดงรูปแบบการปลูกต้นไม้และการกระจายน�้ำเสียเข้าและ
ออกเพื่อไม่ให้เกิดการไหลลัดวงจรและให้ได้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดสูงสุด ควรต้องปลูกต้นไม้
ให้เป็นแถวและแนวที่มีระยะห่างระหว่างต้นใกล้เคียงกันขวางการไหลของน�้ำ เพื่อช่วยกระจาย
น�้ำเสียและให้น�้ำเสียไหลผ่านต้นไม้ทุกต้นที่ขึ้นอยู่ในบึง ไม่ให้เกิดการไหลลัดวงจร นอกจากนี้
บึงประดิษฐ์ที่มีพื้นที่เปิดซึ่งเป็นช่องว่างระหว่างต้นไม้จะให้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสียที่ดีกว่า
บึงประดิษฐ์ที่มีต้นไม้ขึ้นเต็มพื้นที่ [15]

รูปที่ 2-29 รูปแบบการปลูกต้นไม้และการกระจายน�ำ้ เสียเข้า-ออกเพือ่ ไม่ให้เกิดการไหลลัดวงจร


และให้ได้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดสูงสุด

น�้ ำ เสี ย จะต้ องไหลเข้าและออกจากบึงประดิษฐ์ไ ด้อย่างทั่ว ถึงผ่านทุก


องค์ประกอบในบึง ด้วยการติดตั้งโครงสร้างทางเข้าและทางออกที่ท�ำให้น�้ำเสียไหลเข้าได้หลายจุด
ในแนวเดียวกัน ไม่ให้นำ�้ เสียเข้าและออกเพียงจุดเดียว โดยอาจให้นำ�้ เสียไหลเข้าและออกผ่านท่อเจาะรู
ที่วางขวางด้านกว้างของบึง หรือใช้เป็นท่อเดียวแต่ขุดร่องลึกยาวตลอดความกว้างของบึงที่ทางเข้า
และออกเพือ่ ให้นำ�้ เสียกระจายตัวได้ตลอดแนวด้านกว้างของบึง อาจเพิม่ ประสิทธิภาพการกระจายน�ำ้
ของน�้ำเสียด้วยการขุดร่องลึกขวางการไหลตรงกึ่งกลางบึง ดังแสดงในรูปที่ 2-29
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
64 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

6.8) โครงสร้างควบคุมระดับน�้ำภายในบึงประดิษฐ์แบบ FW
ระดับน�ำ้ ภายในบึงประดิษฐ์มผี ลโดยตรงต่อประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
ดังที่กล่าวไปแล้ว การควบคุมระดับน�้ำท�ำได้ด้วยโครงสร้างทางออกด้านปลายน�้ำ ประกอบด้วย
เวียร์(Weir) น�้ำล้นและประตูน�้ำ หรือระบบท่อน�้ำล้นที่สามารถปรับขึ้นลงได้เพื่อให้สามารถ
ควบคุมระดับน�้ำในบึงประดิษฐ์ได้ทั้งในช่วงอัตราการไหลสูงสุดในหนึ่งวันและในช่วงฝนตกหนัก
6.9) การป้องกันน�้ำใต้ดิน
การป้ อ งกั น การปนเปื ้ อ นของน�้ ำ ใต้ ดิ น จากระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย แบบ
บึงประดิษฐ์สามารถท�ำได้ด้วยการก่อสร้างบึงประดิษฐ์แบบ FW เหนือชั้นดินเหนียวบดอัด
ที่มีค่าการซึมน�้ำต�่ำ < 10 - 7 เซนติเมตร/วินาที หรือใช้วิธีการปูด้วยแผ่นพลาสติก เช่น HDPE
หนา 1 มิลลิเมตร หรือ PVC หนา 0.8 มิลลิเมตร แล้วเททับด้วยดินหนาส�ำหรับปลูกพืช
6.9) คันดิน
คันดินของบึงประดิษฐ์แบบ FW จะต้องมีความมั่นคงและทนทานต่อการ
กัดเซาะของน�้ำฝน ดินที่ใช้ท�ำคันดินควรเป็นดินเหนียวบดอัดมีค่าการซึมน�้ำต�่ำ และความชันของ
คันดินอาจมีค่า 1 : 1.5 ถึง 1 : 3 ขึ้นกับคุณสมบัติของดินที่ใช้ก่อสร้าง ควรคลุมผิวคันดินด้านใน
ด้วยซีเมนต์หรือปูแผ่นพลาสติก หรือปลูกหญ้าส�ำหรับคันดินทีเ่ ป็นดินเพือ่ เพิม่ ความมัน่ คงของคันดิน
ควรป้องกันผนังด้านนอกของคันดินจากการกัดเซาะของน�้ำฝนและน�้ำท่วม
6.10) ดินส�ำหรับปลูกพืช
พืชที่ปลูกในบึงประดิษฐ์แบบ FW จะเติบโตและเพิ่มจ�ำนวนขึ้น ดินที่ใช้
ต้องเหมาะส�ำหรับพืชที่จะอยู่รอดและให้รากพืชขยายออก ดินเหนียวบดอัดและแผ่นพลาสติก
ไม่เหมาะสมส�ำหรับการปลูกพืช จึงควรหาดินที่เหมาะสมเททับเหนือชั้นกันซึม ดินที่ใช้ควรเป็น
ดินร่วนปนทรายความหนา 15 - 30 เซนติเมตร

2.9 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียด้วยผักตบชวา

ผักตบชวาเป็นพืชลอยน�้ำที่เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว โดยจะแตกหน่อกระจายทั่วพื้นที่
ผิวน�้ำก่อนจากนั้นจึงเจริญเติบโตในแนวตั้งท�ำให้ล�ำต้นสูงขึ้น ผักตบชวาที่เจริญเติบโตในบ่อน�้ำที่มี
ธาตุอาหารสมบูรณ์และมีการเก็บเกีย่ วอย่างสม�ำ่ เสมอและไม่หนาแน่นจนเกินไปอาจมีรากยาวได้ถงึ
10 เซนติเมตร (รูปที่ 2-30 ข) ในกรณีทไี่ ม่มกี ารเก็บเกีย่ วและปล่อยให้ผกั ตบชวาอยูก่ นั อย่างหนาแน่น
ผักตบชวาจะทิ้งรากท�ำให้รากผักตบชวาสั้น (รูปที่ 2-30 ก) และถ้าความลึกน�้ำไม่มากพอรากของ
ผักตบชวาอาจยาวจนถึงพืน้ บ่อ เมือ่ เจริญเติบโตในน�ำ้ เสียความสูงของล�ำต้นตัง้ แต่ดอกจรดรากอาจ
มีค่าในช่วง 50 ถึง 120 เซนติเมตร ดอกของผักตบชวานั้นผลิตเมล็ดเช่นเดียวกับพืชชนิดอื่น
แต่ผกั ตบชวาขยายพันธุด์ ว้ ยการแตกหน่อ อัตราการผลิตมวลชีวภาพเมือ่ เจริญเติบโตในบ่อบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
เกีเกี่ยเกี่ยวและปล่
วและปล่
่ยวและปล่ ออยให้ ยให้
อยให้
ผผักักผตบชวาอยู
ตบชวาอยู
ักตบชวาอยู ่ก่กันัน่กอย่
ันอย่อย่
าางหนาแน่
งหนาแน่
างหนาแน่นนผันผักกผัตบชวาจะทิ
ตบชวาจะทิ
กตบชวาจะทิ ้ง้งรากท
รากท
้งรากท าให้
าให้ าให้
รรากผั
ากผั
รากผั กกตบชวาสัตบชวาสั
กตบชวาสั ้น้น(รู้น(รูป(รูปทีปที่ ที่2-27 2-27
่ 2-27ก)ก)ก)และ และ และ
ถ้ถ้าาถ้ความลึ
ความลึ
าความลึ กกน้น้กาไม่ น้าไม่
าไม่
มมากพอรากของผั
ากพอรากของผั
มากพอรากของผั กกตบชวาอาจยาวจนถึ
ตบชวาอาจยาวจนถึ
กตบชวาอาจยาวจนถึ งงพืพืง้นพื้นบ่้นบ่อบ่อเมื
อเมื่อเมื่อเจริ
เจริ
่อเจริญญเติญเติบเติบโตในน้
บโตในน้
โตในน้ าเสี
าเสีาเสี
ยยความสู
ความสู
ยความสู งงของล ของล
งของล าต้าต้าต้
นนตันตั้ง้งตัแต่
แต่
้งแต่
ดอกจรดรากอาจมี
ดอกจรดรากอาจมี
ดอกจรดรากอาจมี คค่า่าคในช่
ในช่
่าในช่
ววงงว50
ง5050ถึถึงงถึ120 ง120120ซม.ดอกของผั
ซม.ดอกของผั
ซม.ดอกของผั กกตบชวานั
ตบชวานั
กตบชวานั ้น้นผลิ
คู่มือการควบคุ ้นผลิผลิ
ตตเมล็เมล็
ตมเมล็ ดดเช่เช่
และบ�ดนเช่
ำนรุเดีน
งเดีรัยเดี
กยวกั
วกั
ยวกับบพืบพืชพืชชนิ
ษาระบบบ� ชนิ
ชำบัชนิ
ดดดอืน�อืด้ำ่นเสี่นอืแต่
่นยแต่แต่
ผผักักผตบชวา
โรงพยาบาล ตบชวา
ักตบชวา
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 65
ขยายพั
ขยายพั
ขยายพั นนธุนธุ์ด์ดธุ้ว้ว์ดยการแตกหน่
ยการแตกหน่
้วยการแตกหน่ อออัออัตตอัราการผลิ
ราการผลิ
ตราการผลิ ตตมวลชี
มวลชี
ตมวลชี
ววภาพเมื
ภาพเมื
วภาพเมื ่อ่อเจริ
เจริ
่อเจริ ญญเติญเติบเติบโตในบ่
บโตในบ่
โตในบ่ ออบบอาบั
บาบัาบั
ดดน้น้ดาเสีน้าเสี
าเสี
ยยมีมียคคมี่า่าคประมาณ
ประมาณ
่าประมาณ222222ถึถึงงถึ60 ง6060
ก.น้
ก.น้ ก.น้
าหนั าหนั
าหนักกแห้ แห้
กแห้ งง/ตร.ม./ปี
/ตร.ม./ปี
ง/ตร.ม./ปีตารางที
ตารางที
ตารางที ่ 2-14
่ 2-14
่ 2-14แสดงองค์ แสดงองค์
แสดงองค์ ปประกอบของน้
ประกอบของน้
ระกอบของน้ าหนั
าหนั าหนั กกแห้แห้
กแห้งงของผั ของผั
งของผั กกตบชวาที
ตบชวาที
กตบชวาที ่เจริ
่เจริ่เจริ
ญญเติญเติบเติบโตในบ่ บโตในบ่
โตในบ่ ออบบอาบั บาบัาบัดดด
มีค่าประมาณ 22 ถึง 60 กรัม น�้ำหนักแห้ง/ตารางเมตร/ปี ตารางที่ 2-14 แสดงองค์ประกอบ
น้น้าเสี
น้าเสี าเสี
ยยซึยซึ่ง่งซึแสดงว่
แสดงว่
่งแสดงว่ าาสามารถน
สามารถน
าสามารถน ามาใช้
ามาใช้
ามาใช้ เป็เป็นเป็นอาหารสั
นอาหารสั
อาหารสั
ตตว์ตว์หหว์รืหรืออรืททอาปุทาปุาปุ
๋ย๋ยหมั๋หมั
ยหมั กกได้ได้
กดได้ดี ผัีดผักี กผัตบชวาสดมี
ตบชวาสดมี
กตบชวาสดมี นน้าเป็
น้าเป็้าเป็
นนองค์ นองค์
องค์ ปประกอบสู ประกอบสู
ระกอบสู งงถึถึงงถึง
ของน�
ร้ร้ออร้ยละ
ยละ
้ ำ หนั
อยละ959595ของน้

ของน้
แห้
ของน้

าหนั
ของผั
าหนั
าหนั กกก
ก ตบชวาที ่ เ จริ ญ เติ บ โตในบ่ อ บ� ำ บั ด น� ้ ำ เสี ย ซึ ่ ง แสดงว่ า สามารถน� ำ มาใช้ เป็น
อาหารสัตว์หรือท�ำปุ๋ยหมักได้ดี ผักตบชวาสดมีน�้ำเป็นองค์ประกอบสูงถึงร้อยละ 95 ของน�้ำหนัก

ก ข ค

รูปที่ 2-30(ก)(ก)(ก) (ข)(ข)(ข)


ก รากของพืชลอยน�้ำ ข รากผักตบที่เจริญเติบโตในบ่อ(ค)
(ค)
(ค)างหนาแน่น
อย่
ค รากผักตบชวาทีเ่ จริญเติบโตในบ่ออย่างหลวม ๆ

ตารางที่ 2-14 องค์ประกอบของผักตบชวาที่เจริญเติบโตในบ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย


ร้อยละของน�้ำหนักแห้ง
องค์ประกอบ
ค่าเฉลี่ย ช่วงค่า
โปรตีน 18.1 9.7 – 23.4
ไขมัน 1.9 1.6 – 2.2
ไฟเบอร์ 18.6 17.1 – 19.5
เถ้า 16.6 11.1 – 20.4
คาร์โบไฮเดรต 44.8 36.9 – 51.6
ไนโตรเจน (as N) 2.9 1.6 – 3.7
ฟอสฟอรัส (as P) 0.6 0.3 – 0.9
ที่มา : [19]

บ่อน�้ำที่มีผักตบชวาลอยอยู่เต็มผิวน�้ำจะมีสภาพแวดล้อมแตกต่างจากบ่อน�้ำที่ผิวน�้ำเปิดโล่ง
ใบผักตบชวาทีข่ นึ้ อย่างหนาแน่นจะกันแสงแดดท�ำให้สาหร่ายเจริญเติบโตไม่ได้ ค่า pH ของน�ำ้ ในบ่อ
อยูใ่ นช่วงเป็นกลางตลอดเวลา และใบผักตบป้องกันลมท�ำให้ไม่เกิดการผสมของน�ำ้ ในบ่อจึงเป็นการ
ลดการแพร่กระจายออกซิเจนจากอากาศลงสูน่ ำ�้ นอกจากนีย้ งั ป้องกันการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมขิ องน�ำ้
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
66 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ผลที่ได้คือน�้ำในระดับใกล้ผิวน�้ำจะมีค่า DO ที่ค่อนข้างต�่ำ และน�้ำที่อยู่ระดับล่างลงไปจะมีค่า DO


เป็นศูนย์ แม้ว่าบ่อจะมีความลึกไม่มากก็ตาม นอกจากนี้ผักตบชวาสามารถเจริญเติบโตได้ในน�้ำ
ที่อยู่ในสภาพไร้อากาศ เนื่องจากออกซิเจนจะถูกส่งผ่านจากใบลงสู่ราก จึงพบแบคทีเรียเชื้อรา
และจุลนิ ทรียป์ ระเภทต่าง ๆ บริเวณรากเป็นจ�ำนวนมาก รายละเอียดของบ่อผักตบชวามีดงั ต่อไปนี้
1 การก�ำจัดบีโอดี
การก�ำจัดบีโอดีส่วนใหญ่จะเกิดจากแอโรบิกแบคทีเรียที่เจริญเติบโตบริเวณรากของ
ผักตบชวาท�ำให้ประสิทธิภาพการก�ำจัดบีโอดีแปรผันโดยตรงกับความหนาแน่นของผักตบชวาและ
ความลึกของน�้ำในบ่อ ส�ำหรับบ่อที่มีผักตบชวาขึ้นปกคลุมทั่วบ่ออัตราภาระบีโอดีจะมีค่าเท่ากับ
10 กรัม/ตารางเมตร/วัน [15]
2 การก�ำจัดของแข็งแขวนลอย
ของแข็งแขวนลอยที่มีในน�้ำเสียส่วนหนึ่งจะเกาะติดกับรากของผักตบชวา และน�้ำที่อยู่
ในใต้ผักตบชวามีความปั่นป่วนน้อยมากท�ำให้การตกตะกอนมีประสิทธิภาพสูงและดีกว่าบ่อปรับ
เสถียรทีผ่ วิ น�ำ้ เปิดโล่ง นอกจากนีก้ ารทีใ่ บผักตบชวาป้องกันแสงแดดไม่ให้สอ่ งลงสูน่ ำ�้ ท�ำให้สาหร่าย
เจริญเติบโตไม่ได้ จึงเป็นการก�ำจัดของแข็งแขวนลอยในรูปเซลล์สาหร่ายที่มีประสิทธิภาพมาก
แต่มีข้อควรระวังในการใช้บ่อผักตบชวาคือผักตบชวามีอายุประมาณ 7 เดือน หลังจากนั้นจะตาย
และต้นผักตบชวาจะจมลงสูก่ น้ บ่อและเกิดการเน่าสลายแบบไร้อากาศ ถ้าไม่มกี ารเก็บเกีย่ วผักตบชวา
ออกเลย ต้นผักตบชวาที่ตายจะทับถมเป็นตะกอนสะสมที่ก้นบ่อท�ำให้ความลึกน�้ำของบ่อลดลง
เรื่อย ๆ จนตื้นเขินในที่สุด
3 การก�ำจัดไนโตรเจน
การก�ำจัดไนโตรเจนในบ่อผักตบชวาเกิดจากการดูดซึมของพืช การระเหยของแอมโมเนีย
และปฏิกริ ยิ าไนตริฟเิ คชัน/ดิไนตริฟเิ คชัน การดูดซึมไนโตรเจนของผักตบชวาร่วมกับการเก็บเกีย่ ว
ผักตบชวาออกจากบ่อเป็นวิธีการก�ำจัดไนโตรเจนที่มีประสิทธิภาพที่สูงสุด ส�ำหรับอัตราการเจริญ
เติบโตปกติของผักตบชวาจะสามารถก�ำจัดไนโตรเจนได้ 1 กรัม/ตารางเมตร/วัน [15] การก�ำจัด
ไนโตรเจนทีเ่ พิม่ ขึน้ จากนีค้ าดว่าเกิดจากปฏิกริ ยิ าไนตริฟเิ คชัน/ดิไนตริฟเิ คชัน แบคทีเรียไนตริไฟเออร์
สามารถเกาะติ ด บริ เ วณรากของผั ก ตบชวาซึ่ ง ให้ออกซิเจนแก่แบคทีเรีย ขณะที่น�้ำด้านล่าง
อยู่ในสภาวะไร้อากาศและมีสารอินทรีย์เป็นจ�ำนวนมากส�ำหรับปฏิกิริยาดิไนตริฟิเคชัน ปฏิกิริยา
ไนตริฟิเคชัน/ดิไนตริฟิเคชันจะเกิดขึ้นได้ดีในบ่อน�้ำที่ตื้นเนื่องจากน�้ำเสียทั้งหมดมีโอกาสสัมผัส
กับรากของผักตบชวา
4 การพิจารณาออกแบบ
ระบบบ่อผักตบชวาอาจถูกใช้เป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโดยตรง เป็นบ่อบ�ำบัดขั้นต้น
เป็นบ่อส�ำหรับปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ ทิง้ จากระบบบ�ำบัดขัน้ ทีส่ อง หรือเป็นระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียขัน้ ทีส่ าม
ตัวแปรส�ำหรับการออกแบบที่ส�ำคัญที่สุดคือ อัตราภาระบีโอดีเช่นเดียวกับระบบบ่อปรับเสถียร
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 67

ตารางที่ 2–15 แสดงเกณฑ์ออกแบบระบบบ่อผักตบชวาส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสียโดยตรง


ผักตบชวาจะเจริญเติบโตปกคลุมเต็มพื้นที่ผิวของบ่อ ซึ่งจะป้องกันการเจริญเติบโตของสาหร่าย
และท�ำให้เกิดการก�ำจัดทั้งบีโอดีและของแข็งแขวนลอย และประสิทธิภาพการบ�ำบัดจะดีกว่า
การใช้ บ่อ แฟคั ล เทที ฟ อย่ า งเดี ย ว นอกจากนี้ ส ามารถปรั บ ใช้ บ่อ ผั ก ตบชวาเป็น บ่อ สุ ด ท้ า ย
ของบ่อแฟคัลเททีฟที่ต่อกันแบบอนุกรมเพื่อปรับปรุงคุณภาพของน�้ำทิ้งให้ดีขึ้น
ควรพิจารณาออกแบบบ่อผักตบชวาเป็นหลายชุด ๆ ละหลายบ่อเพื่อการควบคุมอัตรา
ไหลที่เหมาะสม และความกว้างของบ่อไม่มากนักเพื่อให้สามารถเก็บเกี่ยวผักตบชวาได้สะดวก
ส�ำหรับการออกแบบตามเกณฑ์ที่แสดงในตารางที่ 2-15 นั้นให้แบ่งพื้นที่ที่ต้องการออกเป็น 2 ชุด
ขนานกัน แต่ละชุดประกอบด้วยอย่างน้อย 3 บ่อ เพือ่ ให้สามารถเปลีย่ นทางไหลของน�ำ้ ชัว่ คราวได้
ส�ำหรับกรณีที่ต้องการบ�ำรุงรักษาบ่อหรือเก็บเกี่ยวผักตบชวาโดยไม่กระทบกับการบ�ำบัดน�้ำเสีย
ตารางที่ 2-15 เกณฑ์ออกแบบระบบบ่อผักตบชวาส�ำหรับบ�ำบัดน�้ำเสีย
เกณฑ์ออกแบบบ่อผักตบชวา
รายการ
ใช้เป็นระบบบ�ำบัดขั้นที่สอง ใช้เป็นระบบบ�ำบัดขั้นที่สาม
อัตราภาระสารอินทรีย์
พื้นที่รวมทั้งหมด 5 ก.บีโอดี/ตร.ม./วัน < 5 ก.บีโอดี/ตร.ม./วัน
บ่อแรกของระบบ 10 ก.บีโอดี/ตร.ม./วัน < 15 ก.บีโอดี/ตร.ม./วัน
ความลึกน�้ำ < 1.5 ม. < 0.9 ม.
พื้นที่สูงสุดต่อบ่อ < 4,000 ตร.ม. < 4,000 ตร.ม.
ระยะเวลากักน�้ำรวม > 40 วัน 6 วัน
อัตราภาระชลศาสตร์ > 20 ล./ตร.ม./วัน < 80 ล./ตร.ม./วัน
อุณหภูมิ > 10OC > 20OC
รูปร่างของบ่อ สี่เหลี่ยมผืนผ้า สี่เหลี่ยมผืนผ้า
ความยาว : ความกว้าง > 3:1 ความยาว : ความกว้าง > 3:1
หัวกระจายน�้ำเสียเข้าบ่อ แนะน�ำให้มี แนะน�ำให้มี
การควบคุมยุง จ�ำเป็น จ�ำเป็น
ตารางเวลาเก็บเกี่ยว ตามฤดูกาลหรือปีละครั้ง เก็บเกี่ยวต้นแก่ ทุกๆ
3 – 4 อาทิตย์
การใช้บ่อหลายบ่อ จ�ำเป็น ใช้บ่อ 2 ชุดๆ ละ 3 บ่อ จ�ำเป็น ใช้บ่อ 2 ชุดๆ ละ 3 บ่อ
คุณภาพน�้ำทิ้ง BOD5 < 30 มก./ล., BOD5 < 10 มก./ล.,
SS < 30 มก./ล. SS < 10 มก./ล.
TN < 5 มก./ล. TP < 5 มก./ล.
ที่มา : [15]
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 69

บทที่
3 การควบคุมและดูแล
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
3.1 ระบบรวบรวมน�้ำเสีย

ระบบท่อรวบรวมน�ำ้ เสียของโรงพยาบาลท�ำหน้าถ่ายเทน�ำ้ เสียจากแหล่งก�ำเนิดต่าง ๆ ไปยัง


ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ทัง้ อัตราการไหลน�ำ้ เสีย องค์ประกอบทางเคมีและทางชีวภาพมีการเปลีย่ นแปลง
ตลอดเวลา การเปลี่ยนแปลงอาจเกิดขึ้นตามช่วงเวลาของวันหรือตามฤดูกาล เพื่อให้ระบบท่อ
รวบรวมสามารถรวบรวมน�้ำเสียทั้งหมดที่เกิดขึ้นไปบ�ำบัดอย่างถูกต้อง การควบคุมดูแลระบบท่อ
รวบรวมน�้ำเสียเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

3.1.1 ความปลอดภัย
สิ่งแรกที่ต้องค�ำนึงถึงคือความปลอดภัยตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เพราะอาจเกิด
อุบตั เิ หตุทที่ ำ� ให้สญู เสียชีวติ และทรัพย์สนิ เนือ่ งจากระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียและระบบท่อรวบรวมน�ำ้ เสีย
จัดเป็นพืน้ ทีอ่ บั อากาศ ควรมีขอ้ แนะน�ำด้านความปลอดภัยแจ้งเตือนผูป้ ฏิบตั งิ านให้เข้าใจตลอดเวลา
โรงพยาบาลควรมีนโยบายด้านความปลอดภัย และมีคณะกรรมการความปลอดภัยในการจัดการ
ประชุม จัดเตรียมอุปกรณ์ทจี่ ำ� เป็นและฝึกอบรมด้านความปลอดภัยให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ าน โดยเฉพาะ
การปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศ

3.1.2 กลิ่น
ปกติทอ่ รวบรวมน�ำ้ เสียถูกออกแบบให้นำ�้ เสียไหลในท่อด้วยความเร็วสูงกว่า 0.6 เมตร/
วินาที ด้วยการวางท่อให้มีความลาดชันเพื่อป้องกันตะกอนสารอินทรีย์ขนาดเล็กสะสมในท่อ
ในช่วงเวลาทีม่ นี ำ�้ เสียไหลน้อยอาจมีตะกอนสารอินทรียต์ กค้างสะสมอยู่ แต่ในช่วงกลางวันทีม่ นี ำ�้ เสีย
ปริมาณมากตะกอนเหล่านี้จะถูกชะเข้าสู่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย กลิ่นที่เกิดขึ้นจากท่อระบายน�้ำเสีย
ส่วนใหญ่เป็นกลิ่นที่เกิดจากการย่อยสลายแบบไร้อากาศของสารอินทรีย์ ซึ่งอาจเกิดจากมีน�้ำเสีย
ท่วมขังอยูภ่ ายในท่อตลอดเวลา หรือเกิดจากการเน่าสลายของตะกอนสารอินทรียท์ สี่ ะสมอยูใ่ นท่อ
ดังนั้นเมื่อได้รับรายงานหรือข้อร้องเรียนเรื่องของกลิ่นที่ออกจากท่อรวบรวมน�้ำเสีย ผู้ปฏิบัติงาน
ควรเปิดฝาท่อบ่อตรวจหาสาเหตุและรีบหาทางแก้ไข อาจพิจารณาล้างท่อด้วยน�้ำจ�ำนวนมากก่อน
ก�ำหนด ในท่อที่มีน�้ำท่วมขังเป็นประจ�ำอาจใช้เครื่องสูบจมน�้ำถ่ายเทน�้ำเสียเข้าท่อรวบรวมน�้ำเสีย
ที่ใช้งานได้ปกติ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
70 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

บททีบทที
3.1.3 การควบคุมดูแลท่อรวบรวมน� ้ำ่ เสี3ยการควบคุ
่ 3 การควบคุ
มและดู
มและดู
แลระบบบ
แลระบบบ
าบัดาบั
นาเสี
ดนยาเสีย
ควรจัดเตรียมแผนงานและตารางเวลาส�ำหรับการตรวจสอบท่อรวบรวมน�้ำเสีย
1
(2) การตรวจสอบสภาพภายในท่
(2)หลัการตรวจสอบสภาพภายในท่
กทุกปี ตรวจสอบบ่อตรวจอการตั รวบรวมน้
อรวบรวมน้
ดรากไม้าเสีและการลอกตะกอน
ยาเสี
อาจท ยอาจท
าได้ยาได้ ากเนื ยากเนื
่อการด�
งจากการขาดแคลนอุ
่องจากการขาดแคลนอุ
ำเนินงานอาจท�ำโดย ปกรณ์ปกรณ์ เช่น เช่น
งตรวจสอบท่ ผู้ปฏิอบจากระยะไกล
กล้องตรวจสอบท่ ัติงอานภายในโรงพยาบาลหรื
จากระยะไกล ทาให้ทไาให้ ไม่ออาจจ้
ม่สามารถประเมิ างหน่วนยงานภายนอกเข้
สามารถประเมิ สภาพด้
น สภาพด้านในของท่าานในของท่
ด�ำเนิอนงานแทน
ซึ่งอท่อซึรวบรวมอาจอยู
่งท่อรวบรวมอาจอยู ่ในสภาพ ่ในสภาพ
2 การตรวจสอบสภาพภายในท่ อ รวบรวมน�้ ำ เสี ย อาจท� ำ ได้ ย ากเนื่ อ งจากการ
หายหรื
เสียหายหรื
อแตกหั อ แตกหั
ก หรื กอ ท่
หรือ รวบรวมอาจอยู
อท่อรวบรวมอาจอยู ่ในสภาพที
่ในสภาพที
่ต้องซ่่ตอ้อมแซมหรื
งซ่อมแซมหรื
ขาดแคลนอุปกรณ์ เช่น กล้องตรวจสอบท่อจากระยะไกล ท�ำให้ไม่สามารถประเมินสภาพด้าน
อมีรากไม้อมีรากไม้ไชทะลุ ไชทะลุจึงทาได้ จึงทแาได้
ต่เพีแยต่งเปิ
เพียดงเปิ
บ่อดบ่อ
จและตรวจสภาพของการไหลของน้
ตรวจและตรวจสภาพของการไหลของน้
ในของท่อ ซึ่งท่อรวบรวมอาจอยู าเสีย่ใาเสี
ดังแสดงในรู
ยดังแสดงในรู
นสภาพเสี ปที่ 3-1
ยหายหรื ปอแตกหั
ที่ ซึ3-1
่งวิกธซึีกหรื
่งารตรวจสอบพื
วิอธท่ีกอารตรวจสอบพื
รวบรวมอาจอยู ้นฐานท ้น่ในสภาพ
ฐานท
าโดยเปิ
าโดยเปิ
ดฝาบ่ดอฝาบ่อ
จตลอดแนวของเส้
ตรวจตลอดแนวของเส้
ทีต่ อ้ งซ่อนมแซมหรื
ท่อนและตรวจสอบการไหลของน้
ท่ออและตรวจสอบการไหลของน้
มีรากไม้ไชทะลุ จึงท�ำได้แาเสี ต่เพียยาเสี
ควรท
งเปิ ยดบ่ควรท
าการตรวจในช่
าการตรวจในช่
อตรวจและตรวจสภาพของการไหลของวงที่มวีนงที้าเสี่มีนย้าเสี
ไหลในปริ
ยไหลในปริ
มาณมาก มาณมาก
อาจเทน้ น�ำ้ าลงในบ่
หรืออาจเทน้
าลงในบ่เสียอดัตรวจต้
งแสดงในรู
อตรวจต้ ปทีน่ ทางและควรท
3-1 ซึง่ วิธกี าการตรวจสอบที
นทางและควรท ารตรวจสอบพื น้ ฐานท�
าการตรวจสอบที ำโดยเปิ
ละแนวท่ละแนวท่ อดฝาบ่ อ อตรวจตลอดแนวของเส้นท่อ
และตรวจสอบการไหลของน�้ำเสีย ควรท�ำการตรวจในช่วงที่มีน�้ำเสียไหลในปริมาณมากหรืออาจ
เทน�้ำลงในบ่อตรวจต้นทางและควรท�ำการตรวจสอบทีละแนวท่อ

ก ข

รู(ก) (ก) การตรวจสอบไหลของน�้ำเสียในท่อรวบรวมน�


ปที่ 3-1 (ข) ้ำ(ข)
เสีย
ที่ รู3-1
ปที่ การตรวจสอบไหลของน
3-1 การตรวจสอบไหลของน าเสียาเสี
ในท่ยอในท่
ก น�้ำเสียไหลแบบปกติ รวบรวมน
กอรวบรวมน
น�้ำขังาเสี
ในบ่ยอาเสี
(ก)ย น(ก)
ตรวจเนืาเสี
นยาเสี
ไหลแบบปกติ
่องจากท่ ยอไหลแบบปกติ
เกิดการอุด(ข)
ตัน น(ข)
าขังนในบ่
าขังอในบ่
ตรวจอตรวจ
งจากท่
เนื่องจากท่
อเกิดอการอุ
เกิดการอุ
ดตันดตัน
3 ตรวจสอบการสะสมของขยะ ดิน กรวดทรายและหินที่สะสมอยู่ภายในบ่อตรวจ
(3) ตรวจสอบการสะสมของขยะ
(3)ควรพิ
ตรวจสอบการสะสมของขยะ ดิน กรวดทรายและหิ
ดิน กรวดทรายและหิ
จารณาก�ำจัดออกก่อนท�ำการล้างท่อ ตรวจสอบการไหลของน�้ำเสียในรางรูปตัวยู ถ้าระดับ
นที่สนะสมอยูที่สะสมอยู ่ภายในบ่ ่ภายในบ่
อตรวจ อตรวจ ควรพิควรพิ จารณาก จารณากาจัด าจัด
กก่ออกก่
อนทอาการล้
นทของไหลของน�
าการล้
างท่อางท่ตรวจสอบการไหลของน้
อ้ำเสีตรวจสอบการไหลของน้
ยสูงแสดงว่ามีตะกอนหรื าเสีอยสิาเสี
ในรางรู
่งกีดยขวางการไหลของน�
ในรางรู ปตัว ยูปตัถ้วายูระดั ถ้้ำาบเสีระดั
ของไหลของน้
ยอยูบ่ภของไหลของน้
ายในท่อ าเสียาเสี สูงแสดงว่
ยสูงแสดงว่ามี ามี
อนหรื
ตะกอนหรือสิ่งกีอดสิขวางการไหลของน้
่งกีดขวางการไหลของน้
4 การล้าเสี ยาเสี
างระบบท่อยู่ภยายในท่ ออยูรวบรวมน�
่ภายในท่อ ้ำอเสีย การไหลของน�้ำเสียด้วยแรงโน้มถ่วงในท่อ
(4)รวบรวมน�
(4) การล้ การล้ าำ้งระบบท่
างระบบท่ เสียอจะเกิ อดรวบรวมน้
รวบรวมน้ จากการสะสมของวั
าเสียาเสี การไหลของน้ สดุตา่ ง ๆาเสี
ย การไหลของน้ ภายในท่ยาเสี ยอด้ได้
ด้วยแรงโน้ แก่มไขมั
วยแรงโน้ นมถ่ตะกอนดิ
ถ่วงในท่ วงในท่
อรวบรวมน้ อนรวบรวมน้
กรวดทรายาเสียาเสี จะเกิยจะเกิ
ดจากดจาก
หินและขยะ การล้างท่อรวบรวมน�้ำเสียเป็นการก�ำจัดสิ่งแปลกปลอมที่ตกค้างอยู่ภายในท่อ
สะสมของวั
การสะสมของวั สดุต่าจสงารณาล้
ควรพิ ดุๆต่าภายในท่
ง ๆางท่ภายในท่
ออย่อาได้งสม�อแก่ำ่ ได้ ไขมั
แก่นไขมั
เสมอปี ละตะกอนดิ
1นครัตะกอนดิ
ง้ ส�นำหรักรวดทราย
บนแนวท่
กรวดทราย
อทีเ่ กิหิดนการอุ และขยะ
หินดและขยะ
ตันบ่การล้
อยอาจท� การล้
างท่ำการล้
อารวบรวมน้
งท่าองรวบรวมน้ าเสียาเสีย
การก
เป็นการก
าจัดสิาจั
่งแปลกปลอมที
ดสิ่งแปลกปลอมที
หลายครั ่ตกค้ำาการล้
ง้ ต่อปี อาจท� ่ตงอยู
กค้าา่ภงถี
งอยูายในท่
ข่ นึ้ ่ภเมืายในท่
อ่ อจ�ำควรพิ
เป็อน ควรพิ
จารณาล้
ในการล้ จารณาล้
างท่างท่ อาอย่
อรวบรวมน�งท่าองสม่ อย่ำ้ เสีาาเสมอปี
งสม่ าเสมอปี
ยควรให้ คลวามส�
ะ 1ลครั ำะคั1ญ
้ง ตรวจ
สครัาหรั ้ง สบาหรั
แนวท่บแนวท่
อ อ
ดการอุ ดตันสอบการไหลของน�
ที่เกิดการอุ บ่ดตัอนยอาจท
บ่อยอาจท าการล้ ้ำเสีางหลายครั
าการล้ ยระหว่
างหลายครัางบ่้งอต่ตรวจ อและสั
อปี้งต่อาจท ปี อาจทงเกตความผิ
าการล้ างถี่ขดาึ้นปกติ
าการล้ งถีเมื่ข่อึ้นทจี่อเมืาเป็
าจเกิ ดในการล้
่อจนาเป็ขึ้นนและหาทางแก้
ในการล้ งท่ไขอรวบรวมน้
างท่อารวบรวมน้ าเสียาเสีย
5 Flushing ส�ำหรับช่วงท่อรวบรวมทีม
ให้ควรให้
ความส ความส
าคัญตรวจสอบการไหลของน้
าคัญตรวจสอบการไหลของน้ าเสียาเสี ระหว่ ยระหว่
างบ่อาตรวจงบ่่ อคี ตรวจ
วามชั
และสันและสั
ไม่ เพียงงพอ
งเกตความผิ รวมทั
เกตความผิ ดปกติง้ ท่ดอทปกติ
รวบรวมน�
ี่อาจเกิ ดำ้ ขึเสี้นยและหาทาง
ที่อาจเกิ ดขึ้นและหาทาง
ต้นทางที่มีปริมาณน�้ำเสียไหลน้อย อาจเกิดการสะสมของตะกอนสารอินทรีย์ภายในท่อเป็น
ขแก้ไข
(5) Flushing
(5) Flushing สาหรัสบาหรั ช่วงท่ บช่อวรวบรวมที
งท่อรวบรวมที ่มีความชั ่มีความชั
นไม่เนพีไม่ ยงพอ
เพียงพอรวมทัรวมทั ้งท่อรวมรวมน้
้งท่อรวมรวมน้ าเสียาเสีต้นทางที
ยต้นทางที ่มีปริม่ าณ
ีปริมาณ
สีน้ยาเสี
ไหลน้ยไหลน้
อย อาจเกิอย อาจเกิ
ดการสะสมของตะกอนสารอิ
ดการสะสมของตะกอนสารอิ นทรียน์ภทรีายในท่
ย์ภายในท่ อเป็นอจเป็านวนมาก นจานวนมาก อาจพิอาจพิ จารณาล้ จารณาล้ างท่อาเป็ งท่นอครั
เป็้งนครั้ง
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 71

จ�ำนวนมาก อาจพิจารณาล้างท่อเป็นครั้งคราวด้วยน�้ำปริมาณมาก (flushing) เพื่อชะล้างตะกอน


ทีส่ ะสมอยูภ่ ายในท่อ (ปริมาณการใช้นำ�้ ล้างขึน้ กับขนาดท่อและความลาดชัน) ในการล้างท�ำความ
สะอาดท่อ ควรเปิดฝาท่อช่วงต้นและช่วงท้ายของท่อแต่ละช่วง และควรก�ำจัดกรวดทรายออก
บ่อตรวจทีอ่ ยูด่ า้ นปลายช่วงท่อ ไม่ควรปล่อยให้กรวดทรายไหลต่อไปยังปลายท่อเพือ่ ป้องกันปัญหา
ที่จะเกิดขึ้นที่สถานีสูบและระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
6 ควรรักษาระดับน�ำ้ ในบ่อสูบให้ตำ�่ กว่าปลายท่อทีร่ ะบายน�ำ้ เสียเข้าบ่อสูบ เนือ
่ งจาก
ถ้าน�้ำเสียท่วมปลายท่อจะท�ำให้น�้ำเสียค้างอยู่ภายในท่อ ตะกอนที่มีในน�้ำเสียจะตกตะกอน
อาจท�ำให้ท่ออุดตันในภายหลัง และให้น�ำขยะออกจากตะแกรงดักขยะที่บ่อสูบเป็นประจ�ำทุกวัน
เพื่อให้น�้ำเสียไหลผ่านได้สะดวก

3.1.4 บ่อตรวจ (Manhole)


1 โรงพยาบาลจะต้องมีแบบแปลนแสดงต�ำแหน่งบ่อตรวจและแนวท่อรวบรวม
น�้ำเสียทั้งหมด และควรปรับปรุงให้ทันสมัยเมื่อมีการก่อสร้างเพิ่มเติมในโรงพยาบาล ฝาบ่อตรวจ
จะต้องไม่ถูกฝังดินหรือถูกเทปูนทับ การตรวจสอบทุกครั้งควรสรุปเป็นรายงานเพื่อเป็นข้อมูล
ส�ำหรับจัดเตรียมเอกสารของบประมาณส�ำหรับการซ่อมแซมหรือการวางท่อรวบรวมน�้ำเสียใหม่
ในอนาคต บ่อตรวจทั้งหมดภายในโรงพยาบาลควรได้รับการตรวจสอบเป็นประจ�ำทุก ๆ 1 – 2 ปี
2 ตรวจสอบสภาพภายนอก สภาพของกรอบและฝาของบ่อตรวจ บ่อตรวจควรอยู่
สภาพดี ผนังของบ่อไม่มรี อยแตกหรือรอยรัว่ และไม่เกิดการทรุดตัวของผนังบ่อ ฝาบ่อตรวจควรมี
ความแข็งแรง สามารถรับแรงกดและแรงกระแทกได้ดี และสามารถเปิดเพื่อซ่อมแซมบ�ำรุงได้ง่าย
มีน�้ำหนักไม่มากเกินไปและไม่มีข้อบกพร่องที่ท�ำให้น�้ำฝนสามารถไหลเข้าท่อรวบรวมน�้ำเสียได้
ต�ำแหน่งของบ่อตรวจทีอ่ ยูใ่ นบริเวณพืน้ ทีน่ ำ�้ ท่วมขังหรือเป็นทางไหลของน�ำ้ ฝนควรมีระดับของขอบ
ฝาบ่อทีส่ งู กว่าระดับน�ำ้ เพือ่ ป้องกันน�ำ้ ฝนไหลเข้าท่อ (รูปที่ 3-2) ตรวจสอบสภาพของเหล็กทีต่ ดิ ตัง้
บนฝาบ่อตรวจและถ้าผุกร่อนควรพิจารณาซ่อมแซม ฝาบ่อตรวจควรสามารถเปิดได้ทุกฝาและ
ถ้าเกิดความเสียหายจากการเปิดฝาบ่อให้ท�ำการซ่อมแซมภายหลัง
3 ตรวจสอบความแข็งแรงบันไดเหล็ก (ถ้ามี) เพื่อให้สามารถลงไปในบ่อตรวจได้
ทาสีกันสนิมบันไดเหล็กส�ำหรับลงไปในบ่อตรวจ ตรวจสอบการผุกร่อนของอุปกรณ์โลหะใช้ยกบ่อ
ตรวจซ่อมแซมฝาบ่อตรวจที่เสียหาย
4 ตรวจสอบสภาพภายในบ่อตรวจ ตรวจสอบสภาพด้านในของบ่อตรวจ สภาพของ
ปูนด้านในรอยแตกร้าวและการรั่วไหลของน�้ำเสีย
5 ตรวจสอบการรั่วไหลเข้าของน�้ำฝนโดยท�ำการตรวจสอบในช่วงที่ฝนตก ซึ่งอาจ
เกิดจากการแตกหักของท่อ หรือเกิดจากน�้ำฝนท่วมเข้าท่อ ตรวจสอบการซึมน�้ำเข้าบ่อตรวจ ถ้ามี
ข้อสงสัยอาจท�ำการตรวจสอบหลังฝนตก
หลของน้ าเสีย าเสีย
ารรั่วไหลของน้
บการรั ่วไหลเข้่วาไหลเข้
รวจสอบการรั
72 ของน้าฝนโดยท าการตรวจสอบในช่
าของน้าฝนโดยท าการตรวจสอบในช่วงที่ฝนตก
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ วงทีซึ่ฝ่งนตก
อาจเกิ
ซึ่งดอาจเก
จากา
นท่
ากน้วาฝนท่
มเข้าท่วอมเข้ตรวจสอบการซึ มน้าเข้ามบ่น้อาเข้
าท่อ ตรวจสอบการซึ ตรวจาบ่อถ้ตรวจ
ามีข้อสงสั
ถ้ามียขอาจท
้อสงสัยาการตรวจสอ
อาจทาการต

ก ข

รูปที่ 3-2 ขอบบ่อตรวจ


(ก) ก (ก) ขอบบ่อตรวจยกสูงเหนือพื้นดิน ข ขอบบ่อตรวจระดับเดียวกับพื้นดิน(ข) (ข)
บ่2 อขอบบ่
ตรวจอ3.2(ก) ขอบบ่
ตรวจ แลรักอขอบบ่
(ก)
การดู ตรวจยกสู
ษาบ่ อสูบอ/เครื ่องงสู
ตรวจยกสูเหนืบน�อ้ำ พื นดินอพื(ข)
งเหนื นดิขอบบ่
น (ข) อขอบบ่
ตรวจระดั บเดียวกบ
อตรวจระดั
ข้อปฏิบัติในการดูแลรักษาบ่อสูบน�้ำเสีย ดังนี้
1 ผู้ปฏิบัติงานจะต้องดึงตะแกรงดักขยะที่ปลายท่อรวบรวมน�้ำเสียในบ่อสูบขึ้นไป น�ำขยะ
ออกจากตะแกรงและใส่ถุงขยะติดเชื้ออย่างน้อยวันละ 1 ครั้งเพื่อให้น�้ำเสียในท่อไหลได้สะดวก
2 ลูกลอยควบคุมระดับน�้ำเสีย ต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์สามารถสั่งงานได้ปกติ ปรับระดับ
ความสูงของลูกลอยในบ่อสูบให้เหมาะสม เพื่อไม่ให้เครื่องสูบน�้ำเดินเครื่องท�ำงานและหยุดท�ำงาน
ถี่เกินไป ซึ่งจะช่วยยืดอายุการใช้งานของเครื่องสูบให้นานขึ้น โดยปกติให้ปรับระดับลูกลอยเพื่อ
ให้เครื่องสูบท�ำงานเฉลี่ย 10-15 นาทีต่อครั้ง และมีเวลาหยุดท�ำงานไม่ตำ�่ กว่า 20-30 นาที และ
ปรับระดับความสูงของลูกลอยเพื่อให้ระดับน�้ำเสียในบ่อสูบไม่สูงจนท่วมปลายท่อรวบรวมน�้ำเสีย
ถ้าน�้ำท่วมปลายท่อจะท�ำให้น�้ำท่วมขังภายในท่อและบ่อตรวจต้นทาง (รูปที่ 3-3 ข) ส่งผลให้
ของแข็งแขวนลอยในน�ำ้ เสียตะกอนในท่อรวบรวม ซึง่ ท�ำให้เกิดการอุดตันของท่อและเกิดกลิน่ เหม็น
นอกจากนี้ถ้าระดับน�้ำเสียท่วมตะแกรงดักขยะแบบตะกร้าจะท�ำให้มีขยะลอดออกจากช่องว่าง
ระหว่างตะแกรงกับปลายท่อรวบรวมน�้ำเสียเข้าในบ่อสูบ จึงควรตรวจสอบระดับน�้ำในบ่อสูบไม่ให้
ท่วมปากท่อรวบรวมน�้ำเสียที่ระบายลงสู่บ่อสูบน�้ำเสีย (รูปที่ 3-3 ก)
นอกจากนี
ปลายท่
นอกจากนี
นอกจากนี ้ถ้าบบระดั
อ้ถ้ถรวบรวมน้
้า้าระดั
ระดั น้น้าเสี บยยน้ท่ท่าเสี
าเสีาเสี ยาในบ่
ท่วมตะแกรงดั
ยววเข้มตะแกรงดั
มตะแกรงดั กขยะแบบตะกร้
อสูกบกขยะแบบตะกร้
จึงควรตรวจสอบระดั
ขยะแบบตะกร้าาจะท
จะทาให้ าให้มบมาีขจะท าให้อมสูีขบยะลอดออกจากช่
ีขน้ยะลอดออกจากช่
าในบ่
ยะลอดออกจากช่ ไม่ให้อทองว่งว่่วมปากท่ อรวบรวมน้
งว่างระหว่
งระหว่าอางตะแกรงกั
าางระหว่ งตะแกรงกั บ างต
บาเสี ยท
ปลายท่
ลงสู
ปลายท่
ปลายท่ สูบอน้รวบรวมน้
่บออ่ รวบรวมน้
รวบรวมน้ าเสียาเสี าเสี(รูยยปเข้เข้าเสี ยเข้ออาก)
ทีาา่ ในบ่
3-3
ในบ่ สูสูในบ่
บบ จึจึงองควรตรวจสอบระดั
สูบ จึงควรตรวจสอบระดั
ควรตรวจสอบระดั าในบ่ออสูบสูมบและบ�
บคู่มน้น้ือาในบ่
บระบบบ่ การควบคุ บน้ไม่
าในบ่
ไม่ ห้งทรัทกอ่ว่วษาระบบบ�
ำใใรุห้ สูมปากท่
บไม่ำใบัอห้อดรวบรวมน้
มปากท่ ท้ำเสี่วยมปากท่
น�รวบรวมน้ าเสีอยยรวบรวมน้
าเสี
โรงพยาบาล ะบาย าเส
ที73่ร่ระบาย
ที
อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
ลงสูลงสู
ลงสู ่บ่บ่อ่อสูสู่บบบ่อน้น้สูาเสี
าเสี
บน้ยยาเสี
(รู(รูปปยทีที่ (รู
่ 3-3
3-3
ปทีก)ก)่ 3-3 ก)


(ก)
(ก) (ก)
(ก)


(ข)
(ข)
รูปที่ 3-3 ระดับน�้ำในบ่อสูบน�้ำเสีย ก ระดับน�้ำอยู(ข) ่ต�่ำกว่าตะแกรง ไม่มีน�้ำขังในบ่อตรวจ
รูรูปปทีที่ ่ 3-3
3-3 ระดั
ระดับบนนขาในบ่
าในบ่ อ สู บ น าเสี
ระดัอบสูน�บ้ำนท่าเสี ย (ก) ระดั
ย อ(ก)น�้ำระดั บ น
เสียบและด้ าอยู ต

นาอยูา่ตนล่ากว่

่ากว่ า ตะแกรง
าตะแกรง ไม่มีนนาขั�้ำงเสี
งในบ่
ในบ่
ยขัองอในบ่
ตรวจอตรวจ
(ข) ระดั
ระดับบนนาท่
าท่ววมท่
มท่ออ
วมท่ (ข)ไม่มมีีนาขั
างของตะแกรง ตรวจ (ข)
นนรูาเสี
ปทียย่และด้
าเสี 3-3 าระดั
และด้ นล่าบางของตะแกรง
านล่ นาในบ่อสูบนมีมีาเสี
งของตะแกรง าเสียยย(ก)
นนาเสี ระดัออตรวจ
ขัขังงในบ่
ในบ่ บตรวจ
นาอยู่ต่ากว่าตะแกรง ไม่มีนาขังในบ่อตรวจ (ข) ระดับนาท
นาเสี
รูปทีย่ และด้ านล่
3-3 3ระดั บานงของตะแกรง
ในกรณี าในบ่ เสีมียนยขัาเสี
เครือ่ องสูสูบบน�นำ้ าเสี ข้อยงเป็
ด(ก) ขัระดั
งนในบ่
บนอาอยู
ตรวจ
เวลานาน ่ตๆ่ากว่
จะท�าำตะแกรง ไม่มอีนสูาขั
ให้นำ�้ เสียในบ่ งในบ่ออพัตรวจ
บและบ่ กต่าง ๆ(ข) ระดับน
นาเสี
สูงยขึและด้ านล่า่งงของตะแกรง
้น จนกระทั ล้นบ่อสูบและบ่มีอนพัาเสี ก ยจ�ำขัเป็
งในบ่
นต้อองรีตรวจ
บแก้โดยเปิดวาล์วใช้ท่อระบายน�้ำฉุกเฉิน
ที่สามารถระบายน�้ำเสียจากบ่อสูบผ่านไปยังถังสัมผัสคลอรีน ให้เพิ่มอัตราการเติมคลอรีนเพื่อ
ฆ่าเชื้อโรคแล้วระบายลงสู่แหล่งน�้ำสาธารณะ ในกรณีที่ไม่มีท่อระบายฉุกเฉินจ�ำเป็นต้องจัดให้มี
เครื่องสูบน�้ำส�ำรองไว้ที่โรงบ�ำบัดน�้ำเสีย เพื่อท�ำการสูบแทนจนกว่าจะซ่อมเครื่องสูบน�้ำในบ่อสูบ
แล้วเสร็จ
4 กรณีฝนตกหนักและมีน�้ำฝนไหลเข้าสู่ท่อรวบรวมน�้ำเสียจ�ำนวนมากจนเครื่องสูบน�้ำ
ที่ติดตั้งไม่สามารถสูบน�้ำได้ทัน เพื่อป้องกันไม่ได้เกิดอันตรายแก่เครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบ
ให้เปิดวาล์วใช้ท่อระบายฉุกเฉินที่สามารถระบายน�ำ้ เสียจากบ่อสูบไปยังถังสัมผัสคลอรีน ให้เพิ่ม
อัตราการเติมคลอรีนเพื่อฆ่าเชื้อโรคแล้วระบายลงแหล่งน�้ำสาธารณะ ในกรณีที่ไม่มีท่อระบาย
ฉุกเฉินให้จัดหาเครื่องสูบน�้ำเพิ่มเติมส�ำหรับสูบน�้ำจากบ่อสูบไปยังถังสัมผัสคลอรีนเพื่อท�ำการ
ฆ่าเชื้อโรคแล้วระบายลงสู่แหล่งน�้ำสาธารณะ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
74 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

5 ในกรณีที่มีโรคระบาดห้ามมิให้สูบน�้ำเสียลงแหล่งน�้ำสาธารณะ ควรจัดเตรียมบ่อพัก
ส�ำหรับเก็บกักน�้ำไว้ชั่วคราวเพื่อท�ำการฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีนก่อนระบายลงสู่แหล่งน�้ำสาธารณะ
6 ให้ทำ� การตัดไฟฟ้าทุกวงจรทีเ่ ดินเข้าไปในบ่อสูบก่อนทุกครัง้ ทีจ่ ะลงไปท�ำงานเพือ
่ ซ่อมแซม
อุปกรณ์ต่าง ๆ ในบ่อสูบ หรือเพื่อจุดประสงค์อื่นใดก็ตาม เพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเกิดจากกระแส
ไฟฟ้ารั่วในน�้ำ
7 ส�ำหรับบ่อสูบทีม ่ ฝี าแบบปิดทึบก่อนลงไปในบ่อสูบน�ำ้ ทิง้ ควรเปิดฝาบ่อสูบน�ำ้ ไว้ประมาณ
ครึ่งชั่วโมง เพื่อให้ก๊าซที่เป็นอันตรายระเหยออกไปก่อน ควรพึงระวังก๊าซในนั้นอาจยังหลงเหลือ
อยู่ในส่วนลึกของถังได้ และห้ามสูบบุหรี่ไปในบ่อสูบน�้ำเสียเพราะก๊าซบางชนิดไวไฟ
8 ก่อนลงไปในบ่อสูบจะต้องมีผู้ร่วมงานอยู่ด้านบนอย่างน้อยหนึ่งคน เตรียมพร้อมที่จะ
สาวเชือกทีผ่ กู ติดตัวลงไปในบ่อสูบ เพือ่ ลากผูน้ นั้ กลับขึน้ มาจากบ่อโดยไม่จำ� เป็นต้องให้ผชู้ ว่ ยเหลือ
ลงไปในบ่อสูบน�้ำเสีย
9 ส�ำรวจบันไดลงบ่อสูบว่าเกิดการผุกร่อนหรือไม่ เป็นประจ�ำทุก 1 เดือน และทาสีกน ั สนิม
บันไดลงบ่อสูบน�้ำเสีย และฝาตะแกรงเหล็กของบ่อสูบใหม่ ทุก 6 เดือน [16]
10 การตรวจสอบประจ�ำเดือน ท�ำการตรวจสอบและด�ำเนินการทดสอบดังนี้
ทดสอบการท�ำงานของเครือ่ งสูบน�ำ้ เข้าระบบแต่ละตัว โดยใช้ระบบ Manual เพือ่ ตรวจสอบ
การท�ำงานผิดปกติหรือไม่ อาทิเช่น การไหลสม�่ำเสมอ เสียงของเครื่องสูบน�้ำ การสั่นสะเทือน
เป็นประจ�ำทุกวันและตรวจสอบตะแกรงดักขยะน�้ำเสียควรไหลผ่านสะดวก ไม่อุดตัน
ชุดแกนบังคับเครื่องสูบและชุดยก ต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์ไม่มีรอยผุกร่อนของสนิม
พวงมาลัยหมุนไม่ติดขัด
ตะกร้าดักขยะ รางบังคับและชุดยก ต้องอยูใ่ นสภาพสมบูรณ์ไม่มรี อยผุกร่อนของสนิม
พวงมาลัยหมุนไม่ติดขัด
ชุดโซ่และอุปกรณ์ยึดเครื่องสูบ ต้องอยู่ในสภาพไม่มีรอยผุกร่อนของสนิม
ท�ำความสะอาดของบ่อสูบน�้ำเสียไม่ให้มีเศษใบไม้ พลาสติก หรือสิ่งสกปรก ซึ่งอาจ
ท�ำให้เกิดความเสียหาย ท�ำให้เกิดการอุดตันแก่เครือ่ งสูบน�ำ้ ได้ โดยควรท�ำความสะอาดเดือนละครัง้
ท�ำความสะอาดลูกลอยและสายปรับระดับ ควรท�ำความสะอาดเดือนละครัง้ หรือท�ำการ
เปลี่ยนหรือซ่อมแซมชิ้นส่วนที่ช�ำรุดตามค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการควบคุมด้วยลูกลอย
11 ตรวจสอบประจ�ำปี ท�ำการตรวจสอบการสึกหรอของประเก็นกันน�ำ้ (รอยต่อ) และตรวจสอบ
มอเตอร์ไฟฟ้าและเติมน�้ำมันหล่อลื่น ทุก 6 เดือน และตรวจสอบการสึกหรอของตลับลูกปืน
ปอกเพลาและใบพัด เป็นประจ�ำปี
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 75

3.3 ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย

ผูค้ วบคุมระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของโรงพยาบาลควรมีความรูแ้ ละความเข้าใจในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย


ที่ดูแลอยู่ ควรเริ่มจากการตรวจสอบเอกสารการออกแบบและการตรวจสอบภาคสนามของระบบ
บ�ำบัดน�้ำเสียจริงดังต่อไปนี้

3.3.1 การตรวจสอบเอกสาร
ผูค้ วบคุมควรตรวจสอบเอกสารการออกแบบ แบบแปลนต่าง ๆ ของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
และรายการค�ำนวณออกแบบระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เพื่อศึกษาข้อมูลและตัวแปรที่ใช้ออกแบบ ได้แก่
(1) อัตราการไหลของน�้ำเสีย (2) คุณลักษณะของน�้ำเสียได้แก่ค่า BOD5 และ TKN เป็นต้น
(3) ขั้นตอนและกระบวนการบ�ำบัดน�้ำเสีย (4) เกณฑ์การออกแบบหน่วยบ�ำบัดต่าง ๆ และ
(5) การค�ำนวณออกแบบระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เพื่อให้สามารถน�ำข้อมูลที่เดินระบบจริงมาค�ำนวณ
เปรียบทียบกับค่าทีใ่ ช้ออกแบบ และสามารถปรับหรือควบคุมการเดินระบบให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด
เอกสารแบบแปลนของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียประกอบด้วย (1) ที่ตั้งของระบบบ�ำบัด
น�้ำเสีย (2) ขั้นตอนการบ�ำบัดน�้ำเสีย (3) ผังบริเวณระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย (4) ผังบริเวณระบบท่อ
(5) หน้าตัดชลศาสตร์ (6) แปลนหน่วยบ�ำบัด และ (7) รูปตัดแสดงรายละเอียดของหน่วยบ�ำบัด
นอกจากนีย้ งั มีเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องได้แก่ (1) เอกสารประกอบแบบ (2) รายละเอียด
ในการก่อสร้างและรายการค�ำนวณ (3) รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องจักร และ (4) คู่มือ
การเดินระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เอกสารทั้งหมดควรมีไว้ในโรงพยาบาลหรือเก็บไว้ที่โรงบ�ำบัดน�้ำเสีย

3.3.2 การส�ำรวจภาคสนาม
แบบก่อสร้างจริง (As-build Drawing) เป็นแบบทีไ่ ด้ทำ� การปรับรายละเอียดทุกอย่าง
ให้ตรงกับการก่อสร้างจริง ผูค้ วบคุมควรส�ำรวจระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียเปรียบเทียบกับแบบก่อสร้างจริง
และรายการค�ำนวณเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ดังต่อไปนี้
1 ส�ำรวจขนาดและปริมาตรของหน่วยบ�ำบัดต่าง ๆ
ตรวจสอบความถูกต้องของขนาดและปริมาตรเก็บกักน�้ำของหน่วยบ�ำบัดต่าง ๆ
เทียบกับแบบก่อสร้างจริง จากนั้นน�ำข้อมูลอัตราไหลและลักษณะของน�้ำเสียในปัจจุบันของ
โรงพยาบาลและข้อมูลที่ได้จากการส�ำรวจภาคสนามมาค�ำนวณตามเกณฑ์ที่ใช้ออกแบบ เพื่อใช้
เป็นข้อมูลส�ำหรับการควบคุมระบบ ได้แก่
1.1) บ่อปรับเสถียร ได้แก่ บ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่ม ส�ำรวจความกว้างยาวขอบบ่อ
ขนาดพื้นที่หน้าตัดและความลึกน�้ำ แล้วค�ำนวณหาปริมาตรน�้ำของบ่อ และค�ำนวณหาระยะเวลา
เก็บกักน�้ำ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
76 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

1.2) สระเติมอากาศ ได้แก่ บ่อเติมอากาศและบ่อตกตะกอน ส�ำรวจความกว้าง


ยาวขอบบ่อ ขนาดพื้นที่หน้าตัดและความลึกน�้ำ แล้วค�ำนวณหาปริมาตรน�้ำของบ่อ และค�ำนวณ
หาระยะเวลาเก็บกักน�้ำ ตรวจสอบการติดตั้งเครื่องเติมอากาศ
1.3) บึงประดิษฐ์ ส�ำรวจความกว้างยาวขอบบ่อ ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดและความลึกน�ำ้
แล้วค�ำนวณหาปริมาตรน�ำ้ ของบ่อ และค�ำนวณหาระยะเวลาเก็บกักน�ำ้ ตรวจสอบพืชโผล่นำ�้ ทีป่ ลูก
1.4) ถังสัมผัสคลอรีนหรือบ่อสัมผัสคลอรีน ส�ำรวจขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดและความลึกน�ำ้
มีแผ่นกัน้ ให้เกิดการไหลแบบตามกัน แล้วค�ำนวณหาปริมาตรเก็บกักน�ำ้ ของถัง จากนัน้ ค�ำนวณหา
ระยะเวลาสัมผัสคลอรีน
2 การตรวจสอบสภาพทั่วไปของระบบ
ก่อนท�ำการทดสอบการเดินระบบจริง ต้องมั่นใจว่าเครื่องจักรอุปกรณ์ท�ำงานได้
ตามทีอ่ อกแบบไว้ ดังนัน้ ผูค้ วบคุมจะต้องเข้าใจการท�ำงานของเครือ่ งจักรอุปกรณ์และระบบท่อ ได้แก่
2.1) ทิศทางการไหลของน�้ำในเส้นท่อ
2.2) เครื่องจักรจะต้องได้รับการหล่อลื่นและได้รับการทดสอบแล้ว
2.3) รางน�ำ้ และถังทัง้ หมดได้รบั การท�ำความสะอาด และเอาวัสดุแปลกปลอมออก
เช่น เศษหินและกรวด เพราะจะท�ำให้เครื่องสูบน�้ำและเครื่องเติมอากาศเกิดความเสียหาย
2.4) ไฟส่องสว่าง มิเตอร์ เครื่องมือวัดและเครื่องบันทึกท�ำงานได้ปกติ
2.5) ผูค้ วบคุมได้ศกึ ษาคูม่ อื การใช้งานและการบ�ำรุงรักษาเครือ่ งจักรและอุปกรณ์
และจัดเก็บไว้อย่างดีส�ำหรับอ้างอิงในอนาคต
2.6) มีตารางเก็บข้อมูลส�ำหรับบันทึกข้อมูลในแต่ละวัน
2.7) ตรวจสอบสภาพความแข็งแรง การช�ำรุด การทรุดตัว การรัว่ ซึมของโครงสร้าง
ระบบท่อน�้ำเสียและระบบฆ่าเชื้อโรค
2.8) หลังจากนั้นท�ำการทดสอบการท�ำงานของระบบ (Test run) ให้เดินระบบ
ด้วยน�้ำสะอาด อาจใช้น้�ำจากแหล่งน�้ำธรรมชาติที่อยู่ใกล้เคียงโรงพยาบาลเพื่อทดสอบด้วยอัตรา
การไหลตามที่ออกแบบไว้ ตรวจสอบระดับน�้ำ ทดสอบการท�ำงานของเครื่องจักร เครื่องสูบน�้ำ
เครื่องจ่ายสารเคมีและตรวจสอบรอยรั่วของคันดิน ระบบท่อและเครื่องจักรต่าง ๆ จากนั้นจะเริ่ม
การเดินระบบจริงด้วยน�้ำเสีย (Commissioning)
3 ตรวจสอบลักษณะการไหลและการผสมของน�้ำในบ่อและเครื่องเติมอากาศ
ในบ่อเติมอากาศ
3.1) บ่อปรับเสถียร ไม่มีกลิ่นเหม็นและมีตะกอนสะสมก้นบ่อไม่เกินร้อยละ 30
ของความลึกน�้ำ
3.2) บ่อเติมอากาศ ไม่มจี ดุ บอดของกระจายออกซิเจน ทีท่ ำ� ให้เกิดสภาพไร้อากาศ
โดยเฉพาะตามมุมของขอบบ่อ เครื่องเติมอากาศจะต้องท�ำให้เกิดการหมุนวนน�้ำได้ทั้งบ่อ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 77

3.3) ถังสัมผัสคลอรีนหรือบ่อสัมผัสคลอรีน จุดผสมน�้ำเสียกับคลอรีนต้องเป็น


ลักษณะไฮโดรลิคจัม๊ เพือ่ ให้คลอรีนผสมกับน�ำ้ เสียได้ดี การไหลของน�ำ้ ในถังสัมผัสเป็นแบบไหลตามกัน
โดยมีแผ่นกั้นการไหลลัดวงจร และมีระยะเวลาสัมผัสที่เพียงพอเหมาะสม
4 ตรวจสอบเครื่องจักรและอุปกรณ์อื่นๆ ท�ำหน้าที่ได้ตามที่ออกแบบไว้
4.1) ขนาดของเครื่องจักรกลต่าง ๆ ส�ำรวจขนาดกิโลวัตต์ของมอเตอร์
4.2) เครื่องสูบน�้ำเสียเข้าระบบ ตรวจสอบอัตราการสูบน�้ำเสียเข้าระบบต่อวัน
และต่อชั่วโมง
4.3) การควบคุมอัตราไหล ตรวจสอบการควบคุมอัตราการไหลให้ได้ตามค่าที่
ออกแบบ เช่น การควบคุมด้วยการปรับวาล์ว หรือการควบคุมด้วยการปรับเวลาการเดินเครือ่ งสูบน�ำ้
4.4) เครื่องเติมอากาศ ตรวจสอบประสิทธิภาพการถ่ายเทออกซิเจนด้วยการ
ตรวจสอบค่า DO (Dissolved Oxygen) ตลอดความลึกและทั่วทั้งถัง

3.3.3 อัตราการไหลของน�้ำเสีย
ปกติระบบบ�ำบัดน�้ำเสียทุกประเภทจะออกแบบที่ค่าอัตราไหลน�้ำเสียเฉลี่ยต่อวัน
ซึง่ มีคา่ เท่ากับอัตราไหลของน�ำ้ เสียต่อวันหารด้วย 24 ชัว่ โมง ดังนัน้ ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียจะออกแบบ
ให้เครือ่ งสูบน�ำ้ ส่งน�ำ้ เสียเข้าระบบทีอ่ ตั ราไหลเฉลีย่ ต่อชัว่ โมง ปกติเครือ่ งสูบน�ำ้ ทีต่ ดิ ตัง้ มีความสามารถ
จ่ายน�้ำได้มากกว่าค่าที่ออกแบบ ดังนั้นผู้ควบคุมจะต้องสามารถควบคุมอัตราไหลของน�้ำเสีย
ต่อชั่วโมง ที่เข้าถังเติมอากาศให้มีค่าใกล้เคียงกับค่าออกแบบมากที่สุด วิธีควบคุมที่ท�ำได้ได้แก่
การปรับอัตราไหลด้วยวาล์ว และการควบคุมเวลาเดินเครื่องสูบน�้ำในหนึ่งชั่วโมง
ดังนั้นผู้ควบคุมต้องรู้ว่าในแต่ละชั่วโมงและในแต่ละวันมีน�้ำเสียไหลเข้าระบบเท่าใด
น�ำไปค�ำนวณส�ำหรับควบคุมระบบบ�ำบัดน�้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ระยะเวลาเก็บกักน�้ำ
ของบ่อปรับเสถียร บ่อเติมอากาศ บึงประดิษฐ์และอัตราการเติมคลอรีน เป็นต้น
การวัดอัตราการไหลของเครื่องสูบน�้ำสามารถท�ำได้ดังต่อไปนี้
1 ใช้เครื่องวัดอัตราการไหล เครื่องวัดอัตราการไหลต่อชั่วโมงที่ใช้ต้องเป็นชนิด
ที่ใช้ได้กับน�้ำเสีย เช่น เครื่องวัดอัตราไหลแม่เหล็ก (Magnetic flow meter) เครื่องวัดประเภทนี้
มีราคาแพงและควรตั้งอยู่ในร่ม เครื่องวัดอัตราการไหลส�ำหรับน�้ำประปาและมิเตอร์น�้ำไม่เหมาะ
ส�ำหรับน�ำมาใช้กับน�้ำเสีย เนื่องจากในน�้ำเสียมีของแข็งแขวนลอยจ�ำนวนมากที่จะไปอุดตัน
เครื่องวัดได้
2 ใช้ถงั รองน�ำ้ จากปลายท่อของระบบสูบ อาจใช้ทอ ่ อ่อนต่อจากปลายท่อของระบบ
สูบลงในถังรองน�้ำ และเพื่อให้ค่าที่ได้มีความถูกต้องควรใช้ถังขนาดใหญ่รองน�้ำ แล้วจับเวลา
ที่น�้ำไหลเต็มถังและเวลาที่ใช้ควรไม่น้อยกว่า 1 นาที หรือวัดปริมาตรของน�้ำเสียที่ไหลเข้าถัง
ในระยะเวลาหนึ่งควรท�ำหลาย ๆ ครั้ง และค�ำนวณได้ดังต่อไปนี้
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
78 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

Q = 60 V
T
เมื่อ Q = อัตราไหลของน�้ำ (ลิตร/ชั่วโมง)
V = ความจุน�้ำเต็มถัง (ลิตร)
T = เวลาที่น�้ำเสียไหลเต็มถัง (นาที)
60 = ปรับเวลาจากนาทีให้เป็นชั่วโมง
ใช้วธิ คี ำ� นวณปริมาตรน�ำ้ ทีล่ ดลงในถังพักน�ำ้ เสียขนาดใหญ่ โดยไม่มนี ำ�้ เสียเข้าถัง
3
เช่น บ่อสูบ บ่อพักน�้ำเสีย ถังบ�ำบัดน�้ำเสียหรือถังปรับเสมอ

ตัวอย่าง ถ้าถังรองรับน�ำ้ เสียมีขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 2 เมตร เครือ่ งสูบน�ำ้ เดินเครือ่ งเป็นเวลา
5 นาที ท�ำให้ระดับน�้ำลดลง 15 เซนติเมตร โดยไม่มีน�้ำเสียเข้าถัง
อัตราการสูบน�้ำเสียของเครื่องสูบ Q = 60 (2)(2)(0.15) = 7.2 ลูกบาศก์เมตร/ชัว่ โมง
5
วิธนี อี้ าจเป็นวิธที งี่ า่ ยทีส่ ดุ ส�ำหรับระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของโรงพยาบาล โดยวัดระดับน�ำ้ ทีล่ ดลง
ในบ่อสูบ อาจท�ำเครื่องหมายหรือติดไม้วัดบริเวณผนังบ่อสูบ หรือใช้เชือกผูกกับขวดบรรจุน�้ำ
2 ขวดห้อยลงในบ่อสูบทีร่ ะยะห่างกัน 10 ถึง 20 เซนติเมตร (รูปที่ 3-4) ควรทดสอบในช่วงทีม่ นี ำ�้ เสีย
เข้าบ่อสูบน�้ำน้อยที่สุดหรือหาทางปิดกั้นน�ำ้ เสียไม่ให้เข้าบ่อสูบเป็นการชั่วคราว ปิดระบบควบคุม
การเดินเครื่องสูบน�้ำแบบอัตโนมัติ ปล่อยให้น�้ำท่วมขวดน�้ำทั้ง 2 ขวด จากนั้นเดินเครื่องสูบน�้ำ
และจับเวลาที่ระดับน�้ำลดลงจากขวดที่หนึ่งไปถึงระดับขวดที่สอง ค�ำนวณอัตราการสูบของเครื่อง
ตามสมการ เครือ่ งสูบน�ำ้ เสียแต่ละเครือ่ งจะให้อตั ราการสูบทีไ่ ม่เท่ากัน ขึน้ กับสภาพของเครือ่ งสูบ
จึงต้องทดสอบทั้ง 2 เครื่อง (ถ้ามี)

ก ข

รูปที่ 3-4 การวัดอัตราการไหลของเครื่องสูบน�้ำ


ก การใช้ขวดน�้ำ 2 ขวดในบ่อสูบ ข รูปจริงในบ่อสูบ
(ก) (ข)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
รูปที่ 3-4 การวัดอัตราการไหลของเครื่องสูบนาระบบบ่
(ก) การใช้
อปรับเสถีขยวดน า 2 ขวดในบ่
ร ระบบสระเติ มอากาศ อและระบบบึ
สูบ (ข)งประดิ 79อสูบ
รูปจริษฐ์งในบ่

4(4) การวั
การวัดดอัอัตตราการไหลของน้
ราการไหลของน� ้ำด้วยยเวี
าด้วยเวี ร์ เวียยร์ร์เป็เวีนโครงสร้
ยร์เป็นาโครงสร้
งน้าล้นสัานงน� ้ำล้่ขนวางการไหลของน้
คมที สันคมที่ขวาง าในรางเปิด
การไหลของน�
สร้างได้ง้ำ่าในรางเปิ
ยและสามารถวั ด สร้ดาอังได้ ง่ายและสามารถวั
ตราการไหลได้ อย่างถูกต้ดออังเมื ตราการไหลได้
่อติดตั้งได้ถูกต้อองย่าสิงถู กต้ญอคืงเมื
่งสาคั ่อติบดน้ตัาด้้ง านหลังเวียร์
อระดั
ได้ถูกต้จะต้
อง อสิงต่ ่งส�ากว่
ำคัญาสัคืนอเวีระดั
ยร์เบพื่น�อให้
้ำด้นา้าตกลงได้
นหลังเวียอร์ย่จางอิ
ะต้สอระงต�สั่ำนกว่เวีายสัร์นอาจเป็
เวียร์นเพืสี่เ่อหลี
ให้่ยนมผื
�้ำตกลงได้
นผ้าหรืออรูปย่ตัางอิ
ว Vสระที่มีมุมเท่ากับ 
สันเวียร์ดัองรูาจเป็ นสี่เหลี
ปที่ 3-5 ซึ่งอั่ยตมผื นผ้าหรือรูปตัาจะเป็
ราการไหลของน้ ว V ทีน่มสัีมดสุ่มวเท่นกัาบกัความสู
บ ดังงรูของน้ปที่ 3-5
าเหนืซึอ่งสัอันตเวีราการไหลของน�
ยร์ H และองศาของเวี ้ำ ยร์  ดัง
จะเป็นสัสมการต่
ดส่วนกัอไปนี
บความสู
้ งของน�้ำเหนือสันเวียร์ H และองศาของเวียร์ ดังสมการต่อไปนี้

H

รูปที่ 3-5 เวียร์รูปตัว V ที่มีมุมเท่ากับ และมีระดับน�้ำสูง H


รูปที่ 3-5 เวียร์รูปตัว V ที่มีมุมเท่ากับ  และมีระดับนาสูง H
Q =
เมื่อ Q = อัตราไหลของน�้ำล้นเวียร์, ลูกบาศก์เมตร/วินาที
Cd = 0.6
= องศาของเวียร์
g = 9.81 เมตร/วินาที2
H = ความสูงของน�้ำเหนือสันเวียร์ (เมตร)
ถ้า = 90o และ
ดังนั้น Q =
= 1.417H5/2 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
ถ้า = 60o และ
Q = 0.85 H2.5
ถ้า = 28.4o และ
Q =
= 0.35H5/2 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
ความสูงของระดับน�้ำเหนือเวียร์ H จะต้องท�ำการวัดที่ระยะห่างจากเวียร์มากกว่า
4Hmax (ค่า H สูงสุด) และความสูงจากก้นรางถึงสันเวียร์ต้องมากกว่า 2Hmax (รูปที่ 3-6)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
80 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ส�ำหรับเวียร์แบบสีเ่ หลีย่ มอัตบทที บทที


่ 3 การควบคุ
ราการไหลของน� ่ 3 ำ้ การควบคุ
จะเป็นสัดส่มวนกั
และดู
บมความสู
และดู
แลระบบบ
แลระบบบ
ำ้ เหนือ าบัดาบั
งของน� นาเสี
ดนาย
สันเวียร์ (H) และความยาวของสันเวียร์ (L) ดังสมการต่อไปนี้
Q = 1.84 LH1.5
เมื่อ Q = ่ 3บทที
บททีบทที
อัตราไหลของน� ้ำ่ ล้3น่ เวีการควบคุ
การควบคุ 3ยร์การควบคุ
, ลูกมบาศก์
และดู มแและดู
มเมตร/วิ
และดูลระบบบแลระบบบ
แลระบบบ
นาที าบัดาบั าบั
ดนดยาเสี
นาเสี นาเสี
ยย
L = ความยาวของสันเวียร์ (เมตร)
2Hmax 2Hmax H = ความสูงของน�้ำเหนือสันเวียร์ (เมตร)
Hmax
Hmax Hmax
Hmax

2HmaxL L 2Hmax2Hmax
2Hmax
2Hmax Hmax 2Hmax
2Hmax
Hmax
(3Hmax) HmaxHmax
(3Hmax) HmaxHmax
L 2Hmax 2Hmax
L L 2Hmax 2Hmax 2Hmax
2Hmax
(3Hmax)
(3Hmax)
(3Hmax) (ก) (ก)

(ก) (ก) (ก)

(ข)ข (ข)
(ข) (ข) (ข)

รูปที่ 3-6 เวียร์(ค) (ค)(ค)ด(ค)


สันคมวั (ค)
อัตราการไหลของน�้ำ
ทีรู่ 3-6
ปที รู
่ ปรู3-6 ป
ปทีที่ 3-6 ที
่ เวี
เวี
3-6 ่ 3-6
ยร์เวีเวี เวี
สันยคมวั ย ร์
ร์คมวั ส น

คมวั คมวั ด อั
ดอัอัตตราการไหลของน
สันดคมวั ต
ดดราการไหลของนราการไหลของน
อัอัตกตราการไหลของน
ราการไหลของน
เวียร์สี่เหลี่ยามและสามเหลี า า(ก)
(ก) า (ก)
ายเวี
เวี(ก)ร์(ก) เวี
สยี่เยหลี
เวี ร์สมสย่ยีเยี่เหลี
ร์่ยเวี ร์มและสามเหลี
ร์สขสี่เ่ยหลี
หลี ่ยมและสามเหลี
ี่เระยะวั
หลี
มและสามเหลี
่ยมและสามเหลี
มและสามเหลี
ดระดั่ยมบน�(ข) ้ำ่ย่ยมม ่ยระยะวั
ม(ข)
(ข)่ย(ข) ระยะวั
มระยะวั
ดระยะวั
(ข) นดดาระดั
ระดัดระยะวั
บระดั ระดั
บนดบาบระดั
นนาาบนา
(ค)ค ถัถังง V-notch
V-notch
ที่มทีีแ่มผ่ทีีแทีน่มทีผ่่มทีขวางการไหลและต
ีแ่มนีแ่มผ่ีแผ่ขวางการไหลและต
ีแนนผ่ขวางการไหลและต
(ค)
(ค) ถัถั(ค)
งงV-notch
(ค) ถัถังงV-notch
V-notch V-notch นนขวางการไหลและต
ขวางการไหลและต
ผ่ขวางการไหลและต� าแหน่ งติาแหน่
ำาแหน่
แหน่
าแหน่ดาแหน่ ติดติดตังดติตั้งบตังไม้
งตัติงงงไม้ ดงไม้ตับงไม้
รรทั
ติงไม้ดรรทั บดรรทั
บตัดบรรทั ด
รรทัดบดรรทั
งไม้ ด

ถัง ถัV-notch
ถัง V-notch ง V-notch
เป็นถัเป็งทีนเป็
่นถัิยนงมใช้
ทีถั่นงทีิยเป็่นมใช้
นิยมใช้ นเป็อุนปอุวกรณ์
อุเปป็กรณ์ ัดปอักรณ์
ัดอัวตัดราการไหลของน้
อัตราการไหลของน้
ตวราการไหลของน้ าเสี
าเสียาเสี
ในระบบบ ยในระบบบ
าบัดน้าบัาเสีดาบัน้ยดาเสี
ยในระบบบ น้าเสี
ขนาดเล็ ยขนาดเล็
ยขนาดเล็ ก โดย
ก โดยก โดย
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 81

ถัง V-notch เป็นถังที่นิยมใช้เป็นอุปกรณ์วัดอัตราการไหลของน�้ำเสียในระบบบ�ำบัด


น�ำ้ เสียขนาดเล็ก โดยมีเวียร์รปู ตัว V หรือสีเ่ หลีย่ มติดตัง้ อยูภ่ ายในถังขวางการไหลของน�ำ้ ซึง่ เวียร์
รูปตัว V ทีใ่ ช้สว่ นใหญ่เป็นเวียร์ทมี่ มี มุ 60 หรือ 90 องศา และควรวัดความสูงของน�ำ้ เหนือสันเวียร์
H ที่ต�ำแหน่งห่างออกจากตัวเวียร์ดังแสดงในรูปที่ 3-6 (ค) ส่วนถัง V-notch ที่มีมุมที่แตกต่าง
จากนี้สามารถตรวจสอบได้จากการวัดระยะความสูงและระยะช่องกว้างของเวียร์ดังรูปที่ 3-7
(ก) ส่วนรูปที่ 3-7 (ข) แสดงรูปของถัง V-notch แบบเวียร์สี่เหลี่ยมและแบบเวียร์รูปตัว V ที่มีมุม
น้อยกว่า 60 องศา

รูปที่ 3-7 เวียร์สันคมวัดอัตราการไหลของน�้ำ ก เวียร์สามเหลี่ยมที่มีองศาต่าง ๆ


ข ถัง V-notch แบบเวียร์สี่เหลี่ยมและแบบสามเหลี่ยมที่มีมุมน้อยกว่า 60 องศา

ตัวอย่างที่ 3-1 จงค�ำนวณหาอัตราไหลของน�ำ้ เสียทีว่ ดั ด้วยถัง V-notch ทีใ่ ช้เวียร์รปู ตัว V ทีม่ มี มุ
เท่ากับ 60 องศา เมื่อวัดระดับความสูงของน�้ำ H ได้เท่ากับ 4 เซนติเมตร
วิธีท�ำ
Q = 0.85H2.5
H = 4 เซนติเมตร = 0.04 เมตร
Q = 0.85 (0.04)2.5 = 0.000272 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
= 0.00027 ลูกบาศก์เมตร x 3,600 วินาที = 0.98 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
วินาที ชั่วโมง
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
82 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตัวอย่างที่ 3-2 จงค�ำนวณหาอัตราไหลของน�้ำเสียที่วัดด้วยถัง V-notch ที่ใช้เวียร์รูปสี่เหลี่ยมที่มี


ความยาวสันเวียร์เท่ากับ 20 เซนติเมตร เมื่อวัดระดับความสูงของน�้ำ H ได้เท่ากับ 4 เซนติเมตร
วิธีท�ำ
Q = 1.84 LH1.5
L = 20 เซนติเมตร = 0.2 เมตร
H = 4 เซนติเมตร = 0.04 เมตร
Q = 1.84 (0.2)(0.04)1.5 = 0.00294 ลูกบาศก์เมตร/วินาที
= 0.00294 ลูกบาศก์เมตร x 3,600 วินาที = 10.6 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
วินาที ชั่วโมง
5การหาปริมาตรน�ำ้ เสียเข้าระบบต่อวัน วิธที กี่ ล่าวมาทัง้ 4 วิธเี ป็นวิธกี ารหาอัตรา
การไหลของน�ำ้ จากเครือ่ งสูบน�ำ้ ต่อชัว่ โมง ซึง่ เครือ่ งสูบไม่ได้เดินเครือ่ งตลอดเวลาแต่จะท�ำงานตาม
ระดับน�้ำในบ่อสูบและถูกควบคุมด้วยลูกลอย ดังนั้นในการหาปริมาณน�้ำเสียเข้าระบบจริงต่อวัน
จะต้องจับเวลาท�ำงานของเครือ่ งสูบน�ำ้ แต่ละเครือ่ งในแต่ละวัน ด้วยการใช้อปุ กรณ์วดั ชัว่ โมงท�ำงาน
ของเครือ่ งสูบ (Counter meter) ดังแสดงในรูปที่ 3-8 ซึง่ เป็นอุปกรณ์ทมี่ รี าคาไม่แพงและติดตัง้ ง่าย
โดยผู้ควบคุมจะต้องตรวจสอบอัตราการสูบน�้ำให้ได้ก่อน อัตราการไหลสามารถค�ำนวณได้จาก
เวลาท�ำงานของเครื่องสูบคูณด้วยอัตราสูบของเครื่องสูบ ดังสมการต่อไปนี้
QD = QT
เมื่อ QD = ปริมาณน�้ำเสียเข้าระบบต่อวัน (ลูกบาศก์เมตร/วัน)
Q = อัตราการไหลของน�ำ้ เสียจากการสูบของเครือ่ งสูบน�ำ้ เสีย
(ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง)
T = จ�ำนวนชั่วโมงท�ำงานของเครื่องสูบใน 1 วัน (ชั่วโมง/วัน)
และถ้ามีเครือ่ งสูบน�ำ้ สองเครือ่ งสลับกันท�ำงานต้องน�ำผลของปริมาณน�ำ้ เสียต่อวันมารวมกัน

รูปที่ 3-8 อุปกรณ์วัดชั่วโมงท�ำงานของเครื่องสูบ (Counter meter)


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 83

3.4 บ่อปรับเสถียร

3.4.1 การเริ่มเดินระบบ (Start-up)


ก่อนเริ่มเดินระบบจริงควรตรวจสอบว่าไม่มีต้นไม้โตขึ้นอยู่ภายในบ่อแฟคัลเททีฟ
และบ่อบ่มให้เติมน�้ำสะอาด (น�้ำจากแม่น�้ำหรือสระเก็บน�้ำ) ลงในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มให้มี
ระดับน�ำ้ สูงประมาณ 1 เมตร เพือ่ ป้องกันพืชเจริญเติบโต หลังจากนัน้ ปล่อยน�ำ้ เสียเข้าบ่อปรับเสถียร
ประมาณ 1 – 2 สัปดาห์จะพบสาหร่ายเกิดขึน้ ในบ่อและประชากรของจุลนิ ทรียจ์ ะเข้าสูส่ ภาะสมดุล
ใน 30 – 60 วัน สังเกตได้จากน�ำ้ ในบ่อจะมีสเี ขียวเข้ม ซึง่ แสดงว่าน�ำ้ ในบ่อมีสภาวะเป็นด่างเล็กน้อย
และสาหร่ายเจริญเติบโตได้ดี
ขั้นตอนการเริ่มเดินระบบมีดังต่อไปนี้
1 เติมน�ำ้ สะอาดลงในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มให้สงู ประมาณ 1 เมตร เพือ ่ ป้องกัน
การเจริญเติบโตของพืชโผล่พ้นน�้ำและป้องกันกลิ่นที่อาจเกิดขึ้นภายหลัง
2 เริ่มเติมน�้ำเสียลงในบ่อแฟคัลเททีฟประมาณร้อยละ 25 ของน�้ำที่มีในบ่อและ
ตรวจสอบให้ค่า pH ควรมีค่า > 7.5 และค่า DO > 2.0 มิลลิกรัม/ลิตร ทุกวัน
3 รอจนน�้ำในบ่อเริ่มมีสีเขียวของสาหร่าย
4 จากนั้ น เติ ม น�้ ำ เสี ย หรื อ น�้ ำ ที่ มี ส ่ ว นผสมน�้ ำ เสี ย ลงในบ่ อ เพิ่ ม เติ ม อี ก ประมาณ
ร้อยละ 25 รอจนน�้ำมีสีเขียวเข้มแสดงว่าสาหร่ายเจริญเติบโตดี
5 หยุดเติมน�้ำเสียเป็นเวลา 1 อาทิตย์ เพื่อให้สาหร่ายเจริญเติบโตเต็มที่
6 เติมน�้ำเสียลงในบ่อแฟคัลเททีฟจนระดับน�้ำในบ่อสูงถึงค่าที่ออกแบบไว้
7 หยุดเติมน�้ำเสียเป็นเวลา 1 อาทิตย์
8 สูบน�้ำเสียเข้าบ่อแฟคัลเททีฟในอัตราไหลที่ออกแบบไว้ และให้น�้ำล้นเข้าบ่อบ่ม
ตรวจสอบให้ค่า pH มีค่า > 7.5 และค่า DO > 2.0 มิลลิกรัม/ลิตร ทุกวัน
9 ถ้าค่า pH และ DO ไม่ได้ตามค่าที่ก�ำหนด ให้ชะลอหรือลดปริมาณการเติม
น�้ำเสียเข้าบ่อแฟคัลเททีฟ และหมุนเวียนน�้ำจากบ่อบ่มกลับมายังบ่อแฟคัลเททีฟจนกว่าจะได้
ค่า pH และ DO ตามที่ก�ำหนด
10 เมื่อระดับน�้ำสูงถึงระดับท่อน�้ำล้นบ่อบ่ม ให้ระบายน�้ำทิ้งออกไปยังบ่อสัมผัส
คลอรีน และระบายทิ้งได้

3.4.2 การด�ำเนินงาน
การปฏิบัติงานรายวัน
1
การด� ำ เนิ น งานและบ� ำ รุ ง รั ก ษาระบบบ่อ แฟคั ล เทที ฟ และบ่อ บ่ม ไม่ยุ่ง ยาก
ไม่จ�ำเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ แต่ต้องท�ำเป็นประจ�ำอย่างสม�่ำเสมอเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเรื่อง
กลิ่น แมลงและยุงรบกวน งานประจ�ำที่ผู้ปฏิบัติงานต้องท�ำได้แก่
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
84 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

(1) การก�ำจัดขยะออกจากตะแกรงที่บ่อสูบทุกวัน
(2) ตัดหญ้าที่ขึ้นบนคันดินและก�ำจัดวัชพืชออกจากขอบบ่อ ป้องกันไม่ให้เป็น
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุง
(3) ก�ำจัดตะกอนลอยน�้ำและพืชลอยน�้ำ เช่น แหน ผ�ำหรือผักตบชวา ออกจาก
ผิวน�้ำของบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่ม เพื่อให้สาหร่ายสังเคราะห์แสงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้
เกิดการแพร่กระจายของออกซิเจนจากผิวน�้ำได้ดีขึ้น ท�ำให้เกิดการผสมของน�้ำในบ่อที่ดีขึ้นและ
ป้องกันการวางไข่ของแมลงวัน
(4) ก�ำจัดของแข็งและตะกอนที่สะสมบริเวณท่อน�้ำเสียเข้าและบริเวณท่อน�้ำทิ้ง
ออกจากบ่อ
(5) ซ่อมแซมคันดินเมื่อเกิดความเสียหาย
(6) บ�ำรุงรักษาเครื่องจักรกลที่มีทั้งหมด ได้แก่ เครื่องสูบน�้ำ และเครื่องสูบ
สารละลายคลอรีน ให้ซ่อมบ�ำรุงตามคู่มือการบ�ำรุงรักษาของผู้ผลิต
(7) ตรวจสอบการรั่วซึมของวาล์วทุก ๆ 6 เดือน ตรวจสอบการท�ำงานของวาล์ว
ที่มีในระบบทุกตัวด้วยการหมุนวาล์วเปิด-ปิดวาล์วจนสนิท เป็นประจ�ำอย่างน้อยทุก ๆ 6 เดือน
เพื่อให้วาล์วท�ำงานได้อย่างสม�่ำเสมอ
ผู้ปฏิบัติงานควรได้รับมอบหมายงานให้ท�ำตามก�ำหนดระยะเวลาของงานแต่ละ
ประเภท และจะต้องได้รบั การตรวจสอบผลของการปฏิบตั งิ านอย่างสม�ำ่ เสมอ นอกจากนีผ้ ปู้ ฏิบตั งิ าน
ยังต้องท�ำการตรวจวัดพารามิเตอร์และเก็บตัวอย่างน�้ำส่งวิเคราะห์หาคุณภาพน�้ำ
2 การตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบ
2.1) การสังเกต สี กลิ่น ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์สามารถประเมินสภาวะ
ของระบบบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มได้จากการสังเกตสีของน�้ำ กลิ่น ตะกอนลอยและพืชน�้ำที่ลอย
บนผิวน�้ำ ควรท�ำการสังเกตร่วมกับการวัดค่า DO ของน�้ำในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มจะให้ข้อมูล
ที่ชัดเจนในการประเมินสภาวะของระบบทั้งหมด
สี ข องน�้ ำ ในบ่อ แฟคั ล เทที ฟ และบ่อ บ่ม สามารถใช้ เ ป็ น ตั ว ชี้ วั ด ว่ า ระบบอยู ่ ใ น
สภาวะทีเ่ หมาะสมหรือไม่ดงั แสดงในตารางที่ 3-1 ซึง่ เป็นข้อมูลในเบือ้ งต้น ดังนัน้ เพือ่ หาสาเหตุทแี่ ท้
จริงของสีที่เกิดขึ้นผู้ปฏิบัติงานจะต้องตรวจสอบข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้มากขึ้น เช่น ค่า DO และ pH
ตารางที่ 3-1 สีของน�้ำในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มและสภาวะที่เกิดขึ้น
สีของน�้ำในบ่อ สภาวะที่เกิดขึ้น
เขียวเข้ม สภาพปกติของบ่อแฟคัลเททีฟ
เขียวอ่อน สภาพปกติของบ่อบ่ม ซึ่งแสดงว่าอัตราภาระสารอินทรีย์มีค่าต�่ำ
เขียวเข้มอมด�ำ เกิดสาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียวจ�ำนวนมาก
เทาหรือด�ำ อัตราภาระสารอินทรีย์มากเกินไป เข้าสู่สภาวะไร้อากาศ
ที่มา [21]
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 85

ปกติระบบบ่อแฟคัลเททีฟที่รองรับน�้ำเสียในอัตราภาระสารอินทรีย์ที่อยู่ในช่วง
ค่าที่ออกแบบจะไม่มีกลิ่นหรืออาจมีกลิ่นอับจาง ๆ อาจได้กลิ่นเหม็นเขียวของสาหร่ายสีน�้ำเงิน
แกมเขียวเมื่ออัตราภาระสารอินทรีย์เข้าบ่อมากขึ้น และถ้าอัตราภาระสารอินทรีย์สูงเกินไปอาจได้
กลิ่นเหม็นของก๊าซไข่เน่า และอาจจะได้กลิ่นก๊าซไข่เน่าในกรณีที่มีตะกอนสะสมก้นบ่อมากเกินไป
และพบตะกอนเน่าสลายลอยขึ้นผิวน�้ำ
ผู้ปฏิบัติงานจะต้องควบคุมการเจริญเติบโตของพืชโผล่น�้ำ เช่น ธูปฤาษี เป็นต้น
เนื่องจากท�ำให้เกิดปัญหาในการเดินระบบ ได้แก่ การไหลลัดวงจร พืชโผล่พ้นน�้ำจะป้องกันการ
ผสมของน�้ำในบ่อท�ำให้การกระจายน�้ำเสียไม่ทั่วทั้งบ่อ และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลง นอกจากนี้
รากของพืชจะท�ำให้เกิดความเสียหายกับวัสดุป้องกันการซึมน�้ำ
ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น จากพื ช ลอยน�้ ำ ที่ ข้ึ น อย่ า งหนาแน่ น คื อ การลดความเข้ ม ของ
แสงแดดที่ส่องลงน�้ำในบ่อ ท�ำให้ปฏิกิริยาสังเคราะห์แสงของสาหร่ายลดลง ซึ่งส่งผลต่อปริมาณ
ออกซิเจนที่ผลิตให้กับแอโรบิกแบคทีเรีย นอกจากนี้พืชลอยน�้ำยังป้องกันลมที่พัดบนผิวน�้ำ
มีผลท�ำให้การผสมของน�้ำในบ่อลดลง ลดการกระจายตัวของน�้ำเสีย และลดการแพร่กระจายของ
ออกซิเจนจากอากาศ
2.2) ค่า DO และ pH ผูป้ ฏิบตั งิ านควรใช้เครือ่ งวัดค่า DO ท�ำการตรวจวัดค่า DO
ของน�ำ้ ในบ่อในหลากหลายต�ำแหน่งทุกวัน บ่อน�ำ้ ทีม่ สี ภาพแอโรบิกจะมีคา่ DO > 1 – 2 มิลลิกรัม/ลิตร
ตลอดเวลา ในช่วงกลางวันจะต้องมีคา่ DO > 5 มิลลิกรัม/ลิตร หรือในช่วงบ่าย ๆ ทีม่ แี ดดจัดค่า DO
จะสูงเกินกว่าความเข้มข้นอิ่มตัวของออกซิเจนในน�้ำ (Supersaturated concentration) เช่น
13 มิลลิกรัม/ลิตร หรือมากกว่า เมือ่ ผูป้ ฏิบตั งิ านพบสีนำ�้ ในบ่อเปลีย่ นแปลง มีกลิน่ เกิดพืชลอยน�ำ้
หรือมีวัชพืชควรวัดค่า DO ของน�้ำในบ่อเพื่อตรวจสอบผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และควรวัดค่า DO
ในน�้ำทุกครั้งที่มีปัญหาเกิดขึ้นหรือปัญหาเพิ่งเริ่มจะเกิดขึ้น
ผู้ปฏิบัติงานควรใช้เครื่องวัดค่า pH ตรวจสอบค่า pH ของน�้ำในบ่อทุกวัน น�้ำใน
บ่อควรมีค่า pH > 7.5 เนื่องมาจากปฏิกิริยาการสังเคราะห์แสงของสาหร่ายจะผลิตด่างขึ้นท�ำให้
ค่า pH ของน�้ำอยู่ในช่วงเป็นด่าง และอาจมีค่า pH > 9.5 เมื่อน�้ำในบ่อมีสีเขียวเข้ม ถ้าค่า pH
สูงกว่า 10 อาจก่อให้เกิดปัญหากับสัตว์น�้ำในบ่อ
2.3) การเก็บตัวอย่างน�้ำ นอกจากการตรวจสอบประสิทธิภาพระบบบ่อปรับ
เสถียรเป็นประจ�ำทุกวันด้วยการสังเกตสีของน�้ำและวัดค่า pH และ DO แล้ว ผู้ปฏิบัติงานจะต้อง
เก็บตัวอย่างน�ำ้ เสียก่อนบ�ำบัดและน�ำ้ ทิง้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัด ส่งไปวิเคราะห์หาคุณภาพน�ำ้ ทุก ๆ 3 เดือน
ตามข้อก�ำหนดของกรมอนามัย แม้ว่าจะมีแต่ข้อก�ำหนดให้ตรวจสอบเฉพาะคุณภาพของน�้ำทิ้ง
เท่านั้น แต่การเก็บตัวอย่างน�้ำเสียก่อนการบ�ำบัดด้วยทุกครั้งที่เก็บตัวอย่างน�้ำทิ้งจะท�ำให้ได้ข้อมูล
ของคุณภาพน�ำ้ เสียของโรงพยาบาลเพือ่ น�ำไปเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�ำ้ เสียของระบบ
ตารางที่ 3-2 แสดงวิธีการตรวจวัด ความถี่และพารามิเตอร์ที่ส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
86 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 3-2 วิธีการตรวจวัด ความถี่และพารามิเตอร์ที่ส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์


น�้ำ
ความถี่ พารามิเตอร์ การวัด/วิเคราะห์ น�้ำเสีย น�้ำทิ้ง
ในบ่อ
ทุกวัน อัตราไหลของน�้ำเสีย ท�ำเอง x
(ลบ.ม./วัน)
pH ท�ำเอง x
DO (มก./ล.) ท�ำเอง x
การสังเกตสีของน�้ำ ท�ำเอง x
ทุก 3 เดือน BOD5 (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
COD (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
pH ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
TKN (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
Oil & Grease (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
ของแข็งแขวนลอย (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
ซัลไฟด์ (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x
โคลิฟอร์มและอีโคไล ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x
(MPN/100 mL)

3การก�ำจัดสลัดจ์
ระบบบ่อปรับเสถียรเป็นกระบวนการบ�ำบัดน�้ำเสียที่ไม่มีระบบรีดน�้ำสลัดจ์
สลัดจ์ที่อยู่ภายในบ่อมาจากของแข็งแขวนลอยที่มีในน�้ำเสียและอีกส่วนหนึ่งมาจากมวลชีวภาพ
ที่เจริญเติบโตขึ้นจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ สลัดจ์จะจมตัวสะสมที่ก้นบ่อซึ่งเป็นข้อได้เปรียบ
ของระบบบ่อปรับเสถียรที่ไม่ต้องก�ำจัดสลัดจ์เป็นประจ�ำเหมือนระบบเอเอส เมื่อสลัดจ์สะสม
ทีก่ น้ บ่อเป็นจ�ำนวนมากจะท�ำให้ปริมาตรน�ำ้ ของบ่อลดลงและมีผลท�ำให้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดลดลง
จึงจ�ำเป็นต้องก�ำจัดสลัดจ์ออกจากบ่อเป็นครั้งคราว
สลัดจ์ที่ก้นบ่อจะอัดตัวกันแน่นท�ำให้มีความเข้มข้นของของแข็งสูงขึ้นและเกิด
การย่อยสลายแบบไร้อากาศ ในช่วงปีแรกความเข้มข้นของของแข็งจะมีค่าประมาณ 4 – 6%
สลัดจ์ที่สะสมและถูกย่อยสลายเป็ นเวลานานจะมีความเข้มข้นของของแข็งสูงถึง 15% และ
มีอัตราส่วนของของแข็งระเหยน้อยกว่า 50% สลัดจ์อาจประกอบด้วย TKN 2%, TP 0.2% และ
K 0.04% ของของแข็งทั้งหมด [13]
ปกติในสลัดจ์มีโคลิฟอร์มแบคทีเรียอยู่ในช่วง 102 – 104 FC/กรัมของของแข็ง
ทั้งหมด [15] และโคลิฟอร์มแบคทีเรียจะตายไปตามเวลาที่สะสมอยู่ที่ก้นบ่อ นอกจากนี้จะพบ
ไข่พยาธิจำ� นวนมากในสลัดจ์ เนือ่ งจากกระบวนการก�ำจัดไข่พยาธิในบ่อปรับเสถียรคือการตกตะกอน
ในสลัดจ์ท่ีก้นบ่อปรับเสถียรที่ใช้บ�ำบัดน�้ำเสียชุมชนจะพบไข่พยาธิอยู่ในช่วง 30 – 800 ใบ/กรัม
ของของแข็งทั้งหมด จ�ำนวนไข่พยาธิที่มีชีวิตจะลดลงตามเวลาที่สลัดจ์ถูกย่อยสลายที่ก้นบ่อ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 87

ในระยะเวลา 1 ปีพบว่าไข่พยาธิคงมีชีวิตรอดประมาณ 60 – 90% แม้ว่าสลัดจ์ถูกย่อยสลาย


เป็นเวลานานแต่ไข่พยาธิบางส่วนยังคงมีชีวิต และพบว่า 1 – 10% ของไข่พยาธิยังคงมีชีวิตรอด
หลังจากสลัดจ์ถูกย่อยสลายที่ก้นบ่อเป็นเวลาหลายปี [15]
ความหนาของชั้นสลัดจ์ที่สะสมอยู่ภายในบ่อปรับเสถียรจะขึ้นกับรูปร่างและ
ต�ำแหน่งของท่อน�้ำเสียเข้าและท่อน�้ำทิ้งออก สลัดจ์ส่วนใหญ่จะสะสมในบริเวณใกล้ท่อน�้ำเสียเข้า
และมีผลท�ำให้ระดับน�้ำบริเวณนี้ลดลง สลัดจ์ที่เน่าสลายจะลอยตัวขึ้นผิวน�้ำและก่อให้เกิดกลิ่น
ดังแสดงในรูปที่ 3-9 ดังนั้นจึงต้องตรวจสอบการสะสมของสลัดจ์ทุก ๆ 3 – 5 ปีและก�ำจัดออก
เป็นครั้งคราวขึ้นกับปริมาณตะกอนที่สะสมปกติ ควรพิจารณาก�ำจัดสลัดจ์ออกทุก ๆ 5 – 10 ปี
หรือก�ำจัดสลัดจ์เมือ่ ชัน้ สลัดจ์สงู เท่ากับ 30% ของความลึกน�ำ้ การตรวจสอบความสูงของชัน้ สลัดจ์
ท�ำได้ดว้ ยการใช้ไม้ทมี่ คี วามยาวเหมาะสม พันด้วยผ้าสีออ่ นและมัดด้วยเชือกให้แน่น จากนัน้ น�ำไป
จุ่มลงในบ่อน�้ำถึงก้นบ่อ ถือค้างไว้ 10 – 15 นาที ค่อยดึงขึ้นอย่างช้า ๆ จะสังเกตเห็นความลึก
ของชั้นสลัดจ์สีด�ำบนผ้าอย่างชัดเจน และความลึกของน�้ำในบ่อจากความสูงของรอยน�้ำบนแท่งไม้

รูปที่ 3-9 การสะสมของสลัดจ์ที่ก้นบ่อปรับเสถียรบริเวณใกล้ท่อน�้ำเสียเข้า

เนื่องจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลไม่สามารถหยุดการเดินระบบได้
อาจต้องก�ำจัดสลัดออกจากบ่อในขณะทีร่ ะบบยังคงท�ำงานอยู่ สามารถสูบสลัดจ์ออกจากก้นบ่อด้วย
การใช้เครื่องสูบน�้ำแบบจมน�้ำและให้คนงานจับท่ออยู่บนแพดังรูปที่ 3-10 อาจใช้ร่วมกับอุปกรณ์
กวาดสลัดจ์ทก่ี น้ บ่อ สลัดจ์ทสี่ บู ออกมาจะต้องขนออกไปทิง้ นอกบ่อปรับเสถียรหรือน�ำไปรีดน�ำ้ ออก

รูปที่ 3-10 การก�ำจัดสลัดจ์ด้วยการใช้แพและเครื่องสูบน�้ำแบบจุ่มน�้ำ


คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
88 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

3.5 สระเติมอากาศ

3.5.1 การเริ่มเดินระบบ (Startup)


สระเติมอากาศเป็นระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่ใช้บ่อน�้ำขนาดใหญ่และได้ออกซิเจนจาก
เครื่องเติมอากาศ ซึ่งเปรียบเสมือนระบบเอเอสที่ไม่มีการสูบสลัดจ์กลับ เครื่องเติมอากาศจะ
ท�ำหน้าที่ทั้งถ่ายเทออกซิเจนลงสู่น�้ำและท�ำให้เกิดการผสมของน�้ำภายในบ่อ จุลินทรีย์ที่พบใน
สระเติมอากาศ ได้แก่ แบคทีเรียและโปรโตซัวเช่นเดียวกับที่พบในระบบเอเอส แต่ความเข้มข้น
ของมวลชีวภาพในบ่อเติมอากาศจะน้อยกว่าระบบเอเอสเนื่องจากไม่มีการสูบสลัดจ์กลับ จึงต้อง
ใช้บอ่ เติมอากาศทีม่ ขี นาดใหญ่กว่าเมือ่ เปรียบเทียบกับระบบเอเอส ประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
ของระบบจะขึ้นกับความเข้มข้นของมวลชีวภาพในบ่อเติมอากาศที่จะต้องมีค่าที่เหมาะสม ดังนั้น
ในการเริม่ เดินระบบจริงในบ่อเติมอากาศจึงควรเริม่ จากการใช้หวั เชือ้ เติมลงในสระเติมอากาศ เพือ่ ให้
จุลินทรีย์เพิ่มจ�ำนวนได้อย่างรวดเร็ว และหัวเชื้อที่ดีที่สุดคือหัวเชื้อจากระบบเอเอส หรืออาจใช้
มูลสัตว์เสริม เช่น มูลสุกร ซึ่งในมูลสัตว์มีสารอาหารจ�ำนวนมากช่วยเร่งการเจริญเติบโตของ
แบคทีเรีย ไม่ควรใช้มลู ไก่หรือมูลวัวเนือ่ งจากมีกรวดทรายและกากใยจ�ำนวนมากทีย่ อ่ ยสลายไม่ได้
ปกติความเข้มข้นของ MLSS ในน�้ำสลัดจ์จากถังตกตะกอนของระบบเอเอสจะมี
ความเข้มข้นประมาณ 6,000 ถึง 10,000 มิลลิกรัม/ลิตร ส�ำหรับสลัดจ์ที่ผ่านการรีดน�้ำแล้วอาจมี
ของแข็งร้อยละ 20 จะต้องตรวจสอบคุณภาพน�้ำสลัดจ์ที่น�ำมาเป็นหัวเชื้อ เช่น ค่า pH, กลิ่น, สี
(ไม่ดำ� สนิท) เพือ่ ให้ได้สลัดจ์ทสี่ ามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ถ้าน�ำหัวเชือ้ มาจากถังย่อยสลัดจ์
แบบเติ ม อากาศจะต้ องตรวจสอบค่ า pH ปรั บ ค่า pH ของน�้ำในสระเติมอากาศ เนื่องจาก
น�ำ้ สลัดจ์จากถังย่อยสลัดจ์มคี า่ pH เป็นกรด ผูค้ วบคุมควรสามารถค�ำนวณปริมาณสลัดจ์ทตี่ อ้ งการ
ส�ำหรับเริ่มระบบได้ ดังแสดงในตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง จงค�ำนวณปริมาตรหัวเชื้อสลัดจ์จากถังตกตะกอนของระบบเอเอสที่มีความเข้มข้น
6,000 มิลลิกรัม/ลิตร ส�ำหรับระบบสระเติมอากาศแบบผสมบางส่วนที่มีปริมาตรน�้ำเท่ากับ
500 ลูกบาศก์เมตร ต้องการความเข้มข้นของแข็งในบ่อเติมอากาศเท่ากับ 100 มิลลิกรัม/ลิตร
(ตารางที่ 2-11) เพื่อให้ระบบสระเติมอากาศสามารถเดินระบบได้ทันที
(V1+V2) C1 = V2 C2
เมื่อ V1 = ปริมาตรน�้ำในบ่อเติมอากาศ (ลูกบาศก์เมตร)
V2 = ปริมาตรน�้ำของหัวเชื้อ (ลูกบาศก์เมตร)
C1 = ความเข้มข้นของแข็งในบ่อเติมอากาศ (มิลลิกรัม/ลิตร)
C2 = ความเข้มข้นของแข็งในหัวเชื้อ (มิลลิกรัม/ลิตร)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 89

แทนค่าตัวแปรในสมการ
(500 + V2)(100 มิลลิกรัม/ลิตร) = V2 (6,000 มิลลิกรัม/ลิตร)
500 + V2 = 60 V2
V2 = 8.4 ลูกบาศก์เมตร

ขั้นตอนการเริ่มเดินระบบ (Startup) ของสระเติมอากาศมีดังต่อไปนี้


การเริม่ เดินระบบสระเติมอากาศนัน้ ไม่ยงุ่ ยาก เนือ่ งจากสระเติมอากาศเป็นบ่อน�ำ้ ทีม่ ขี นาดใหญ่
น�้ำเสียคงค้างและถูกบ�ำบัดอยู่ภายในบ่อเป็นเวลาหลายวัน และออกซิเจนที่แบคทีเรียต้องการ
มาจากเครื่องเติมอากาศที่ติดตั้งอยู่ภายในบ่อ สระเติมอากาศต้องการความเข้มข้นของแบคทีเรีย
ค่อนข้างต�่ำอยู่ในช่วง 50 – 200 มิลลิกรัม/ลิตร (ตารางที่ 2-5) ซึ่งบางส่วนของแบคทีเรีย
มีอยูใ่ นน�ำ้ เสียและบางส่วนเจริญเติบโตขึน้ ภายหลัง อย่างไรก็ตามการใช้หวั เชือ้ ในปริมาณทีเ่ หมาะสม
จะช่วยท�ำให้ระบบสระเติมอากาศสามารถบ�ำบัดน�ำ้ เสียได้อย่างรวดเร็ว ขัน้ ตอนการเริม่ เดินระบบ
สระเติมอากาศมีดังต่อไปนี้
1 ค�ำนวณปริมาตรสระเติมอากาศ
2 เติมน�้ำสะอาด เช่น น�้ำจากแม่น�้ำหรือสระน�้ำ ลงในบ่อเติมอากาศและบ่อตกตะกอน
ให้ได้ปริมาตรครึ่งหนึ่งของบ่อ
3 เดินเครื่องเติมอากาศตลอดเวลา
4 เติมหัวเชื้อลงในบ่อเติมอากาศ ให้ความเข้มข้นของของแข็งในบ่อเติมอากาศ ≥ 100
มิลลิกรัม/ลิตร
5 เริ่มเติมน�้ำเสียเข้าบ่อเติมอากาศตามค่าที่ออกแบบไว้ เนื่องจากบ่อมีขนาดใหญ่อาจต้อง
ใช้เวลาหลายวันจนได้น�้ำเต็มบ่อ
6 ให้วิเคราะห์ค่า pH และ DO ของน�้ำในสระเติมอากาศทุกวัน ค่า DO ควรมากกว่า
2 มิลลิกรัม/ลิตร ตลอดเวลา ถ้า DO มีค่าต�่ำกว่า 2 มิลลิกรัม/ลิตร ให้หยุดเติมน�้ำเสียชั่วคราว
จนกว่าค่า DO จะสูงถึงค่าทีก่ ำ� หนด ซึง่ แสดงว่าสารอินทรียถ์ กู ย่อยสลายหมดแล้ว จากนัน้ เติมน�ำ้ เสีย
เข้าสระเติมอากาศเรื่อย ๆ จนระดับน�้ำในสระเติมอากาศสูงถึงท่อน�้ำล้นเข้าบ่อตกตะกอน จากนั้น
ให้สูบน�้ำเสียเข้าตามค่าที่ออกแบบและเดินระบบตามปกติ

3.5.2 การด�ำเนินงาน
1 การปฏิบัติงานประจ�ำ
การด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษาระบบสระเติมอากาศมีความคล้ายคลึงกับระบบ
บ่อปรับเสถียร เนือ่ งจากระบบสระเติมอากาศใช้บอ่ น�ำ้ ขนาดใหญ่เช่นเดียวกันและใช้บอ่ บ่มเป็นบ่อ
ตกตะกอน ข้อแตกต่างกันที่ผู้ปฏิบัติงานของระบบสระเติมอากาศต้องมีความสามารถในการ
บ�ำรุงรักษาเครื่องเติมอากาศ และเครื่องสูบน�้ำเสีย การวางแผนซ่อมบ�ำรุงตามรอบของการใช้งาน
ของเครื่องจักรจะช่วยป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นก่อนเวลาอันควร
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
90 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

การดูแลรักษาบ่อน�้ำของระบบสระเติมอากาศจะคล้ายคลึงกับการดูแลรักษา
บ่อน�้ำของระบบบ่อปรับเสถียร งานประจ�ำที่ผู้ปฏิบัติงานต้องท�ำได้แก่
(1) การก�ำจัดขยะออกจากตะแกรงที่บ่อสูบ เมื่อขยะหลุดเข้าสระเติมอากาศ
อาจท�ำให้เครื่องเติมอากาศขัดข้องได้
(2) ตัดหญ้าที่ขึ้นบนคันดิน และก�ำจัดวัชพืชออกจากขอบบ่อ เพื่อป้องกันไม่ให้
เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
(3)ก�ำจัดตะกอนลอยน�ำ้ และพืชน�ำ้ เนือ่ งจากลดประสิทธิภาพการถ่ายเทออกซิเจน
และท�ำให้เกิดกลิ่น
(4)ส�ำหรับสระเติมอากาศแบบผสมบางส่วน การผสมของน�ำ้ ภายในสระไม่สงู มาก
ท�ำให้มตี ะกอนสะสมในพืน้ ทีใ่ กล้เคียงท่อน�ำ้ เสียเข้าและบริเวณท่อน�ำ้ ทิง้ ออกจากบ่อเป็นจ�ำนวนมาก
และให้ก�ำจัดตะกอนทิ้ง
(5)ตรวจสอบคันดินอย่างสม�ำ่ เสมอ และซ่อมแซมคันดินทีอ่ าจเกิดความเสียหาย
ทั้งจากสัตว์และสาเหตุอื่น ๆ ที่จะท�ำให้ความแข็งแรงของคันดินลดลง
(6) บ�ำรุงรักษาเครื่องจักรกลที่มีทั้งหมด ได้แก่ เครื่องสูบน�้ำ เครื่องเติมอากาศ
และเครื่องสูบสารละลายคลอรีน ตามคู่มือการบ�ำรุงรักษาของผู้ผลิต
(7) ตรวจสอบการรั่วซึมของวาล์วทุก ๆ 6 เดือน ตรวจสอบการท�ำการของวาล์ว
ที่มีในระบบทุกตัวด้วยการหมุนวาล์วเปิด-ปิดวาล์วจนสนิทเป็นประจ�ำอย่างน้อยทุก ๆ 6 เดือน
เพื่อให้วาล์วท�ำงานได้อย่างสม�่ำเสมอ
(8) ตรวจสอบเครื่องเติมอากาศ การลอยตัว สายไฟ ระดับน�้ำมันเครื่อง ตัวยึด
เครื่อง มอเตอร์ และมั่นใจว่าใบพัดไม่อุดตัน
การตรวจสอบทางกายภาพ
2
2.1)การสังเกต สี กลิน่ การสังเกตสีและกลิน่ ของน�ำ้ ในสระเติมอากาศและบ่อบ่ม
เป็นขั้นตอนส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่การแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น สีและกลิ่นของน�้ำในสระเติมอากาศ
และบ่อบ่มเป็นตัวชีว้ ดั ว่าระบบอยูใ่ นสภาวะเหมาะสมทีส่ ามารถบ�ำบัดน�ำ้ ทิง้ ได้ตามมาตรฐานน�ำ้ ทิง้
หรือไม่ ตารางที่ 3-3 แสดงสีและกลิ่นของน�้ำในบ่อที่เป็นตัวชี้วัดสภาพของระบบสระเติมอากาศ
ตารางที่ 3-3 สีและกลิ่นที่แสดงสภาพของระบบสระเติมอากาศ
สี กลิ่น สภาพของระบบ
ใส ไม่มี ไม่มีปัญหา
น�้ำตาล กลิ่นดิน ไม่มีปัญหา ระบบอยู่ในสภาวะปกติ
เขียวเข้ม กลิ่นดินหรือเหม็นเขียว สภาวะปกติของบ่อบ่ม จะพบเห็นเมื่อค่า pH และ DO สูง
เทาด�ำ เหม็นก๊าซไข่เน่า เกิดสภาะไร้อากาศ ค่า DO เป็นศูนย์
ที่มา [21]
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 91

2.2) การวัดอัตราการไหลของน�้ำเสีย เนื่องจากสระเติมอากาศมีปริมาตรน�้ำ


เล็กกว่าบ่อปรับเสถียรและบึงประดิษฐ์ ดังนั้นประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสียของสระเติมอากาศ
จึงมีความอ่อนไหวต่อระยะเวลากักเก็บน�ำ้ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงมากกว่า การวัดอัตราการไหลของน�ำ้ เสีย
เข้าระบบสระเติมอากาศจึงมีความส�ำคัญมากส�ำหรับการควบคุมระบบเพื่อน�ำมาค�ำนวณหา
อัตราภาระสารอินทรีย์และระยะเวลาเก็บกักน�้ำ ซึ่งเป็นตัวแปรส�ำคัญในการควบคุมระบบโดยน�ำ
ไปเปรียบเทียบกับค่าที่ใช้ออกแบบระบบ ซึ่งวิธีการวัดอัตราการไหลของน�้ำเสียเข้าระบบที่ควร
ใช้คือการค�ำนวณจากจ�ำนวนชั่วโมงการท�ำงานของเครื่องสูบและอัตราการสูบน�้ำของเครื่องสูบน�้ำ
ที่บ่อสูบดังที่กล่าวไปแล้ว (หัวข้อ 3.3.3 อัตราการไหลของน�้ำเสีย)
2.3) การวัดค่าออกซิเจนละลายน�ำ้ (DO) ออกซิเจนละลายน�ำ้ (DO) เป็นตัวชีว้ ดั
ที่ส�ำคัญส�ำหรับปฏิกิริยาการย่อยสลายสารอินทรีย์แบบแอโรบิก การวัดค่า DO จะต้องท�ำทันที
ไม่ควรเก็บตัวอย่างน�ำ้ ใส่ขวดแล้วส่งไปวิเคราะห์ทหี่ อ้ งปฏิบตั กิ าร เนือ่ งจากค่า DO จะเปลีย่ นแปลง
ก่อนถึงห้องปฏิบตั กิ าร ผูป้ ฏิบตั งิ านท�ำการตรวจวัดค่า DO ทุกวันและค่า DO จะลดต�ำ่ ลงในช่วงเช้า
ทีม่ นี ำ�้ เสียเข้าระบบจ�ำนวนมาก ค่า DO ของน�ำ้ ในบ่อควรมีค่าไม่นอ้ ยกว่า 2 มิลลิกรัม/ลิตร เพือ่ ให้
ได้การบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ควรตรวจสอบค่า DO ของน�ำ้ ในบริเวณทีค่ ดิ ว่าเป็นจุดบอด
และปรับทิศทางของเครื่องเติมอากาศเพื่อแก้ไขปัญหาไม่ให้เกิดจุดบอด ภายในบ่อเติมอากาศควร
ติดตั้งเครื่องเติมอากาศอย่างน้อย 2 เครื่อง และเดินเครื่องเติมอากาศทั้ง 2 เครื่องเมื่อค่า DO ใน
บ่อลดต�่ำลง และอาจสลับเดินทีละเครื่องเมื่อค่า DO อยู่ในระดับสูง
2.4) pH ค่า pH ของน�้ำในสระเติมอากาศควรอยู่ในช่วง 6.5 – 8.5 ผู้ปฏิบัติ
งานควรตรวจวัดค่า pH ของน�้ำในบ่ออย่างน้อยวันละครั้ง ถ้าพบว่าค่า pH ของน�้ำเปลี่ยนแปลงไป
จากค่านี้ควรรีบท�ำการตรวจสอบหาสาเหตุและแก้ไข ค่า pH ในบ่อบ่มจะมีค่าสูงกว่าในสระเติม
อากาศเนื่องมาจากปฏิกิริยาสังเคราะห์แสงของสาหร่าย
2.5) การเก็บตัวอย่างน�ำ้ ผูป้ ฏิบตั งิ านจะต้องเก็บตัวอย่างน�ำ้ เสียและน�ำ้ ทิง้ ทีผ่ า่ น
การบ�ำบัด และส่งไปวิเคราะห์หาคุณภาพทุก ๆ 3 เดือนตามข้อก�ำหนดของกรมอนามัย แม้ว่าจะมี
แต่ขอ้ ก�ำหนดให้ตรวจสอบเฉพาะคุณภาพของน�ำ้ ทิง้ เท่านัน้ แต่การเก็บตัวอย่างน�ำ้ เสียทุกครัง้ ทีเ่ ก็บ
ตัวอย่างน�ำ้ ทิง้ จะได้ขอ้ มูลของคุณภาพน�ำ้ เสียของโรงพยาบาลเพือ่ น�ำไปเปรียบเทียบหาประสิทธิภาพ
ของระบบสระเติมอากาศ ตัวอย่างน�ำ้ เสียควรเก็บทีบ่ อ่ สูบน�ำ้ เสียและตัวอย่างน�ำ้ ทิง้ ทีบ่ ำ� บัดแล้วควร
เก็บตัวอย่างหลังบ่อฆ่าเชื้อโรค ตารางที่ 3-4 แสดงวิธีการตรวจวัด ความถี่และพารามิเตอร์ที่ส่ง
ตัวอย่างไปวิเคราะห์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
92 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 3-4 วิธีการตรวจวัด ความถี่และพารามิเตอร์ที่ส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์


น�้ำ
ความถี่ พารามิเตอร์ การวัด/วิเคราะห์ น�้ำเสีย น�้ำทิ้ง
ในบ่อ
ทุกวัน อัตราไหลของน�้ำเสีย ท�ำเอง x
(ลบ.ม./วัน)
pH ท�ำเอง x
DO (มก./ล.) ท�ำเอง x
การสังเกตสีของน�้ำ ท�ำเอง x
ทุก 3 เดือน BOD5 (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
COD (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
pH ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
TKN (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
Oil & Grease (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
ของแข็งแขวนลอย (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x x
ซัลไฟด์ (มก./ล.) ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x
โคลิฟอร์มและอีโคไล ส่งห้องแลปวิเคราะห์ x
(MPN/100 mL)

3 การก�ำจัดสลัดจ์
ระบบสระเติ ม อากาศที่ ใ ช้ ใ นโรงพยาบาลเกื อ บทั้ ง หมดเป็ น สระเติ ม อากาศ
แบบผสมไม่สมบูรณ์ ท�ำให้มีตะกอนหรือสลัดจ์สะสมอยู่ที่ก้นสระเติมอากาศ สลัดจ์จะสะสม
เพิ่มขึ้นและมีความหนามากขึ้นตามปีที่ใช้งาน เมื่อชั้นสลัดจ์มากเกินไปจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ
การบ�ำบัดน�้ำเสียของระบบ เนื่องจากปริมาตรน�้ำภายในสระเติมอากาศลดลงส่งผลให้ระยะเวลา
เก็บกักน�ำ้ ลดลง ซึง่ เป็นตัวแปรทีส่ ำ� คัญส�ำหรับระบบสระเติมอากาศ ดังนัน้ ควรพิจารณาก�ำจัดสลัดจ์
ออกจากบ่อเมื่อมีชั้นสลัดจ์สะสมสูงถึง 1/3 ของความลึกน�้ำ
ความหนาของสลัดจ์ที่สะสมอยู่ในบ่อจะขึ้นกับรูปร่างและต�ำแหน่งของท่อน�้ำเสีย
เข้าและออกเช่นเดียวกับบ่อปรับเสถียร จะพบสลัดจ์สว่ นใหญ่สะสมบริเวณใกล้ทอ่ น�ำ้ เสียเข้าท�ำให้
ระดับน�้ำบริเวณนี้ลดลง สลัดจ์ที่เน่าสลายลอยตัวขึ้นผิวน�้ำและก่อให้เกิดกลิ่น ดังนั้นจึงต้องตรวจ
สอบการสะสมของสลัดจ์ทุก ๆ 3 – 5 ปี และก�ำจัดออกเป็นครั้งคราวขึ้นกับปริมาณตะกอน
ทีส่ ะสม หรือก�ำจัดสลัดจ์เมือ่ ชัน้ สลัดจ์สงู เท่ากับ 30% ของความลึกน�ำ้ การตรวจสอบความสูงของ
ชัน้ สลัดจ์อาจท�ำได้ดว้ ยการใช้ไม้ทมี่ คี วามยาวเหมาะสม พันด้วยผ้าสีออ่ นและมัดด้วยเชือกให้แน่น
จากนั้นน�ำไปจุ่มลงในน�้ำถึงก้นบ่อ ถือค้างไว้ 10 – 15 นาที ค่อยดึงขึ้นอย่างช้า ๆ จะเห็นความลึก
ของชัน้ สลัดจ์สดี ำ� บนผ้าอย่างชัดเจน และความลึกของน�ำ้ ในบ่อจากความสูงของรอยเปียกน�ำ้ บนไม้
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 93

เนื่องจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลไม่สามารถหยุดการเดินระบบได้
ดังนัน้ จึงต้องก�ำจัดสลัดออกจากบ่อในขณะทีร่ ะบบยังคงท�ำงานอยู่ สามารถสูบสลัดจ์ออกจากก้นบ่อ
ด้วยการใช้เครือ่ งสูบน�ำ้ แบบจมน�ำ้ และให้คนงานจับท่ออยูบ่ นแพ (รูปที่ 3-10) อาจใช้รว่ มกับอุปกรณ์
กวาดสลัดจ์ทก่ี น้ บ่อ สลัดจ์ทสี่ บู ออกมาจะต้องขนออกไปทิง้ นอกบ่อปรับเสถียรหรือน�ำไปรีดน�ำ้ ออก

3.6 ระบบบึงประดิษฐ์

3.6.1 การเริ่มเดินระบบ (Startup)


ก่อนเริม่ ปลูกพืชเพือ่ เดินระบบบึงประดิษฐ์แบบ FW จะต้องตรวจสอบ (1) ชนิดของ
พืชที่ใช้จะต้องเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของพื้นที่ (2) ชิ้นส่วนของพืชที่น�ำมาเพาะปลูกจะต้อง
ยังมีชีวิตและเจริญเติบโตได้ และ (3) ระดับน�้ำของบึงประดิษฐ์ในช่วง Startup จะต้องเหมาะกับ
พืชที่เพาะปลูก
การปลูกพืชนิยมใช้รากหรือเหง้าของพืชที่มีอายุ 1 – 2 ปี เนื่องจากเป็นช่วงอายุ
ที่สามารถอยู่รอดและเติบโตได้ดี เริ่มปลูกต้นไม้ให้มีระยะห่างกัน 0.3 – 1 เมตร และพืชจะ
เจริญเติบโตขยายตัวออก การปลูกพืชที่ความหนาแน่นสูงจะท�ำให้ระบบพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว
ถ้าปลูกที่ความหนาแน่นต�่ำอาจต้องใช้เวลามากกว่าระบบจะเข้าสู่จุดสมดุล การปลูกพืชเป็นกลุ่ม
จะดีกว่าการปลูกแบบกระจายทั่วพื้นที่ ให้ปลูกเป็นแนวและแถวตั้งฉากกับทิศทางการไหลของน�้ำ
ซึง่ จะช่วยให้นำ�้ เสียไหลผ่านได้อย่างทัว่ ถึงและไม่ไหลลัดวงจร เมือ่ ท�ำการปลูกพืชลงดินแล้วจะต้อง
เติมน�้ำสะอาดให้ท่วมพื้นดินเพื่อให้ดินอิ่มตัวด้วยน�้ำตลอดเวลา
ในช่วงปีแรกการรักษาระดับน�ำ้ ในบึงประดิษฐ์มคี วามส�ำคัญมาก คนส่วนใหญ่จะเข้าใจ
ผิดว่าพืชในบึงประดิษฐ์สามารถทนระดับน�ำ้ ทีส่ งู ได้ และจะพบปัญหาการปรับระดับน�ำ้ ทีส่ งู เกินไปใน
ช่วงปีแรกของการปลูกพืชมากกว่าพบปัญหาจากระดับน�ำ้ ทีต่ ำ�่ เกินไป เนือ่ งจากระดับน�ำ้ ทีส่ งู เกินไป
จะท�ำให้รากต้นพืชไม่ได้รบั ออกซิเจนทีเ่ พียงพอ ในปีแรกทีพ่ ชื เพิง่ งอกสูงเพียง 1 – 2 นิว้ นัน้ ดินควร
อิม่ ตัวด้วยน�ำ้ แต่นำ�้ ต้องไม่ทว่ มต้นอ่อน พืชโผล่พน้ น�ำ้ (เช่น ธูปฤาษีและกก) ต้องการทีจ่ ะโผล่พน้ น�ำ้
เพื่อสัมผัสกับอากาศ ถ้าต้นที่ปลูกใหม่ถูกน�้ำท่วมนานเกินไปจะเน่าตาย เมื่อพืชโตขึ้นประมาณ
10 – 12 นิ้วให้ปรับระดับน�้ำให้สูงขึ้น หลังจากนั้น 2 – 3 เดือนเมื่อพืชเติบโตขึ้นได้ดีสามารถ
ปรับระดับน�้ำให้สูงขึ้นได้ ควรปล่อยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีก่อนปล่อยน�้ำเสียเข้าบึงประดิษฐ์ [20]
การเริม่ ต้นเดินระบบ (Startup) ระบบบึงประดิษฐ์จะเกีย่ วข้องกับการควบคุมระดับน�ำ้
ในบึงด้วยการควบคุมปริมาณน�้ำเข้าและควบคุมระดับน�้ำด้วยประตูน�้ำหรืออุปกรณ์ปรับระดับน�้ำ
ทีป่ ลายทางน�ำ้ ออก ถ้าต้นพืชยังโตไม่ถงึ ค่าทีต่ อ้ งการให้คอ่ ย ๆ เพิม่ ระดับน�ำ้ เพือ่ ให้ตน้ พืชเติบโตขึน้
การ Startup ระบบเป็นเพียงขั้นเริ่มต้นเท่านั้น ระบบบึงประดิษฐ์จะเข้าสู่สภาวะที่มีประสิทธิภาพ
การบ�ำบัดสูงสุดเมือ่ ต้นพืชโตเต็มทีแ่ ละมีเศษใบไม้ตกลงในบึงอย่างสมดุลซึง่ อาจใช้ระยะเวลา 1 – 2 ปี
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
94 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ในช่วงของการ Startup ผูป้ ฏิบตั งิ านจะต้องตรวจสอบต้นพืชในบึงประดิษฐ์หลายครัง้


ต่อสัปดาห์ โดยสังเกตการเจริญเติบโตและสุขภาพของพืช ตรวจสอบความสมบูรณ์ของคันดิน
และการเพิ่มขึ้นของยุง ด้วยการปรับระดับน�้ำตามระดับที่ต้องการ ในช่วงปีแรกหลังจาก Startup
จะต้องตรวจสอบพืชที่ขึ้นทั้งหมดในบึงประดิษฐ์ ถ้าพบพื้นที่ขนาดใหญ่ที่ไม่มีต้นไม้ขึ้นให้ท�ำการ
ปลูกเพิ่มเติมเพื่อป้องกันการไหลลัดวงจร

3.6.2 การเดินระบบ
ตัวแปรควบคุมในการเดินระบบบึงประดิษฐ์จะเหมือนกับการเดินระบบบ่อปรับเสถียร
สิง่ ทีต่ อ้ งท�ำจะเกีย่ วข้องกับการสังเกตด้วยตาและแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ระบบบึงประดิษฐ์ตอบสนอง
ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงได้ ช ้ า กว่ า ระบบบ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ประเภทอื่ น ตั ว อย่ า งเช่ น เมื่ อ เกิ ด ปั ญ หา
การเดิ น ระบบที่ ท� ำ ให้ ต ้ น ไม้ ภ ายในบึ ง ประดิ ษ ฐ์ ต ายทั้ ง หมดการฟื ้ น สภาพระบบบึ ง ประดิ ษ ฐ์
จนสามารถบ�ำบัดน�ำ้ เสียอย่างมีประสิทธิภาพต้องใช้เวลาในการปลูกพืชเป็นเวลาหลายเดือน ดังนัน้
การด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษาทีเ่ หมาะสมสามารถยืดอายุการใช้งานและท�ำให้บงึ ประดิษฐ์สามารถ
บ�ำบัดน�้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องด�ำเนินงานในข้อหัวส�ำคัญต่อไปนี้
1 การปฏิบัติงานประจ�ำ
การด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษาระบบบึงประดิษฐ์มีความคล้ายคลึงกับระบบ
บ่อปรับเสถียร เนื่องจากใช้บ่อน�้ำขนาดใหญ่และไม่ต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้สูง งานประจ�ำ
ที่ผู้ปฏิบัติงานต้องท�ำได้แก่
(1) การก�ำจัดขยะออกจากตะแกรงที่บ่อสูบทุกวัน
(2) ตัดหญ้าที่ขึ้นบนคันดินและก�ำจัดวัชพืชออกจากขอบบ่อ ป้องกันไม่ให้เป็น
แหล่งเพาะพันธุ์ของยุง
(3) ก�ำจัดตะกอนลอยน�้ำและพืชลอยน�้ำ เช่น แหน ผ�ำหรือผักตบชวา ออกจาก
ผิวน�้ำของบึงประดิษฐ์เพื่อท�ำให้เกิดการแพร่กระจายของออกซิเจนจากผิวน�้ำได้ดีขึ้น และป้องกัน
การวางไข่ของแมลงวัน
(4) ก�ำจัดของแข็งและตะกอนที่สะสมบริเวณท่อน�้ำเสียเข้าและบริเวณท่อน�้ำทิ้ง
ออกจากบ่อ
(5) ซ่อมแซมคันดินที่เกิดความเสียหายทั้งจากสัตว์และสาเหตุอื่น ๆ
(6) บ�ำรุงรักษาเครื่องสูบน�้ำ และเครื่องสูบสารละลายคลอรีนตามคู่มือการบ�ำรุง
รักษาของผู้ผลิต
(7) ตรวจสอบการรั่วซึมของวาล์วทุก ๆ 6 เดือน ตรวจสอบการท�ำการของวาล์ว
ที่มีในระบบทุกตัวด้วยการหมุนวาล์วเปิด-ปิดวาล์วจนสนิท เป็นประจ�ำอย่างน้อยทุก ๆ 6 เดือน
เพื่อให้วาล์วท�ำงานได้อย่างสม�่ำเสมอ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 95

ผู้ปฏิบัติงานควรได้รับมอบหมายงานให้ท�ำตามก�ำหนดระยะเวลาของงานแต่ละ
ประเภท และจะต้องได้รบั การตรวจสอบผลของการปฏิบตั งิ านอย่างสม�ำ่ เสมอ นอกจากนีผ้ ปู้ ฏิบตั งิ าน
ยังต้องท�ำการตรวจวัดพารามิเตอร์ที่ใช้ควบคุม เช่น pH และ DO และต้องเก็บตัวอย่างน�้ำทิ้ง
ส่งไปวิเคราะห์หาคุณภาพน�้ำ
2 การปรับระดับน�้ำในบึงประดิษฐ์
การจัดการระดับน�้ำในบึงประดิษฐ์เป็นสิ่งส�ำคัญในการรักษาพืชในบึงประดิษฐ์
พืชแต่ละชนิดทนต่อระดับน�้ำที่ความสูงไม่เท่ากันและทนต่อน�้ำท่วมได้ในระยะเวลาไม่เท่ากัน
นอกจากนีก้ ารเปลีย่ นแปลงของระดับน�ำ้ จะส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการถ่ายเทออกซิเจนจาก
อากาศลงสู่น�้ำและต้นพืช และระดับน�้ำที่เปลี่ยนแปลงยังมีผลต่อระยะเวลาเก็บกักน�้ำในบึง ดังนั้น
เมื่อพบว่าระดับน�้ำในบึงเปลี่ยนแปลงจะต้องรีบตรวจสอบหาสาเหตุ เช่นอาจเกิดจากบ่อรั่วหรือ
เกิดจากการอุดตันของท่อ เป็นต้น การควบคุมระดับน�้ำในบึงประดิษฐ์แบบ FW อาจใช้ประตูน�้ำ
หรืออุปกรณ์ปรับระดับน�้ำที่ปลายทางน�้ำออก
3 สภาพการไหลในบึงแบบสม�่ำเสมอ
การท�ำให้เกิดสภาพการไหลทีส่ ม�ำ่ เสมอด้วยการปรับทางเข้าและออกของน�ำ้ เสีย
เป็นตัวแปรทีส่ ำ� คัญส�ำหรับการบ�ำบัดน�ำ้ เสียทีม่ ปี ระสิทธิภาพของบึงประดิษฐ์ ควรตรวจสอบระบบ
ท่อเข้าและท่อออกเป็นประจ�ำท�ำความสะอาดและก�ำจัดสิ่งอุดตันออก น�้ำเสียจะไหลผ่านต้นพืช
และถูกแบคทีเรียที่เกาะตามต้นพืชย่อยสลายสารอินทรีย์ น�้ำเสียจะต้องกระจายทั่วทั้งบึงและ
ไหลผ่านทุกส่วนในบึงประดิษฐ์ การไหลลัดวงจรอาจเกิดขึ้นเมื่อเกิดการสะสมของชิ้นส่วนของ
พืชที่เน่าสลายจ�ำนวนมากเกินไป หรืออาจเกิดจากสาเหตุอื่นที่ทำ� ให้การไหลของน�้ำไม่สม�่ำเสมอ
ควรตรวจสอบการไหลของน�ำ้ ในบึงเป็นประจ�ำเพือ่ ให้มนั่ ในว่าน�ำ้ จะไหลผ่านทุกส่วนอย่างสม�ำ่ เสมอ
และไม่เกิดพื้นที่ที่เป็นจุดบอดของการไหล ก�ำจัดเศษพืชที่เน่าสลายที่สะสมในบึง ก�ำจัดเมือก
แบคทีเรียและเมือกสาหร่ายออกจากประตูน�้ำและตะแกรง ถ้าปลายท่อน�้ำเข้าและออกอยู่ต�่ำกว่า
ระดับผิวน�้ำควรล้างท่อด้วยน�้ำจ�ำนวนมากเป็นครั้งคราว จะต้องตรวจสอบการเติบโตของพืชที่อยู่
ในบึงไม่ให้ไปขวางการไหลของน�้ำและอาจท�ำให้เกิดการไหลลัดวงจร และตรวจสอบอัตราการไหล
ของน�้ำเสียเข้าบึงและระดับน�้ำในบึงอย่างสม�่ำเสมอ
4 การจัดการต้นไม้ในบึงประดิษฐ์
ต้นไม้ภายในบึงประดิษฐ์ไม่ตอ้ งการการดูแลเป็นประจ�ำ ต้นไม้สามารถเจริญเติบโต
ตาย เกิดขึ้นใหม่ทุกปีและเพิ่มจ�ำนวนขยายตัวออก ผู้ปฏิบัติงานควรจัดการให้ภายในบึงประดิษฐ์
มีชนิดและจ�ำนวนของพืชที่เหมาะสม ด้วยการควบคุมระดับน�้ำและการจัดพืชที่ไม่ต้องการออก
เช่น วัชพืช โดยตรวจสอบพืชในบึงอย่างสม�่ำเสมอ ควรตัดพืชออกเมื่อพืชขยายตัวหนาแน่น
จนเกินไป (รูปที่ 3-11) หรือขยายจ�ำนวนออกนอกพื้นที่ที่กำ� หนดด้วยการตัดออก และถ้าพืชที่มี
ในบึงประดิษฐ์ไม่เพียงพอจะต้องท�ำการปลูกเพิ่มเติม
96 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์บทที
บทที่ 3่ 3การควบคุ มและดู
การควบคุ แลระบบบ
มและดู าบัาบั
แลระบบบ ดนดาเสี
ยย
นาเสี
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล

รูปที่ 3-11 พืชขึนอย่างหนาแน่นเกินไปทาให้เกิดการไหลลัดวงจร

) การควบคุมกลิ่น
นที่ภายในบึงประดิษฐ์แบบ FW บางช่วงอาจอยู่ในสภาวะไร้อากาศและเกิดก๊าซไข่เน่าที่ทาให้เก
รูปที่ 3-11 พืชขึ้นอย่างหนาแน่นเกินไปท�ำให้เกิดการไหลลัดวงจร
รลดระดับน้าในบึงประดิ รูปรูทีป่ ษ3-11
ทีฐ์่ 3-11
จะช่ พืชพืขึวชนอย่
ยเพิ
ขึนอย่ ่มางหนาแน่
างหนาแน่ประสินเกิทนนเกิธิไปท นภไปทาพการถ่
าให้าให้ ายเทออกซิ
เกิดเกิการไหลลั
ดการไหลลั ดวงจร เจนและอาจช่วยลดปัญหาก
ดวงจร
5 การควบคุมกลิ่น
อากาศ นอกจากนี 5) 5) การควบคุ ้ความปั นน่นป่วนที่เกิดจากน้าเสียไหลเข้าและน้าทิ้งไหลออกอาจทาให้เกิดกลิ่น ค
การควบคุ พืม้นกลิทีมกลิ ่น งประดิษฐ์แบบ FW บางช่วงอาจอยู่ในสภาวะไร้อากาศและเกิด
่ภายในบึ
วนของการไหลบริ
ก๊าซไข่พืเน่้นาพืทีที้น่ภเท่ ทีายในบึ
วณท่
ำ� ่ภให้ เกิงอดประดิ
ายในบึ เข้
งประดิ
กลิ น่าษและท่
ฐ์ษแฐ์บบ
เหม็ นแบบ อออกอาจลดปั
FW FW
การลดระดั บางช่ บางช่ วบงอาจอยู
วน�งอาจอยู งญ
ำ้ ในบึ่ในสภาวะไร้ หากลิษฐ์อจ่นากาศและเกิ
่ในสภาวะไร้
ประดิ ะช่อได้ากาศและเกิ
วยเพิม่ ประสิ ดก๊ดาซไข่
ก๊ทาธิซไข่เภน่าพการถ่
าเน่ทีา่ททีาให้
่ทาให้ เากิยเท
ดเกิกลิดกลิ
่น ่น
เหม็ น การลดระดั
ออกซิ
เหม็ เจนและอาจช่
นสาหร่
การลดระดั บน้บาในบึ น้วาในบึงประดิ
ยลดปั ญลอยน
งชประดิ ษหาการเกิ
ฐ์ษจะช่ วยเพิ
ฐ์จาะช่ ่มประสิ
วดยเพิ
สภาวะไร้่มประสิ ทธิอทภากาศ
ธิาพการถ่
ภาพการถ่ ายเทออกซิ
นอกจากนี ายเทออกซิ ค้ เวามปั
จนและอาจช่ น่ ป่วนทีวยลดปั
เจนและอาจช่ เ่ กิวดยลดปั
จากน� ญหาการเกิ เสีย ด ด
ญำ้หาการเกิ
) การควบคุ ม
สภาวะไร้
า ยและพื
ไหลเข้
สภาวะไร้าอและน�
ากาศ
อากาศ ้ำนอกจากนี
ทิ้งนอกจากนี
ไหลออกอาจท� ้ความปั ้ความปั นนำป่นให้
นวป่นที ่เดกิกลิ
เวกินที ด่เกิจากน้
ด่นจากน้ าเสีาเสี
ควรลดความปัยไหลเข้ ยไหลเข้าและน้ ป่วาทินของการไหลบริ
า่นและน้ ้งไหลออกอาจท
าทิ ้งไหลออกอาจท าให้
เวณท่ เกิดเกิกลิ
าให้ ่นาควรลด
อดเข้กลิ และ
่น ควรลด
ายในบึงความปั
ประดิ นนษ
ท่ความปั ป่นนวฐ์ป่นของการไหลบริ
อออกอาจลดปั วแนของการไหลบริ
บบญFW หากลิอาจเกิ เ่นวณท่
ได้
เวณท่ อเข้อาดเข้และท่
สาหร่
าและท่ อาออกอาจลดปั
อออกอาจลดปัยที่เป็นญสายหรื หากลิ
ญหากลิ่นได้่นอได้มีพืชลอยน้าเจริญเติบโต (รูปที่ 3-12)
6) 6) การควบคุ มสาหร่ ายและพื ชลอยน า า ชลอยน�้ำ
แพร่กระจายของออกซิ ภายในบึ
การควบคุ เ
6 การควบคุ
งประดิ
จนจากอากาศ
มสาหร่
ษฐ์ษแฐ์บบ
ามยและพื
สาหร่ าชยและพื
ลอยน และบดบั งนแสงแดดส าหรัาเจริ บพืญชเติทีบ่โตกาลั งทีโผล่ ขึ้นซึ่งเหนื อน้า ควร
ภายในบึ งภายในบึ
ประดิ บบFWFW
แงประดิ อาจเกิ
อาจเกิ ด สาหร่
ด า
สาหร่ ยที า ่ เ
ยที ป็ ่ เ สายหรื
ป็ น อ
สายหรื มี
ษฐ์แบบ FW อาจเกิดสาหร่ายทีเ่ ป็นสายหรือมีพชื ลอยน�ำ้ เจริญเติบโต พ
อ ื
มีชพลอยน้
ื ช ลอยน้ าเจริ ญ เติ บ (รู
โต ป
(รู ่
ป 3-12)
ที ่ 3-12) จะ
ซึ ่ ง จะ
ารตักออกไปลดการแพร่
(รูไปลดการแพร่ ก ระจายของออกซิ
ปที่ 3-12) กซึระจายของออกซิ ่งจะไปลดการแพร่ เ จนจากอากาศ
เจนจากอากาศ
กระจายของออกซิ และบดบั
และบดบั งแสงแดดสงเจนจากอากาศ
แสงแดดส าหรัาหรั
บพืบชพืทีและบดบั
ช่กทีาลั่กงาลัโผล่ ขงึ้นแสงแดดส�
งโผล่ ขเหนื ึ้นเหนือน้อาน้ควรก ำาหรั
ควรกบาจัดาจัด
ออกด้
ชทีว่กยการตั
พืออกด้ กออก
�ำวลัยการตั
งโผล่ กขออก
ึ้นเหนือน�้ำ ควรก�ำจัดออกด้วยการตักออก

รูปรูทีป่ 3-12 แหนในบึ


ที่ 3-12 งประดิ
แหนในบึ ษฐ์ษฐ์
งประดิ

7) 7)
การจัการจั ดการแหล่
ดการแหล่ งเพาะพั
งเพาะพั นรูธุนป์ยธุุงที์ย่ ุง3-12 แหนในบึงประดิษฐ์
ปกติปกติ
บึงประดิ
บึง7ประดิ ษฐ์ษแบบ
การจั FWรูFW
ฐ์ดแการแหล่
บบ ปเป็ทีนเป็แหล่
ง่ นเพาะพั
3-12
แหล่ นแหนในบึ
งเพาะพั ธุน์ยธุุงน์ยุงธุ์ยและเป็
งเพาะพั งนประดิ
ุง และเป็ ไปไม่นไปไม่ ได้ษ ด้ฐ์เลยที
เไลยที ่จะขั่จดะขัขวางการวางไข่
ดขวางการวางไข่ ของยุ ง วิงธีใวินธีใน
ของยุ
การควบคุ
การควบคุ มทีม่ดทีีท่ดี่สีทุดี่สคืปกติ
ุดอคืการสร้
อการสร้ างสภาพแวดล้
บึงประดิ ษฐ์แบบอมของบึ
างสภาพแวดล้ FW
อมของบึ งประดิ
เป็ นงประดิ
แหล่ ษฐ์งษทเพาะพั
ฐ์ี่ไม่ทเี่ไหมาะสมกั
นธุ์ยุง บและเป็
ม่เหมาะสมกั การวางไข่
บการวางไข่ นไปไม่ ของยุ ไงด้ปกติ
ของยุ ยุง่จชอบ
เงลยที
ปกติ ยะุงชอบ
ขัวางไข่
ดขวางการวางไข่
วางไข่ ในแหล่
ในแหล่งน้งานิน้านิ ่ง จึข่งงองยุ
ควรท ง าให้
จึงควรท วิธาให้
มีในการควบคุ
ีนม้าไหลผ่
ีน้าไหลผ่ กมพืทีก้น่ดพืทีีท้น่ใี่สนบึ
านทุานทุ ทีุด่ในบึ
งคืและไม่
องการสร้
และไม่ มีจมุดาีจบอด
งสภาพแวดล้
ุดบอดโดยก โดยก าจัดาจัอวัดสมของบึ งอประดิ
วัดุสหดุรืหอรืเศษพื ชเน่ชษาเน่ฐ์เสีายเสีย
เศษพื
) การจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
กติบึงประดิษฐ์แบบ FW เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และเป็นไปไม่ได้เลยที่จะขัดขวางการวางไข่ของยุง
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 97

ที่ไม่เหมาะสมกับการวางไข่ของยุง ปกติยุงชอบวางไข่ในแหล่งน�้ำนิ่ง จึงควรท�ำให้มีน�้ำไหลผ่าน


ทุกพืน้ ทีใ่ นบึงและไม่มจี ดุ บอด โดยก�ำจัดวัสดุหรือเศษพืชเน่าเสียรวมทัง้ พืชลอยน�ำ้ ทีข่ ดั ขวางการไหล
ของน�ำ้ และอีกวิธหี นึง่ คือการควบคุมจ�ำนวนลูกน�ำ้ ทีจ่ ะเจริญเติบโตไปเป็นยุง ได้แก่ การเพาะเลีย้ ง
ปลากินลูกน�้ำและรักษาสภาวะแอโรบิกในบึงประดิษฐ์ให้ได้ตลอดเวลา
8 การก�ำจัดสลัดจ์
ของแข็งแขวนลอยที่มากับน�้ำเสียจะตกตะกอนเกือบทั้งหมดจะถูกก�ำจัดออก
ในระยะร้อยละ 20 ใกล้บริเวณท่อเข้าและจะสะสมเป็นชั้นสลัดจ์ เศษใบไม้และซากต้นไม้ที่ล่วงลง
ในบึงจะถูกย่อยสลายและสะสมเป็นชั้นสลัดจ์ เมื่อเวลาผ่านไปชั้นสลัดจ์จากของแข็งแขวนลอย
และจากซากพืชที่สะสมจะมีความสูงเพิ่มขึ้น ซึ่งท�ำให้ระยะเวลาเก็บกักน�้ำลดลง ผู้ปฏิบัติงานควร
จัดท�ำตารางเวลาตรวจสอบความสูงของชั้นสลัดจ์ในบึงประดิษฐ์ทุกปี และควรพิจารณาจัดเตรียม
งบประมาณส�ำหรับการลอกตะกอนออกทุก ๆ 3 – 5 ปี ขึ้นกับปริมาณตะกอนที่สะสม
9 ตารางเวลาการด�ำเนินงานและการตรวจสอบ
ผู้ปฏิบัติงานควรตรวจสอบคันดิน ทางน�้ำล้น และโครงสร้างการควบคุมระดับน�้ำ
โดยจัดท�ำเป็นตารางเวลาส�ำหรับการตรวจสอบเป็นประจ�ำ และท�ำการตรวจทันทีเมื่อพบการไหล
ของน�้ำที่ผิดปกติ ควรจัดท�ำตารางเวลาส�ำหรับการท�ำความสะอาดโครงสร้างท่อเข้าและออก
การตรวจสอบระดับน�ำ้ และความลึกของตะกอนทีส่ ะสมในบึง ตารางที่ 3-5 แสดงตารางเวลาส�ำหรับ
การตรวจสอบระบบบึงประดิษฐ์เพือ่ ให้มนั่ ในว่าระบบสามารถบ�ำบัดน�ำ้ เสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
98 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 3-5 ตารางเวลาการด�ำเนินงานและตรวจสอบระบบบึงประดิษฐ์


ความถี่
องค์ประกอบของระบบ หมายเหตุ
W M Q S A 2Yr 3Yr
ระบบบ�ำบัดขั้นต้น
- สถานีสูบน�้ำเสีย x
- เครื่องสูบน�้ำเสียและระบบ x
ท่อสูบ
- เก็บตัวอย่างน�้ำเสีย x
ระบบบึงประดิษฐ์
- ตรวจสอบคันดิน วัชพืช x
ความเสียหาย
- ตรวจสอบการไหล x แก้ไขถ้าอุดตัน
อย่างสม�่ำเสมอของน�้ำ
- ตรวจสอบระดับน�้ำ x ปรับแก้ไขเมื่อจ�ำเป็น
- เก็บตัวอย่างน�้ำเสีย x
- ตรวจสอบพืช ชนิด x ก�ำจัดวัชพืช ตัดพืช
และความหนาแน่น ที่หนาแน่นเกินไป
และวัชพืช แหนลอยน�้ำ ปลูกซ่อมเมื่อจ�ำเป็น
- ตรวจสอบระดับน�้ำ x
- ตรวจสอบความสูง x
ของชั้นตะกอน
- การก�ำจัดตะกอน x ขึ้นกับปริมาณตะกอน
ที่สะสม
W = สัปดาห์ละครั้ง, M = เดือนละครั้ง, Q = 3 เดือนละครั้ง, S = ครึ่งปีละครั้ง, A = ปีละครั้ง, 2Yr = 2 ปีครั้ง, 3Yr = 3 ปีครั้ง
ที่มา : [15]
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 99

บทที่
4 การบ�ำรุงรักษา
และการติดตามผล
4.1 การบ�ำรุงรักษาเครือ่ งจักรอุปกรณ์และระบบไฟฟ้าของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย

เครื่องจักรอุปกรณ์และระบบไฟฟ้าของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียถือว่าเป็นหัวใจส�ำคัญของการ
เดินระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ผู้ปฏิบัติงานควรจัดให้มีการดูแลและบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ให้อยู่
ในสภาพพร้อมใช้งานเพื่อท�ำให้ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียท�ำงานได้อย่างประสิทธิภาพ การบ�ำรุงรักษา
เครื่องจักรอุปกรณ์และระบบไฟฟ้าของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

4.1.1 เครื่องสูบน�้ำแบบจุ่มใต้น�้ำ (Submersible Pump)

ในกรณีที่ใช้เครื่องสูบน�้ำแบบจุ่มใต้น�้ำ ทั้งมอเตอร์และเครื่องสูบน�้ำจะจมอยู่ใต้น�้ำ
ตลอดเวลา เครื่องสูบน�้ำแบบนี้จึงมีการป้องกันพิเศษไม่ให้น�้ำซึมเข้าไปในห้องขับเคลื่อนได้ ในการ
ติดตั้งเครื่องสูบน�้ำแบบจุ่มใต้น�้ำจึงต้องระมัดระวัง มีรายละเอียดต่อไปนี้
1 ระหว่างการติดตั้งต้องระวังไม่ให้สายไฟด้านที่ต่อเข้าตู้ควบคุมเปียกน�้ำ เพราะ
น�้ำจะซึมเข้าไปในช่องว่างระหว่างสายไฟมอเตอร์
2 ระหว่างการติดตัง้ ให้ใช้เชือกผูกกับหูหวิ้ ของเครือ
่ งสูบน�ำ้ เพือ่ ใช้ในการเคลือ่ นย้าย
ยกขึน้ ลง ห้ามดึงสายไฟทีต่ อ่ จากเครือ่ งสูบน�ำ้ โดยเด็ดขาด เพราะจะท�ำให้สายไฟหลุดหรือลัดวงจรได้
3 ควรตรวจสอบทุกอย่างให้พร้อมก่อนเริ่มเดินเครื่องสูบน�้ำ หรือเริ่มเดินเครื่องสูบ
เมื่อไม่ได้ใช้งานเป็นเวลานาน สิ่งจ�ำเป็นที่ต้องด�ำเนินการ คือ
(3.1) ท�ำความสะอาดบ่อสูบและภายในท่อ หากมีวัสดุหรือเศษขยะอยู่ในท่อจะ
ท�ำความเสียหายอย่างมากให้กบั ซีลของเครือ่ งสูบ และอาจท�ำให้เกิดการอุดตันในเครือ่ งสูบน�ำ้ หรือ
ในเส้นท่อได้
(3.2) ตรวจสอบระบบไฟฟ้า ตรวจสอบขนาดของกระแสที่ตัดวงจร (Overload
Relay) กับค่าทีต่ งั้ ไว้ ขนาดของสายไฟทีใ่ ช้เหมาะสมกับการใช้งานหรือไม่ ตรวจความต้านทานของ
ฉนวนเพือ่ ให้มนั่ ใจว่ามีความต้านทานเพียงพอ ส�ำหรับเครือ่ งสูบน�ำ้ ทีไ่ ม่ได้ใช้งานนาน ต้องท�ำความ
สะอาดหน้าสัมผัสของตัวคอนแทคเตอร์
(3.2) ตรวจสอบเพลาของเครือ่ งสูบน�ำ้ โดยหมุนด้วยมือ หากปกติเพลาของเครือ่ ง
สูบน�้ำจะหมุนได้คล่อง
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
100 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

(3.3) ตรวจสอบทิศทางการหมุน เพราะการที่เครื่องสูบน�้ำหมุนผิดทิศทาง


จะท�ำให้สูบน�้ำได้น้อยหรือสูบไม่ได้เลย ซึ่งอาจท�ำให้เครื่องเสียหายได้ วิธีการตรวจสอบทิศทาง
การหมุนท�ำได้โดย
• แขวนเครื่องสูบน�้ำให้สูงพอเหมาะ สังเกตการณ์หมุนของการใบพัด
• จ่ายไฟเข้าเครื่องสูบน�้ำให้ใบพัดหมุน ใช้เวลาไม่เกิน 3 วินาที
• ตรวจสอบทิศทางการหมุนของใบพัดด้านดูดว่าหมุนไปทิศทางตามเข็ม
นาฬิกา หากใบพัดหมุนกลับทิศ คือทวนเข็มนาฬิกาจะท�ำให้เกิดเสียงดังและสั่นมาก แสดงว่าต่อ
สายไฟกลับเฟสกัน ต้องปรับแก้ให้ถูกต้อง แต่เมื่อเริ่มเดินเครื่องใบพัดจะหมุนทวนเข็มนาฬิกาอยู่
ในช่วงสั้นๆแล้วจะหมุนตามเข็มนาฬิกาตามเดิม
(3.4) การตรวจสอบขณะเครื่องสูบน�้ำก�ำลังท�ำงาน ควรตรวจว่ามีกระแสไฟฟ้า
ต�่ำกว่าที่ก�ำหนด ตามแผ่นข้อมูล (Name Plate) ที่อยู่กับมอเตอร์ และไม่มีการเปลี่ยนแปลงของ
กระแสไฟฟ้าที่มากผิดปกติ
4 การถ่ายน�้ำมันเครื่อง ท�ำเมื่อมีน�้ำเข้าไปเจือปนในน�้ำมันเครื่อง หรือเมื่อน�ำเครื่อง
สูบออกมาซ่อม โดยถ่ายน�้ำมันเครื่องผ่าน “รูน�้ำมันออก (Oil Out)” วิธีการคือคลายเกลียวออก
วางเครื่องสูบน�้ำในแนวนอนให้รูน�้ำมันออกอยู่ด้านล่างจากนั้นคลายเกลียว “รูน�้ำมันเข้า (Oil In)”
ยกเครื่องสูบน�้ำเอียงขึ้นเล็กน้อย แล้ววางนอนลงสลับกัน น�้ำมันเครื่องจะไหลออกมาเอง
5 การเติ ม น�้ ำ มั น เครื่ อ ง ควรเปลี่ ย นแหวนรองสลั ก เกลี ย วที่ รู น�้ ำ มั น เข้ า -ออก
ขันเกลียวปิดรูน�้ำมันออกและเติมน�้ำมันเครื่องเข้าทางรูน�้ำมันเข้าไป ในการเติมน�้ำมันเข้าต้องจับ
เครื่องสูบให้เอียงวางในแนวนอนอีกครั้ง เพื่อให้น�้ำมันไหลเข้าเต็มภายในตัวเครื่องทั้งหมด โดย
การยกเครื่องสูบให้เอียงท�ำมุมประมาณ 18 องศา หากมีน�้ำมันซึมออกมาที่รูน�้ำมันเข้าถือว่าใช้ได้
6 การตรวจสอบกระแสไฟฟ้าที่เข้ามอเตอร์ ให้ดูที่แอมมิเตอร์ที่ตู้ควบคุม

4.1.2 ระบบเติมอากาศ
ระบบเติมอากาศใช้ส�ำหรับการเพิ่มปริมาณออกซิเจนให้กับจุลินทรีย์และท�ำให้เกิด
การผสมของน�ำ้ เสียและจุลนิ ทรียใ์ นสระเติมอากาศ ระบบเติมอากาศทีใ่ ช้ในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของ
โรงพยาบาลแบ่งได้ 2 กลุม่ ใหญ่คอื (1) เครือ่ งเติมอากาศแบบหัวฟู่ (Diffused Aerator) ซึง่ ประกอบ
ด้วยหัวฟู่และเครื่องเป่าอากาศ และ (2) เครื่องเติมอากาศทางกล ได้แก่ เครื่องเติมอากาศแบบ
ผิวน�้ำ (Surface Aerator) แบบต่าง ๆ และเครื่องเติมอากาศแบบดูด เช่น เครื่องเติมอากาศแบบ
เจ็ทแบบลอยน�ำ้ (Jet Aerator) การตรวจสอบและบ�ำรุงรักษาระบบเติมอากาศ มีรายละเอียดดังนี้
1 เครื่องเติมอากาศแบบหัวฟู่
1.1) หัวฟู่แบบละเอียด (Fine Diffuser) หัวฟู่ที่ใช้ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของ
โรงพยาบาลส่วนใหญ่เป็นหัวฟู่แบบละเอียดที่ให้ฟองอากาศขนาดเล็กซึ่งให้อัตราการถ่ายเท
ออกซิเจนสูง ส�ำหรับระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขนาดเล็กอาจเลือกหัวฟู่แบบหยาบซึ่งให้อัตราการถ่ายเท
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 101

ออกซิเจนที่ต�่ำกว่า และในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบถังส�ำเร็จรูปอาจใช้หัวกระจายอากาศแบบ
ท่อพลาสติกเจาะรู ที่มีอัตราการถ่ายเทออกซิเจนต�่ำที่สุด แต่การบ�ำรุงรักษาง่ายกว่า
หั ว ฟู ่ แ บบละเอี ย ดอาจเกิ ด การอุ ด ตั น อย่ า งรวดเร็ ว เมื่ อ ในน�้ ำ เสี ย มี ข องแข็ ง
แขวนลอย สนิมเหล็ก และน�้ำเสียที่มีความกระด้างสูง การอุดตันยังเกิดจากทรายละเอียดที่มี
ในน�้ำเสีย หรือเกิดการอุดตันจากอากาศที่สกปรก ซึ่งอาจเป็นมลพิษทางอากาศจากพื้นที่ใกล้กับ
โรงบ�ำบัดน�ำ้ เสีย เช่น ฝุน่ ละออง ควันไฟและความชืน้ ในกรณีนปี้ อ้ งกันได้ดว้ ยการติดตัง้ แผ่นกรอง
ที่ด้านดูดอากาศของเครื่องเป่าอากาศ และด�ำเนินการตรวจสอบเป็นประจ�ำดังนี้
(1) สังเกตฟองอากาศที่ได้จากหัวฟู่ข้ึนสู่ผิวน�้ำของถังเติมอากาศ ถ้าพบว่า
ฟองน้อยกว่าปกติหรือไม่มีฟองเลยแสดงว่าหัวฟู่อุดตัน ท�ำความสะอาดได้โดยสูบน�้ำออกจาก
ถังเติมอากาศ แล้วใช้น�้ำที่มีแรงดันสูงฉีดท�ำความสะอาด ถ้าไม่ออกให้ใช้สารซักฟอกและอาจแช่
ในกรดเกลือในช่วงเวลาหนึง่ แล้วล้างด้วยน�ำ้ สะอาด ตรวจสอบโดยเติมน�ำ้ ให้ทว่ มหัวฟูแ่ ล้วเปิดเครือ่ ง
เป่าอากาศ สังเกตฟองที่ออกจากหัวฟู่
(2) ท�ำความสะอาดหัวฟู่ทุก 6 เดือน ด้วยน�้ำแรงดันสูงฉีดล้างทุกหัว
(3) กรณี หั ว ฟู ่ ฉี ก ขาด สั ง เกตได้ จ ากผิ ว น�้ ำ เกิ ด ความปั ่ น ป่ว นอย่ า งแรงจาก
ฟองอากาศขนาดใหญ่ที่พุ่งออกจากหัวฟู่ที่เสียหาย ให้เปลี่ยนหัวฟู่ใหม่
(4) ตรวจสอบรอยรัว่ ตามท่ออากาศหลัก หรือสังเกตได้จากเกจวัดความดัน (ถ้ามี)
(5) หมั่นท�ำการตรวจสอบตะกอนที่สะสมอยู่บริเวณก้นถัง เพราะอาจจะท�ำให้
หัวฟู่อากาศเกิดการอุดตันได้ง่าย โดยเฉพาะเมื่อมีการหยุดเดินระบบเติมอากาศเป็นช่วงเวลา
เพื่อประหยัดไฟฟ้า
หัวฟูแ่ บบฟองหยาบและท่อพลาสติกเจาะรูจะต้องการอากาศปริมาณมากเพือ่ ให้
ได้อตั ราการถ่ายเทออกซิเจนเท่ากับหัวฟูแ่ บบละเอียด แม้วา่ หัวฟูแ่ บบฟองหยาบแทบจะไม่ตอ้ งการ
การบ�ำรุงรักษา แต่อาจต้องท�ำความสะอาดเมือ่ เกิดการอุดตัน การอุดตันอาจเกิดจากเมือก ตะกอน
และขยะ ในถังเติมอากาศอาจมีขยะและวัสดุที่เกาะติดหัวฟู่และท�ำให้เกิดการอุดตัน จึงควร
ตรวจสอบหัวฟู่และท่ออากาศที่อยู่ใต้น�้ำปีละ 1 ครั้ง
1.2) เครือ่ งเป่าอากาศ (Air Blower) ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียแบบส�ำเร็จรูปขนาดเล็ก
จะใช้เครือ่ งเป่าอากาศแบบทีม่ แี ผ่นไดอะแฟรม 2 แผ่นติดกับแกนแม่เหล็กไฟฟ้า เมือ่ ถูกเหนีย่ วน�ำ
ท�ำให้สามารถเป่าลมออกมาได้อย่างต่อเนื่องและควรท�ำความสะอาดแผ่นกรองลมทุก ๆ 3 เดือน
การอุดตันจะท�ำให้เครือ่ งเป่าอากาศร้อนและเสียงดัง ถ้าสกปรกมากให้ใช้นำ�้ ผสมผงซักฟอกอ่อน ๆ
ล้ า งท� ำ ความสะอาดแผ่ น กรอง และปล่ อยให้แห้งก่อนใช้งาน ส�ำหรับ ระบบสระเติมอากาศ
ของโรงพยาบาลที่ใช้เครื่องเป่าอากาศแบบ positive displacement ชนิด Root type rotary
แบบ Three lobes ที่ ขั บ ด้ ว ยมอเตอร์ ผ ่ า นมู เ ลย์ แ ละสายพานที่ ติ ด ตั้ ง บนแท่ น ฐานเดี ย วกั น
มีตัวกรองอากาศและ Suction silencer ช่วยลดเสียง จะต้องเปลี่ยนน�้ำมันหล่อลื่นเป็นครั้งคราว
ลมที่เครื่องดูดเข้าอาจมีฝุ่นละอองที่จะไปสะสมอยู่ในเครื่องเป่าอากาศ และท�ำให้เกิดการสึกหรอ
และควรด�ำเนินการตรวจสอบเป็นประจ�ำดังนี้
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
102 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

(1) ตรวจสอบความสม�่ำเสมอของการไหลของอากาศ ระดับเสียงดังและความ


สั่นสะเทือน เป็นประจ�ำทุกวัน ถ้าระดับเสียงและความสั่นสะเทือนสูงผิดปกติ ควรตรวจสอบ
การหมุนของใบพัดและระบบเกียร์
(2) หากเครื่องเป่าอากาศร้อนผิดปกติ ให้ท�ำการตรวจสอบน�้ำมันหล่อลื่น
(3) ตรวจสอบระดับน�้ำมันหล่อลื่นอย่างสม�่ำเสมอ ระดับของน�้ำมันหล่อลื่นควร
อยู่กึ่งกลางของระดับวัดน�้ำมัน และควรเปลี่ยนถ่ายน�้ำมันหล่อลื่นทุก ๆ 3 เดือน (รูปที่ 4-1)
(4) ท�ำความสะอาดไส้กรองทุก ๆ 3 - 6 เดือน (รูปที่ 4-2)
(5) ตรวจสอบความสึกหรอของตลับลูกปืน เพลาและใบพัดประจ�ำปี
(6) เปลี่ยนสายพาน ท�ำความสะอาดท่อดูดและท่อส่งทุกปี เปลี่ยนลูกปืนและ
ซีลน�้ำมันทุก ๆ 2 ปี

รูปที่ 4-1 การบ�ำรุงรักษาเครื่องเป่าอากาศ เติมน�้ำมันหล่อลื่นประจ�ำเดือน

รูปที่ 4-2 ไส้กรองอากาศของเครื่องเป่าอากาศสกปรก

1.3) เครื่ อ งเติ มอากาศทางกล เครื่องเติมอากาศผิว น�้ำที่ใช้ในระบบบ�ำบัด


น�ำ้ เสียของโรงพยาบาลอาจเป็นแบบลอยน�ำ้ หรือแบบยึดอยูก่ บั ทีห่ รือแบบจุม่ ใต้นำ�้ เครือ่ งเติมอากาศ
ต้องการการบ�ำรุงรักษาแบบปกติของมอเตอร์ แบริ่ง และเกียร์ทดรอบ (ถ้ามี) รวมทั้งการตรวจ
สอบศูนย์เพลาและการติดตัง้ เพือ่ ป้องกันการสัน่ ของเครือ่ ง และด�ำเนินการตรวจสอบเป็นประจ�ำดังนี้
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 103

(1) เครื่องเติมอากาศ ต้องไม่สั่นหรือมีเสียงดังผิดปกติ


(2) ตรวจสอบสลิงและอุปกรณ์ยึดเครื่องเติมอากาศ ต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์
ไม่มีรอยผุกร่อนของสนิมและปรับความตึงไว้พอดี เพื่อไม่ให้เกิดการกระตุกของเครื่องเติมอากาศ
(3) ตรวจสอบมอเตอร์ขับใบพัดเติมอากาศ ต้องไม่มีเสียงดังผิดปกติและต้องไม่
เกิดการรั่วลงดินของกระแสไฟฟ้า
(4) ตรวจสอบสายพานขับใบพัดเติมอากาศ (ถ้ามี) ต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์
ไม่มีรอยฉีกขาด
(5)ตรวจสอบใบพัดเติมอากาศ ต้องอยูใ่ นสภาพสมบูรณ์ไม่บดิ เบีย้ วและมีตะไคร่
น�้ำจับตัวมาก ตรวจสอบลูกปืนรองรับและแกนเพลาใบพัดเติมอากาศ ลูกปืนต้องไม่คลอนและ
มีเสียงผิดปกติแกนเพลาไม่เยื้องศูนย์ ปรับระดับใบพัดให้เหมาะสม
(6)อัดจารบีลกู ปืนสัปดาห์ละครัง้ และตรวจสอบศูนย์เพลา ทุก 6 เดือน (รูปที่ 4-3)

รูปที่ 4-3 การบ�ำรุงรักษาเครื่องเติมอากาศแบบเจ็ท อัดจารบีลูกปืนสัปดาห์ละครั้ง

4.1.3 ระบบฆ่าเชื้อโรค (Disinfection)


วัตถุประสงค์เพื่อฆ่าเชื้อโรคในน�้ำทิ้งที่ผ่านการบ�ำบัดแล้ว เพื่อท�ำลายหรือยับยั้ง
การขยายพันธุข์ องจุลนิ ทรียท์ กี่ อ่ ให้เกิดโรค ได้แก่ ไวรัส แบคทีเรีย และโปรโตซัว ทัง้ นีก้ ารฆ่าเชือ้ โรค
ไม่ได้ท�ำลายจุลินทรีย์ที่มีทั้งหมดในน�้ำทิ้ง ส�ำหรับการฆ่าเชื้อโรคในน�้ำทิ้งสามารถท�ำได้หลายวิธี
ได้แก่ การฆ่าเชือ้ โรคด้วยคลอรีน การฆ่าเชือ้ โรคด้วยยูวี การฆ่าเชือ้ โรคด้วยโอโซน เป็นต้น ส�ำหรับ
การฆ่าเชื้อโรคที่นิยมใช้ในโรงพยาบาลคือ การฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีน
สารประกอบคลอรีนที่นิยมน�ำมาใช้ส�ำหรับการฆ่าเชื้อโรคในน�้ำทิ้งจากระบบบ�ำบัด
น�้ำเสียของโรงพยาบาลมีหลายรูปแบบ ได้แก่ แคลเซียมไฮโปรคลอไรด์และโซเดียมไฮโปคลอไรด์
โดยน�ำมาผสมน�้ำประปาเพื่อเจือจางให้ได้ความเข้มข้นตามที่ต้องการ สารประกอบของคลอรีน
ทั้งสองเป็นสารออกซิไซด์ที่มีความรุนแรง ดังนั้นการใช้คลอรีนทางเจ้าหน้าที่จะต้องใช้ความ
ระมัดระวังในเรื่องความปลอดภัยและใช้อุปกรณ์ป้องกัน เช่น ใส่แว่นนิรภัยและถุงมือยาง เป็นต้น
การตรวจสอบและบ�ำรุงรักษาระบบการฆ่าเชื้อโรคในน�้ำทิ้ง มีรายละเอียดดังนี้
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
104 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ในแต่ละเดือน (เครื่องสูบสารเคมีท�ำงานปกติ) ตรวจสอบสายไฟฟ้าต้องอยู่


1
ในสภาพปกติ ท�ำความสะอาดท่อดูดและท่อจ่ายสารละลายคลอรีน ตรวจสอบการรั่วไหลของ
สารละลายคลอรีนและอัตราการจ่ายสารละลายคลอรีน
2 ถอดชิน ้ ส่วนองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบจ่ายสารละลายคลอรีนออกมาท�ำความ
สะอาดทุก ๆ 6 เดือน ได้แก่ เครื่องสูบสารละลายคลอรีน ท่อสูบและท่อจ่ายสารละลายคลอรีน
3 ล้างท�ำความสะอาดถังเตรียมสารละลายคลอรีนทุกอาทิตย์ ก�ำจัดตะกอนเหล็ก
และแมงกานีสทีอ่ ยูภ่ ายในถังสารละลายคลอรีน เนือ่ งจากเป็นตัวกระตุน้ การเสือ่ มสภาพของคลอรีน
4 ตรวจสอบและท�ำความสะอาดวาล์วและสปริงของเครื่องสูบตามคู่มือของผู้ผลิต
5 ด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษาเครื่องสูบสารเคมีตามคู่มือของผู้ผลิต
6 ตรวจสอบความถูกต้องอุปกรณ์และทดสอบอัตราการจ่ายสารเคมีตามข้อแนะน�ำ
ในคู่มือของผู้ผลิต

4.1.4 ระบบไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้าของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียมีความส�ำคัญในการควบคุมการท�ำงานของระบบ
บ�ำบัดน�้ำเสีย ซึ่งเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ต้องอาศัยพลังงานจากกระแสไฟฟ้าแทบทั้งสิ้น ดังนั้น
ผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ควบคุมระบบจะต้องท�ำความรู้จักกับระบบไฟฟ้าและหลักการท�ำงานของ
เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเพื่อให้สามารถควบคุมการท�ำงานของระบบที่มี
ประสิทธิภาพ อุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ในควบคุมระบบไฟฟ้ามีดังต่อไปนี้
1 เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit breaker) ท�ำหน้าที่ป้องกันการใช้กระแสไฟฟ้า
เกินพิกัดและการลัดวงจรไฟฟ้า ต่างจากฟิวส์ตรงที่สามารถรีเซ็ตได้ท�ำให้สะดวกต่อการใช้งาน
หลักการท�ำงานคือเมือ่ มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรสูงกว่าทีก่ ำ� หนดไว้จะเกิดการตัดวงจร โดยคันโยก
จะเลื่อนไปยังต�ำแหน่งตัดวงจร (Trip) แต่ต้องแก้ไขสาเหตุที่เกิดขึ้นก่อนท�ำการรีเซ็ตเบรกเกอร์
ให้ท�ำงานใหม่โดยเลื่อนไปยังต�ำแหน่ง On
2 ฟิวส์ (Fuse) ท�ำหน้าที่ป้องกันการใช้กระแสไฟฟ้าเกินพิกัดและการลัดวงจร
ไฟฟ้าเช่นเดียวกับเซอร์กติ เบรกเกอร์ โดยเมือ่ มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรสูงกว่าทีก่ ำ� หนดไว้จะเกิด
การหลอมละลายและตัดกระแสไฟฟ้าออกจากวงจรเพือ่ ป้องกันอุปกรณ์เสียหาย แต่จะต้องท�ำการ
เปลี่ยนฟิวส์ใหม่ต่างจากเซอร์กิตเบรกเกอร์ที่สามารถใช้งานต่อได้ทันที
3 แมกเนติกคอนแทคเตอร์ (Magnetic contactor) คือสวิตช์ทท ี่ ำ� งานโดยอาศัย
อ�ำนาจแม่เหล็กช่วยให้เกิดการตัดต่อในวงจรก�ำลังใช้กระแสไฟฟ้าสูง เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยให้แก่
ผู้ควบคุม โดยมีหน้าที่ตัดและต่อวงจรไฟฟ้าในการควบคุมมอเตอร์หรือการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า
อื่น ๆ
4 โอเวอร์ โ หลดรี เ ลย์ (Overload relay) เป็ น ตั ว ป้ อ งกั น มอเตอร์ เ สี ย หาย
เนื่องมาจากการท�ำงานเกินก�ำลัง เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลมากเกิดพิกัดที่ตั้งไว้จะตัดวงจร ซึ่งมักใช้
คู่กับแมกเนติกคอนแทคเตอร์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 105

5 ลูกลอย (Float switch) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ส�ำหรับควบคุมการสูบน�้ำของปั๊ม


โดยท�ำงานเหมือนเป็นสวิตช์แบบอัตโนมัติ ระดับน�้ำที่อยู่ในบ่อสูบจะเป็นตัวบังคับการท�ำงานของ
ลูกลอย โดยทั่วไปในบ่อสูบน�้ำจะใช้ลูกลอย 4 ตัว คือ ส�ำหรับหยุดเครื่องสูบน�้ำ 1 ลูก (ลูกต�่ำสุด)
ใช้ส�ำหรับสตาร์ทใช้ปั๊มสูบน�้ำตัวที่ 1 และ 2 อย่างละ 1 ลูก และใช้เป็นตัวควบคุมสัญญาณเตือน
เมื่อระดับน�้ำสูงผิดปกติ 1 ลูก (ลูกสูงสุด)
6 อุปกรณ์ป้องกันปัญหาทางด้านแรงดันในเฟส (Phase protection relay)
เป็นอุปกรณ์ปอ้ งกันมอเตอร์เสียหายอันเนือ่ งมาจากสาเหตุตา่ ง ๆ อาทิเช่น แรงดันไฟฟ้าขาดหายไป
เฟสหนึ่งเฟสใด แรงดันไฟฟ้าส่งมาผิดล�ำดับเฟส แรงดันไฟฟ้ามีค่าสูงเกิน (Over voltage) และ
แรงดันไฟฟ้าตก (Under voltage) จากที่ก�ำหนดไว้ซึ่งสามารถปรับตั้งค่าต่าง ๆ ได้
7 วงจรควบคุมระบบและสวิทซ์ควบคุมโซลีนอยด์ คือวงจรควบคุมระบบ ใช้ควบคุม
การเปิด-ปิดการท�ำงานของแผงควบคุมระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียและสวิตซ์ควบคุมโซลีนอยด์ (Solenoid)
ใช้ควบคุมการเปิด-ปิดการท�ำงานของตัวโซลีนอยด์วาล์ว โดยมีลักษณะการท�ำงานดังนี้
กรณีบดิ สวิทซ์ไปที่ OFF เมือ่ ต้องการให้แผงควบคุมระบบไม่ทำ� งาน/โซลีนอยด์
วาล์วไม่ท�ำงาน
กรณีบิดสวิทซ์ไปที่ ON เมื่อต้องการให้แผงควบคุมระบบท�ำงาน/โซลีนอยด์
วาล์วท�ำงาน

4.1.5 การตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเบื้องต้น
ควรจัดให้มีตารางการซ่อมบ�ำรุงอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเบื้องต้น
เพื่อตรวจสอบความผิดปกติ เช่น ทุก ๆ ครึ่งปี อาจให้พนักงานในโรงพยาบาลเป็นผู้ตรวจซ่อม
หรือจัดจ้างบุคคลภายนอก การตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าแสดงในดังตารางที่ 4-1

ตารางที่ 4-1 การตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเบื้องต้น


อาการ สาเหตุ ข้อแก้ไข
- เครื่องสูบน�้ำท�ำงานปกติ - เครื่องสูบน�้ำเสียกลับทิศทาง - แก้ไขแรงดันไฟฟ้าให้ถูกต้อง
แต่สูบน�้ำไม่ขึ้น หรือ - ใบพัดเครื่องสูบสึกหรอมาก โดยการปรับเฟสใหม่
ขึ้นแต่น้อย - ความเร็วรอบลดลง - แก้ไขใบพัดใหม่
- ตรวจแก้ไขมอเตอร์เครื่องสูบ
น�้ำเสีย
- เครื่องสูบน�้ำเสียไม่สลับ - Latching relay เสีย - ตรวจเปลี่ยน Latching relay
การท�ำงาน
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
106 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

อาการ สาเหตุ ข้อแก้ไข


- เครื่องสูบน�้ำเสียท�ำงานเมื่อ - ลูกลอยเสีย - ตรวจแก้ไขลูกลอยที่ 2
ระดับน�้ำสูงถึงลูกลอยที่ 2 - โอเวอร์โหลดรีเลย์ตัดวงจร - ตรวจแก้ไขโอเวอร์โหลดรีเลย์
ควบคุม - ตรวจสอบระบบไฟว่ามีมา
- ไม่มีแรงดันไฟฟ้ามาที่ ครบเฟสหรือไม่
เครื่องสูบน�้ำเสีย - ตรวจเปลี่ยนคอนแทคเตอร์
- คอนแทคเตอร์คอยส์ไหม้ ใหม่
หรือขาด - ตรวจเปลี่ยนฟิวส์และระบบ
- ไม่มีไฟเลี้ยงวงจรควบคุม ไฟเลี้ยงวงจรควบคุม
สาเหตุ เนื่องจากฟิวส์วงจร
ควบคุมขาดหรือหม้อแปลง
เสีย
- มอเตอร์ชุดขับเคลื่อน - แรงดันไฟฟ้ามาไม่ครบเฟส - ตรวจแก้ไขระบบแรงดันไฟฟ้า
ใบพัดเดิมอากาศมีเสียง - สายไฟต่อเข้ามอเตอร์หลวม - ต่อสายไฟฟ้าเข้ามอเตอร์
สั่นดังและไม่ค่อยมีก�ำลังขับ ให้แน่น
- ไฟขาดหายไป 1 เฟส - ฟิวส์ที่สายเมนใหญ่ขาด - เปลี่ยนฟิวส์ใหม่
- สายเมนหลวม - ต่อสายเมนให้แน่น
- หม้อแปลงไฟ 220 โวลล์ / - หม้อแปลงช็อตรอบ - เปลี่ยนหม้อแปลงใหม่ให้มี
24 โวลต์ไหม้ - หม้อแปลงตัวเล็กเกินไป ขนาดใหญ่ขึ้น
- ฟิวส์วงจรควบคุมขาด - คอนแทคเตอร์ช็อต - เปลี่ยนคอนแทคเตอร์ใหม่
- คอนแทคเตอร์สั่นมีเสียงดัง - หน้าสัมผัสของแกนเหล็ก - ท�ำความสะอาดแกนเหล็ก
มีฝุ่นเกาะจับหรือมีสนิม คอนแทคเตอร์
- หน้าสัมผัสของคอนแทคเตอร์ - ท�ำความสะอาดหน้าสัมผัส
สกปรก คอนแทคเตอร์
- โอเวอร์โหลดรีเลย์ตัด - ตั้งกระแสที่ตัวโอเวอร์โหลด - ปรับกระแสที่โอเวอร์โหลด
รีเลย์ต�่ำเกินไป ให้เหมาะสม
- มีขยะติดใบพัดของเครื่องสูบ - เอาขยะที่ติดอยู่ใบพัดออก
น�้ำเสีย
- ลูกลอยไม่เอียงกระดกขึ้น - มีน�้ำรั่วซึมเข้าไปในลูกลอย - ตรวจเปลี่ยนลูกลอย
หรือเอียงน้อยไป
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 107

4.1.5 การวางแผนบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกันของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
(Preventive Maintenance: PM)
การซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษาเป็นส่วนประกอบส�ำคัญอย่างหนึ่งของกระบวนการ
บ�ำบัดน�้ำเสีย เนื่องจากเป็นงานที่ช่วยให้ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียท�ำงานได้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
การบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกันมีจุดประสงค์เพื่อให้เครื่องจักรและอุปกรณ์สามารถท�ำงานได้อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพทีส่ ดุ ซึง่ เป็นการบ�ำรุงรักษาก่อนทีจ่ ะมีอปุ กรณ์ชำ� รุดเสียหาย เช่น การเปลีย่ นอะไหล่
หรือมอเตอร์เมือ่ ครบอายุการใช้งานตามทีผ่ ผู้ ลิตก�ำหนดไว้ในคูม่ อื ของผูผ้ ลิต แม้วา่ ในความเป็นจริง
อาจจะใช้ได้นานกว่านัน้ การเปลีย่ นมอเตอร์เพือ่ ป้องกันไม่ให้มอเตอร์เสียจนท�ำให้ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
ต้องหยุดท�ำงาน
การบ�ำรุงรักษาเชิงป้องกันเป็นการดูแลรักษาตามก�ำหนดเวลาของทุกองค์ประกอบ
ของระบบ ดังนั้นจะต้องมีการวางแผนและงบประมาณส�ำหรับการบ�ำรุงรักษาอย่างต่อเนื่อง
มีการตรวจติดตามการด�ำเนินงานสม�ำ่ เสมอ และบันทึกการท�ำงานของอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เพือ่ ป้องกัน
การช�ำรุดและความเสียหายต่อการบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาล ตัวอย่างแผนการบ�ำรุงรักษา
เชิงป้องกันของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ดังตารางที่ 4-2

ตารางที่ 4-2 ตัวอย่างแบบรายการตรวจสอบการด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษา ส�ำหรับระบบบ่อ


ปรับเสถียร สระเติมอากาศและบึงประดิษฐ์
ความถี่ในการตรวจบ�ำรุง ค่า
การเดินระบบและบ�ำรุงรักษา
เชิงป้องกัน ราย ราย ราย ราย เมื่อ ใช้จ่าย
รายวัน รายปี
สัปดาห์ เดือน ไตรมาส ครึ่งปี จ�ำเป็น (บาท)
1. การส�ำรวจระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ตรวจสอบรั้ว ร่องรอยการบุกรุก ×
ตรวจสอบการสึกหรอของผนังบ่อ ×
ตรวจสอบการรั่วไหลของน�้ำออก ×
จากผนังบ่อ
2.ระบบบ�ำบัดขั้นต้น
ตรวจวัดอัตราการไหลของน�้ำเสีย ×
เข้าระบบ
ก�ำจัดเศษขยะจากตะแกรงหรือ ×
เครื่องดักขยะ
3.เครื่องสูบน�้ำ (Pump station)
ก�ำจัดขยะออกจากบ่อสูบ ×
ตรวจสอบการท�ำงานของเครือ่ งสูบน�ำ้ ×
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
108 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ความถี่ในการตรวจบ�ำรุง ค่า
การเดินระบบและบ�ำรุงรักษา
เชิงป้องกัน ราย ราย ราย ราย เมื่อ ใช้จ่าย
รายวัน รายปี
สัปดาห์ เดือน ไตรมาส ครึ่งปี จ�ำเป็น (บาท)
บันทึกจ�ำนวนชั่วโมงท�ำงานของ ×
เครื่องสูบน�้ำ
ท�ำความสะอาดอุปกรณ์ควบคุม ×
เครื่องเติมอากาศ
ตรวจสอบน�ำ้ มันหล่อลืน่ เครือ่ งสูบน�ำ้ ×
เปลี่ยนน�้ำมันหล่อลื่นเครื่องสูบน�้ำ ×
ถอดใบพัดออกมาตรวจสอบ ×
การสึกกร่อน
ท�ำความสะอาดลูกลอย ×
4. เครื่องเติมคลอรีน
เช็คระดับสารละลายคลอรีนในถัง ×
ท�ำความสะอาดถังเตรียม ×
สารละลายคลอรีน
ท�ำความสะอาดวาล์วและสปริง ×
ของเครื่องสูบ
ตรวจวัดอัตราการจ่ายสารละลาย ×
คลอรีน
5. บ่อปรับเสถียร สระเติมอากาศและบึงประดิษฐ์
ตรวจสอบตะกอนลอยบนผิวน�้ำ ×
ของบ่อทุกบ่อ และจุดปล่อยน�้ำทิ้ง
ตรวจสอบพืชลอยน�้ำบนผิวน�้ำ ×
ของบ่อทุกบ่อ
ตรวจสอบพืชโผล่พ้นน�้ำในบ่อทุกบ่อ ×
การสังเกต กลิ่นและสีของน�้ำในบ่อ ×
ทุกบ่อ
ตรวจสอบว่าเกิดการไหลลัดวงจร ×
และมีจุดบอดของการผสมของบ่อ
ทุกบ่อ
ตรวจสอบค่า DO และ pH ×
ตรวจสอบการสั่นและเสียง ×
ที่ผิดปกติของระบบเติมอากาศ
บันทึกจ�ำนวนชั่วโมงท�ำงาน ×
ของเครื่องเติมอากาศ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 109

ความถี่ในการตรวจบ�ำรุง ค่า
การเดินระบบและบ�ำรุงรักษา
เชิงป้องกัน ราย ราย ราย ราย เมื่อ ใช้จ่าย
รายวัน รายปี
สัปดาห์ เดือน ไตรมาส ครึ่งปี จ�ำเป็น (บาท)
จดเวลาเปิดปิดเครื่องเติมอากาศ ×
เช็คกระแสไฟเครื่องเติมอากาศ ×
6. ถังสัมผัสคลอรีน
ก�ำจัดตะกอนที่ลอยอยู่บนผิวน�้ำ ×
ถังสัมผัส
ก�ำจัดตะกอนในถังสัมผัสคลอรีน ×
เมื่อจ�ำเป็น
ตรวจวัดระยะเวลาสัมผัสคลอรีน ×
ว่าเพียงพอหรือไม่ (ไม่น้อยกว่า
30 นาที)
7. ระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย
ท�ำความสะอาดแนวท่อรวบรวมน�ำ้ เสีย ×
ตรวจสอบสภาพของท่อรวบรวม ×
น�้ำเสีย บ่อตรวจ

4.2 การติดตามผลการด�ำเนินงานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย

ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลจะต้องอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานตลอดเวลา เครื่องจักร
และอุปกรณ์ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียจะต้องได้รับการบ�ำรุงรักษาอย่างสม�่ำเสมอ ในโรงพยาบาลจะ
ต้องมีผู้ควบคุมและผู้ปฏิบัติงานที่ท�ำหน้าที่ควบคุมการเดินระบบได้อย่างถูกต้อง และตรวจสอบ
คุณภาพของน�้ำทิ้งที่ผ่านการบ�ำบัดก่อนระบายออกสู่แหล่งน�้ำสาธารณะให้ได้ตามมาตรฐานของ
ทางราชการ ได้แก่ มาตรฐานควบคุมการระบายน�ำ้ ทิง้ จากอาคารของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดล้อม และประกาศกระทรวงก�ำหนดปริมาณไข่หนอนพยาธิและแบคทีเรียอีโคไลในน�ำ้ ทิง้
และกากตะกอนทีบ่ ำ� บัดแล้วของกระทรวงสาธารณสุข นอกจากนีโ้ รงพยาบาลจะต้องจัดท�ำรายงาน
สรุปผลการท�ำงานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในแต่ละเดือนส่งเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นทุกเดือน
เนื่องจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลมีขนาดเล็ก และขาดแคลนบุคลากรที่มีความ
ช�ำนาญในการควบคุมระบบ ดังนั้นการติดตามตรวจสอบการท�ำงานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียควร
เป็นวิธีการที่สะดวก ง่ายและผู้ปฏิบัติงานสามารถน�ำไปปฏิบัติได้ ได้แก่ การสังเกตด้วยสายตา
และการตรวจวัดตัวแปรบางชนิดด้วยเครื่องมือ เป็นต้น และต้องตรวจสอบคุณภาพน�้ำทิ้งทางเคมี
จุลชีววิทยาและทางกายภาพ การตรวจสอบคุณภาพของน�้ำทิ้งทางเคมีและจุลชีววิทยาส�ำหรับ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
110 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ระบบสระเติมอากาศ บ่อปรับเสถียรและบึงประดิษฐ์จะท�ำในลักษณะเดียวกัน ดังนั้นจึงอธิบาย


การตรวจสอบทางเคมีและจุลชีววิทยาของทั้ง 3 ระบบรวมกัน ส่วนการตรวจสอบทางกายภาพ
จะแตกต่างกันจะอธิบายแยกแต่ละระบบในหัวข้อถัดไป

4.2.1 การตรวจสอบทางเคมีและจุลชีววิทยา
การติดตามตรวจสอบการท�ำงานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียทางเคมีเป็นการตรวจสอบ
คุณภาพน�้ำทิ้งด้วยการวิเคราะห์ทางเคมี ซึ่งในโรงพยาบาลไม่สามารถด�ำเนินการได้เองเนื่องจาก
ไม่มีห้องปฏิบัติการและบุคลากร จึงต้องเก็บตัวอย่างน�้ำทิ้งที่ผ่านการบ�ำบัดแล้วส่งไปวิเคราะห์
ในห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารของทางราชการหรื อ อาจใช้ ห ้ อ งปฏิ บั ติ ก ารของเอกชนที่ ขึ้ น ทะเบี ย นกั บ
กระทรวงอุตสาหกรรม ปกติจะส่งตัวอย่างไปวิเคราะห์ทุก ๆ 3 เดือน พารามิเตอร์ที่ต้องวิเคราะห์
ได้แก่ ค่าความเป็นกรดด่าง บีโอดี ของแข็งแขวนลอย ตะกอนหนัก สารที่ละลายได้ทั้งหมด
ซัลไฟด์ ทีเคเอ็น น�้ำมันและไขมัน ซึ่งเป็นพารามิเตอร์ที่ระบุไว้ในข้อประกาศของกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ออกประกาศกระทรวงฯ เรื่อง
ก�ำหนดมาตรฐานควบคุม การระบายน�้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ลงวันที่ 7
พฤศจิกายน 2548 ในประกาศได้ก�ำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน�้ำทิ้งจากอาคารทั้งหมด
5 ประเภทตามประเภทของอาคารดังแสดงในตารางที่ 4-3 ซึ่งโรงพยาบาลของทางราชการ
รัฐวิสาหกิจหรือสถานพยาบาล ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลทีม่ เี ตียงส�ำหรับผูป้ ว่ ยไว้คา้ งคืน
รวมกันทุกชั้นของอาคารหรือกลุ่มของอาคารตั้งแต่ 30 เตียงขึ้นไปเป็นอาคารประเภท ก. และ
กลุ่มของอาคารตั้งแต่ 10 เตียง แต่ไม่ถึง 30 เตียง เป็นอาคารประเภท ข.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องก�ำหนดปริมาณไข่หนอนพยาธิและแบคทีเรีย
อีโคไล (Escherichia Coli) และวิธกี ารเก็บตัวอย่าง และการตรวจหาไข่หนอนพยาธิและแบคทีเรีย
อีโคไล (Escherichia Coli) ในน�้ำทิ้งและกากตะกอนที่ผ่านระบบก�ำจัดสิ่งปฏิกูลแล้ว พ.ศ. 2561
ในประกาศก�ำหนดเกณฑ์มาตรฐานในการระบายน�ำ้ ทิง้ และกากตะกอนทีผ่ า่ นระบบก�ำจัดสิง่ ปฏิกลู แล้ว
น�้ำทิ้งและกากตะกอนต้องมีปริมาณไข่หนอนพยาธิและแบคทีเรียอีโคไล (Escherichia Coli)
ต�่ำกว่าค่าที่ก�ำหนดดังแสดงตารางที่ 4-4
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 111

ตารางที่ 4-3 ค่ามาตรฐานควบคุมการระบายน�้ำทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด


เกณฑ์ก�ำหนดสูงสุดตามประเภทมาตรฐาน
ดัชนีคุณภาพน�้ำ หน่วย ควบคุมการระบายน�้ำทิ้ง
ก ข ค ง จ
1. ค่าความเป็นกรดด่าง - 5-9 5-9 5-9 5-9 5-9
(pH)
2. บีโอดี (BOD) มก./ล. ไม่เกิน 20 ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 40 ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 200
3.ปริมาณของแข็ง มก./ล. ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 40 ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 60
- ค่าสารแขวนลอย
(Suspended Solids)
- ค่าตะกอนหนัก มล./ล. ไม่เกิน 0.5 ไม่เกิน 0.5 ไม่เกิน 0.5 ไม่เกิน 0.5 -
(Settleable Solids)
- ค่าสารที่ละลายได้ มก./ล. ไม่เกิน 500* ไม่เกิน 500* ไม่เกิน 500* ไม่เกิน 500* -
ทั้งหมด (Total
Dissolved Solid)
4. ค่าซัลไฟต์ (Sulfide) มก./ล. ไม่เกิน 1.0 ไม่เกิน 1.0 ไม่เกิน 3.0 ไม่เกิน 4.0 -
5. ไนโตรเจน (Nitrogen) มก./ล. ไม่เกิน 35 ไม่เกิน 35 ไม่เกิน 40 ไม่เกิน 40 -
ในรูป ที เค เอ็น (TKN)
6. น�้ำมันและไขมัน มก./ล. ไม่เกิน 20 ไม่เกิน 20 ไม่เกิน 20 ไม่เกิน 20 ไม่เกิน 100
(Fat, Oil and Grease)
ที่มา : [3]

ตารางที่ 4-4 เกณฑ์ปริมาณไข่หนอนพยาธิและแบคทีเรียอีโคไล (Escherichia Coli)


รายการทดสอบ ประเภท เกณฑ์ปริมาณที่ก�ำหนด
ไข่หนอนพยาธิ น�้ำทิ้ง น้อยกว่า 1 ฟองต่อลิตร
กากตะกอน น้อยกว่า 1 ฟองต่อกรัม (น�้ำหนักแห้ง)
แบคทีเรียอีโคไล น�้ำทิ้ง น้อยกว่า 1,000 MPN (Most Probable Number)
ต่อ 100 มิลลิลิตร
กากตะกอน น้อยกว่า 1,000 MPN (Most Probable Number)
ต่อ 100 มิลลิลิตร (น�้ำหนักแห้ง)
ที่มา : [4]

คุณภาพของน�ำ้ ทิง้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วของโรงพยาบาลจะต้องได้ตามมาตรฐานน�ำ้ ทิง้


ของทั้งสองหน่วยงาน นอกจากนี้ผู้ควบคุมควรวิเคราะห์คุณภาพของน�้ำเสียก่อนเข้าระบบ โดย
เก็บตัวอย่างน�้ำเสียจากบ่อสูบ เพื่อน�ำมาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
112 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

1การเก็บตัวอย่างน�้ำเสีย
ตัวอย่างน�้ำเสียคือส่วนหนึ่งของน�้ำเสียที่น�ำออกมาจากน�้ำเสียส่วนใหญ่และเป็น
ตัวแทนของน�้ำเสียทั้งหมด การเป็นตัวแทนของน�้ำเสียทั้งหมดนั้นมีความส�ำคัญ ดังนั้นการเก็บ
ตัวอย่างน�้ำเสียจะต้องใช้เทคนิคที่ถูกต้องและมั่นใจว่าได้ตัวอย่างที่ได้เป็นตัวแทนที่แท้จริง และจะ
ต้องเก็บรักษาสภาพตัวอย่างไม่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใด ๆ จนกระทั่งถูกน�ำไปวิเคราะห์ในห้อง
ปฏิบัติการ
วิธีการเก็บตัวอย่างมี 2 วิธีได้แก่ (1) การเก็บแบบจ้วง (Grab Sample) คือการ
เก็บตัวอย่างแบบจ้วงเก็บและแยกกันวิเคราะห์แต่ละตัวอย่าง โดยปกติการเก็บตัวอย่างน�้ำเสีย
ในโรงพยาบาลจะใช้วิธีนี้ ตัวอย่างน�้ำเสียที่เก็บจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันตามเวลาที่เก็บจึงท�ำให้
ต้องพิจารณาถึงความถีใ่ นการเก็บทีจ่ ะท�ำให้ได้ขอ้ มูลทีถ่ กู ต้อง (2) การเก็บแบบรวม (Composite
Samples) คือการเก็บตัวอย่างตามช่วงระยะเวลาที่เท่า ๆกัน เช่น ทุก ๆ 1 – 2 ชั่วโมง แล้วน�ำ
ตัวอย่างทัง้ หมดมาผสมกันเป็นตัวอย่างเดียวใน 24 ชัว่ โมง การเก็บตัวอย่างวิธนี นี้ ยิ มใช้เครือ่ งเก็บ
ตัวอย่างแบบอัตโนมัติ และใช้เก็บตัวอย่างน�้ำทิ้งจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขนาดใหญ่
2 ขั้นตอนการเก็บตัวอย่างน�้ำทิ้งจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาล
(1) ความถี่ในการเก็บตัวอย่างทุก ๆ 3 เดือน
(2)ตัวอย่างน�ำ้ ต้องมีปริมาตรเพียงพอส�ำหรับการตรวจวิเคราะห์ในห้องปฏิบตั กิ าร
(3)ตัวอย่างน�ำ้ ต้องเป็นตัวแทนทีด่ ขี องน�ำ้ ทิง้ จากระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของโรงพยาบาล
(4) เก็บรักษาตัวอย่างน�้ำทิ้งและน�้ำเสียให้เหมาะสม แยกตามประเภทของการ
ตรวจวิเคราะห์ เก็บรักษาคุณภาพน�้ำให้เหมือนเดิม บางพารามิเตอร์ต้องวิเคราะห์ทันทีที่ระบบ
บ�ำบัดน�้ำเสีย ได้แก่ pH และ DO
(5) ต้องระบุรายละเอียดของตัวอย่างน�้ำ เช่น ตัวอย่างน�้ำทิ้งหรือตัวอย่างน�้ำเสีย
วันที่ ผู้ท�ำการเก็บตัวอย่าง เป็นต้น โดยเขียนบนฉลากแล้วปิดไว้ที่ข้างขวด และต้องเขียน
ด้วยปากกาหมึกที่ไม่ละลายน�้ำ
3 ลักษณะของภาชนะบรรจุ
(1) ภาชนะตัวอย่างบรรจุน�้ำส�ำหรับตรวจวิเคราะห์คุณภาพน�้ำทางกายภาพและ
เคมี ควรใช้ขวดพลาสติกอย่างดี เช่น โพลีเอททิลินและโพลีโพรพิลิน ฝาเกลียวท�ำด้วยวัสดุ
เดียวกันและปิดได้สนิท ภาชนะชนิดนี้ท�ำให้สะดวกในการขนส่ง และไม่ท�ำให้เกิดปฏิกิริยากับน�้ำ
หรือสิ่งเจือปนต่าง ๆ ในน�้ำ ขนาดของภาชนะเป็นขวดพลาสติก 4 ลิตร และ 1 ลิตร (ขึ้นอยู่กับ
จ�ำนวนข้อมูลที่จะท�ำการตรวจวิเคราะห์ว่ามากน้อยเพียงใด)
(2)หากต้องการตรวจวิเคราะห์ไนโตรเจนหรือโลหะหนัก ใช้ภาชนะพลาสติกพวก
โพลีเอททิลิน หรือโพลีโพรพิลิน มีฝาเกลียวท�ำด้วยวัสดุชนิดเดียวกัน ขนาด 1 ลิตร
(3) หากต้องการตรวจโคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ต้องใช้ภาชนะ
บรรจุตัวอย่างน�้ำที่เป็นขวดแก้ว ขนาดความจุประมาณ 125 มิลลิลิตร ให้ท�ำความสะอาดและ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 113

ผึ่งให้แห้ง ปิดฝาแล้วหุ้มด้วยกระดาษอลูมิเนียมบรรจุในกระป๋องโลหะ เพื่อป้องกันการปนเปื้อน


น�ำไปอบที่อุณหภูมิ 160-180 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 ชั่วโมง เพื่อฆ่าเชื้อโรค ตั้งทิ้งไว้ในตู้เย็น
ที่อุณหภูมิห้องก่อนน�ำไปใช้
4 วิธีการเก็บรักษาคุณภาพตัวอย่างน�้ำ
หลังจากเก็บตัวอย่างน�้ำแล้วควรรวบรวมจัดส่งไปยังห้องปฏิบัติการโดยเร็วที่สุด
ที่จะสามารถท�ำได้เนื่องจากองค์ประกอบในตัวอย่างอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงจากปฏิกิริยาทาง
กายภาพ เคมี และชีววิทยา นอกจากนีอ้ ณ ุ หภูมิ ปริมาณแสง ชนิดภาชนะทีบ่ รรจุตวั อย่างและระยะ
เวลาทีเ่ ก็บรักษาตัวอย่างก่อนวิเคราะห์ มีผลท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของค่าการตรวจวิเคราะห์ได้
ดังนั้นในการส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ ชนิดของตัวอย่างและภาชนะที่บรรจุ และวิธีการเก็บรักษา
ตัวอย่างน�้ำต้องท�ำอย่างถูกต้อง ดังแสดงในตารางที่ 4-5
5 วิธีส่งตัวอย่างน�้ำไปยังห้องปฏิบัติการ
(1) ให้บรรจุตัวอย่างน�้ำลงในหีบบรรจุน�้ำแข็ง ส�ำหรับตัวอย่างที่เติมกรดให้ใส่ลัง
หรือหีบห่อพร้อมใบส่งตัวอย่าง ปิดผนึกหีบห่อให้แน่นหนา
(2) ติดใบปะหน้าที่มีรายละเอียด แจ้งชื่อผู้รับ หน่วยงาน พร้อมที่อยู่ และต้อง
แจ้งชื่อผู้ส่ง หน่วยงานของผู้ส่ง เบอร์โทรศัพท์ แล้วจัดส่งโดยทางรถทัวร์หรือรถไฟ หรือน�ำส่งเอง

ตารางที่ 4-5 วิธีการเก็บรักษาตัวอย่างน�้ำเพื่อน�ำส่งห้องปฏิบัติการ


ระยะเวลา
ชนิดตัวอย่าง ภาชนะบรรจุ วิธีการเก็บรักษา ส่งถึงห้อง
ปฏิบัติการ
1. วิเคราะห์ทางกายภาพ น�้ำที่ใช้ทั่วไปใช้ 2 น�ำขวดตัวอย่างน�้ำแช่เย็นในน�้ำ 24 ชั่วโมง
และเคมี ลิตร แข็งทันทีและส่งห้องปฏิบัติการ
น�้ำเสียใช้ 4 ลิตร
2. วิเคราะห์หาสารประกอบ ขนาด 1 ลิตร เติมกรดซัลฟูริก 1 มิลลิลิตร 24 ชั่วโมง
ไนโตรเจนหรือสารประกอบ หรือ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร
อินทรีย์บางชนิด เขย่าให้เข้ากันบรรจุในลังไม่
จ�ำเป็นต้องแช่เย็น
3. วิเคราะห์แบคทีเรีย ขวดแก้วอบฆ่า รวบรวมใส่ถุงพลาสติกมัดให้ 24 ชั่วโมง
เชื้อโรค แน่น แล้วแช่เย็นทันที
ที่มา : [22]
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
114 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

4.2.2 การติดตามผลการด�ำเนินงานของระบบบ่อปรับเสถียร
การสังเกต สี-กลิ่น-ตะกอนลอยในบ่อปรับเสถียร
1
1.1) สี ผู้ควบคุมควรสังเกตสีที่เกิดขึ้นในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่ม ซึ่งจะบอก
ถึงสภาวะของบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่ม ตารางที่ 4-6 แสดงสภาวะของบ่อปรับเสถียรจากการ
สังเกตสีและแนวทางการแก้ไข

ตารางที่ 4-6 สภาวะของบ่อปรับเสถียรจากการสังเกตสีและแนวทางการแก้ไข


สภาวะของบ่อแฟคัลเททีฟ
การสังเกต แนวทางแก้ไข
และบ่อบ่ม
(1) เขียวเข้ม สภาพปกติของบ่อแฟคัลเททีฟ -
(2) เขียวอ่อน สภาพปกติของบ่อบ่ม ซึ่งแสดง -
ว่าอัตราภารสารอินทรีย์ลดต�่ำลง
(3) เขียวอมด�ำ เกิดสาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียว ติดตั้งเครื่องเติมอากาศ เดินเครื่องเพื่อ
จ�ำนวนมาก เพิ่มปริมาณออกซิเจนละลายน�้ำ
(4) เทาหรือด�ำ อัตราภาระสารอินทรียม์ ากเกินไป ปรับระบบให้เป็นสระเติมอากาศด้วยการ
เข้าสู่สภาวะไร้อากาศ ติดตั้งเครื่องเติมอากาศที่มีขนาดเหมาะสม
(5) สีชมพู เกิดจากแบคทีเรียก�ำมะถันสีม่วง ปรับระบบให้เป็นสระเติมอากาศด้วยการ
Purple sulfur bacteria แสดงว่า ติดตั้งเครื่องเติมอากาศที่มีขนาดเหมาะสม
บ่ออยู่ในสภาวะไร้ออกซิเจน

1.2) กลิ่น กลิ่นของบ่อแฟคัลเททีฟในสภาวะปกติจะคล้ายดิน ถ้าอัตราภาระ


สารอินทรีย์สูงเกินไปอาจได้กลิ่นเหม็นของก๊าซไข่เน่า กลิ่นที่แสดงสภาวะของบ่อแฟคัลเททีฟ
และบ่อบ่ม และแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที่ 4-7

ตารางที่ 4-7 สภาวะของบ่อปรับเสถียรจากการตรวจสอบกลิ่นและแนวทางการแก้ไข


สภาวะของบ่อแฟคัลเททีฟ
การสังเกต แนวทางแก้ไข
และบ่อบ่ม
(1) ไม่มีกลิ่น สภาพปกติของบ่อบ่มที่มีภาระสาร -
อินทรีย์ต�่ำ
(2) กลิ่นคล้ายดิน สภาพปกติของบ่อแฟคัลเททีฟ -
(3) กลิ่นเหม็นเขียว สาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียวเพิ่มมาก ลดอัตราภาระสารอินทรีย์ ติดตั้ง
ขึ้นเมื่ออัตราภาระสารอินทรีย์เข้าบ่อ เครื่องเติมอากาศเสริมจนกว่ากลิ่น
มากขึ้น จะดีขึ้น
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 115

สภาวะของบ่อแฟคัลเททีฟ
การสังเกต แนวทางแก้ไข
และบ่อบ่ม
(4) กลิ่นเหม็น มีตะกอนสะสมก้นบ่อมากเกินไป ลอกตะกอนออก ปรับระบบให้เป็น
ก๊าซไข่เน่า และตะกอนเน่าสลายลอยขึ้นผิวน�้ำ สระเติมอากาศด้วยการติดเครื่อง
อัตราภาระสารอินทรีย์มากเกินไป เติมอากาศที่มีขนาดเหมาะสม
เข้าสู่สภาวะไร้อากาศ

1.3) ตะกอนลอยน�ำ้ พืชลอยน�ำ้ และพืชโผล่พน้ น�ำ้ เมือ่ บ่อแฟคัลเททีฟมีตะกอน


สะสมก้นบ่อมากเกินไปและตะกอนที่สะสมเกิดการเน่าสลายแบบไร้อากาศ ตะกอนจะลอยขึ้น
ผิวน�้ำและอาจส่งกลิ่นเหม็นก๊าซไข่เน่า นอกจากนี้ตะกอนที่สะสมจ�ำนวนมากจะท�ำให้ระดับในบ่อ
ลดลงจนท�ำให้พืชโผล่น�้ำเติบโตได้ สภาวะของบ่อปรับเสถียรเมื่อพบตะกอนลอยน�้ำและแนวทาง
การแก้ไขแสดงในตารางที่ 4-8

ตารางที่ 4-8 สภาวะของบ่อปรับเสถียรจากการสังเกตตะกอน ต้นพืชในบ่อและแนวทางการ


แก้ไข
สภาวะของบ่อแฟคัลเททีฟ
การสังเกต แนวทางแก้ไข
และบ่อบ่ม
(1) ตะกอนสีด�ำ ตะกอนสะสมก้นบ่อจ�ำนวนมาก เกิด ตรวจสอบความสูงของชั้นตะกอน
ลอยผิวน�้ำหรือ การเน่าสลายลอยขึ้นผิวน�้ำ อัตรา ลอกตะกอนเมื่อจ�ำเป็น ติดตั้งเครื่อง
แพของสาหร่าย ภาระสารอินทรีย์สูง เติมอากาศเสริม หรือปรับเป็นระบบ
สระเติมอากาศ
(2) ต้นไม้ขึ้น ตะกอนสะสมที่ก้นบ่อสูง ท�ำให้ระดับ ลอกตะกอนเมือ่ จ�ำเป็น ถอนต้นไม้ออก
ในบ่อ น�้ำลดลงจนพืชโผล่น�้ำขึ้นได้ เช่น
ธูปฤาษี
(3) พืชลอยน�้ำ พืชลอยน�้ำ เช่น แหน ผ�ำ หรือ ตักออกพืชลอยน�้ำให้หมด
ผักตกชวา จะขยายตัวเต็มพื้นที่
ขัดขวางการถ่ายเทออกซิเจน

การตรวจสอบค่า pH และ DO
2
ผู้ปฏิบัติงานจะต้องตรวจสอบค่า pH ของน�้ำในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มทุกบ่อ
วันละครั้ง โดยเฉพาะในเวลากลางวัน ค่า pH ควรมีค่าอยู่ในช่วง 7.5 ถึง 9.5 ซึ่งแสดงถึงการผลิต
ด่างจากปฏิกิริยาสังเคราะห์แสงของสาหร่าย อาจพบปลาตายถ้าน�้ำในบ่อมีค่า pH > 10 เนื่องจาก
แอมโมเนียมไอออน (NH4+) จะเปลีย่ นไปเป็นแอมโมเนียอิสระ (NH3) ซึง่ เป็นพิษต่อปลาทีค่ วามเข้มข้นต�ำ่
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
116 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

นอกจากนี้ผู้ปฏิบัติงานควรตรวจสอบค่า DO ในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มทุกบ่ออย่างน้อยวันละ
1 ครั้ง ควรตรวจสอบในช่วงที่มีปริมาณน�้ำเสียเข้าระบบสูงสุด เช่น ช่วงก่อนเที่ยง ภายในบ่อปรับ
เสถียรควรมีค่า DO > 5 มิลลิกรัม/ลิตร และควรตรวจสอบค่า DO ในหลายต�ำแหน่งของ
บ่อปรับเสถียร และตามระดับความลึกเป็นครัง้ คราว ควรใช้เครือ่ งวัดค่า DO และจะต้องตรวจสอบ
ค่า DO ในน�้ำทุกครั้งที่มีปัญหาเกิดขึ้นหรือปัญหาเพิ่งเริ่มจะเกิดขึ้นเพื่อหาสาเหตุ
3 การก�ำจัดสลัดจ์
สลัดจ์ที่ก้นบ่อจะอัดตัวกันท�ำให้มีความเข้มข้นของแข็งสูงขึ้นและเกิดการย่อย
สลายแบบไร้อากาศ สลัดจ์จะสะสมเพิ่มขึ้นและมีความหนามากขึ้นตามปีที่ใช้งาน เมื่อชั้นสลัดจ์
มากเกินไปจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสียของระบบ ท�ำให้ปริมาตรน�้ำภายในบ่อปรับ
เสถียรลดลงส่งผลให้ระยะเวลาเก็บกักน�้ำลดลง ซึ่งเป็นตัวแปรที่ส�ำคัญต่อประสิทธิภาพการบ�ำบัด
น�้ำเสียของระบบบ่อปรับเสถียร ดังนั้นควรพิจารณาก�ำจัดสลัดจ์ออกจากบ่อเมื่อมีชั้นสลัดจ์สะสม
สูงถึง 1/3 ของความลึกน�้ำ ผู้ปฏิบัติงานควรตรวจสอบความสูงของชั้นตะกอนทุกปี โดยใช้แท่งไม้
ที่มีความยาวเพียงพอ แล้วหุ้มปลายไม้ด้วยผ้าขนหนูสีขาวประมาณ 1 ใน 3 ของความยาวแท่งไม้
มัดให้แน่น จุม่ ปลายแท่งไม้ลงในบ่อในแนวตัง้ จนถึงก้นบ่อเป็นเวลาประมาณ 10-15 นาที ยกไม้ขนึ้
อย่างช้า ๆ จะเห็นความสูงของชั้นตะกอนจากสีด�ำที่ติดอยู่ที่ผ้าอย่างชัดเจนเนื่องจากตะกอน
บางส่วนเกาะติดกับผ้า ถ้าเป็นไปได้ควรตรวจสอบความลึกของชั้นตะกอนอย่างน้อย 5 จุดที่ห่าง
จากผนังบ่อ แล้วน�ำมาค�ำนวณหาค่าเฉลี่ย
เนื่องจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลไม่สามารถหยุดการเดินระบบได้
ดังนัน้ จึงต้องก�ำจัดสลัดออกจากบ่อในขณะทีร่ ะบบยังคงท�ำงานอยู่ สามารถสูบสลัดจ์ออกจากก้นบ่อ
ด้วยการใช้เครือ่ งสูบน�ำ้ แบบจมน�ำ้ และให้คนงานจับท่ออยูบ่ นแพ อาจใช้รว่ มกับอุปกรณ์กวาดสลัดจ์
ที่ก้นบ่อ สลัดจ์ที่สูบออกมาจะต้องขนออกไปทิ้งนอกบ่อปรับเสถียรหรือน�ำไปรีดน�้ำออก

4.2.3 การติดตามผลการด�ำเนินงานของสระเติมอากาศ
การสังเกต สี-กลิ่น-ตะกอนลอยในสระเติมอากาศและบ่อบ่ม
1
1.1) สีและกลิ่น สีและกลิ่นของน�้ำในสระเติมอากาศและบ่อบ่มเป็นตัวชี้วัดว่า
ระบบอยู่ในสภาวะเหมาะสมที่สามารถบ�ำบัดน�้ำทิ้งได้ตามมาตรฐานน�้ำทิ้งหรือไม่ ตารางที่ 4-9
แสดงสีและกลิ่นของน�้ำในบ่อที่เป็นตัวชี้วัดสภาพของระบบสระเติมอากาศและแนวทางแก้ไข
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 117

ตารางที่ 4-9 สีและกลิ่นที่แสดงสภาพของระบบสระเติมอากาศและบ่อบ่ม และแนวทางแก้ไข


สี กลิ่น สภาพของระบบ แนวทางแก้ไข
สระเติมอากาศ
ใส ไม่มี ไม่มีปัญหา -
น�้ำตาล กลิน่ ดิน ไม่มีปัญหา ระบบอยู่ในสภาวะ -
ปกติ
เทาด�ำ เหม็นก๊าซไข่เน่า เกิดสภาวะไร้อากาศ เนือ่ งจาก ตรวจสอบอัตราภาระสารอินทรีย์
อัตราภาระสารอินทรีย์สูงเกิน ให้เดินเครื่องตลอดเวลา
หรือจ�ำนวนชั่วโมงเดินเครื่อง เพิ่มจ�ำนวนเครื่องเติมอากาศ
เติมอากาศน้อยเกินไป ถ้าไม่ดีขึ้น
บ่อบ่ม
เขียวอ่อน กลิ่นดิน สภาวะปกติของบ่อบ่ม -
เขียวเข้ม เหม็นเขียว สาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียว ตรวจสอบประสิทธิภาพของ
เพิ่มมากขึ้นเมื่ออัตราภาระ สระเติมอากาศ ติดตั้ง
สารอินทรีย์เข้าบ่อมากขึ้น เครื่องเติมอากาศขนาดเล็ก
เพิ่มออกซิเจนและลดสาหร่าย

1.2) ตะกอนลอยน�้ำ พืชลอยน�้ำและพืชโผล่พ้นน�้ำ แหนเป็นพืชลอยน�้ำที่พบ


มากที่สุดในสระเติมอากาศและบ่อบ่ม เมื่อตะกอนสะสมในสระเติมอากาศและบ่อบ่มมากเกินไป
จะเกิดการเน่าสลายและลอยขึ้นผิวน�้ำ นอกจากนี้ตะกอนที่สะสมจ�ำนวนมากจะท�ำให้ระดับน�้ำ
ในบ่อลดลงจนท�ำให้พืชโผล่น�้ำสามารถเติบโตได้ แนวทางการแก้ไขเมื่อพบตะกอนลอยน�้ำหรือ
พืชโผล่พ้นน�้ำในระบบสระเติมอากาศแสดงในตารางที่ 4-10

ตารางที่ 4-10 สภาวะของระบบสระเติมอากาศจากการสังเกตตะกอน ต้นพืชในบ่อและแนวทาง


การแก้ไข
การสังเกต สภาวะของสระเติมอากาศหรือบ่อบ่ม แนวทางแก้ไข
(1) ตะกอนสีด�ำ ตะกอนสะสมก้นบ่อจ�ำนวนมาก ตรวจสอบความสูงของชั้นตะกอน
ลอยผิวน�้ำ เกิดการเน่าสลายลอยขึ้นผิวน�้ำ ลอกตะกอนเมื่อจ�ำเป็น
(2) ต้นไม้ขึ้นใน ตะกอนสะสมทีก่ น้ บ่อสูง ท�ำให้ระดับน�ำ้ ลอกตะกอนเมือ่ จ�ำเป็น ถอนต้นไม้ออก
บ่อ ลดลงจนพืชโผล่น�้ำขึ้นได้ เช่น ธูปฤาษี
(3) พืชลอยน�้ำ พืชลอยน�ำ้ เช่น แหน ผ�ำ หรือผักตกชวา ตักออกพืชลอยน�้ำให้หมด
จะขยายตัวเต็มพืน้ ทีข่ ดั ขวางการถ่ายเท
ออกซิเจน
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
118 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

การตรวจสอบค่า pH และ DO
2
ผูป้ ฏิบตั งิ านท�ำการตรวจวัดค่า DO ทุกวัน ค่า DO จะลดต�ำ่ ลงในช่วงเช้าทีม่ นี ำ�้ เสีย
เข้าระบบจ�ำนวนมาก ค่า DO ของน�้ำในบ่อควรมีค่าไม่น้อยกว่า 2 มิลลิกรัม/ลิตร เพื่อให้ได้
การบ�ำบัดน�้ำเสียที่มีประสิทธิภาพสูง ควรตรวจสอบค่า DO ของน�้ำในบริเวณที่คิดว่าเป็นจุดบอด
และปรับทิศทางของเครื่องเติมอากาศให้เกิดการผสมที่ดีภายในสระเติมอากาศเพื่อแก้ไขปัญหา
ไม่ให้เกิดจุดบอด ภายในบ่อเติมอากาศควรติดตั้งเครื่องเติมอากาศอย่างน้อย 2 เครื่อง และ
เดินเครื่องเติมอากาศทั้ง 2 เครื่องเมื่อพบว่าค่า DO ในบ่อลดต�่ำลง และสลับเดินทีละเครื่อง
เมื่อค่า DO อยู่ในระดับสูง
ค่า pH ของน�้ำในสระเติมอากาศควรอยู่ในช่วง 6.5 ถึง 8.5 และบ่อบ่มค่า pH
ควรมีค่าอยู่ในช่วง 7.5 ถึง 9.5 ผู้ปฏิบัติงานควรตรวจวัดค่า pH ของน�้ำในบ่ออย่างน้อยวันละครั้ง
ถ้าพบว่าค่า pH ของน�้ำเปลี่ยนแปลงไปควรรีบท�ำการตรวจสอบหาสาเหตุและแก้ไข สภาวะของ
ระบบสระเติมอากาศจากการตรวจสอบค่า pH และ DO และแนวทางแก้ไขแสดงในตารางที่ 4-11
ตารางที่ 4-11 สภาวะของระบบสระเติมอากาศจากการตรวจสอบค่า pH และ DO และแนวทาง
การแก้ไข
การตรวจสอบ สภาวะของระบบ แนวทางแก้ไข
สระเติมอากาศ
(1) pH 6.5 – 8.5 สภาวะปกติของสระเติมอากาศ -
(2) pH < 6.5 มีน�้ำเสียที่มีสภาพเป็นกรดไหล ปรับค่า pH ให้เป็นกลางด้วยปูนขาว
เข้าระบบ หาแหล่งของน�ำ้ เสียทีเ่ ป็นกรดและแยกออก
(3) pH > 8.5 มีน�้ำเสียที่มีสภาพเป็นด่างไหล หาแหล่งของน�้ำเสียที่เป็นด่างและ
เข้าระบบ หรือเครื่องเติมอากาศ แยกออก เดินจ�ำนวนเครื่องเติมอากาศ
มีขนาดเล็กไปหรือไม่เปิดเครื่องใน เพิ่ม เพิ่มจ�ำนวนเครื่องเติมอากาศ
เวลากลางวัน ท�ำให้สาหร่ายเติบโต
(4) DO > 2 สภาวะปกติของสระเติมอากาศ
(5) DO < 2 ออกซิเจนจากเครื่องเติมอากาศ ติดตั้งเครื่องเติมอากาศที่ใหญ่ขึ้น
ไม่เพียงพอ หรือไม่เปิดเครื่อง เพิ่มเวลาเดินเครื่องเติมอากาศ
เติมอากาศตลอดเวลา เกิดจุดบอด ปรับต�ำแหน่งเครื่องเติมอากาศ
ของการไหลของน�้ำ ให้ได้การผสมที่ดี
บ่อบ่ม
(1) pH 7.5 – 9.5 สภาวะปกติของบ่อบ่ม -
(3) pH > 9.5 สาหร่ายเติบโตจ�ำนวนมากเกินไป ติดตั้งเครื่องเติมอากาศขนาดเล็ก
และเดินเครื่องเฉพาะเวลากลางวัน
(4) DO > 5 สภาวะปกติของบ่อบ่ม -
(4) DO < 5 อัตราภาระสารอินทรีย์สูง ตรวจสอบประสิทธิภาพของ
ตะกอนสะสมก้นบ่อสูงเกิน สระเติมอากาศ ลอกตะกอนก้นบ่อ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 119

3 การก�ำจัดสลัดจ์
เมื่อชั้นสลัดจ์มากเกินไปจะส่งผลต่อปริมาตรน�้ำในสระเติมอากาศลดลง ท�ำให้
ระยะเวลาเก็บกักน�้ำของสระเติมอากาศลดลง และมีผลท�ำให้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสียของ
ระบบสระเติมอากาศลดลง ควรพิจารณาก�ำจัดสลัดจ์ออกจากบ่อเมื่อมีชั้นสลัดจ์สะสมสูงถึง 1/3
ของความลึกน�ำ้ ผูป้ ฏิบตั งิ านควรตรวจสอบความสูงของชัน้ ตะกอนทุกปี โดยใช้แท่งไม้ทมี่ คี วามยาว
เพียงพอ แล้วหุม้ ปลายไม้ดว้ ยผ้าขนหนูสขี าวประมาณ 1 ใน 3 ของความยาวแท่งไม้ จุม่ ปลายแท่งไม้
ลงในบ่อในแนวตั้งจนถึงก้นบ่อ ยกไม้ขึ้นอย่างช้า ๆ จะเห็นความสูงของชั้นตะกอนจากสีด�ำที่ติด
อยูท่ ผี่ า้ อย่างชัดเจนเนือ่ งจากตะกอนบางส่วนจะเกาะติดกับผ้า ถ้าเป็นไปได้ควรตรวจสอบความลึก
ของชั้นตะกอนอย่างน้อย 5 จุดที่ห่างจากผนังบ่อ แล้วน�ำมาค�ำนวณหาค่าเฉลี่ย
เนื่องจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลไม่สามารถหยุดการเดินระบบได้
ดังนัน้ จึงต้องก�ำจัดสลัดออกจากบ่อในขณะทีร่ ะบบยังคงท�ำงานอยู่ สามารถสูบสลัดจ์ออกจากก้นบ่อ
ด้วยการใช้เครือ่ งสูบน�ำ้ แบบจมน�ำ้ และให้คนงานจับท่ออยูบ่ นแพ อาจใช้รว่ มกับอุปกรณ์กวาดสลัดจ์
ที่ก้นบ่อ สลัดจ์ที่สูบออกมาจะต้องขนออกไปทิ้งนอกบ่อปรับเสถียรหรือน�ำไปรีดน�้ำออก

4.2.4 การติดตามผลการด�ำเนินงานของบึงประดิษฐ์
1 การไหลของน�้ำภายในบึงประดิษฐ์
1.1) ตรวจสอบระดับน�้ำในบึงประดิษฐ์ ผู้ปฏิบัติงานต้องตรวจสอบระดับน�้ำ
ในบึงประดิษฐ์ดว้ ยการสังเกตเป็นประจ�ำทุกวัน และใช้ไม้วดั ความลึกน�ำ้ ทุกอาทิตย์ เมือ่ พบว่าระดับน�ำ้
ในบ่อเปลีย่ นแปลงอย่างกะทันหันจะต้องรีบตรวจสอบหาสาเหตุ เช่นอาจเกิดจากบ่อรัว่ หรือเกิดจาก
ท่ออุดตัน เป็นต้น การควบคุมระดับน�้ำในบึงประดิษฐ์แบบ FW โดยใช้โครงสร้างที่ท่อน�้ำออกด้วย
การยกประตูน�้ำขึ้นหรือต่อท่อน�้ำล้นให้สูงขึ้น อาจใช้น�้ำสะอาด เช่น น�้ำจากบ่อน�้ำธรรมชาติ
เติมลงในบ่อในกรณีทรี่ ะดับน�ำ้ ต�ำ่ เกินไปทัง้ ในช่วงเริม่ เดินระบบและช่วงเดินระบบปกติ สภาวะของ
บึงประดิษฐ์จากการสังเกตระดับน�้ำในบึงประดิษฐ์และแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที่ 4-12

ตารางที่ 4-12 สภาวะของบึงประดิษฐ์จากการสังเกตระดับน�ำ้ ในบึงประดิษฐ์และแนวทางการแก้ไข


การสังเกต สภาวะของบึงประดิษฐ์ แนวทางแก้ไข
(1) ระดับน�้ำ ระดับปกติของบึงประดิษฐ์ -
0.3 – 0.6 เมตร
(2) ระดับน�้ำ ระดับน�้ำต�่ำเกินไป เกิดการรั่วของ ตรวจสอบและซ่อมแซมโครงสร้าง
< 0.3 เมตร น�้ำออกจากบึง หรือระดับตะกอน คันดิน ท่อน�้ำออกที่เกิดน�้ำรั่ว ถ้าพบว่า
สะสมในบึงสูง ตะกอนสะสมสูงให้ก�ำหนดวันลอกตะกอน
(3) ระดับน�้ำ โครงสร้างทางออกของน�้ำเกิดการ ล้างท่อน�้ำออกเมื่อเกิดอุดตัน ซ่อมแซม
> 0.6 เมตร อุดตันหรือเสียหาย เมื่อเสียหาย
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
120 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

1.2) ตรวจสอบการไหลของน�้ำ ตรวจสอบด้วยการสังเกตการไหลของน�้ำในบึง


เป็นประจ�ำสัปดาห์ละครั้ง การไหลของน�้ำจะต้องสม�่ำเสมอ ไม่ไหลลัดวงจรและไม่เกิดพื้นที่ที่เป็น
จุดบอดของการไหล สาเหตุของการไหลไม่สม�่ำเสมอและแนวทางแก้ไขแสดงในตารางที่ 4-13

ตารางที่ 4-13 สาเหตุของการไหลไม่สม�ำ่ เสมอและแนวทางแก้ไขการไหลไม่สม�ำ่ เสมอในบึงประดิษฐ์


สาเหตุของการไหลไม่สม�่ำเสมอ แนวทางแก้ไข
(1) เศษพืชเน่าสลายสะสมในบึงขวางการไหล ลอกตะกอนที่ขัดขวางการไหลออก
ของน�้ำ
(2) ท่อเข้าหรือท่อออกอุดตัน เมือกสาหร่าย ล้างท่อเข้าและท่อออกอย่างสม�่ำเสมอ
อุดตันตะแกรงหรือเวียร์น�้ำล้น ล้างตะแกรงและเวียร์น�้ำล้นอย่างสม�่ำเสมอ
(3) ต้นพืชเติบโตขยายออกพื้นที่ก�ำหนด ก�ำจัดต้นพืชที่ขวางการไหลของน�้ำ
ขวางการไหลของน�้ำ

การควบคุมกลิน่ เมือ่ ได้กลิน่ เหม็นทีเ่ กิดจากก๊าซไข่เน่าให้รบี ตรวจสอบหาสาเหตุ


2
ตารางที่ 4-14 แสดงสาเหตุและแนวทางแก้ไขการเกิดกลิ่นเหม็นในบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 4-14 สาเหตุของการเกิดกลิ่นเหม็นในบึงประดิษฐ์และแนวทางแก้ไข


สาเหตุของการเกิดกลิ่นในบึงประดิษฐ์ แนวทางแก้ไข
(1) เกิดสภาพไร้อากาศจากอัตราภาระ เพิ่มเติมระบบบ�ำบัดขั้นต้น เช่น สระเติม
สารอินทรีย์ที่สูงเกินไป อากาศหรือบ่อปรับเสถียร เพื่อลดค่าบีโอดี
ของน�้ำเสียก่อนเข้าบึง
(2) เกิดสภาพไร้อากาศจากตะกอนที่สะสม พิจารณาลอกตะกอนออก โดยเฉพาะบริเวณ
เป็นเวลานาน โดยเฉพาะช่วงต้นทาง ที่มีตะกอนสะสมจ�ำนวนมาก
ท่อน�้ำเสียเข้า
(3) เกิดสภาพไร้อากาศบริเวณจุดบอด ก�ำจัดสิ่งกีดขวางการไหลของน�้ำในบึง
การไหลของน�้ำไม่สม�่ำเสมอ ท�ำให้ปราศจากจุดบอด
(4) เกิดกลิ่นจากตะกอนที่สะสมฟุ้งกระจาย ท�ำความสะอาดระบบกระจายน�้ำเสียเข้า
โดยน�้ำเสียไหลเข้าอย่างรวดเร็ว ไม่ให้อุดตัน เพื่อลดความเร็วของการไหล
เนื่องจากระบบกระจายน�้ำเสียเข้าอุดตัน ของน�้ำเสียเข้าบึงประดิษฐ์
(5) มีพืชลอยน�้ำหรือสาหร่ายแบบแพสายขึ้น ก�ำจัดพืชลอยน�้ำและสาหร่ายแบบแพสายออก
ผิวน�้ำไปลดการถ่ายเทออกซิเจนจากอากาศ
ท�ำให้เกิดสภาพไร้อากาศใต้น�้ำ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 121

3การจัดการแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ผู้ปฏิบัติจะต้องหาทางควบคุมยุงที่เกิดขึ้นจาก
บึงประดิษฐ์ ปกติบึงประดิษฐ์แบบ FW เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงและเป็นไปไม่ได้เลยที่จะขัดขวาง
การวางไข่ของยุง สาเหตุของการเกิดยุงจ�ำนวนมากและแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที่ 4-15

ตารางที่ 4-15 สาเหตุของการเกิดยุงในบึงประดิษฐ์จ�ำนวนมากและแนวทางแก้ไข


สาเหตุของการเกิดยุงในบึงประดิษฐ์ แนวทางแก้ไข
(1) เกิดจุดบอดของการไหลของน�้ำ น�้ำนิ่ง ก�ำจัดสิ่งกีดขวางการไหลของน�้ำ ไม่ให้เกิด
ซึ่งเป็นสภาพแวดล้อมที่ยุงชอบวางไข่ สภาพน�้ำนิ่ง
(2) พืชลอยน�้ำ เช่น แหน และวัสดุลอยน�้ำอื่น ๆ ก�ำจัดพืชลอยน�้ำและวัสดุลอยน�้ำออก
เป็นที่ยุงชอบมาวางไข่
(3) บึงประดิษฐ์เป็นแหล่งที่ยุงมาวางไข่ เลี้ยงปลากินลูกน�้ำ เช่น ปลาหางนกยูง
ไม่สามารถป้องกันได้ทั้งหมด

4.3 เอกสาร การบันทึกผลและการรายงานผลของการควบคุม


ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย

น�้ำทิ้งที่ผ่านการบ�ำบัดแล้วจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลจะต้องได้คุณภาพตาม
มาตรฐานน�ำ้ ทิง้ ของทางราชการทีก่ ำ� หนดไว้ ผูค้ วบคุมระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียจะต้องเฝ้าระวังและติดตาม
คุณภาพของน�้ำทิ้ง และควบคุมระบบบ�ำบัดน�้ำเสียให้อยู่ในสภาวะที่ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การจดบันทึกและการรายงานผลการควบคุมระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลมีความส�ำคัญ
ต่อผูร้ บั ผิดชอบในโรงพยาบาล และหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ผูค้ วบคุมจะต้องใช้ขอ้ มูลทีบ่ นั ทึก
ไว้ในการควบคุม ปรับปรุงการด�ำเนินงานและแก้ไขระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย นอกจากนี้บันทึกเหล่านี้
เป็นข้อมูลทีม่ ปี ระโยชน์สำ� หรับฝ่ายบริหารใช้ในการของบประมาณส�ำหรับปรับปรุงหรือขยายระบบ
บ�ำบัดน�้ำเสียเมื่ออัตราภาระสารอินทรีย์ในอนาคตมีค่าสูงเกินกว่าที่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่มีอยู่จะ
รองรับได้ในอนาคต เอกสารที่ควรเก็บรักษาไว้ที่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท
ได้แก่ (1) เอกสารของออกแบบระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย เช่น แบบแปลน รายการเครือ่ งมือและอุปกรณ์
เป็นต้น และ (2) บันทึกการด�ำเนินงานของระบบ

4.3.1 เอกสารของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ในโรงพยาบาลจะต้องเก็บรักษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและก่อสร้าง
ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่ด�ำเนินงานอยู่ เพื่อให้ผู้ควบคุมและปฏิบัติงานสามารถน�ำไปใช้ในการศึกษา
ตรวจสอบ ควบคุมและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบบ�ำบัดน�้ำเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
122 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

เอกสารเหล่านี้ ได้แก่ คู่มือการด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษา แบบแปลนการก่อสร้างจริง รวมทั้ง


รูปตัดของบ่อหรือถัง คู่มือบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์และประวัติการใช้งานของเครื่องจักร
และอุปกรณ์ เป็นต้น
1 คู่มือการด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษา
คูม่ อื การด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียเป็นเอกสารส�ำคัญทีผ่ รู้ บั จ้าง
ก่อสร้างระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียจะต้องส่งมอบให้กบั โรงพยาบาลหลังจากการก่อสร้างระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
แล้วเสร็จ คู่มือนี้จะเป็นประโยชน์อย่างมากกับผู้ควบคุมระบบ ส�ำหรับใช้ในการศึกษาการควบคุม
ด�ำเนินงานระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่มีอยู่ เนื้อหาในคู่มือควรประกอบด้วย (1) ค�ำอธิบายกระบวนการ
บ�ำบัดน�ำ้ เสียและคุณภาพน�ำ้ ทิง้ ทีต่ อ้ งการ (2) ส�ำเนามาตรฐานน�ำ้ ทิง้ ของทางราชการและกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง (3) การด�ำเนินงานและการควบคุมระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย (4) การด�ำเนินและควบคุม
ระบบบ�ำบัดสลัดจ์ (5) จ�ำนวนและคุณสมบัติของบุคลากร (6) การวัดค่าพารามิเตอร์ควบคุม
และการทดสอบที่ห้องปฏิบัติการเคมี (7) ตารางส�ำหรับการบันทึกข้อมูล (8) ความปลอดภัย
ในการท�ำงาน (9) การบ�ำรุงรักษา (10) การปฏิบตั ใิ นกรณีทมี่ เี หตุฉกุ เฉิน (11) สาธารณูปโภคต่างๆ
และ (12) ระบบควบคุมไฟฟ้า
2 เอกสารออกแบบและก่อสร้างของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียและระบบท่อรวบรวม
น�้ำเสีย
นอกเหนือจากคู่มือการด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษาแล้ว เอกสารที่เกี่ยวข้อง
กับการออกแบบและก่อสร้างระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่จะต้องเก็บรักษาไว้ภายในโรงพยาบาล ได้แก่
(1) รายการค�ำนวณของวิศวกร ที่ต้องแสดงพารามิเตอร์ที่ใช้ออกแบบและพื้นฐานการค�ำนวณ
ออกแบบ (2) แบบก่ อ สร้ า งจริ ง (As-build drawing) และข้ อ ก� ำ หนด (Specification)
ของเครื่องจักรและอุปกรณ์ (3) แบบรายละเอียดของเครื่องจักรและอุปกรณ์จากผู้ผลิต รวมทั้ง
ค�ำแนะน�ำในการด�ำเนินงานและบ�ำรุงรักษา (4) ระดับผิวน�้ำของหน่วยบ�ำบัด (Hydraulic profile)
ที่แสดงระดับน�้ำในถังหรือบ่อต่าง ๆ ในโรงบ�ำบัดน�้ำเสียและจุดอ้างอิง (5) รายการเครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่ต้องแสดงผู้ผลิต จ�ำนวน อัตราความจุ วันที่ซื้อและติดตั้ง
ในกรณีที่มีการก่อสร้างระบบท่อรวบรวมน�้ำเสียพร้อมกับระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ของโรงพยาบาล หรือก่อสร้างระบบท่อรวบรวมน�้ำเสียใหม่รวมทั้งการก่อสร้างระบบท่อรวบรวม
น�้ำเสียเพิ่มเติมจากเดิม โรงพยาบาลจะต้องเก็บรักษาเอกสารส�ำคัญที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ
และก่อสร้างระบบท่อรวบรวม ได้แก่ (1) แผนที่แสดงความสูงต�่ำของพื้นที่ (2) แบบแสดงพื้นที่
ทั้งหมดของอาคารต่าง ๆ ในโรงพยาบาลและแนวท่อรวมทั้งบ่อตรวจ (3) รูปตัดแสดงการวางท่อ
ทั้งหมดตามระดับความสูงของพื้นดิน ขนาดท่อและความชันของการวางท่อ (4) รูปตัดบ่อตรวจ
ทุกแบบที่ใช้ และ (5) บ่อสูบน�้ำเสีย (ถ้ามี) แบบก่อสร้างทั้งหมดต้องเป็นแบบก่อสร้างจริง
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 123

4.3.2 การบันทึกข้อมูลการด�ำเนินงาน
ข้อมูลการเดินระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลมีความส�ำคัญต่อการควบคุม
ของการด�ำเนินงานของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย การบันทึกข้อมูลทีด่ จี ะท�ำให้ผคู้ วบคุมสามารถย้อนประวัติ
ของการด�ำเนินงานของระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ดูแนวโน้มการเพิม่ ขึน้ ของอัตราไหลของน�ำ้ เสียและอัตรา
ภาระสารอินทรีย์ ตรวจสอบประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�ำ้ เสียและคุณภาพน�ำ้ ทิง้ ในอดีต ปัญหาทีเ่ กิด
ขึ้นในการด�ำเนินงานจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่คาดไม่ถึงในอดีต รวมทั้งปัญหาที่ท�ำให้คุณภาพน�้ำทิ้ง
ไม่ได้ตามมาตรฐาน ท�ำให้สามารถน�ำข้อมูลมาศึกษาเพื่อหลีกเลี่ยงได้ในอนาคต ข้อมูลที่บันทึก
ยั ง ใช้ เ ป็ น แนวทางในการด� ำ เนิ น งานส� ำ หรั บ ผู ้ ค วบคุ ม ที่ ม ารั บ งานใหม่ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษาจาก
ประสบการณ์ที่ผ่านมา นอกจากนี้ยังใช้เป็นเอกสารอ้างอิงส�ำหรับการพัฒนาระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ในอนาคต การบันทึกข้อมูลการด�ำเนินงานในระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลมีดังต่อไปนี้
1 บันทึกข้อมูลการด�ำเนินงานประจ�ำวัน
1.1) ระบบบ่อปรับเสถียร
ข้อมูลทีต่ อ้ งบันทึกทุกวันส�ำหรับระบบบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่ม ได้แก่ สีของน�ำ้
กลิ่น ตะกอนลอยและพืชน�้ำที่ลอยบนผิวน�้ำ วัดค่า pH และ DO ของน�้ำในบ่อแฟคัลเททีฟ
และบ่อบ่มทุกบ่อที่มี ดังตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลแสดงในตารางที่ 4-16
1.2) ระบบสระเติมอากาศ
ข้อมูลทีต่ อ้ งบันทึกประจ�ำวันของระบบสระเติมอากาศมีความคล้ายคลึงกับระบบ
บ่อปรับเสถียรเนื่องจากระบบสระเติมอากาศมีการใช้บ่อบ่มเป็นบ่อตกตะกอน และเพิ่มเติมหัวข้อ
สภาพการท�ำงานของเครื่องเติมอากาศ ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลการเดินระบบประจ�ำวันของ
ระบบสระเติมอากาศแสดงในตารางที่ 4-17
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
124 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 4-16 ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลการเดินระบบประจ�ำวันของระบบบ่อปรับเสถียร

วัน/เดือน/ปี …………………………………………
สภาพอากาศ …………………………….............… อุณหภูมิ ………………………………
1. สถานีสูบน�้ำเสีย
ชั่วโมงการท�ำงาน เครื่องสูบน�้ำเสีย 1 ………..……ชม./วัน เครื่องสูบน�้ำเสีย 2 ………………ชม./วัน
อัตราการสูบน�้ำเสีย เครื่องสูบน�้ำเสีย 1 ………..……ลบ.ม./วัน เครื่องสูบน�้ำเสีย 2 ………………ลบ.ม./วัน
พลังงานที่ใช้ เครื่องสูบน�้ำเสีย 1 ……..………kW/วัน เครื่องสูบน�้ำเสีย 2 ………………kW/วัน
2. ตะแกรงดักขยะ
น�้ำหนักขยะที่น�ำออกจากตะแกรง ……………………………………กก./วัน
3. ระบบบ่อปรับเสถียร
ข้อมูล บ่อแฟคัลเททีฟ บ่อบ่ม หมายเหตุ
สีของน�้ำในบ่อ (เขียว, เขียวเข้ม, เขียวอมด�ำ, เทา, แดง)
กลิ่น
ตะกอนลอย และพืชลอยน�้ำ
สภาพของคันดิน (วัชพืชขึ้น, สึกกร่อน, เสียหาย)
ท่อเข้าและท่อออก (อุดตัน, เสียหาย)
ระดับน�้ำ (สูง, ปกติ, ต�่ำ)
การวัดค่า pH
การวัดค่า DO
4. ระบบฆ่าเชื้อโรค
ความเข้มข้นคลอรีนที่หลงเหลือในน�้ำทิ้ง …………………………. มก./ล.
ปริมาณคลอรีน 10% ที่ใช้ต่อวัน ………………………. ลิตร
5. สิ่งที่พบเห็นอื่น ๆ ...............................................................................................................................................
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 125

ตารางที่ 4-17 ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลการเดินระบบประจ�ำวันของระบบสระเติมอากาศ

วัน/เดือน/ปี …………………………………………
สภาพอากาศ …………………………….............… อุณหภูมิ ………………………………
1. สถานีสูบน�้ำเสีย
ชั่วโมงการท�ำงาน เครื่องสูบน�้ำเสีย 1 ………..……ชม./วัน เครื่องสูบน�้ำเสีย 2 ………………ชม./วัน
อัตราการสูบน�้ำเสีย เครื่องสูบน�้ำเสีย 1 ………..……ลบ.ม./วัน เครื่องสูบน�้ำเสีย 2 ………………ลบ.ม./วัน
พลังงานที่ใช้ เครื่องสูบน�้ำเสีย 1 ……..………kW/วัน เครื่องสูบน�้ำเสีย 2 ………………kW/วัน
2. ตะแกรงดักขยะ
น�้ำหนักขยะที่น�ำออกจากตะแกรง ……………………………………กก./วัน
3. ระบบสระเติมอากาศ
ข้อมูล สระเติมอากาศ บ่อบ่ม หมายเหตุ
สีของน�้ำในบ่อ (น�้ำตาล, เขียว, เขียวเข้ม, เทาด�ำ)
กลิ่น
ตะกอนลอย และพืชลอยน�้ำ
สภาพของคันดิน (วัชพืชขึ้น, สึกกร่อน, เสียหาย)
ท่อเข้าและท่อออก (อุดตัน, เสียหาย)
เครื่องเติมอากาศ (ท�ำงานปกติ, หยุดท�ำงาน)
การวัดค่า pH
การวัดค่า DO
4. ระบบเติมอากาศ
พลังงานที่ใช้…………………………. kW/วัน
5. ระบบฆ่าเชื้อโรค
ความเข้มข้นคลอรีนที่หลงเหลือในน�้ำทิ้ง …………………………. มก./ล.
ปริมาณคลอรีน 10% ที่ใช้ต่อวัน ………………………. ลิตร
6. สิ่งที่พบเห็นอื่น ๆ ...............................................................................................................................................
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
126 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

1.3) ระบบบึงประดิษฐ์
ข้อมูลประจ�ำวันที่ต้องบันทึกของระบบบึงประดิษฐ์จะคล้ายคลึงกับระบบ
บ่อปรับเสถียร และเพิม่ เติมข้อมูลทีส่ ำ� คัญทีม่ ผี ลต่อประสิทธิภาพของบึงประดิษฐ์คอื ระดับน�ำ้ ในบึง
และสภาพการไหลของน�้ำในบึงประดิษฐ์ ระดับน�้ำจะต้องสูงประมาณ 30 เซนติเมตร และ
สภาพการไหลของน�ำ้ ต้องสม�ำ่ เสมอไหลลัดวงจร ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลการเดินระบบประจ�ำวัน
ของระบบบึงประดิษฐ์แสดงในตารางที่ 4-18

ตารางที่ 4-18 ตัวอย่างตารางบันทึกข้อมูลการเดินระบบประจ�ำวันของระบบบึงประดิษฐ์

วัน/เดือน/ปี …………………………………………
สภาพอากาศ …………………………….............… อุณหภูมิ ………………………………
1. สถานีสูบน�้ำเสีย
ชั่วโมงการท�ำงาน เครื่องสูบน�้ำเสีย 1 ………..……ชม./วัน เครื่องสูบน�้ำเสีย 2 ………………ชม./วัน
อัตราการสูบน�้ำเสีย เครื่องสูบน�้ำเสีย 1 ………..……ลบ.ม./วัน เครื่องสูบน�้ำเสีย 2 ………………ลบ.ม./วัน
พลังงานที่ใช้ เครื่องสูบน�้ำเสีย 1 ……..………kW/วัน เครื่องสูบน�้ำเสีย 2 ………………kW/วัน
2. ตะแกรงดักขยะ
น�้ำหนักขยะที่น�ำออกจากตะแกรง ……………………………………กก./วัน
3. ระบบบึงประดิษฐ์
ข้อมูล บึงประดิษฐ์ 1 บึงประดิษฐ์ 2 หมายเหตุ
กลิ่น
ตะกอนลอย และพืชลอยน�้ำ
สภาพของคันดิน (วัชพืชขึ้น, สึกกร่อน, เสียหาย)
ท่อเข้าและท่อออก (อุดตัน, เสียหาย)
ระดับน�้ำ 30 ซม. (สูง, ปกติ, ต�่ำ)
สภาพการไหลของน�้ำในบึง (สม�่ำเสมอ, ลัดวงจร)
การวัดค่า pH
การวัดค่า DO
4. ระบบฆ่าเชื้อโรค
ความเข้มข้นคลอรีนที่หลงเหลือในน�้ำทิ้ง …………………………. มก./ล.
ปริมาณคลอรีน 10% ที่ใช้ต่อวัน ………………………. ลิตร
5. สิ่งที่พบเห็นอื่น ๆ ...............................................................................................................................................
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 127

2 บันทึกข้อมูลการด�ำเนินงานประจ�ำเดือน และผลวิเคราะห์น�้ำทิ้งประจ�ำปี
ในบันทึกการบ�ำบัดน�้ำเสียประจ�ำเดือนประกอบด้วย
2.1) บันทึกข้อมูลการด�ำเนินงานประจ�ำเดือน น�ำข้อมูลประจ�ำวันตลอดทัง้ เดือน
มารวมกันในตารางเดียว ท�ำให้เห็นแนวโน้มของอัตราไหลของน�้ำเสีย และการเปลี่ยนแปลงของ
ค่าควบคุมทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านตรวจสอบ ซึง่ ท�ำให้สามารถประเมินสภาวะการด�ำเนินงานของระบบบ�ำบัด
น�ำ้ เสียได้ และสามารถใช้ขอ้ มูลมาประเมินและวิเคราะห์ปญ ั หาของการเดินระบบทีเ่ กิดขึน้ รายงาน
ประจ�ำเดือนของระบบบ่อปรับเสียร ระบบสระเติมอากาศและระบบบึงประดิษฐ์ควรประกอบ
(1) อัตราการไหลของน�้ำเสียเข้าระบบต่อวัน
(2) ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ลักษณะทั่วไปของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย เช่น สีและกลิ่น
(3) ค่า pH และ DO ของน�้ำในบ่อต่าง ๆ
(4) ปริมาณการใช้คลอรีน และปริมาณการใช้ไฟฟ้า
ตัวอย่างแบบรายงานหรือแนวทางการบันทึกข้อมูลประจ�ำเดือนของระบบปรับ
เสถียร ระบบสระเติมอากาศและระบบบึงประดิษฐ์แสดงดังตารางที่ 4-19 ถึงตารางที่ 4-20
2.2) ผลวิเคราะห์น�้ำทิ้งประจ�ำปี ควรน�ำข้อมูลผลการวิเคราะห์คุณภาพน�้ำทิ้ง
ทางเคมีและชีวภาพที่ทางโรงพยาบาลส่งตรวจทุก 3 เดือนมารวมกันในหนึ่งตาราง เพื่อดูแนวโน้ม
ของประสิทธิภาพของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียตลอดทั้งปีท่ีผ่านมา พารามิเตอร์ที่ต้องรายงานในน�้ำทิ้ง
ที่ผ่านการบ�ำบัด เช่น บีโอดี ซีโอดี ตะกอนหนัก ของแข็งแขวนลอย TKN ความเป็นกรด-ด่าง
ซัลไฟด์ ไข่พยาธิ โคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ดังแสดงในตารางที่ 4-21
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
128 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 4-19 ตัวอย่างแบบฟอร์มบันทึกประจ�ำวันของเวลาสูบน�ำ้ และอัตราการไหลของน�ำ้ เสีย


โรงพยาบาล..................................................... ประจ�ำเดือน.....................................................
มาตรา#1 มาตรา#2 ผลต่างเวลา ปริมาณน�้ำเสียต่อวัน
วันที่
อ่านได้ ผลต่าง อ่านได้ ผลต่าง (ชม.) เครื่องสูบ #1 เครื่องสูบ #2 รวม
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
เฉลี่ย
หมายเหตุ : การค�ำนวณอัตราการไหลของน�้ำเสีย สามารถค�ำนวณได้จาก
(อัตราการไหลน�้ำเสีย (Q) = เวลาการท�ำงาน(T) X อัตราสูบของเครื่องสูบ(C)
เช่น โรงพยาบาล มีเวลาการท�ำงานของปั๊ม 2.3 ชม./วัน จากการทดสอบเครื่องสูบน�้ำมีอัตราสูบ 0.6 ลบ.ม./นาที จะได้
Q = 2.3 ชั่วโมง/วัน X 0.6 ลบ.ม./นาที X 60 นาที/ชม. = 82.8 ลบ.ม./วัน
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 129

ตารางที่ 4-20 ตัวอย่างแบบฟอร์มบันทึกประจ�ำวันการตรวจวัดคุณภาพน�้ำ


โรงพยาบาล..................................................... ประจ�ำเดือน.....................................................
บ่อแฟคัลเททีฟ ปริมาณ ปริมาณ
อัตราการไหล บ่อบ่ม
(สระเติมอากาศ, คลอรีน การใช้
วันที่ ของน�้ำเสีย (บึงประดิษฐ์2)
บึงประดิษฐ์1) 10% ที่ใช้ ไฟฟ้า
(ลบ.ม./วัน)
สี DO pH สี DO pH (ลิตร) (หน่วย)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
เฉลี่ย
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
130 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 4-21 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน�้ำทิ้งจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลประจ�ำปี


พารามิเตอร์ เดือนที่ เดือนที่ เดือนที่ เดือนที่
1-3 4-6 7-9 10 - 12
ความเป็นกรดด่าง (pH)
BOD5 (มก./ล.)
COD (มก./ล.)
ปริมาณตะกอนหนัก (มล./ล.)
ปริมาณของแข็งแขวนลอย (มก./ล.)
ปริมาณของแข็งละลายน�้ำ (TDS) (มก./ล.)
ซัลไฟด์ (Sulfide) (มก./ล.)
ไนโตรเจนในรูป TKN (มก./ล.)
น�ำ้ มันและไขมัน (Fat, Oil & Grease) (มก./ล.)
ไข่หนอนพยาธิ (ฟอง/ล.)

4.3.3 การรายงานสรุปผลการท�ำงานระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียให้กบั เจ้าพนักงานท้องถิน่


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมได้ออกกฎกระทรวง เรือ่ ง การก�ำหนด
หลักเกณฑ์ วิธีการ และแบบเก็บสถิติและข้อมูล การจัดท�ำบันทึกรายละเอียด และรายงานสรุป
ผลการท�ำงานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย พ.ศ.2555 โดยก�ำหนดให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองแหล่ง
ก�ำเนิดมลพิษจัดเก็บสถิติ ข้อมูล และรายงาน ผลการท�ำงานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของตนเอง
โรงพยาบาลทีเ่ ข้าข่าย ได้แก่ โรงพยาบาลขนาด 30 เตียงขึน้ ไปจะต้องเก็บสถิตแิ ละข้อมูลซึง่ แสดงผล
การท�ำงานของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในแต่ละวัน เช่น ปริมาณการใช้ไฟ ปริมาณการใช้น�้ำ ปริมาณ
น�ำ้ เสียเข้าและออกจากระบบ การท�ำงานของเครือ่ งจักรกล เช่น เครือ่ งสูบน�ำ้ ต่าง ๆ ท�ำงานกีช่ วั่ โมง
และจัดท�ำบันทึกรายละเอียดดังกล่าวตามแบบ ทส.1 โดยต้องเก็บข้อมูลไว้ในโรงพยาบาลอย่างน้อย
2 ปีนับแต่วันที่มีการจัดเก็บสถิติและข้อมูลนั้น และจะต้องจัดท�ำรายงานสรุปผลการท�ำงาน
ของระบบบ�ำบัดน�้ำเสียในแต่ละเดือนตามแบบ ทส.2 และเสนอรายงานดังกล่าวต่อเจ้าพนักงาน
ท้องถิ่นภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยให้ยื่นต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่โรงพยาบาล
นั้นตั้งอยู่หรือส่งทางไปรษณีย์ตอบรับหรือรายงานด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่อธิบดี
กรมควบคุมมลพิษประกาศก�ำหนด
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 131

บทที่
5 ปัญหาต่าง ๆ
และวิธีการแก้ไขระบบ
ในบทนี้อธิบายปัญหาต่าง ๆ และวิธีการแก้ไขระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบบ่อปรับเสถียร
สระเติมอากาศและบึงประดิษฐ์ โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ในส่วนที่ 1 อธิบายปัญหาและวิธีแก้ไข
ระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย ส�ำหรับส่วนที่ 2 อธิบายแยกปัญหาและวิธีแก้ไขระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของ
แต่ละระบบซึง่ แตกต่างกัน และส่วนที่ 3 เป็นปัญหาและวิธกี ารแก้ไขระบบฆ่าเชือ้ โรค ซึง่ จะเหมือน
กันส�ำหรับระบบบ�ำบัดน�้ำเสียทั้ง 3 แบบ

5.1 ปัญหาของระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย บ่อสูบน�้ำเสียและแนวทางแก้ไข

ปัญหาที่ 1 : ท่อแตกหักช�ำรุด
โรงพยาบาลชุมชนหลายแห่งก่อสร้างมานานกว่า 20 ปี บางแห่งมากกว่า 30 ปี ระบบ
ท่อรวบรวมน�้ำเสียที่ใช้ในปัจจุบันก่อสร้างมาพร้อมกับโรงพยาบาล วัสดุที่ใช้ท�ำท่อในอดีตอาจไม่
แข็งแรงเพียงพอส�ำหรับการใช้งานในระยะยาวขนาดนี้ อีกทั้งโรงพยาบาลหลายแห่งมีการทรุดตัว
ของดิน และมีการก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมเหนือแนวท่อ ท�ำให้ท่อรวบรวมน�้ำเสียเกิดความเสียหาย
ท่อช�ำรุดท�ำให้น�้ำเสียไหลออกจากท่อรวบรวม และมีน้�ำฝนไหลเข้าท่อรวบรวมในช่วงฝนตกหนัก
เมื่อเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวผู้ควบคุมจะต้องหาจุดที่น�้ำฝนไหลเข้าปริมาณมาก อาจท�ำโดยการเปิด
ฝาท่อเป็นช่วงของแต่ละแนวท่อ ตรวจสอบการไหลของน�้ำภายในท่อในช่วงฝนตก ถ้ามีน�้ำไหล
ในปริมาณมากและเป็นน�ำ้ ใสสะอาดแสดงว่ามีนำ�้ ฝนไหลเข้าให้รบี หาจุดทีน่ ำ�้ ฝนเข้าและหาทางแก้ไข
สาเหตุและแนวทางแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-1

ตารางที่ 5-1 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาท่อแตกหักช�ำรุด


สาเหตุ การแก้ไข
(1) วัสดุท�ำท่อไม่มีความทนทาน ท่อเก่า (1) เปลี่ยนท่อใหม่ที่ใช้วัสดุทนทาน และ
มีอายุการใช้งานนานมาก ดินทรุดตัว บ�ำรุงรักษาระบบท่อน�้ำเสียและท่อน�้ำฝน
ท�ำให้ท่อแตกหัก อย่างสม�่ำเสมอ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
132 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ปัญหาที่ 2 : ไม่มีข้อมูลระบบท่อน�้ำเสียและระบบท่อน�้ำฝน
จากการลงพื้นที่ส�ำรวจระบบบ�ำบัดน�้ำเสียของโรงพยาบาลในช่วงปีพ.ศ. 2562 – 2564
พบว่าโรงพยาบาลหลายแห่งไม่มีรายละเอียดของระบบท่อรวบรวมน�้ำเสียและระบบระบายน�้ำฝน
ไม่มแี บบแสดงแนวก่อสร้างระบบท่อรวบรวมน�ำ้ เสียและท่อระบายน�ำ้ ฝน สาเหตุและแนวทางแก้ไข
แสดงในตารางที่ 5-2
บทที ่ 5่ ่่ 555ปั่ ปั5ญปัปัญญ
บทที
บทที
บทที
บทที
หาต่

ปั
หาต่

าางๆ
หาต่
หาต่
หาต่า
า งๆ
งๆ
งๆ

และวิ
งๆและวิ
และวิ
และวิ
ธธธีกีกธีกธารแก้
และวิ ก

ารแก้
ารแก้


ไไขระบบ
ารแก้
ารแก้

ขระบบ
ไไขระบบ
ขระบบ
ขระบบ
ตารางที่ 5-2 สาเหตุและแนวทางแก้ไขไม่มขี อ้ มูลระบบท่อรวบรวมน�ำ้ เสียและท่อระบายน� ำ้ ฝน
บทที่ 5 ปัญหาต่างๆ และวิธีการแก้ไขระบบ
ตารางที ่ ตารางที
ตารางที5-2่ 5-2
ตารางที
ตารางที
สาเหตุ
่ ่ 5-2
5-2
่ 5-2
แสาเหตุ
ละแนวทางแก้
สาเหตุ
สาเหตุ
สาเหตุ
ไขไม่ไไขไม่
แสาเหตุ
แและแนวทางแก้
และแนวทางแก้
ละแนวทางแก้
ละแนวทางแก้
มขไม่
ีขม้อมมูีขีขมล้อ้อีขมูระบบท่
ไขไม่
ไขไม่
อรวบรวมน
มู้อลลมูระบบท่
ระบบท่
ลระบบท่
าเสีาเสี
ออรวบรวมน
รวบรวมน
อรวบรวมน
ยและท่
าเสีาเสี
อการแก้
และท่
ยยและท่
และท่
ยและท่
ระบายน
อออระบายนไขาฝน
ระบายน
ระบายน
อระบายน าฝน
าฝน
าฝน
าฝน
ตารางที
(1) ไม่่ 5-2 สาเหตุบสาเหตุ
มีการเก็ แแบบรายละเอี
ละแนวทางแก้
สาเหตุ ไยขไม่
สาเหตุ
สาเหตุ
สาเหตุ มีข้อมูลระบบท่
ดระบบท่ อ อ(1) รวบรวมน าเสียและท่การแก้
ส�ำรวจระบบท่ ออการแก้ ไไขไขขไยขไและน�
น�ระบายน
้ำเสี
การแก้
การแก้การแก้ ขาฝน ้ำฝน ข้อมูล
สาเหตุ การแก้ไข
(1) ไม่(1)ม(1)(1) มไม่รวบรวมน�
ีกไม่ารเก็
(1)
ไม่ ีกมมไม่บีกีการเก็
ารเก็ แบบรายละเอี
ีกบารเก็
มารเก็ บแบบรายละเอี
บแบบรายละเอี
แบบรายละเอี้ำเสียยดระบบท่
บแบบรายละเอี และแบบท่
ยยดระบบท่ ยดระบบท่
ดระบบท่ อรวบรวมน้
ยดระบบท่ ออออรวบรวมน้ ระบายน�
รวบรวมน้
รวบรวมน้
อรวบรวมน้าเสีาเสี
ยาเสี้ำาเสี
และยฝนยและ และ
ยและ (1)(1)
(1)
(1) ทีสารวจระบบท่
ต่ อ้ งการได้
สารวจระบบท่
สสารวจระบบท่
(1)ารวจระบบท่ อน้อออน้าเสี
น้น้าเสี
อาเสี แาเสี
น้ยก่าเสี ขนาดท่
ยและน้
ยยและน้ าฝน
และน้
และน้
ยและน้
าฝน
าฝน าฝน าฝน อข้ข้ข้ออวัข้อมูมูสข้อมูลลอมูดุลทีทีมูลทีแ่ต่ตลที่ตละสภาพท่
้อที้อ้่ตองการได้
่ตงการได้
้งการได้ แแแก่ก่ก่แแอก่ก่
อ้องการได้
งการได้
แบบท่ แบบท่อแบบท่
(1)
แบบท่ ไม่อตัมระบายน้
ระบายน้
แบบท่ อีก้งอระบายน้
แต่
ารเก็
ระบายน้ กบ่อแบบรายละเอี
าฝนตั
อ ระบายน้ สร้
าฝนตัาฝนตั าาฝนตั
้าฝนตั
ง แต่ งแล้
้ งก้ งแต่ ้ งกวกแต่
้ ง่ อแต่
สร้
แต่ ย่ เสร็
อก่าดระบบท่
องแล้
อ่สร้ ่ อจาาสร้
สร้
กสร้ างแล้
งแล้ หรื
วงแล้เสร็
าองแล้ วอวเสร็
วรวบรวมน้ จเสร็มีวหรื
กเสร็
เสร็จจาร
อหรื
มีาเสี
จหรืกอหรื
อาร กมีารารกขนาดท่
มียมีอกและ าร(1) อระดั
อวัอสวัดุวัอสบ
สารวจระบบท่
ขนาดท่
ขนาดท่
ขนาดท่
ขนาดท่ ท้แสและสภาพท่
ดุอละสภาพท่
แองท่
สแดุวัดุละสภาพท่ น้าเสี
ละสภาพท่
ละสภาพท่ อ ยทิอและน้ อศ ทางการไหลของน�
อระดั
อระดั
ระดับบบท้ท้บท้อบอท้ข้องท่
าฝน
อระดั
ระดั งท่ มูอองท่
ท้อองท่องท่ อลอทิทิทีทิอศ่ศตทิศ้ทิทางการไหล
อทางการไหล
งการได้
ศทางการไหล ้ำและ
ศทางการไหล แก่
ทางการไหล
เปลี่ยเปลี
นแปลงผู
แบบท่
เปลี
เปลี เปลี เปลี
่ย่ยนแปลงผู
่ยนแปลงผู นแปลงผู ับย่ ผิ้รดนแปลงผู
อ่ย้รนแปลงผู
ระบายน้ ับชอบ ับดไม่
้ร้รับผิับดผิ้รผิาฝนตั
ดชอบ ชอบ
ผิชอบ ู้สรไม่
ดรชอบ บั แต่
้ งถานที
ไม่ รผิรู้สรไม่
ไม่ ดู้สถานที
ู้สกถานที ่จชอบ
่ อรถานที ัดถานที
ู้สสร้ เก็่จา่จบัดงแล้ ไม่
เก็่จเก็บัดบวรบเก็เสร็
่จัดัดเก็ สู้ บถานที
จ หรื อจ่ มีดั กเก็ารบของน้ ขนาดท่
ของน้
ของน้ บ่ออาและบ่
าและบ่
ของน้
ของน้ าและบ่
าและบ่วัอตรวจ
สตรวจ อดุอตรวจ
แตรวจ จัจัดจัจัดจัทดดทท�
อละสภาพท่
ตรวจ ตรวจ ดำาแบบให้
าแบบให้ทอแบบให้
จัททาแบบให้ระดัถถูกบถูกถูกต้ท้ต้ถูกถ
าแบบให้
าแบบให้ ูกงต้องอต้งองอทิงศทางการไหล
ต้ออูกต้องงท่
เปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบ ไม่รู้สถานที่จัดเก็บ ของน้าและบ่อตรวจ จัดทาแบบให้ถูกต้อง

ปัญหาที ่ ปั3หาที
ปัญปัปัญหาที
ญ ญ:่หาที
หาที มี3ปั่ ่ น33:ญ ่ :มี3: มีนหาที
าฝนไหลปริ น่ าฝนไหลปริ
มี:นาฝนไหลปริ 3 :มาณมากเข้
นมีาฝนไหลปริ
าฝนไหลปริ มีนมม�้ำาณมากเข้
มาณมากเข้ มฝนไหลปริ
าณมากเข้
าณมากเข้ มตรวจของระบบท่
าบ่อาาาบ่ตรวจของระบบท่ อาณมากเข้
บ่บ่อาออบ่ตรวจของระบบท่
ตรวจของระบบท่
ตรวจของระบบท่ อารวบรวมน
บ่ออรวบรวมน
อรวบรวมน
อตรวจของระบบท่
อรวบรวมน รวบรวมน าเสี าเสี
าเสียาเสี
าเสี ยยย ย อรวบรวมน�้ำเสีย
ปัญปัหาที ปั่ 3ญญาฝนจ หาน�
ปั:หาน้มีนหาน้ ้ำฝนจ�
าฝนไหลปริ ำานวนมากไหลเข้
นวนมากไหลเข้
มาณมากเข้ าระบบท่ อารวบรวมน้
บ่าอระบบท่ ระบบท่
ตรวจของระบบท่ อาเสีรวบรวมน�ยอส่าเสี
ยรวบรวมน ว้ำนใหญ่ เสีจะเกิ จยาเสี ส่ะเกิ
จดวยะเกิ
ดนใหญ่ จเวณฝาบ่
ะเกิ ดขึออ้ตรวจที
นตรวจทีบริ เวณฝาบ่ ่ใ่ในน่ใ่ใอนน
ญหาน้ปัปัญปัญหาน้ หาน้
ญ าฝนจาฝนจ
าฝนจาฝนจ านวนมากไหลเข้
านวนมากไหลเข้ านวนมากไหลเข้
านวนมากไหลเข้ าาาระบบท่
าระบบท่ ระบบท่ อออรวบรวมน้
รวบรวมน้
อรวบรวมน้
รวบรวมน้ าเสี
าเสี
าเสี ยยวส่ส่ส่นใหญ่
ยวววนใหญ่
ส่นใหญ่
นใหญ่ จจะเกิ
ะเกิ ขึดดขึ้นขึขึด้น้บริ
น้นขึบริ
บริ
้นบริ
เบริ
เวณฝาบ่
วณฝาบ่
เวณฝาบ่
เวณฝาบ่ ออตรวจที
ตรวจที ่ต่ตั้งั้ง่ตอยู
่ตอยู
ั้งั้งอยู
อยู
ตรวจที ปั่ตญั้งีน่ม้าท่
มขัหาน้
อยู ่ใวสาเหตุ
นบริ
าฝนจ เงานวนมากไหลเข้
วณที ่มีนนืงจากบ่ �้ำ่อท่งจากบ่
วมขั งอตรวจอยู
าตรวจอยู
ระบบท่ สาเหตุ รเบะดั
่ระดัอ่่รร่รรวบรวมน้
นืเดี่อวกั
งจากบ่
ยาเสี บส่อถนน
ยถนน วตรวจอยู
นใหญ่ ป่ จ่ 5-1) ่ ่ร5-1)
ะเกิ ะดั้อนบบ่ตรวจช
บ่ดบ่อบ่ขึบ่อตรวจช
เดี
บริ เยวณฝาบ่
วกั บดแตกเสี
ถนนดอแตกเสี
ตรวจที ยย(รู ่ป
ตหายั้งทีอยู ่(รูป5-1)
่ใป(รูนทีทีป่ ่ ที่
บริบริ
บริเวณที บริ
เวณที ่มเบริ
เวณที
วณที
ีนเ้าท่
วณที
่มีน่มว่มีน้าท่ ้าท่
ีนวงมขั
ว้าท่ มขั
มขั
วงมขั
งงสาเหตุ
สาเหตุ
สาเหตุ เนืสาเหตุ นืเเนืนื่อ่อเ่องจากบ่
่อเงจากบ่ งจากบ่ อออตรวจอยู
อตรวจอยู ตรวจอยู บะดั
ะดั
่เดี
ะดั บบยเดี
เดีบยยเดี
ยวกัวกั
บวกั บวกั
บบถนน
ถนน ถนน (รู (รูป(รู(รูทีปปป(รูที่ ทีที5-1)่ ที5-1)
5-1) อตรวจช อตรวจช
ตรวจช ารุารุารุ
ารุ ดดารุ
แตกเสี
ดแตกเสี
แตกเสี ยหาย
หาย
ยยหาย
หาย (รู(รู (รูปทีป่ที่
บ่5-2)
บริ5-2)อ เ ตรวจช�
วณที
5-2) ่ ม น
ี ้ ำ
าท่ รุ ว ด แตกเสี
มขั ง สาเหตุ ย หาย
เ นื ่ อ งจากบ่ (รู ป ที
อ ่ 5-2)
ตรวจอยู ่ ฝาบ่
ร ะดั บ อ ตรวจแตกหั
เดี ย วกั บ ถนน (รู ก
ป ที (รู
่ 5-1) ป ที ่
บ่ อ 5-3) ตรวจช และผนั
ารุ ด แตกเสี ง บ่ย อ ตรวจแตก
หาย (รู ป
นนนที้า้า้านน่ ้า้า
5-2)5-2)
ฝาบ่ อฝาบ่
ฝาบ่ ฝาบ่ อฝาบ่
ตรวจแตกหั ออตรวจแตกหั
ตรวจแตกหัตรวจแตกหั
อตรวจแตกหั ก (รูกปกก(รูที(รูก(รู่ ป5-3) ปปที(รูทีที่ ป่ 5-3)
่ 5-3)
ที5-3)
และผนั่ 5-3)และผนั
และผนั
และผนั
และผนั งบ่องงงบ่ตรวจแตกช
บ่บ่อองอบ่ตรวจแตกช
ตรวจแตกช
ตรวจแตกช
อตรวจแตกช ารุารุ ารุทัดารุ
ดารุ ดด้งทัทัทัจากการก่
ด้ง้ง้งจากการก่
ทัจากการก่
้งจากการก่
จากการก่ ออสร้ ออสร้
สร้
อาาสร้
สร้ างและจากการเชื
างและจากการเชื
งและจากการเชื างและจากการเชื
งและจากการเชื ่่ออ่อมท่
่อมท่
มท่่อมท่
มท่
อออทททออาให้ ทาให้
ทาให้
าให้ าให้
ช�ำดใต้
5-2) รุดฝาบ่ ทัินมมซึเข้้งเข้อมจากการก่
ตรวจแตกหั อกปสร้ (รู่ าป่ 5-4)
งและจากการเชื
ที่ ่5-4) 5-3) และผนั งบ่อ่อตรวจแตกช มท่อท�ไไขแสดงในตารางที
ำไให้ ารุนด�้ำทัใต้ ดินซึ่ม่ 5-3
้งจากการก่ เข้่ อ5-3
าบ่าองและจากการเชื
สร้ ตรวจ (รูปที่อมท่ 5-4) อทาให้ สาเหตุ น้า
ใต้ดินใต้ซึใต้ดใต้
มินเข้ดซึินินามดซึซึบ่เข้
อาตรวจ บ่าาเข้บ่อบ่อตรวจ
าอบ่ตรวจตรวจ
(รูอตรวจ
ปที(รู(รู่ (รูป5-4)
ทีป(รูที่ทีป5-4)
ที5-4)
สาเหตุ สาเหตุ
สาเหตุ สาเหตุ
แสาเหตุ
แแและแนวทางแก้
ละแนวทางแก้
ละแนวทางแก้
และแนวทางแก้
ละแนวทางแก้ ขแสดงในตารางที
ไขแสดงในตารางทีขแสดงในตารางที
ไขแสดงในตารางที ่ 5-3 ่ 5-3
5-3
และแนวทางแก้
ใต้ ดินซึมเข้าบ่อตรวจไขแสดงในตารางที ่ 5-3
(รูปที่ 5-4) สาเหตุและแนวทางแก้ ไขแสดงในตารางที่ 5-3

รูรูปปทีรูทีรูรูป่รูปป5-1
่ ปทีรูทีที5-1
ทีป่ ่ 5-1ที5-1
่ ่ 5-1
่ 5-1
ฝาบ่
ฝาบ่
ฝาบ่ฝาบ่
ฝาบ่อออตรวจอยู

ตรวจอยู
อตรวจอยู
ตรวจอยู
ตรวจอยู
ฝาบ่อตรวจอยู่ระดัระดั
5-1
่ร่ระดั

่ ร
่ ะดั่รบะดั
ะดั
ะดั บ
บเดีเดีบยเดี
บเดีบเดี บ
เดี
ยวกั
ยวกั
เดี

วกั
ยวกั

วกั
บบพืพืบนถนน
ยวกับพืวกั
บ พื
บพืนถนน
นถนน
บพืนถนน
พื้นถนน
นถนน
นถนน

ก ข ค
รูรูปปรูทีทีป่ ่ 5-2
ที5-2
่ 5-2
บ่บ่ออบ่ตรวจแตกช
ตรวจแตกช
อตรวจแตกช
ารุารุดารุ
ดจาก
จาก
ดจาก
(ก)
(ก)(ก)
รากของต้
รากของต้
รากของต้
นนไม้ไม้
นไม้ (ข)
(ข)(ข)
และ
และ
และ
(ค)
(ค)(ค)
ถูถูกกถูเจาะเพื
เจาะเพื
กเจาะเพื
่อ่อระบายน
ระบายน
่อระบายน
าล้
าล้าาล้
างถั
งถัางงถั
งขยะ
ขยะงขยะ
รูปรูทีปที่ 5-2
่ 5-2บ่บ่ออตรวจแตกช
รูปทีรากของต้
รูปที่ 5-2 บ่อตรวจแตกชารุดจาก (ก) ตรวจแตกชารุารุดดจาก
่ 5-2 บ่นอไม้
ตรวจแตกช� จาก (ก) รากของต้นนไม้
ำรุดถูจาก
(ข) และ (ค) ไม้ (ข)
กเจาะเพื่อระบายนาล้างถังขยะ (ข) และ
และ(ค)
(ค)ถูถูกกเจาะเพื
เจาะเพื่อ่อระบายน
ระบายนาล้าล้
างถั
างถังขยะ
งขยะ
ก รากของต้นไม้ ข และ ค ถูกเจาะเพื่อระบายน�้ำล้างถังขยะ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 133
รูปรูทีป่ ที5-2
่ 5-2บ่อบ่ตรวจแตกช
ตรวจแตกชารุารุ
ออตรวจแตกช ารุดดดจาก
จาก(ก)
จาก (ก)รากของต้
(ก) รากของต้นนนไม้
รากของต้ ไม้ (ข)และ
ไม้(ข) และ(ค) เจาะเพื
(ค)ถูถูกกเจาะเพื
เจาะเพื ่อระบายน
ระบายน
่อ่อระบายน าล้าล้าล้
าางถังงถั
างถั งขยะ
งขยะ
ขยะ

รูรูปปทีที่ ่ 5-3
รูปรูปทีที่ ่ 5-3
5-3ฝาบ่
5-3 ฝาบ่ บทที
บทที่ ก5่ เสี5ปักยปัเสี
ฝาบ่ออตรวจแตกหั ญ ญยหาต่
ตรวจแตกหักกเสีเสียยหาย
บทที
ฝาบ่ออตรวจแตกหั
ตรวจแตกหั หาย หายาางๆ
หาย
หาต่ งๆ และวิ
และวิธธธีกีกีการแก้
ารแก้
ารแก้ไไขระบบ
ขระบบ

4-130
4-130
4-130

รูปรูทีรูปป่ ที5-4
ที่ 5-4
่ 5-4
ผนัผนั
ผนั
งบ่งงบ่อบ่อตรวจแตกช
อตรวจแตกช
ตรวจแตกช
ารุารุารุ
ดดจากการก่
ดจากการก่
จากการก่ออสร้
อสร้สร้าางและการเชื
างและการเชื
งและการเชื่อ่อมท่
มท่ออนนาเสี
าเสียยเข้
เข้เข้าาาบ่บ่บ่อออตรวจ
ตรวจ
ตรวจ
รูปที่ 5-4 ผนังบ่อตรวจแตกช�ำรุดจากการก่อสร้างและการเชื่อมท่อน�้ำเสียเข้าบ่อตรวจ
ตารางที
ตารางที
ตารางที ่ 5-3
่ 5-3่ 5-3สาเหตุ
สาเหตุ
สาเหตุ แและแนวทางแก้
ละแนวทางแก้
และแนวทางแก้ ไขนไขน
ไขนาฝนไหลเข้
าฝนไหลเข้าาบ่าบ่อบ่อตรวจ
าฝนไหลเข้ อตรวจ
ตรวจ
ตารางที่ 5-3 สาเหตุสาเหตุ
แสาเหตุ
ละแนวทางแก้ไขน�้ำฝนไหลเข้าบ่อตรวจ การแก้
การแก้ไไขไขข
สาเหตุ การแก้
สาเหตุ การแก้ไข
(1)(1)ฝาบ่
(1)ฝาบ่
ฝาบ่ออตรวจอยู
ตรวจอยู
อตรวจอยู ่ ร่ ระดับะดัต่บบาเท่
่ ระดั ต่ต่าเท่
าเท่
าพืาาพื้ นพื้ นถนน้ นถนน
ถนนและอยู
และอยู
และอยู
่ ใ่นแนวทาง
ในแนวทาง
่ ในแนวทาง (1)
(1)(1)หาทางยกขอบฝาท่
หาทางยกขอบฝาท่
หาทางยกขอบฝาท่อออรวบรวมน้ รวบรวมน้าเสี
รวบรวมน้ าเสียยยให้
าเสี ให้ให้สสสูงูงกว่
ูงกว่
กว่าาพืาพืพื้น้น้นถนน
ถนนหรืหรื
ถนน หรือออ
(1)
ระบายน้ ฝาบ่
ระบายน้ าฝน อ
าฝน ตรวจอยู
น้น้าฝนไหลเข้
าฝนไหลเข้ ร
่ ะดั บ ต� ำ
่ เท่ า พื น
้ ถนน และ (1) หาทางยกขอบฝาท่ อ รวบรวมน� ำ
้ เสี ย ให้ ส ูง
ระบายน้ าฝน น้าฝนไหลเข้ าท่าอท่าท่ได้
ออได้งได้่างย่างย่าย ป้ป้อป้องกั
องกังกันนน้นน้าฝนไหลเข้
น้าฝนไหลเข้
าฝนไหลเข้าาท่ท่าท่อออ(รู(รู(รูปปปทีทีที่ ่ 5-5)
่ 5-5)
5-5)
อยู่ในแนวทางระบายน�้ำฝน น�้ำฝนไหล กว่าพื้นถนน หรือป้องกันน�้ำฝนไหลเข้าท่อ
(2)(2)การระบายน้
(2)การระบายน้
การระบายน้ าฝนออกจากบางพื
าฝนออกจากบางพื
เข้าท่อาฝนออกจากบางพื
ได้ง่าย ้น้นที้นที่ไทีม่่ไม่่ไดม่ดี ทดี ที าให้
ทาให้
าให้
นน้าฝนไหล
น้าฝนไหล
้าฝนไหล (2)(2)แก้แก้ไขการระบายน้
(2) แก้(รู ไขการระบายน้าาาและแก้
และแก้ไขฝาบ่
ไขฝาบ่ออตรวจ
ตรวจยกขอบฝาท่
ยกขอบฝาท่ออ
ปที่ 5-5) และแก้ไขฝาบ่อตรวจ ยกขอบฝาท่อ
ไขการระบายน้
เข้เข้าท่าท่ออรวบรวมบริ
รวบรวมบริเวณฝาบ่
เวณฝาบ่ออตรวจ
ตรวจ
เข้า(2)
ท่อรวบรวมบริ เวณฝาบ่้ำอฝนออกจากบางพื
การระบายน� ตรวจ ้นที่ไม่ดี (2) แก้ไขการระบายน�้ำ และแก้ไขฝาบ่อตรวจ
(3)(3)บ่บ่อท�อตรวจแตกหั
ตรวจแตกหั
ำให้น�้ำกฝนไหลเข้กกเสีเสียยหายจากรากต้
หายจากรากต้
าท่อรวบรวมบริ นนไม้ไม้และบ่
และบ่อวณ อตรวจถู
ตรวจถูกก (3)(3)ซ่ซ่อยกขอบฝาท่
อมบ่มบ่ออตรวจที
ตรวจที่แ่แตกหั ตกหัอ กกกและอุ
และอุดดรูรรูั่วรทีั่วที่ถ่ถูกูกเจาะ
เจาะ
(3) บ่อตรวจแตกหั เสียหายจากรากต้ นไม้ และบ่อเตรวจถู ก (3) ซ่อมบ่อตรวจที่แตกหั และอุดรูรั่วที่ถูกเจาะ
เจาะเพื
เจาะเพื่อ่อระบายน้
ระบายน้าในบางพื
าในบางพื้น้นทีที่ ่
เจาะเพื่อฝาบ่ ระบายน้ อตรวจาในบางพื้นที่
(3)
(4)
(4)ฝาบ่
ฝาบ่บ่ออตรวจแตกหั
(4) ฝาบ่อตรวจแตกหัก
ตรวจแตกหั
ตรวจแตกหั กก กเสียหายจากรากต้นไม้ (3)
(4)
(4)เปลี ซ่่ยอ่ยนฝาบ่
เปลี มบ่ออตรวจที
นฝาบ่
(4) เปลี่ยนฝาบ่อตรวจที่แตกหัก
ตรวจที
ตรวจที่แ่แตกหั ่แตกหั
ตกหั
กก ก และอุดรูรั่ว

(5)(5)บ่บ่อและบ่
ตรวจมีรออยแตก
อตรวจมี รตรวจถู
อยแตกหรืหรื กอเจาะเพื
อมีมีกการเชื ่อมท่
ารเชื่อ่อมท่ระบายน� ้ำในบาง
ออเข้เข้าบ่าบ่ออตรวจแล้
ตรวจแล้ วปิวปิดด (5)(5)ซ่ซ่อทีอมแซมรอยแตกของบ่
่ถูกเจาะ
มแซมรอยแตกของบ่ ออตรวจ
ตรวจปรัปรับบพืพื้น้นดิดินนรอบ รอบๆๆให้ให้เรีเยรียบบ
(5) บ่อตรวจมี พื น
้ รอยแตก
ที ่ หรือมีการเชื่อมท่อเข้าบ่อตรวจแล้วปิด (5) ซ่อมแซมรอยแตกของบ่อตรวจ ปรับพื้นดินรอบ ๆ ให้เรียบ
งานไม่
งานไม่เรีเยรียบร้บร้ออยยพืพื้น้นดิดินนรอบบ่
รอบบ่ออตรวจเป็
ตรวจเป็นนหลุหลุมมททาให้ าให้มมีนีน้าฝนขั
้าฝนขัง ง สูสูงกว่
งกว่าพืาพื้น้นทีที่เดิ่เดิมม(รู(รูปปทีที่ 5-5)
่ 5-5)
งานไม่
เข้(4)
เ รี ย บร้ อ ย พื
ฝาบ่อตรวจแตกหั
เข้าตามรอยแตก
าตามรอยแตก
้ น ดิ น
ททาให้
รอบบ่ อ ตรวจเป็
าให้นน้าฝนไหลเข้ ก าปริ
้าฝนไหลเข้
น หลุ ม
าปริมมาณมาก

าณมาก
าให้ ม น
ี ้ าฝนขั ง สู งกว่ า พื น
้ ที เ
่ ดิ ม
(4) เปลี่ยนฝาบ่อตรวจที่แตกหัก (รู ป ที ่ 5-5)
เข้าตามรอยแตก ทาให้น้าฝนไหลเข้าปริมาณมาก
(5) บ่อตรวจมีรอยแตก หรือมีการเชือ่ มท่อเข้า (5) ซ่อมแซมรอยแตกของบ่อตรวจ ปรับพืน้ ดิน
บ่อตรวจแล้วปิดงานไม่เรียบร้อย พื้นดิน รอบ ๆ ให้เรียบสูงกว่าพืน้ ทีเ่ ดิม (รูปที่ 5-5)
รอบบ่อตรวจเป็นหลุมท�ำให้มีน�้ำฝนขังเข้า
ตามรอยแตก ท�ำให้นำ�้ ฝนไหลเข้าปริมาณมาก

รูรูปปทีที่ 5-5
่ 5-5ขอบบ่
ขอบบ่ออตรวจยกระดั
ตรวจยกระดับบสูสูงงกว่กว่าาพืพืนถนน
นถนน
(5) (5)
บ่อตรวจมี
บ่(5)อตรวจมี รอยแตก
บ่อตรวจมี รอยแตกรอยแตก หรืหรือมีอหรื
กมีารเชื
มีก่อารเชื
กอารเชื ่อมท่
มท่อ่ออเข้
เข้าาอบ่บ่เข้ออตรวจแล้
มท่ าตรวจแล้
บ่อตรวจแล้ ววปิปิดดวปิด(5)
(5) ซ่(5)
ซ่ออมแซมรอยแตกของบ่
ซ่มแซมรอยแตกของบ่
อมแซมรอยแตกของบ่ อตรวจ
อตรวจ ปรัปรั
อตรวจ พืบ้นบพืดิพืน้น้นรอบ
บปรั ดิดินนรอบ
ๆ ให้ๆๆเรีให้
รอบ ให้ยบเเรีรียยบบ
งานไม่ เงานไม่
รียเบร้
งานไม่ รียบร้อเรียยอบร้
พืย้นอพืดิย้นนดิพืรอบบ่
น้นรอบบ่ อตรวจเป็
ดินรอบบ่อตรวจเป็ นนหลุ
อตรวจเป็ หลุนมมหลุ
ททาให้ มทมาให้
าให้ มีนีน้าฝนขั
้าฝนขั
มีน้าฝนขังง งสูสูงงกว่
กว่
สูงาากว่
พืพื้นา้นทีพืที่เ้นดิ่เดิทีมม่เดิ(รูม(รูปทีป(รู่ทีป5-5)
่ ที5-5)
่ 5-5)
เข้า134
ตามรอยแตก คู
เข้าตามรอยแตก ม
่ อ

เข้าตามรอยแตก ท
การควบคุ าให้ น

ทาให้ทนาให้ าฝนไหลเข้

และบ� ำ รุ ง
้าฝนไหลเข้รั ก
น้าฝนไหลเข้ า ปริ ม
ษาระบบบ�าณมาก
าปริามปริ ำ บั
าณมาก ด
มาณมาก น� ำ
้ เสี ย โรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

รูรูรูปปปทีทีทีรู่ ่ ป่5-5
5-5
ที่ 5-5
ขอบบ่
5-5ขอบบ่
ขอบบ่
ออตรวจยกระดั
ขอบบ่
ตรวจยกระดั
อตรวจยกระดั
อตรวจยกระดั
บบสูสูงบงกว่
สูงากว่พืพืนถนน
านถนน
บกว่สูงากว่
พืนถนน
าพื้นถนน

ปัญหาที่ 4 : ท่อรวบรวมน�้ำเสียเกิดการอุ บททีดตั่ 5น ปัน�ญ ้ำเสีหาต่ างๆ และวิ


ยไหลไม่ สะดวกธีกค้ารแก้ ไขระบบ
างในท่ อ
บทที
บทที
บทที ่ ่ 5ปั่ ญปั5่ 5ญ
บทที
5 ปัปัหาต่
หาต่ างๆ
ญญาหาต่
หาต่
งๆ า และวิ
าและวิ
งๆงๆและวิ
และวิ
ธ ก
ี ธารแก้
ีกธธารแก้
ีกีการแก้
ไ ไขระบบ
ารแก้ ไไขระบบ
ขระบบ ขระบบ
ปัญหาที่ 4 : ท่อรวบรวมนและเกิ
าเสียเกิดดกลิ ่นเหม็
การอุ ดตันนนาเสียไหลไม่บทที
สะดวก ่ 5 ค้ปัาญงในท่
หาต่อ าและเกิ
งๆ และวิ
ดกลิ่นธเหม็ีการแก้
น ไขระบบ
ปัปัญญปัหาที
หาทีญปัหาที ท่่ ่ท่ญ44ออหาที
::รวบรวมน�
่ ท่4ท่ออ่:รวบรวมน
รวบรวมน้ 4รวบรวมน
ท่:อท่รวบรวมน
อาเสี ้ำเสีาเสี
รวบรวมน ย ยยอาจเกิ
าเสี
อาจเกิ ยเกิเกิาเสี
าเสี ยดดเกิการอุ
ดยดดการอุ
เกิการอุ
การอุ การอุ ด ตันตันดนนดตัจากเศษวั
ดดตัการอุ นตัตัาเสี
ดนาเสี นนนยจากเศษวั นยไหลไม่
าเสี
ไหลไม่ าเสี ยสไหลไม่
ยดุสไหลไม่ส่อะดวก
ะดวก
ก สสร้
สดุะดวก สาค้กะดวก
ง า่อค้งในท่
สร้
เช่ ค้นาค้าดิองในท่
างในท่ างงในท่
น อเช่
และเกิ
และทราย อนอและเกิ
และเกิ ดดิและเกิ
นดและทราย
กลิ ่นกลิ
ดหรืเหม็ ่นกลิ
ดกลิ อเหม็ นหรื
นจากขยะที
น่นเกิ่นเหม็
เหม็ น อเกิด่ทจาก
ขยะที ปั่ทญิ้งลงในท่ หาที่ 4 :อท่อ(รู รวบรวมนป ที ่ 5-6 าเสียและ เกิดการอุ 5-7) ดตันและตะกอนสารอิ นาเสี
4-131 4-131 ยไหลไม่สะดวกนค้ทรี างในท่ย ์ ท ่ ี ค อ้าและเกิ
งอยู ่ ใ ดนท่ กลิอ่นเกิ เหม็ดนการเน่าิ้งเสีลงใน


ท่อ (รูปที่ 5-6 ท่ อ รวบรวมน้
ท่
รวบรวมน้อ รวบรวมน้
ท่อรวบรวมน้
และ าเสี ย
าเสีอาจเกิ
าเสียและตะกอนสารอิ
5-7) อาจเกิ ย อาจเกิ
าเสียดอาจเกิ ด การอุ

การอุดตัการอุ การอุด ตั น ด
นนจากเศษวัจากเศษวั
ตั น จากเศษวั
ดตัยน์ทจากเศษวั
ทรี ี่คส้าดุงอยูส ดุ
ก่อสร้ ก
ส ่ อ
ดุ สร้
ก ่ อ า
สร้ ง เช่

่ใสสนท่ดุดุางกกอ่่ออเช่เกิสร้ ง นเช่
นาดิงนเช่และทราย ดิ
น น และทราย
ดิ น และทราย
น ดินและทราย ส่งหรื หรื
กลิอ่นเกิเหม็ อ
หรื เกิ อ
ดหรืจากขยะที ด จากขยะที
อเกิดจากขยะที
เกิ ด จากขยะที
่ทิ้งลงใน ่ทิ้งส่ทลงใน
่ทิ่งิ้งขัิ้งลงใน
ลงใน
ท่อรวบรวมน้ าเสียอาจเกิดการอุ ดตันจากเศษวั 4-131 สร้ดาการเน่ ง เช่น าดิเสีนยและทราย หรืนอเกิเนืด่อจากขยะที งจากมี ่ทิ้งลงใน ดขวาง
ท่ส่องกลิ
ท่(รูอปน
การไหลของน้
่ ท่ที(รูอเหม็
่ ป5-6 (รูทีป่ น5-6
และ ่ เนื
ทีและ อ่ 5-7)
ยและ
5-6 5-7) งจากมี
และ 5-7) สงิ่นและตะกอนสารอิ
และตะกอนสารอิ ขั้าเสี
และตะกอนสารอิ
และตะกอนสารอิ
5-7) ดขวางการไหลของน� นนทรีทรี ์ทยทรี
นี่ค์ททรี
สยนะดวกและส่ ้าี่คยงอยู
์้ทายงอยู
ี่ค์ท้า่ใีคนท่
งอยู ำงอยู
้ งอเสี
้า่ในท่ อ่ใยเกิ
่ใเกินท่ ในท่
อดเกิ
ดนท่
การเน่ เกิดอการเน่
อการเน่ ดาท�การเน่
เสีำายให้
เสีส่ายงนเสีำ�้ เสี
ส่เสี
นยงภายหลั
ากลิ กลิ งยกลิ
่นยส่ส่เหม็ ไหลไม่
ง่นกลิเหม็
น่ ่นเหม็ นสิ่อเนื
เนืเหม็ สนกี่อเนื
น่งงจากมี ะดวกและส่
งจากมี
เนื ิ่งขัสด่พิ่งขวาง
่อ่องจากมี
สงจากมี สิ่งดิ่งขังขวาง
สขับได้ ขัดผลให้
ดขวาง ขวาง
ท่อ (รูปาเสี ที่ 5-6 ในท่ และอท5-7) าให้ ยไหลไม่
และตะกอนสารอิ นทรีย์ที่ค้างอยู ผลให้่ในท่เอกิเกิดดการอุ การเน่ดตัาเสี ยส่งกลิ่นงเหม็ น ดเนืขวางที ่องจากมี สิ่งขัดแขวาง ก่ เศษ
เกิ ด การอุ
การไหลของน้
การไหลของน้ การไหลของน้
วัสดุที่หการไหลของน้
ลงเหลือจากการก่
ด ตั
าเสีน
าเสี ยภายหลั
ยาเสี
ในท่
ในท่ ยในท่
าเสี ออยททในท่ง อทสินอาให้
าให้
าให้ น่ง้าเสี
อสร้อาทงาให้ ท กี
้าเสี
าให้นดย้าเสี
ขวางที
ยไหลไม่
ไหลไม่
น ้
(รูนป้าเสีาเสี ยไหลไม่
ที่ 5-8ย ส ส่พะดวกและส่
ไหลไม่ บได้
สะดวกและส่
ะดวกและส่
ก และ ส แ
ะดวกและส่ก่ ง
ข) และขยะที
เศษวั
งผลให้
ผลให้ งผลให้
เง ส
กิ เดดุกิการอุ
ผลให้ ดทเกิการอุ

่ ี เดกิลงเหลื
การอุ
ด ดนตัภายหลั
ตั
การอุ อนจากการก่
ดนดตัภายหลั
ตั นภายหลั ภายหลั
ง ง่ กีสิงด่งงขวางที
สิ กีสิสิด่งอ่งกีขวางที
สร้
ดดขวางที
กี ่ พ า
ขวางทีง
บได้่พ(รู ่พ่พก่ปบได้
บได้
แ ที
แก่่ แ5-8
บได้
เศษ แ ก่ก่ เศษ
เศษ ก
เศษ
าเสียในท่ ยไหลไม่ สะดวกและส่ งผลให้่ผเกิู้ใช้ดบการอุ ริการทิ ดตัน้งภายหลั ลงท่อ (รูง สิป่งทีกี่ ด5-8 ขวางที ค) ่พการตรวจสอบ
บได้แก่ เศษ
วัและ
สดุวัทสี่หข) ทสี่หดุและขยะที
ดุวัลงเหลื ทลงเหลื
ี่หออลงเหลื อจากการก่
จากการก่
จากการก่ ่ผตรวจและสั
ู้ใอช้อสร้สร้
อจากการก่ บาอริางสร้
กงออ(รูารทิ
าปงปทีา(รูทีง่ ้ง5-8
(รูสร้ ่ป(รูลงท่
5-8 กอ่ และ
ทีป่ กที5-8 5-8(รู
ก กและ
และ ปข)ข)ทีและ ่ และขยะที
5-8
ข)ข)และขยะที
และขยะที ค)สาเหตุ
และขยะที ่ผู้ใการตรวจสอบท�
่ผชู้้ใบช้่ผริบกู้ใ่ผช้ริารทิ
ู้ใกบช้ารทิ
บริก้งริลงท่
ารทิ
ก้งารทิ
ลงท่ อ้งลงท่ อำปได้
้ง(รูลงท่ (รูอทีอป่ โ(รู5-8
ดยการเปิ
ที(รูป่ ป5-8
ทีค)
ที่ 5-8
่ 5-8 ค)ดการตรวจสอบ
ค) ค)การตรวจสอบ
การตรวจสอบ ฝาบ่
การตรวจสอบ อตรวจ
ทาได้โดยการเปิ วัสดุที่หลงเหลื ดฝาบ่ออจากการก่ สร้งาเกตการไหลของน้
ง (รูปที่ 5-8 ก และาเสี ข)ยและขยะที แ่ผละแนวทางแก้
ู้ใช้บริการทิ้งลงท่ ไขแสดงในตารางที
อ (รูปที่ 5-8 ค) การตรวจสอบ ่ 5-4
าได้ทโาได้
ทและสั โดยการเปิ
ทงเกตการไหลของน�
ดยการเปิ
าได้
ดยการเปิ โดยการเปิ
ดดฝาบ่ ดฝาบ่
ฝาบ่ อตรวจและสั
ออดตรวจและสั
ฝาบ่
ตรวจและสั อตรวจและสั งเกตการไหลของน้
้ำเสีงยเกตการไหลของน้
สาเหตุ
งเกตการไหลของน้ งเกตการไหลของน้ และแนวทางแก้ าเสีาเสี ย าเสี ยสาเหตุ
าเสีย ยสาเหตุ
สาเหตุ ไละแนวทางแก้
แสาเหตุ และแนวทางแก้
แขแสดงในตารางที
ละแนวทางแก้ และแนวทางแก้ ไขแสดงในตารางที ไขแสดงในตารางที
ไขแสดงในตารางที ่ 5-4 ่ 5-4่ 5-4่ ่่ 5-4
ไขแสดงในตารางที 5-4
ทาได้โดยการเปิดฝาบ่อตรวจและสั งเกตการไหลของน้ าเสีย สาเหตุ และแนวทางแก้ไขแสดงในตารางที 5-4

ก ข ค
(ก)
(ก)(ก)(ก)
(ก) (ข)(ข)(ข)
(ข)(ข) (ค)(ค)(ค) (ค)
(ค)
(ก) รู ป ที ่ 5-6 น� ำ
้ เสี ย (ข) อรวบรวม
ไหลในท่ (ค)
รูรูปปทีทีรู่่ ป5-6
รู
5-6 ป ที
น ่ าเสี
น่ าเสี
ทีรูป่ 5-6 5-6
าเสีย ไหลในท่
น าเสี ย
ยยนไหลในท่
นาเสี ไหลในท่ ไหลในท่

ยไหลในท่ รวบรวม

ออรวบรวมรวบรวม
รวบรวม
อรวบรวม(ก)
(ก) น าเสี
(ก)(ก) (ก) ย
นาเสี
น(ก) ไหลแบบปกติ

นาเสี
าเสี าเสี ย ไหลแบบปกติ
ยยไหลแบบปกติ
ไหลแบบปกติ
ยนไหลแบบปกติ (ข) น าเสี
(ข)(ข)(ข)
น(ข)ย จากท่
น าเสี
นนาเสี
าเสี ย
อ จากท่
ด้
จากท่า นบนไหลช้
อ ด้ า นบนไหลช้
อด้อาออด้นบนไหลช้
ยยจากท่
ยาเสี
จากท่ า จากการมี
ด้ด้าาานบนไหลช้
นบนไหลช้ าจากการมีาาาจากการมี
าจากการมี
จากการมี
ที 5-6 าเสี ย ไหลในท่ อ รวบรวม าเสี ย ไหลแบบปกติ จากท่ นบนไหลช้ จากการมี
ตะกอนสะสม ก น� ำ
้ เสี
ตะกอนสะสม
ตะกอนสะสม
ย ไหลแบบปกติ
(ค) ตะกอนสะสมในท่
(ค) ข
ตะกอนสะสมในท่ น�
อ นอาเสี ำ
้ เสี ย
อนาเสี จากท่
ยไหลได้
นาเสี อ ด้
ยชไหลได้
้าและเกิา นบนไหลช้
ช้า้าชชและเกิ
้าดและเกิ า จากการมี
กการสะสมของตะกอนเพิ
ดกการสะสมของตะกอนเพิ ต ะกอนสะสม
่มขึนเรื่ม่อม่มขึยขึขึนเรื
นเรื
ๆ ่อ่อย่อยยๆๆๆ
ตะกอนสะสม
ตะกอนสะสม ตะกอนสะสม (ค)(ค)
(ค) ตะกอนสะสมในท่
ตะกอนสะสมในท่
ตะกอนสะสมในท่
(ค) ตะกอนสะสมในท่ อ นอนาเสีอ าเสี ยยไหลได้
ไหลได้
ยนไหลได้
าเสี ช้าชและเกิ
ยไหลได้ และเกิ กการสะสมของตะกอนเพิ
ดกการสะสมของตะกอนเพิ
ดกการสะสมของตะกอนเพิ
้าและเกิ ดกการสะสมของตะกอนเพิ ่มขึนเรื่มขึนเรื ่อนเรื
ย ่อๆย ๆ
ค ตะกอนสะสมในท่อ น�้ำเสียไหลได้ช้าและเกิดการสะสมของตะกอนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ

ก ข ค
(ก) (ก) (ข) (ข) (ค) (ค)
(ก) (ก) (ข)(ข) (ค)(ค)
(ค)
รูปที่ 5-7
รูปทีลั่ 5-7 กรู(ก)
ษณะท่
(ก)ปทีลัก่ 5-7 อ
ลักอุอษณะท่
ษณะท่ ดอุตัดตันนออุ(ก)
กดตัและ
และ
น (ก)(ข)และ (ข)
น� ำ
้ ยเสี
(ข)(ข)
ข นาเสี ย
ล้นนาเสีล้
ฝาบ่ยนล้อนฝาบ่
ฝาบ่ออ(ค)
ตรวจ ตรวจ
ตรวจ ตะกอนสะสมในบ่
ตะกอนสะสมในบ่ อตรวจอตรวจอตรวจ
(ค)
(ค)ค ตะกอนสะสมในบ่
ทีรูป่ 5-7
รูรูปปทีทีรู่ ่ป5-7 ทีลั่ ก5-7
ลักลัษณะท่
ษณะท่ กษณะท่
อ อุ อตัอุอนดอุตั(ก)
ด ดนตัน(ก)
(ก)และ
และ และ(ข)
(ข) น(ข)
าเสี นยาเสี
นาเสีล้ ยนล้ฝาบ่
ยล้ฝาบ่
น นอฝาบ่ อตรวจ
อตรวจ
ตรวจ (ค)
(ค)
(ค) ตะกอนสะสมในบ่
ตะกอนสะสมในบ่
ตะกอนสะสมในบ่ ออตรวจ
อตรวจตรวจ
5-7 ลักษณะท่ออุดตัน (ก) และ (ข) นาเสียล้นฝาบ่อตรวจ (ค) ตะกอนสะสมในบ่ อตรวจ
(ก) (ข) (ค)
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
รูปที่ 5-7 ลั(ก)
ก(ก)ษณะท่ออุดตัน (ก) และ (ข)(ข)
นาเสีอยปรัล้บนเสถีฝาบ่
(ข)
ระบบบ่ อตรวจ ม(ค)
ยร ระบบสระเติ อากาศ (ค) งประดิษฐ์ อ135
ตะกอนสะสมในบ่
(ค)
และระบบบึ ตรวจ
รูปที่ 5-7
5-7 ลัลักกษณะท่
ษณะท่อออุอุดดตัตันน (ก)
(ก) และ
และ(ข)
(ข)นนาเสี
าเสียยล้ล้นนฝาบ่
ฝาบ่ออตรวจ
ตรวจ(ค)
(ค)ตะกอนสะสมในบ่
ตะกอนสะสมในบ่ออตรวจ
ตรวจ

ก ข ค
(ก)
(ก) (ข)
(ข) (ค) (ค)
(ก)
รูรูปปทีที่ ่ 5-8 รู ป ที ่ 5-8 ท่ อ อุ ด
(ข) ตั น จาก (ค)
5-8 ท่ท่อออุอุดดตัตันนจาก
จาก (ก)
(ก) ทราย
ทราย และและ(ข)
(ข)ท่ท่ออพีพีววีซีซีหีหลัลังงจากการก่
จากการก่ออสร้สร้าางง(ค)
(ค)ท่ท่อออุอุดดตัตันนจากขยะ
จากขยะ
ก ทราย
รูปที่ 5-8 ท่ออุดและ ท่อพีทราย
ตันจากข (ก) วีซีหลัและ
งจากการก่
ท่ออพีสร้
(ข)4-132 วีซาีหง ลัคงจากการก่
ท่ออุดตันอสร้
จากขยะ
าง (ค) ท่ออุดตันจากขยะ
4-132

ตารางที่ 5-4 สาเหตุและแนวทางแก้ไขท่ออุดตัน น�4-132


้ำเสียไหลไม่สะดวก ค้างในท่อ และเกิดมี
กลิ่นเหม็น
สาเหตุ การแก้ไข
(1) ท่ออุดตันจากเศษวัสดุก่อสร้าง (1) ให้ผู้รับเหมาท�ำความสะอาดท่อก่อนตรวจ
รับงาน
(2) มีขยะเข้าท่อรวบรวมน�้ำเสีย ท่ออุดตัน (2) ป้องกันขยะเข้าท่อตั้งแต่ต้นทาง
(3) แนวท่อรวบรวมน�้ำเสียเปลี่ยนไปจากเดิม (3) ตรวจสอบแนวท่อรวบรวมน�้ำเสีย หาทาง
จากการทุบอาคารเก่าและสร้างอาคารใหม่ แก้ไขก่อนสร้างอาคารใหม่
(4) สร้างอาคารใหม่คล่อมแนวท่อรวบรวม (4) ท�ำผังบริเวณ (Master plan) การใช้ที่ดิน
น�้ำเสียเดิมท�ำให้ไม่สามารถตรวจสอบ ก�ำหนดแนวท่อหลัก แนวท่อรอง และ
หรือล้างท่อได้ ก่อสร้างท่อรวบรวมใหม่

ปัญหาที่ 5 : น�ำ้ เสียไหลในท่อไม่สะดวกและมีตะกอนสะสม เนือ่ งจากก่อสร้างระบบ


ท่อรวบรวมไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
การก่อสร้างท่อรวบรวมน�ำ้ เสียและบ่อตรวจทีไ่ ม่ถกู ต้องตามหลักวิชาการจะท�ำให้นำ�้ เสียไหล
ไม่สะดวกและมีตะกอนสะสมอยู่ในท่อ เนื่องจากการก่อสร้างที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ ก่อสร้างบ่อตรวจ
แบบหลุมรับน�้ำโดยระดับท้องท่อเชื่อมเข้าและท่อออกของบ่อตรวจอยู่สูงกว่าระดับพื้นหลุมท�ำให้
มีนำ�้ ขังในบ่อตรวจตลอดเวลา มีตะกอนสะสมในบ่อกีดขวางการไหลของน�ำ้ เสียและเกิดกลิน่ เหม็น
(รูปที่ 5-9 ก,ข) ก่อสร้างไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ก่อสร้างเป็นหลุมรับน�้ำและใช้ท่อรวบรวม
น�ำ้ เสียหลักทีม่ ขี นาดเล็กกว่า 6 นิว้ ความลาดชันของท่อไม่ได้ถกู ต้องตามเกณฑ์ออกแบบ บ่อตรวจ
ผิดแบบใช้เป็นวงซีเมนต์ ท�ำให้นำ�้ เสียไหลไม่สะดวก ท่อเกิดการอุดตัน ต้องทะลวงท่อบ่อยครัง้ และ
ล้างท่อได้ยาก (รูปที่ 5-9 ค,ง,จ) และก่อสร้างระบบท่อรวบรวมน�้ำเสียไม่ถูกต้อง ไม่มีการส�ำรวจ
พื้นที่ ใช้ท่อที่มีขนาดเล็กเกินไป การวางท่อไม่มีความลาดชัน และไม่มีแบบก่อสร้าง (รูปที่ 5-9 ก
ถึง ฉ) สาเหตุและแนวทางแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-5
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
136 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 5-5 สาเหตุและแนวทางแก้ไขการก่อสร้างระบบท่อรวบรวมที่ไม่ถูกตามหลักวิชาการ


สาเหตุ การแก้ไข
(1) รางน�้ำก้นบ่อตรวจมีสิ่งกีดขวางการไหล (1) พิจารณาแก้ไขเอาสิ่งกีดขวางออก
(2) ระดับท้องท่อเชื่อมเข้าและออกจาก (2) ตรวจสอบบ่อตรวจอย่างสม�่ำเสมอ
บ่อตรวจอยู่สูงกว่าพื้นหลุมบ่อตรวจ
ท�ำให้น�้ำเสียขังภายในและมีตะกอน
สะสมในบ่อตรวจ
อาจพิจารณาดูดตะกอนออกเป็นครั้งคราว
เพื่อให้น�้ำเสียไหลได้สะดวก และล้างท่อ
อย่างสม�่ำเสมอ
บทท
(3) ท่อขนาดเล็กเกินไป ความลาดชันของท่อ (3) ก่อสร้างระบบท่อรวบรวมน�้ำบทที เสียใหม่
่ 5 ปัญหาต่างๆ และวิธีก
รวบรวมน�้ำเสียไม่ถูกต้อง และก่อสร้าง ติดต่อวิศวกรให้มาท�ำการส�ำรวจและ
บ่อตรวจผิดแบบ ออกแบบระบบท่อใหม่

บทที
บทที่ ่ 55 ปัปัญญหาต่
หาต่าางๆ
งๆ และวิ
และวิธธีกีการแก้
ารแก้ไไขระบบ
ขระบบ
บทที่ 5 ปัญหาต่างๆ และวิธีการแก้ไขระบบ

(ก) (ข) (ค)

ก ค
(ก)
(ก)
(ก) (ข)
(ข)
(ข) (ค)
(ค)
(ค)
(ก) (ข) (ค)
(ก) (ง) (จ) (ฉ)
รูปที่ 5-9 ก่อสร้างท่อรวบรวมนาเสียไม่ถูกต้อง (ก) ก่อสร้างเป็นหลุมรับนา (ข) ระดับท้องท่อ
(ข)
บ่อตรวจอยู่สูงกว่าพืนก้นบ่อตรวจ (ค) ถึง (ฉ) ใช้ท่อที่มีขนาดเล็กเกินไป สร้างบ่อตรวจไม่ถูก
ถูกต้องและความลาดชันของท่อไม่ถูกต้องตามเกณฑ์ออกแบบ
ง จ ฉ
ปัญหาที่ 6 : การบารุงรักษาท่อรวบรวมนาเสียทาไม่ได้เนื่องจากท่อรวบรวมนาเสียและบ่อต
(ง)
(ง)
(ง) (จ)(จ)
(จ) (ฉ)
(ฉ)(ฉ)
(ง) รู ป ที ่ 5-9 หรือก่สิ่งอปลู สร้ กาสร้
งท่าองอื(จ)รวบรวมน�
่น ๆ ำ
้ เสี ย ไม่ ถ ก
ู ต้ อ ง (ฉ)
รูรูรูปปปทีทีที่ ่ 5-9
่ 5-9
5-9ก่ก่ก่อออสร้
สร้
สร้าาางท่
งท่
งท่อออรวบรวมน
รวบรวมน
รวบรวมนาเสี าเสี
าเสียยยไม่ ไม่
ไม่ถถถูกูกูกต้ต้ต้ออองงง(ก)
(ก)
(ก)ก่ก่ก่อออสร้ สร้
สร้าาางเป็ งเป็
งเป็นนนหลุ
หลุ
หลุมมมรัรัรับบบนนนาาา(ข)(ข)
(ข)ระดั
ระดั
ระดับบบท้ท้ท้ออองท่
งท่
งท่อออเข้เข้
เข้าาาและออกจาก
และออกจาก
และออกจาก
รูปทีก่ 5-9ก่อก่สร้ อสร้างเป็ างท่นอรวบรวมน หลุ ม รั บ าเสี
น� ำ
้ ยไม่ถูกต้โรงพยาบาลหลายแห่
อง (ก) ก่อสร้างเป็นหลุ งไม่มมรัี บmaster
นา (ข)plan ระดับของการใช้
ท้องท่อเข้พาื้นและออกจาก ที่ในโรงพยาบาล ทาให้มีการก
บ่บ่บ่อออตรวจอยู
ตรวจอยู
ตรวจอยู่ส่ส่สูงูงูงกว่ กว่
กว่าาาพืพืพืนก้
นก้
นก้นนนบ่บ่บ่อออตรวจตรวจ
ตรวจ(ค) (ค)
(ค)ถึถึถึงงง(ฉ) (ฉ)
(ฉ)ใช้ ใช้
ใช้ททท่อ่อ่อทีทีที่ม่ม่มีขีขีขนาดเล็
นาดเล็
นาดเล็กกกเกิเกิเกินนนไปไป ไปสร้ สร้
สร้าาางบ่
งบ่
งบ่อออตรวจไม่
ตรวจไม่
ตรวจไม่ถถถูกูกูกต้ต้ต้ออองงงออกแบบไม่
ออกแบบไม่
ออกแบบไม่
บ่อตรวจอยู ข ส
่ ู ง
ระดับท้องท่อนเข้กว่ า พื นก้ น บ่ อ ตรวจ
าและออกจากบ่ (ค)
สิ ง
่ ปลู ถึ ง
ก (ฉ)
สร้ า ใช้
งทั
อตรวจอยูบ ท อ

แนวท่ ที ม
่ ี ข
อ นาดเล็
รวบรวมน้ ก เกิ
่สูงกว่าพื้นก้นบ่อตรวจ น
าเสีไป ย สร้
เก่ า า งบ่ อ ตรวจไม่
พบระบบท่ อ ถ ก
ู ต้
รวบรวมน้ อ ง ออกแบบไม่
าเสียและบ่อตรวจอยู่ใต้อาคา
ถูถูถูกกกต้ต้ต้ออองและความลาดชั
งและความลาดชั
งและความลาดชั นนของท่ของท่
ของท่ อออไม่
ไม่
ไม่ถถถูกูกูกต้ต้ต้ออองตามเกณฑ์
งตามเกณฑ์
งตามเกณฑ์ ออออกแบบ
อกแบบ
อกแบบ
ถูกต้คองและความลาดชั ถึง ฉ ใช้ท่อนทีของท่ อไม่ถทัูกบกต้บ่เกิ
่มีขนาดเล็ อองตามเกณฑ์
นตรวจไป สร้ ทาให้ าองบ่ อกแบบ
ไม่อสตรวจไม่ ามารถเข้าถไปบ ูกต้ารุ องงรัออกแบบไม่
กษาและไม่สามารถท ถูกต้องและ าความสะอาดท่อได้ สาเหตุแ
ปัปัปัญญญหาทีความลาดชั
หาที
หาที่ ่ 6่ 66:::การบ การบ
การบ นารุารุ
ของท่ อษาท่
ารุงงงรัรัรักกกษาท่
ษาท่ ูกต้แสดงในตารางที
ไม่ออถอรวบรวมน
รวบรวมน
รวบรวมน องตามเกณฑ์ าเสี
าเสี
าเสียยยทททาไม่
าไม่
่ 5-6
าไม่อไได้ไอกแบบ
ด้ด้เเนืเนืนื่อ่อ่องจากท่
งจากท่
งจากท่อออรวบรวมน
รวบรวมน
รวบรวมนาเสี าเสี
าเสียยยและบ่
และบ่
และบ่อออตรวจอยู ตรวจอยู
ตรวจอยู่ใ่ใ่ใต้ต้ต้อออาคาร
าคาร
าคาร
ปัญหาที่ 6 : การบารุงรักษาท่อรวบรวมนาเสียทาไม่ได้เนื่องจากท่อรวบรวมนาเสียและบ่อตรวจอยู่ใต้อาคาร
หรื
หรื
หรือออสิสิสิ่ง่ง่งปลูปลู
ปลูกกกสร้
สร้สร้าาางอื
งอื
งอื่น่น่นๆๆๆ
หรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ
โรงพยาบาลหลายแห่
โรงพยาบาลหลายแห่
โรงพยาบาลหลายแห่งงงไม่ไม่ ไม่มมมี ี master
ี master
masterplan plan
planของการใช้
ของการใช้
ของการใช้พพพื้นื้นื้นทีทีที่ใ่ในโรงพยาบาล
่ในโรงพยาบาล
นโรงพยาบาลทททาให้ าให้
าให้มมมีกีกีการก่
ารก่
ารก่อออสร้
สร้สร้าาางอาคารและ
งอาคารและ
งอาคารและ
โรงพยาบาลหลายแห่งไม่มี master plan ของการใช้พื้นที่ในโรงพยาบาล ทาให้มีการก่อสร้างอาคารและ
สิสิสิ่ง่ง่งปลู
ปลู
ปลูกกกสร้ สร้
สร้าาางทั
งทั
งทับบบแนวท่
แนวท่
แนวท่อออรวบรวมน้รวบรวมน้
รวบรวมน้าเสี าเสี
าเสียยยเก่เก่เก่าาาพบระบบท่
พบระบบท่
พบระบบท่อออรวบรวมน้ รวบรวมน้
รวบรวมน้าเสี าเสี
าเสียยยและบ่
และบ่
และบ่อออตรวจอยู ตรวจอยู
ตรวจอยู่ใ่ใต้่ใต้ต้อออาคาร
าคาร
าคารหรื หรื
หรือออก่ก่ก่อออสร้
สร้
สร้าาางปิ
งปิ
งปิดดด
(ฉ)
โรงพยาบาลหลายแห่
หลุมรับนา (ข) ระดับท้องท่อเข้าและออกจาก
ง ไม่ ม ี master plan ของการใช้ พ ้ ื น ที ่ ใ นโรงพย
ปัญหาที่ 6 : การบารุงรักษาท่อรวบรวมนาเสียทาไม่ได้เนื่องจากท่อรวบรวมนาเสียและบ่อตรวจอยู่ใต
สร้
ล็กเกิานงทั
ไป บ
สร้แนวท่
างบ่อตรวจไม่อรวบรวมน้
ถูกต้อง ออกแบบไม่
หรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ
าเสียเก่า พบระบบท่อรวบรวมน้าเสียและบ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 137

รวจ ทาให้ ไ ม่ ส
ปัญ
ามารถเข้
โรงพยาบาลหลายแห่ า
สิ่งปลูกสร้างทับแนวท่น�อ้ำรวบรวมน้
ไปบ
หาที่ 6 : การบ�ำรุงงไม่ รักมษาท่
เสียและบ่าเสี ารุ ง รั
อรวบรวมน�
ี master
อตรวจอยู ก
plan ษาและไม่
้ำเสียท�ำไม่
ของการใช้
่ใต้อาคารหรื
ยเก่า พบระบบท่
ส ามารถท
พื้นได้ทีเ่ในืนโรงพยาบาล
อสิ่งปลูาเสีกสร้
อรวบรวมน้
่องจากท่อรวบรวม
างอือ่นตรวจอยู
ยและบ่
ทาให้าความสะอ
มีการก่อสร้างอา
ๆ ่ใต้อาคาร หรือก่อส
โรงพยาบาลหลายแห่ ่ใต้องไม่ มีผังบริเวณ (Master plan) ของการใช้พื้นที่ในโรงพยาบาล
ตารางที
กท่ อรวบรวมน ่ 5-6
ทัาเสี
บบ่อยตรวจ
และบ่ทอาให้
ตรวจอยู
ไม่สามารถเข้ าคาร าไปบารุงรักษาและไม่สามารถทาความสะอาดท่อได้ สาเหตุและแนวท
ท�ำให้มีการก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างทับแนวท่อรวบรวมน�้ำเสียเก่า พบระบบท่อรวบรวม
แสดงในตารางที ่ 5-6 ่ใต้อาคาร หรือก่อสร้างปิดทับบ่อตรวจ ท�ำให้ไม่สามารถเข้าไปบ�ำรุงรักษา
น�้ำเสียและบ่อตรวจอยู
ที่ในโรงพยาบาลและไม่
ทาให้สามารถท�
มีการก่ำอความสะอาดท่
สร้างอาคารและ
อได้ สาเหตุและแนวทางแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-6 และรูปที่ 5-10
าเสียและบ่อตรวจอยู่ใต้อาคาร หรือก่อสร้างปิด
าความสะอาดท่อได้ สาเหตุและแนวทางแก้ไข

รูปที่ 5-10 บ่อตรวจและท่อรวบรวมนาเสียอยู่ใต้อาคารและสิ่งปลูกสร้าง

4-134

รูปทีรูป่ ที5-10
ยู่ใต้อาคารและสิ่งปลูกสร้าง
่ 5-10 บ่อบ่ อตรวจและท่
ตรวจและท่ อรวบรวมน�้ำเสียออยูรวบรวมน าเสี
่ใต้อาคารและสิ่งปลู กสร้ย
างอยู่ใต้อาคาร
ตารางที่ 5-6 สาเหตุและแนวทางแก้ไขท่อรวบรวมน�้ำเสียและบ่อตรวจอยู่ใต้อาคาร
หรือสิ่งปลูกสร้างอื่น ๆ
สาเหตุ การแก้ไข
(1) ไม่มีผังบริเวณ (Master plan) ก�ำหนด (1) จัดท�ำผังบริเวณ (Master plan) หรือ
การใช้พื้นที่ของโรงพยาบาล จัดท�ำแบบแปลนการใช้ที่ดินในอนาคต
4-134
ก�ำหนดถนนหลักที่จะใช้ในโรงพยาบาล
ส�ำหรับวางท่อตามแนวถนนไปยังระบบ
บ�ำบัดน�้ำเสีย
(2) ต้องการใช้พื้นที่ส�ำหรับก่อสร้างอาคาร (2) ท�ำการย้ายแนวท่อรวบรวมน�้ำเสีย ต้อง
และสิ่งปลูกสร้างซึ่งทับแนวท่อ มัน่ ใจว่าแนวท่อใหม่ทสี่ ร้างขึน้ ได้ตามเกณฑ์
ทั้งแนวท่อ ขนาดท่อ ความลาดชันและ
บ่อตรวจ
(3) แนวท่ออยู่ใต้อาคาร หรือบ่อตรวจ (3) อาจพิจารณาก่อสร้างระบบท่อรวบรวม
ถูกสิ่งปลูกสร้างทับไปแล้ว น�้ำเสียใหม่แทนท่อที่อยู่ใต้อาคาร
ทับทัแนวท่
บแนวท่
ทับอแนวท่
อ อ ใหม่ใหม่
ที่สทใหม่ร้ี่สาร้งขึาทงขึ้นี่สร้ได้
้นาได้งขึ
ตามเกณฑ์
ต้นามเกณฑ์
ได้ตามเกณฑ์
ทั้งทแนวท่
ั้งแนวท่
ทั้งอแนวท่
อขนาดท่
ขนาดท่
อ ขนาดท่
อ อความลาดชั
ความลาดชั
อ ความลาดชั
นน น
และบ่
และบ่ อและบ่
ตรวจ อตรวจ อตรวจ
(3)(3)แนวท่
แนวท่
(3)คูอ่มแนวท่
อยู
ืออการควบคุ
อยู
่ใต้อ่ใอต้อยู
าคาร
อาคาร
่ใมต้และบ�
อหรื
าคาร
หรื
อำรุบ่องอรัหรื
บ่กตรวจถู
อษาระบบบ�
อตรวจถู
บ่อตรวจถู
กสิกำ่งบัสิปลู
ด่ งน�ปลู
กก้ำสิเสีสร้
่กงยปลู
สร้
าโรงพยาบาล
งทั
ากงทั
สร้
บไปบางทั
ไป บ(3)
ไป(3)อาจพิ อาจพิ
(3)จอาจพิ ารณาก่
จารณาก่ จารณาก่
อสร้อสร้
างระบบท่
าองระบบท่
สร้างระบบท่
อรวบรวมน้
อรวบรวมน้
อรวบรวมน้
าเสีาเสี
ยใหม่
ยาเสี
ใหม่
แยทนท่
แใหม่
ทนท่
อแทนท่
อ อ
138 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
แล้แล้
ว ว แล้ว ที่อทียู่อ่ใยูต้ที่ใอต้่อาคาร
อยูาคาร
่ใต้อาคาร

ปัญปัญหาที
หาที ่ 7: นปั:่ าเสี
ปัญ่ 7หาที นญ :หาที
7าเสี
ยนบางส่
ยาเสี ่ ย7วบางส่
บางส่ :วนไหลเข้
น�้ำวเสี
นไหลเข้ ายรางระบายน
นไหลเข้ าบางส่
รางระบายน วนไหลเข้
ารางระบายน าฝน าฝนทาฝน ทาาให้
รางระบายน�
าให้ นทาเสี
าให้
นาเสียนเข้
ยาเสี
เข้าระบบน้ เข้้ำฝน
ายระบบน้ าระบบน้ ท�อยกว่
อยกว่ ำให้ านปกติ
อาปกติ
ยกว่ �้ำาเสีปกติ
ยเข้าระบบ
พบในพื
พบในพื พบในพื
้นที้น่โทีรงพยาบาลที
่โ้นรงพยาบาลที น้อ่มยกว่
ที่โรงพยาบาลที ีก่มารปรั่มาีกปกติ
ีการปรั บารปรัปรุ
บปรุง บงเช่ปรุ
เช่นงนก่เช่
อก่สร้
อนสร้าก่งห้
อางห้
สร้องน้
าองห้
งน้าเพิ
อาเพิ
งน้
่มเติ ่มาเพิ
เติมในอาคาร
ม่ ในอาคาร
เติมในอาคาร ห้อห้งปฏิองปฏิ
ห้อบงปฏิ
ัตบิกัตาร
ิกบารัตรวมทั
ิกรวมทั
าร ้งรวมทั
ห้้งอห้งอ้งห้อง
รับรัประทานอาหาร
บประทานอาหาร พบในพืไม่น้ ไม่ตที่อตโ่ ท่ไม่
รับประทานอาหาร ่อรงพยาบาลที
อท่ตน้อ่อาทิ
น้ท่าทิ
อ้งใหม่ ใหม่เ้งข้ม่ ใหม่
น้้งาทิ เาข้กี ระบบท่
าารปรั
ระบบท่ บอปรุ
เข้าระบบท่ ง อเช่รวบรวมน้
รวบรวมน้
อรวบรวมน้ น ก่าเสี อาเสี
สร้ย ยาาเสี
งห้แต่ตยอ่อตงน�
แต่ ท่่ออท่ำ้ ตน้อเพิ
แต่ น้ท่ม่ าทิ
่อาทิ อ้งเติเข้
น้้งมาทิ
เข้าในอาคาร
รางระบายน้
า้งรางระบายน้
เข้ารางระบายน้ห้อาฝนแทน
งปฏิ บตั กิ ดัาร
าฝนแทน
าฝนแทน งดัง ดัง
รวมทั
แสดงในรู
แสดงในรู ปทีป้ง่ ที5-11
แสดงในรู ห้่ ป5-11
อทีงรั่ สาเหตุ
บสาเหตุ
5-11 ประทานอาหาร
สาเหตุ
และแนวทางแก้
และแนวทางแก้
และแนวทางแก้ ไม่ ต่อไท่ขแสดงในตารางที
ไขแสดงในตารางที อน�้ำทิ้งใหม่
ไขแสดงในตารางที ่ 5-7 เข้่า5-7
่ 5-7 ระบบท่อรวบรวมน�้ำเสีย แต่ต่อท่อน�้ำทิ้ง
เข้ารางระบายน�้ำฝนแทน ดังแสดงในรูปที่ 5-11 สาเหตุและแนวทางแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-7

รูปรูทีป่ ที5-11
รู่ ป5-11
ที่ 5-11
ท่อท่นอาทิ
นท่าทิ
องจากอาคารต่
นงจากอาคารต่
าทิงจากอาคารต่
อเข้
อเข้ารางระบายน
าอรางระบายน
เข้ารางระบายน
าฝน
าฝนาฝน
รูปที่ 5-11 ท่อน�้ำทิ้งจากอาคารต่อเข้ารางระบายน�้ำฝน
ตารางที
ตารางที
ตารางที
่ 5-7
่ 5-7สาเหตุ
่ 5-7
สาเหตุ
สาเหตุ
และแนวทางแก้
และแนวทางแก้
และแนวทางแก้
ไขท่
ไขท่อนไอขท่
าทิ
นาทิองจากอาคารไหลลงสู
นงจากอาคารไหลลงสู
าทิงจากอาคารไหลลงสู
่ท่อทระบายน
่อระบายน
่ท่อระบายน
าฝน
าฝนาฝน
ตารางที่ 5-7 สาเหตุและแนวทางแก้ไขท่อน�้ำทิ้งจากอาคารไหลลงสู่ท่อระบายน�้ำฝน
สาเหตุ
สาเหตุ สาเหตุ การแก้
การแก้ การแก้
ไขไข ไข
(1)(1)ผู้รผูับ(1)
้รเหมาก่
ับเหมาก่
ผู้รับอเหมาก่สร้
อสร้
างต่าองต่
อสร้ท่อาอท่งต่
น้อาทิ สาเหตุ
อน้ท่าทิ
้งอจากอาคารลงรางระบาย
้งน้จากอาคารลงรางระบาย
าทิ้งจากอาคารลงรางระบาย(1)(1)กาหนดรายละเอี
ก(1)าหนดรายละเอี
กาหนดรายละเอี ยดการก่
ยดการก่ อการแก้
ยดการก่
สร้
อสร้ างให้
าองให้ สร้คไรอบคลุ
ขาคงให้
รอบคลุ
ครอบคลุ
ม มการระบายน้
การระบายน้
ม การระบายน้ าา า
น้าฝน(1)
น้าฝน น้าฝนผู้รับเหมาก่อสร้างต่อท่อน�้ำทิ้งจากอาคารเสีเสี ย(1)
ยลงท่ลงท่ ก�รวบรวมน้
ำอหนดรายละเอี
เสีอยรวบรวมน้
อลงท่ รวบรวมน้
าเสีาเสีย ยาเสีย ยดการก่อสร้างให้
(2)(2)มีทมี(2) มีน้ลงรางระบายน�
่อทน้่อาทิทาทิ
้ง่อจากอาคารต่
้งน้จากอาคารต่
าทิ้งจากอาคารต่ า้ำรางระบายน้
อเข้อเข้ าฝน
อรางระบายน้
เข้ารางระบายน้
าฝน
าฝน าฝน (2)(2)แก้แก้
ไ(2)
ขไขปรั ครอบคลุ
แก้
ปรับไขปรุ
บปรุ
ปรั ท่อมอท่งน้ต่อาทิ
งต่งบอต่ปรุ การระบายน�
อน้ท่าทิ
้งอให้้งน้ให้
เาทิ
ข้เาข้้งระบบท่
ให้ เข้า้ำระบบท่
าระบบท่ อเสีรวบรวมน้
อยรวบรวมน้
ลงท่ อาเสีาเสีย ยาเสีย
อรวบรวมน้
รวบรวมน�้ำเสีย
ปัญ
ปัญหาที
หาที
ปั(2)
ญ่ 8หาที
่ 8:มีรางระบายน
:ท่ รางระบายน
8่อน�: รางระบายน าฝนมี
าฝนมี
้ำทิ้งจากอาคารต่ าฝนมี
นาขั
นาขังออยู
นงเข้
าขั
อยู่ตาลอดเวลา
ง่ตรางระบาย
อยู
ลอดเวลา
่ตลอดเวลา
เป็เป็นแหล่
นเป็
แหล่นงแหล่
(2) เพาะพั
งเพาะพั
แก้งเพาะพั ไนขธุน์ยปรั
ธุุง์ยนบุงธุปรุ
์ยุงงต่อท่อน�้ำทิ้งให้เข้าระบบ
มีนมีน�้าขั
น้ำาขั
มีงฝน
อยู
นง้าขั
อยู่ภงายในรางระบายน้
่ภอยู
ายในรางระบายน้
่ภายในรางระบายน้ าฝนของโรงพยาบาล
าฝนของโรงพยาบาล
าฝนของโรงพยาบาล (รู(รูปทีปท่่ ที(รู
อ5-12)
่ รวบรวมน�
ป5-12)
ที่ 5-12)บางแห่
บางแห่
้ำบางแห่
เสีงพบน้
งยพบน้
งาเสี
พบน้
าเสียไหลเข้
ยาเสี
ไหลเข้
ยไหลเข้
าท่าอท่ระบาย
อาระบาย
ท่อระบาย
น้าฝนท
น้าฝนท
น้าฝนท
าให้าให้เกิเาให้
ดกิกลิ
ดกลิ
เกิ่นดน่่นกลิ
าน่รัาง่นรัเกีน่งเกียารัจยงจเกี
และเป็
และเป็
ยจ และเป็
นแหล่
นแหล่นงเพาะพั
แหล่
งเพาะพั
งเพาะพั
นธุน์ยธุุง์ยนุงสาเหตุ
ธุสาเหตุ
์ยุง สาเหตุ
และแนวทางแก้
และแนวทางแก้
และแนวทางแก้
ไขแสดงในตารางที
ไขแสดงในตารางที
ไขแสดงในตารางที
่ 5-8
่ 5-8่ 5-8
ปัญหาที่ 8 : รางระบายน�้ำฝนมีน�้ำขังอยู่ตลอดเวลา เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
มีน�้ำขังอยู่ภายในรางระบายน�้ำฝนของโรงพยาบาล (รูปที่ 5-12) บางแห่งพบน�้ำเสียไหลเข้า
4-135
4-1354-135
ท่อระบายน�้ำฝนท�ำให้เกิดกลิ่นน่ารังเกียจ และเป็บทที
นแหล่
บทที่ ่55ง่ เพาะพั นธุาา์ยงๆ
ปั5ปัญญปัหาต่
หาต่ ุง สาเหตุธแธีกละแนวทางแก้ ไข
บทที ญ หาต่งๆ และวิ
างๆและวิ
และวิ ีกธารแก้
ารแก้ไไขระบบ
ีการแก้ ขระบบ
ไขระบบ
แสดงในตารางที่ 5-8

รูรูปปทีรูที่ ป5-12
่ ที5-12 มีมีนนาขั
่ 5-12 มีาขั
นงาขั
งอยู
อยูง่ใอยู
่ในรางระบายน
นรางระบายน าฝนของโรงพยาบาล
าฝนของโรงพยาบาล
่ในรางระบายน าฝนของโรงพยาบาล
รูปที่ 5-12 มีน�้ำขังอยู่ในรางระบายน�้ำฝนของโรงพยาบาล
ตารางที
ตารางที่ 5-8
ตารางที่ 5-8 สาเหตุ
สาเหตุ
่ 5-8 แและแนวทางแก้
สาเหตุ ละแนวทางแก้ไขรางระบายน
ไขรางระบายน
และแนวทางแก้ าฝนมี
าฝนมี
ไขรางระบายน นนาขัาขั
าฝนมี นงาขั งอยู
อยูง่ตอยู
่ตลอดเวลา
ลอดเวลา
่ตลอดเวลา
สาเหตุ
สาเหตุ
สาเหตุ การแก้
การแก้ไขไข ไข
การแก้
รูปที่ รู5-12
ปที่ 5-12
มีนรูปาขัทีมีง่ นอยู
5-12
าขั่ในรางระบายน
งอยู
มีน่ในรางระบายน
าขังอยู่ในรางระบายน
าฝนของโรงพยาบาล
าฝนของโรงพยาบาล
าฝนของโรงพยาบาล
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 139

ารางที
ตารางที
่ 5-8 ตารางที
่ สาเหตุ
5-8ตารางที
สาเหตุ
แ่ ละแนวทางแก้
5-8่ แ5-8
สาเหตุ
ละแนวทางแก้
และแนวทางแก้
ไขรางระบายน
ไขรางระบายน
ไขรางระบายน
าฝนมีาฝนมี
นาขังนอยูาขั
าฝนมี
่ตงลอดเวลา
อยูน่ตาขั
ลอดเวลา
งอยู่ตลอดเวลา
สาเหตุและแนวทางแก้ไขรางระบายน�้ำฝนมีน�้ำขังอยู่ตลอดเวลา
สาเหตุสาเหตุ สาเหตุ การแก้การแก้ ไข ไขการแก้ไข
สาเหตุ การแก้ไข
(1) ความลาดชั
(1) ความลาดชั น(1)ของรางระบายน้
ความลาดชั
นของรางระบายน้
นของรางระบายน้
าฝนไม่าฝนไม่ ถูกต้องถูกทาฝนไม่
ต้าให้
องนท้าฝน ถาให้
ูกต้นอ้าฝน
ง ท(1)
าให้แก้
น้าฝน
(1)
ไขแนวรางระบายน้
แก้ไขแนวรางระบายน้
(1) แก้ไขแนวรางระบายน้
าฝนให้าฝนให้ สามารถระบายน้
สามารถระบายน้
าฝนให้สาฝนออกไป
ามารถระบายน้ าฝนออกไป าฝนอ
(1) ความลาดชันของรางระบายน�ำ้ ฝนไม่ถกู ต้อง (1) แก้ไขแนวรางระบายน�้ำฝนให้สามารถ
ระบายออกไปได้
ระบายออกไปได้ ระบายออกไปได้
ไม่หมดไม่หมด ไม่หมด ได้ทั้งหมด
ได้ทั้งหมดได้ทั้งหมด
ท�ำให้น�้ำฝนระบายออกไปได้ไม่หมด ระบายน�้ำฝนออกไปได้ทั้งหมด
(2) รางระบายน้
(2) รางระบายน้ (2)
าฝนอุรางระบายน้
ดาฝนอุ
ตัน ทดาให้
ตันาฝนอุ
มทีนาให้
้าขัดงตัมนี ้าขัทาให้
ง มีน้าขัง (2) ตรวจสอบการอุ
(2) ตรวจสอบการอุ (2) ตรวจสอบการอุ
ดตันของรางระบายน้
ดตันของรางระบายน้ ดตันของรางระบายน้
าฝน าฝน าฝน
(2) รางระบายน�้ำฝนอุดตัน ท�ำให้มีน�้ำขัง (2) ตรวจสอบการอุ ดตันของรางระบายน� ้ำฝน
(3) ระดั(3)บพืระดั
้นดิบน(3)
พืของโรงพยาบาลอยู
้นระดั
ดิ(3)
นของโรงพยาบาลอยู
บระดั
พื้นดิบนพืของโรงพยาบาลอยู
่ ต ่ ากว่ า่ ตระดั
่ ากว่
บ า ถนน
ระดั
่ ต ่ ากว่
บ ท
ถนน
าให้
า ระดัท าให้
บ(3)
ถนนปรั (3)

ท ระดั
าให้
ปรั
้นดินของโรงพยาบาลอยู่ต�่ำกว่า (3) ปรับระดับพื้นบ่อสูบน�้ำฝนให้ต�่ำกว่าระดับ พื
ระดั
(3)
้ น บ่

ปรั
อพื
สู
บ้ น
บระดั
บ่
น้ อ
าฝนให้
สู
บ บ พื
น้ ้ น
าฝนให้
ตบ่
่ ากว่
อ สู บา ตน้
ระดั
่ ากว่
าฝนให้

า ท้
ระดั

ต งท่
่ ากว่
บ อท้ระบาย
อาบงท่
ระดัอบระบาย
ท้องท่อร
ต้องติดต้ตัอ้งงติ
ระบบสู
ดตั้งต้ระบบสู
อบงติ
น้าฝนออกนอกโรงพยาบาล
ดตับระดั
้งน้ระบบสู
าฝนออกนอกโรงพยาบาล
บถนน บน้าฝนออกนอกโรงพยาบาล
ท�ำให้ตอ้ งติดตัง้ ระบบสูบน�น้ำ้ ฝน าฝน น้เพืาฝน
่อให้ท้เพื
สอามารถสู
่อน้ให้
งท่ าฝน
อสระบายน�
ามารถสู
เพืบน้่อให้
าฝนออกได้
ส้ำบฝน
ามารถสู
น้าฝนออกได้
เพืท่อบั้งให้น้หมด
าฝนออกได้
สทามารถสู
ั้งหมด บทั้งหมด
ออกนอกโรงพยาบาล น�้ำฝนออกได้ทั้งหมด
ญหาทีปัญ่ หาที
9 : มีปั่ 9ขญยะหลุ:หาที
มีขยะหลุ
่ ด9ลอดออกจากตะกร้
: มีดขลอดออกจากตะกร้
ยะหลุดลอดออกจากตะกร้ าดักขยะในบ่าดักขยะในบ่ อาสูดับกขยะในบ่
จอานวนมาก
สูบจานวนมาก อสูบจานวนมาก
ตะกร้ตะกร้ าดักขยะถู กปัขยะถู
าดัตะกร้ กญติหาที ่ ด9ตั:้งมีครอบปลายท่
ดาดัตักก้งติครอบปลายท่
ขยะถู กขติยะหลุ อดรวบรวมน้
ดตั้งครอบปลายท่ลอดออกจากตะกร้
อรวบรวมน้ าเสี่อยดัาเพื
าเสีอรวบรวมน้
ยเพื กดัขยะที
่อกาเสี
ดัขยะในบ่่มเพืากั่อดับอ่มกน้สูากั
กยขยะที บบจ�น้ำยนวนมาก
ขยะที
าเสี าเสี
่มและจะถู
ากัยบและจะถู น้าเสีกดึยงขึและจะถู
ก้นดึกงาจั
ขึ้นดกกาจั
ดึงดขึ้น
ยะออกโดยใช้
ขยะออกโดยใช้ ขยะออกโดยใช้
โซ่ดึงตะกร้ โซ่ดตะกร้ าขึ้นโาซ่ดัมาตามรางเหล็
ึงตะกร้ ดากขึึงขยะถู
ตะกร้ กาติขึด้นตัมาตามรางเหล็
้นมาตามรางเหล็ ง้ กครอบปลายท่
ทาให้ ีช่องว่อมกรวบรวมน�
ก ทมาให้ ีชาทงระหว่
่อาให้
งว่ามงระหว่าีชำ้ งตะกร้
่อเสีงว่ยาเพืงตะกร้
าอ่ กัดับกผนั
งระหว่ ขยะที
ากังตะกร้ ม่ อากั
งบบ่ผนั สูงบาบ่บกัน�อถ้บสูำ้าผนั
เสี
บ ยงถ้บ่าบและจะถู
ระดั อระดั บบถ้น้กาาในบ่
น้สูาในบ่ อระดั
สูบบอน้สูาใน

งจนท่ สูงวจนท่
มด้าวนล่สูมด้
งจนท่ าาดึงของตะกร้
งขึว้นามด้
นล่ ก�งของตะกร้
ำจัาดนล่ขยะออกโดยใช้
าาจะท งของตะกร้
าาให้
จะทขยะที
าให้ าโซ่จะท
ขด่มยะที
ึงากั
ตะกร้
าให้ าขึยะที
บ่มน้ากั บ้นยน้มาตามรางเหล็
ขาเสี สามารถหลุ
าเสี
่มากัยบสามารถหลุ กสามารถหลุ
ท�ดำให้
น้าเสีดยลอยออกจากตะกร้ มีช่อดงว่ลอยออกจากตะกร้
ลอยออกจากตะกร้ างระหว่ าไปได้ างตะกร้ าไปได้ ากัดับางผนั
ดังแสดงในรู ง ปดัทีง่ แสดงใ
ไปได้
แสดงในรู ปที่
บ่อสูบ ถ้าระดับน�้ำในบ่อสูบสูงจนท่วมด้านล่างของตะกร้า จะท�ำให้ขยะที่มากับน�้ำเสียสามารถ
-13 5-13
และถ้และถ้ าระดั
5-13าบหลุ ระดั
น้และถ้
ดาเสี บยน้าสูาเสี
ระดั
ลอยออกจากตะกร้งท่ยวบสูมปลายท่
น้งท่าเสี
วมปลายท่
ยสูาองไปได้
ท่จะท
วมปลายท่
อดัาให้
จะท นาให้
้าเสีอจะท
งแสดงในรู ยนค้้าเสี
ปาทีงอยู
าให้
ย่ 5-13
ค้น่าเต็งอยู
้าเสี
มและถ้
ท่ย่เอต็ค้มความเร็
าาท่งอยู
อ ความเร็
ระดั ่เบต็น�วม้ำของการไหลจะช้
ท่เสีอยวสูความเร็
ของการไหลจะช้
งท่วมปลายท่ วของการไหลจะช้
าลงอจะท� ทาาให้
ลง
ำให้ทมาให้
ีน้าลงมีนท้าาใ
สียขังเสีอยูยขั่ในบ่
งอยูอเสี่ใตรวจใบสุ
นบ่
ยน�ขังำ้ออยู
ตรวจใบสุ
เสี ย่ใค้นบ่
ดาท้งอยู
อาตรวจใบสุ
ยดเ่ ต็และเกิ
ท้มาท่ยอและเกิ
ดการสะสมของตะกอนในท่
ท้ายดวการสะสมของตะกอนในท่
ความเร็ และเกิ ดการสะสมของตะกอนในท่
ของการไหลจะช้ าลง อท�รวบรวมน้
ำให้อมรวบรวมน้
นี ำ�้ เสีาเสียขัองยรวบรวมน้
อยูาเสี
สาเหตุ ย อสาเหตุ
ใ่ นบ่ แาเสี
ตรวจบ่ละแนวทางแก้
ยแอละแนวทางแก้
สาเหตุ
สุดท้ายและแนวทางแก้
ไขแสดง
และ ไขแสดง ไข
นตารางที
ในตารางที ่ 5-9ในตารางที
่ 5-9 ่ 5-9
เกิดการสะสมของตะกอนในท่ อรวบรวมน�้ำเสีย สาเหตุและแนวทางแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-9

รูปที่ รู5-13
ปที่ 5-13
ระดั
รูปบทีระดั
น่ 5-13
าในบ่
บนาในบ่
อระดั
สูบบนอนาเสี
สูาในบ่
บยนท่าเสี
วอมด้
สูยบท่านวนล่
าเสี
มด้าายงของตะแกรงดั
นล่
ท่วามด้
งของตะแกรงดั
านล่างของตะแกรงดั
กขยะกขยะ กขยะ
รูปที่ 5-13 ระดับน�้ำในบ่อสูบน�้ำเสียท่วมด้านล่างของตะแกรงดักขยะ
ารางที
ตารางที
่ 5-9 ตารางที
่ สาเหตุ
5-9 สาเหตุ
แ่ ละแนวทางแก้
5-9แสาเหตุ
ละแนวทางแก้
และแนวทางแก้
ไขขยะหลุ
ไขขยะหลุ
ดลอดออกจากตะกร้
ไขขยะหลุ
ดลอดออกจากตะกร้
ดลอดออกจากตะกร้
าดักขยะในบ่
าดักขยะในบ่
อาสูดับกขยะในบ่
อสูบ อสูบ
ตารางทีสาเหตุ ่ 5-9สาเหตุ สาเหตุแสาเหตุ ละแนวทางแก้ไขขยะหลุดลอดออกจากตะกร้ การแก้
าดัการแก้
ไกขขยะในบ่ไขการแก้ อสูบไข
(1) ระดั(1)บน้ระดั
าเสีบย(1)
น้ในบ่
าเสีระดั
อยสูในบ่
บสูน้งอาเสี
ท่สูวบยมด้
สูในบ่
งาท่นล่
วอมด้
สูาบงของตะกร้
าสูนล่
งท่าวงของตะกร้
มด้าานล่ดักาขยะ
งของตะกร้
าดักขยะ
(1)าปรั
ดัก(1)
บขยะ
ลูกปรัลอยให้
บลู(1)
กลอยให้
รปรั
ะดับลูน้รกะดั
าเสี
ลอยให้
บยน้ในบ่
าเสีรอะดั
ยสูในบ่
บอยู
น้อาเสี
่ตสู่ากว่
บยอยู
ในบ่
า่ตตะกร้
่ากว่
อสูบาาอยู
ตะกร้
ดัก่ตขยะ
่ากว่
าดัากตะกร้
ขยะ าด
สาเหตุ การแก้ไข
(2) มีข(2)
ยะและตะกอนตกค้
มีขยะและตะกอนตกค้
(2) มี(1)ขยะและตะกอนตกค้
างอยู
ระดั บน�่ใ้ำานบ่
งอยู
เสีอยสู่ใในบ่
นบ่
บจาานวนมาก
อองอยู
สูสูบบจ่ใสูานวนมาก
นบ่งท่อวสูมด้
บจาานวนมาก
นล่า(2)
งของทาความสะอาดเอาขยะออก
(2)(1)ทาความสะอาดเอาขยะออก
ปรั(2)บลูทกาความสะอาดเอาขยะออก
ลอยให้ระดัและสู บน�้ำบและสู
เสีตะกอนออกไปก
ยในบ่ บตะกอนออกไปก
อและสู
สูบอยูบตะกอนออกไปก
่ าจัด าจัด า
ตะกร้าดักขยะ ต�่ำกว่าตะกร้าดักขยะ
(2) มีขยะและตะกอนตกค้างอยู่ในบ่อ4-136
สูบ 4-136(2)4-136
ท�ำความสะอาดเอาขยะออก และ
จ�ำนวนมาก สูบตะกอนออกไปก�ำจัด
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
140 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ปัญหาที่ 10 : เครื่องสูบน�้ำช�ำรุด
เครื่องสูบน�้ำที่ใช้ในระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ได้แก่ เครื่องสูบน�้ำจากบ่อพักน�้ำหรือถังปรับเสมอ
เข้าบ่อบ�ำบัดน�้ำเสีย และเครื่องสูบน�้ำทิ้ง (ถ้ามี) ถ้าเครื่องสูบน�้ำเข้าระบบบ�ำบัดน�้ำเสียช�ำรุดอาจ
ท�ำให้เกิดน�ำ้ เสียท่วมขังบริเวณโรงบ�ำบัดน�ำ้ เสีย สาเหตุและแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-10

ตารางที่ 5-10 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขเครื่องสูบน�้ำช�ำรุด


สาเหตุ การแก้ไข
(1) มอเตอร์ของเครือ่ งสูบน�ำ้ ช�ำรุด พบมอเตอร์ (1) ตรวจสอบสภาพของเครื่องสูบน�้ำและ
หยุดเดิน มีความร้อนสูง มีกลิ่นไหม้ และ ตรวจค่ากระแสไฟฟ้าการท�ำงาน (Amp)
มีเสียงดังไม่เรียบเหมือนปกติ ของเครือ่ งสูบน�้ำเป็นประจ�ำเป่าอากาศ
ถ้ามอเตอร์เสียหายให้ส่งซ่อม จัดท�ำแผน
ซ่อมบ�ำรุงตามคู่มือของผู้ผลิต จัดเตรียม
งบประมาณส�ำหรับการซ่อมแซมและ
ซื้อเปลี่ยนทดแทนตามอายุการใช้งาน
(2) สายไฟขาด ท�ำให้เครื่องสูบน�้ำหยุดการ (2) จัดท�ำแผนการซ่อมบ�ำรุงทุก 3 เดือน
ท�ำงาน กระแสไฟรัว่ และเบรคเกอร์ควบคุม
ตัดกระแสไฟ (Trip)

ปัญหาที่ 11 : ระบบท่อและวาล์วช�ำรุด
ระบบท่อและวาล์วเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการไหลของน�้ำเสียภายในระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
หากมีการช�ำรุดจะส่งผลให้ไม่สามารถเดินระบบได้ตามทีต่ อ้ งการและอาจส่งผลให้เครือ่ งสูบน�ำ้ ช�ำรุดได้
สาเหตุและแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-11

ตารางที่ 5-11 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขระบบท่อและวาล์วช�ำรุด


สาเหตุ การแก้ไข
วาล์วช�ำรุด เปิดปิดไม่ได้ ตรวจสอบสภาพของวาล์วของระบบท่อภายใน
ระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียอย่างสม�ำ่ เสมอ ควรทดสอบ
การเปิด และปิด วาล์ว จนสนิท เป็นประจ�ำทุก
6 เดือน ถ้าพบว่าช�ำรุดให้ซ่อมแซมหรือเปลี่ยน
วาล์ว
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 141

ปัญหาที่ 12 : ระบบไฟฟ้าควบคุมช�ำรุด
ระบบไฟฟ้าควบคุม (Control Panel) เป็นศูนย์ควบคุมการท�ำงานของอุปกรณ์เครื่องจักร
กลในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย หากเกิดการช�ำรุดจะส่งผลให้อปุ กรณ์เครือ่ งจักรกลในระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย
ไม่ทำ� งานหรืออาจท�ำให้ระบบเสียหาย ในการควบคุมการท�ำงานระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียต้องใช้อปุ กรณ์
ไฟฟ้าหลายชนิด ได้แก่ (1) ลูกลอยใช้ควบคุมการท�ำงานของเครื่องสูบน�้ำเสียเข้าถังเติมอากาศ
เครื่องสูบน�้ำจะท�ำงานเมื่อระดับน�้ำในบ่อพักสูงถึงค่าที่ก�ำหนด และจะหยุดเมื่อระดับน�้ำลดต�่ำลง
ถึงค่าทีก่ ำ� หนด ถ้าลูกลอยช�ำรุดจะท�ำให้เครือ่ งสูบน�ำ้ ไม่ทำ� งานและส่งผลให้นำ�้ เสียท่วมขังในระบบได้
(2) อุปกรณ์ตั้งเวลา (Timer) ส�ำหรับควบคุมเวลาในการเดินและหยุดเครื่องสูบน�้ำเสียและ
เครื่องเติมอากาศ สาเหตุและแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-12

ตารางที่ 5-12 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขระบบไฟฟ้าควบคุมช�ำรุด


สาเหตุ การแก้ไข
(1) ลูกลอยไม่ท�ำงาน ตรวจสอบกระแสไฟฟ้า (1) ตรวจสอบสภาพของลูกลอย ท�ำความ
ในรีเลย์ควบคุมลูกลอย และตรวจสอบ สะอาดอย่างสม�ำ่ เสมอ ซ่อมแซมเมือ่ พบว่า
หม้อแปลงลูกลอย ช�ำรุด หรือเปลีย่ นใหม่ถา้ ไม่สามารถซ่อมได้
(2) อุปกรณ์ตงั้ เวลาช�ำรุด ตรวจสอบกระแสไฟ (2) ตรวจสอบเป็นประจ�ำและท�ำการซ่อมแซม
ที่จ่ายให้กับอุปกรณ์ตั้งเวลา หากพบว่าช�ำรุด
(3) รีเลย์และฟิวส์ชำ� รุด ตรวจสอบกระแสไฟฟ้า (3) ตรวจสอบเป็นประจ�ำและท�ำการซ่อมแซม
ที่เข้า – ออกจากรีเลย์และฟิวส์ หากพบว่าช�ำรุด
(4) ไฟแสดงสถานะการท�ำงานช�ำรุด ท�ำให้ (4) ตรวจสอบเป็นประจ�ำและท�ำการซ่อมแซม
ไม่ทราบว่าอุปกรณ์หรือเครื่องจักรกล หากพบว่าช�ำรุด
ในระบบก�ำลังท�ำงานหรือช�ำรุด

5.2 ปัญหาในการเดินระบบบ�ำบัดน�้ำเสียและแนวทางแก้ไข

5.2.1 ปัญหาในการเดินระบบบ่อปรับเสถียรและแนวทางแก้ไข

ปัญหาที่ 1 : พบตะกอนหรือวัสดุลอยบนผิวน�้ำของบ่อปรับเสถียร
ตะกอนและวั ส ดุ ล อยน�้ ำ ท� ำ ให้ เ กิ ด สภาพน่ า รั ง เกี ย จ บดบั ง แสงแดดที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ
การสังเคราะห์แสงของสาหร่าย และอาจท�ำให้เกิดกลิ่นเหม็นจากการเน่าสลายของสารอินทรีย์
สาเหตุและการแก้ไขปัญหาตะกอนและวัสดุลอยน�้ำในบ่อปรับเสถียรแสดงในตารางที่ 5-13
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
142 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 5-13 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาตะกอนและวัสดุลอยน�้ำในบ่อปรับเสถียร


สาเหตุ การแก้ไข
(1) ก้อนตะกอนหรือสลัดจ์ลอยขึ้นจากก้นบ่อ (1) ฉีดน�้ำหรือใช้ไม้ตีให้ก้อนตะกอนแตกออก
เนื่องจากสลัดจ์ที่ก้นบ่อเกิดการย่อยสลาย ไล่ฟองก๊าซที่ติดอยู่ในก้อนตะกอนออก
ในสภาพไร้อากาศ มีฟองก๊าซเกาะติดไป เมื่อก้อนตะกอนแตกออกจะจมลง
กับก้อนตะกอน
(2) มีขยะ หรือวัสดุอื่น ๆ หลุดลอดออกจาก (2) ก�ำจัดขยะและวัสดุอื่น ๆ ออกจากผิวน�้ำ
ตะแกรงเข้าบ่อ ของบ่อ แล้วน�ำไปก�ำจัด

ปัญหาที่ 2 : ค่า DO ในบ่อปรับเสถียรมีแนวโน้มต�่ำกว่า 3 มิลลิกรัม/ลิตร


ปกติค่า DO ในบ่อปรับเสถียรในเวลากลางวันจะมีค่ามากกว่า 5 มิลลิกรัม/ลิตร แต่ถ้า
บ่อปรับเสถียรมีพชื ลอยน�ำ้ ปกคลุมผิวน�ำ้ (รูปที่ 5-14) หรือพืน้ ทีข่ องบ่อน�ำ้ อยูใ่ ต้รม่ เงา ท�ำให้สาหร่าย
ไม่สามารถสังเคราะห์ได้ อาจส่งผลให้มคี า่ DO ของน�ำ้ ในบ่อต�ำ่ กว่า 3 มิลลิกรัม/ลิตร จึงต้องก�ำจัด
พืชลอยน�ำ้ ออก (รูปที่ 5-15) และไม่ควรปลูกต้นไม้รอบบ่อปรับเสถียร ตารางที่ 5-14 แสดงสาเหตุ
และการแก้ไขปัญหาค่า DO ในบ่อปรับเสถียรมีแนวโน้มต�่ำกว่า 3 มิลลิกรัม/ลิตร

ตารางที่ 5-14 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า DO ในบ่อปรับเสถียรมีแนวโน้มต�่ำกว่า


3 มิลลิกรัม/ลิตร
สาเหตุ การแก้ไข
(1) มีแนวโน้มที่อัตราภาระสารอินทรีย์เข้าสู่ (1) ติดตั้งเครื่องเติมอากาศเพิ่มเติม เดินเครื่อง
บ่อปรับเสถียรเพิ่มสูงขึ้น และอาจมีค่า ในช่วงเช้าที่มีน�้ำเสียมากและหยุดในเวลา
ใกล้เคียงกับอัตราการผลิตออกซิเจนของบ่อ กลางคืน ปรับระบบให้เป็นสระเติมอากาศ
ท�ำให้ค่า DO ต�่ำกว่า 5 มิลลิกรัม/ลิตร เมื่อมีน�้ำเสียมาก (รูปที่ 5-16)
(2) มีแหน ผ�ำ หรือผักตบชวาลอยบนผิวน�้ำ (2) ก�ำจัดพืชลอยน�ำ้ ออก และดูแลอย่าง
บ่อป้องกันแสงแดด ท�ำให้สาหร่าย สม�่ำเสมอ โดยการตักออก
สังเคราะห์แสงไม่ได้ และป้องกันการถ่ายเท
ออกซิเจนจากอากาศลงสู่ผิวน�้ำ
(3) มีร่มเงาต้นไม้บังแสงแดดที่ลงในบ่อ และ (3) ตัดต้นไม้ทเี่ ติบโตอยูบ่ นคันดินหรือข้างคันดิน
ต้นไม้บังลมที่พัดผ่านผิวน�้ำบ่อ ออกให้หมด เพือ่ ให้บ่อได้รับแสงแดด และ
ได้รับลม
(4) ตะกอนสะสมก้นบ่อปริมาณมาก เกิดการ (4) ตรวจสอบความสูงของชั้นตะกอน และ
เน่าสลาย ท�ำให้เพิม่ อัตราภาระสารอินทรีย์ พิจารณาลอกตะกอนเมื่อจ�ำเป็น
ผ่ผ่าานผินผิววน้น้าบ่าบ่ออ เพืเพื่อ่อให้ให้บบ่อ่อได้ได้รรับับแสงแดด
แสงแดดและได้
และได้รรับับลม
ลม
(4)(4)ตะกอนสะสมก้
ตะกอนสะสมก้นนบ่บ่ออปริ ปริมมาณมาก
าณมากเกิเกิดดการเน่
การเน่าาสลาย
สลายททาให้
าให้ (4)(4)ตรวจสอบความสู
ตรวจสอบความสูงงของชั ของชั้ น้ นตะกอน
ตะกอน และพิ
และพิจจารณาลอก
ารณาลอก
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
เพิเพิ่ม่มอัอัตตราภาระสารอิ
ราภาระสารอินนทรีทรียย์ ์ ตะกอนเมื
ตะกอนเมื
ระบบบ่อปรั่อ่อบจจเสถี าเป็ยนรนระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 143
าเป็

รูปที่ 5-14 พืชลอยน�้ำปกคลุ บททีม่ มม5่ผิผิ5ผิววปันวปันญ


บทที น�ญ้ำหาต่
ของบ่ องๆและวิ
หาต่อาอางๆ และวิธธีกีการแก้
ารแก้ไขระบบ
ไขระบบ
รูรูปปทีที่ ่5-14
5-14พืพืชชลอยน
ลอยนาปกคลุ
าปกคลุ าของบ่
าของบ่
บทที
บทที่ 5่ 5ปัปัญญหาต่ หาต่าางๆงๆและวิ
และวิธธีกีการแก้
ารแก้ไขระบบ
ไขระบบ

4-139
4-139

รูปรูปทีที่ 5-15
่ 5-15กกาจัาจัดดพืพืชชลอยน
ลอยนาปกคลุ
าปกคลุมมผิผิววนนาของบ่
าของบ่ออออก
ออก
รูปทีรู่ปรู5-15
ปทีที่ 5-15ก�ำกจักาจัดาจัดพืดพืชพืชลอยน�
่ 5-15 ชลอยน ้ำาปกคลุ
ปกคลุมมผิมผิวผิวนวนาของบ่
ลอยนาปกคลุ น�าของบ่
้ำของบ่ อออก
ออออก
ออก

รูปรูปทีที่ 5-16
่ 5-16ติติดดตัตังเครื
งเครื่อ่องเติ
งเติมมอากาศเสริ
อากาศเสริมมค่ค่าาDO
DOและช่
และช่ววยกยกาจัาจัดดพืพืชชลอยน
ลอยนาา
รูปรูปทีที่ 5-16
่ 5-16ติติดดตัตังเครื
งเครื่อ่องเติ
งเติมมอากาศเสริ
อากาศเสริมมค่ค่าาDO
DOและช่
และช่ววยกยกาจัาจัดดพืพืชชลอยน
ลอยนาา
รูปที่ 5-16 ติดตั้งเครื่องเติมอากาศเสริมค่า DO และช่วยก�ำจัดพืชลอยน�้ำ
ปัปัญญหาหา33: :มีมีกกลิลิ่น่นเหม็ เหม็นนในบ่ ในบ่ออปรัปรับบเสถี
เสถียยรร
ปัปัญญหาหา3กลิ
3กลิ
: :มี่นมี่นกทีกทีลิ่เกิลิ่น่เกิด่นเหม็
เหม็ น น
ในบ่
ดขึขึ้น้นในบ่ในบ่อ อ
ปรั
ปรั บเสถีเสถี

เสถี
ในบ่ออปรัปรับบเสถี ยรอาจเกิ
ยรร ดดจากตะกอนสะสมที
ยยรอาจเกิ จากตะกอนสะสมที่ก่ก้อ้อนบ่ นบ่ออมีมีจจานวนมากเกิ
านวนมากเกินนไปไปจึจึงผลิ
งผลิตตก๊ก๊าซไข่
าซไข่เน่เน่าา
ในปริ กลิ
กลิ่ น
ในปริมมาณมากจากการย่่ น
ที ที่ เ กิ
่ เ
าณมากจากการย่ออยสลายแบบไร้ กิ
ด ดขึ
ขึ้ น้ น
ในบ่
ในบ่
อ อ
ปรั
ปรั
บ บ
เสถี
เสถีย
ยสลายแบบไร้ออากาศย
รอาจเกิ
รอาจเกิ ดดจากตะกอนสะสมที
จากตะกอนสะสมที
ากาศหรืหรือออาจเกิ ่ ก่ ก

อาจเกิดดจากสภาพไร้ อ้ อ
นบ่
นบ่
อ อมี
จากสภาพไร้ออากาศของน้มีจ จานวนมากเกิ
านวนมากเกิน
ากาศของน้าในบ่นไปไปจึ
จึง ่งสาเหตุแาและการ
ผลิ
ง ผลิ
าในบ่ออซึซึ่งสาเหตุต ต
ก๊ก๊
า ซไข่
ซไข่เน่เน่าา
ละการ
ในปริ
แก้ในปริ
แก้ไขปัมมญาณมากจากการย่
ไขปั ญาณมากจากการย่
หากลิ
หากลิ่น่นเหม็ เหม็นนในบ่ ออยสลายแบบไร้
อยสลายแบบไร้
ในบ่ อปรัปรับบเสถี ออากาศ
ากาศหรืหรือออาจเกิ
เสถียยรแสดงในตารางที
รแสดงในตารางที อาจเกิ
่ 5-15ดดจากสภาพไร้
่ 5-15 จากสภาพไร้ออากาศของน้ ากาศของน้าในบ่
าในบ่ออซึซึ่งสาเหตุ
่งสาเหตุแและการ
ละการ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
144 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ปัญหาที่ 3 : มีกลิ่นเหม็นในบ่อปรับเสถียร
กลิ่นที่เกิดขึ้นในบ่อปรับเสถียรอาจเกิดจากตะกอนสะสมที่ก้อนบ่อมีจ�ำนวนมากเกินไป
จึงผลิตก๊าซไข่เน่าในปริมาณมากจากการย่อยสลายแบบไร้อากาศ หรืออาจเกิดจากสภาพไร้อากาศ
ของน�้ำในบ่อ ซึ่งสาเหตุและการแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นในบ่อปรับเสถียรแสดงในตารางที่ 5-15

ตารางที่ 5-15 สาเหตุและการแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นในบ่อปรับเสถียร


สาเหตุ การแก้ไข
(1) อัตราภาระสารอินทรีย์เข้าสู่บ่อปรับเสถียร (1.1) ติดตั้งเครื่องเติมอากาศขนาดเล็ก
สูงขึ้น อาจเกิดขึ้นชั่วคราวหรือสม�่ำเสมอ ใช้เมื่อต้องการ
(1.2) ในกรณีที่อัตราภาระสารอินทรีย์สูง
ตลอดเวลา ให้เปลี่ยนการเดินระบบเป็น
สระเติมอากาศ
(1.3) หมุนเวียนน�้ำจากบ่อบ่มกลับมา
บ่อแฟคัลเททีฟในอัตราส่วน 1/6
ของอัตราไหลของน�้ำเสีย
(2) น�้ำเสียกระจายตัวไม่ดี ท่อน�้ำเสียเข้ามี (2) ปรับท่อน�้ำเสียเข้าให้เป็นหลายท่อ
เพียงท่อเดียว ท�ำให้บริเวณที่น�้ำเสียเข้าบ่อ เพื่อกระจายน�้ำเสียในบ่อปรับเสถียร
เกิดสภาพไร้อากาศ
(3) สภาพอากาศมีเมฆมากเป็นเวลานาน (3) ติดตั้งเครื่องเติมอากาศเพิ่มเติม และ
บ่อปรับเสถียรไม่ได้รับแสงแดดหลายวัน ให้ติดตั้งใกล้กับท่อน�้ำเสียเข้าบ่อ
(4) มีสารพิษท�ำลายสาหร่ายเข้าบ่อปรับเสถียร (4) แยกสารพิษออกไปก�ำจัด ติดตั้งเครื่องเติม
อากาศขนาดเล็ก เพื่อแก้ไขปัญหาชั่วคราว
(5) มีจุดบอดของการไหลของน�้ำในบ่อ น�้ำไหล (5.1) ก�ำจัดสิ่งที่ขัดขวางการไหลและท�ำให้เกิด
ลัดวงจร มีพืชน�้ำขวางการไหลของน�้ำ การไหลลัดวงจร
(5.2) ติดตั้งเครื่องเติมอากาศขนาดเล็กเพื่อ
ก�ำจัดจุดบอดของการไหล ตัดหรือก�ำจัด
พืชน�้ำออก
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 145

ปัญหาที่ 4 : มีปลาตายในบ่อปรับเสถียร
ในบ่อปรับเสถียรส่วนใหญ่จะมีปลาอาศัยอยู่ ซึง่ สามารถใช้เป็นสิง่ ชีว้ ดั ประสิทธิภาพการบ�ำบัด
น�้ำเสียของบ่อปรับเสถียรได้ระดับหนึ่ง โดยเฉพาะเมื่อพบเห็นปลาจ�ำนวนมากขึ้นมาหายใจบริเวณ
ผิวน�้ำ แสดงว่าค่า DO ในบ่อปรับเสถียรมีค่าต�่ำจนปลาไม่สามารถอาศัยอยู่ที่ระดับน�้ำกลางบ่อได้
เนือ่ งจากทีผ่ วิ น�ำ้ มีออกซิเจนละลายน�ำ้ สูงสุด และอาจพบปลาตาย (รูปที่ 5-17) สาเหตุและการแก้ไข
ปัญหาปลาตายในบ่อปรับเสถียรแสดงในตารางที่ 5-16

ตารางที่ 5-16 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาปลาตายในบ่อปรับเสถียร


สาเหตุ การแก้ไข
(1) ค่า DO ต�ำ่ เนือ่ งจากอัตราภาระสารอินทรียส์ งู (1.1) ติดตั้งเครื่องเติมอากาศ ใช้เมื่อจ�ำเป็น
มีน�้ำเสียเข้าระบบมากกว่าที่ออกแบบไว้ (1.2) ลอกตะกอนที่มากเกินไปออกไปก�ำจัด
หรือมีชั้นตะกอนก้นบ่อสูง มีพืชลอยน�้ำ ก�ำจัดพืชลอยน�้ำออก
เช่น แหน ปกคลุมทั่วผิวน�้ำ หรือสภาพ
อากาศมีเมฆมากเป็นเวลานาน
(2) เนื่องมีสาหร่ายเติบโตจ�ำนวนมาก ค่า pH (2.1) ลดค่า pH ด้วยการใช้ด่าง เช่น ปูนขาว
ของน�้ำในบ่อสูงเกิน 9.5 ท�ำให้ NH4+ (2.2) ติดตั้งเครื่องเติมอากาศ และเดินเครื่อง
เปลี่ยนเป็น NH3 ที่เป็นพิษ จะท�ำให้น�้ำในบ่อขุ่นและลดจ�ำนวน
สาหร่าย หมุนเวียนน�้ำจากบ่อบ่มใน
บทที
ปริม่ 5าณปั1/6
ญหาต่ของอัางๆ และวิธีก้ำเสีารแก้
ตราไหลของน� ย ไขระบบ

บทที่ 5 ปัญหาต่างๆ และวิธีการแก้ไขระบบ

รูปที่ 5-17 พบปลาตายในบ่อปรับเสถียร


ปัญหา 5 : ค่า pH ในบ่อปรับเสถียรมีแนวโน้มลดต่าลง (ต่ากว่า 8 ในเวลากลางวัน)
ค่า pH ของน้าในบ่อปรัรูปบทีเสถี
่ 5-17ยรที่บพบปลาตายในบ่
าบัดน้าเสียได้อย่อาปรั
งมีบปเสถี
ระสิยทรธิภาพจะมีค่ามากว่า 7.5 และน้อยกว่า 9.5
ปัญหาในเวลากลางวั
5 : ค่า pH นในบ่ อปรับและการแก้รู ป ที
เสถียรมีแไนวโน้ ่ 5-17 พบปลาตายในบ่
มลดต่า าลง (ต่ากว่ อ ปรั บเสถียร น)
สาเหตุ ขปัญหาค่ pH ในบ่ อปรัาบ8เสถีในเวลากลางวั
ยรมีแนวโน้มลดต่ าลง แสดงในตารางที่ 5-17
ค่า pH ของน้าในบ่อปรับเสถียรที่บาบัดน้าเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพจะมีค่ามากว่า 7.5 และน้อยกว่า 9.5
ในเวลากลางวั
ตารางทีน่ 5-17
สาเหตุ และการแก้
สาเหตุ ไขปัญไหาค่
และการแก้ ขปัญาหาค่pH าในบ่pHอปรั บเสถี
ในบ่ อปรัยบรมีเสถี
แนวโน้
ยรมีแมนวโน้
ลดต่าลง แสดงในตารางที
มลดต่ าลง ่ 5-17
ญหา 5 : ค่า pH ในบ่อปรับเสถียรมี รูปแทีนวโน้
่ 5-17มพบปลาตายในบ่
ลดต่าลง (ต่ากว่อาปรั8บเสถี ในเวลากลางวั
ยร น)
ปัญหาค่า5146
pH
: ค่าของน้ าในบ่มอและบ�
pH ในบ่
คู่มือการควบคุ อปรับำรุเสถี
ปรั บงรัเสถี ยรที
ยรมี ำ่บ
บัดาบั
แนวโน้
กษาระบบบ� น�้ำเสีดยน้
มลดต่ าเสีาลง
ยได้(ต่อย่ากว่
โรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
างมีา ป8ระสิ ทธิภาพจะมีนค) ่ามากว่า 7.5 และน้อยกว่า 9.5
ในเวลากลางวั
วลากลางวั ค่านpHสาเหตุ
ของน้แาในบ่
ละการแก้
อปรับไเสถี ขปัยญรทีหาค่
่บาบัา ดpH น้าเสีในบ่
ยได้ออปรั
ย่างมีบเสถี
ประสิ ยรมี
ทธิแภนวโน้
าพจะมีมลดต่ าลงา แสดงในตารางที
ค่ามากว่ 7.5 และน้อยกว่า่ 9.5
5-17
ในเวลากลางวัน สาเหตุ และการแก้
ปัญหาที ่ 5 : ค่าไขปั pHญหาค่
ในบ่าอpH
ปรับในบ่
เสถีอปรั บเสถี
ยรมี ยรมีแมนวโน้
แนวโน้ ลดต�ม่ำลดต่
ลง าลง แสดงในตารางที่ 5-17
รางที่ 5-17 สาเหตุ และการแก้(ต� ่ำกว่
ไขปั ญาหาค่
8 ในเวลากลางวั
า pH ในบ่อปรันบ)เสถียรมีแนวโน้มลดต่าลง
ค่า pH
ตารางที่ 5-17 สาเหตุ ของน�้ำในบ่
แสาเหตุ
ละการแก้ ไขปัอญปรัหาค่
บเสถี ยรทีในบ่
า pH ่บ�ำบัอดปรั
น�้ำบเสีเสถี
ยได้ยรมี
อย่แานวโน้
งมีประสิ ทธิาลง
มลดต่ ภาพจะมีค่ามากว่า 7.5
การแก้ไข
และน้อยกว่า 9.5สาเหตุ ในเวลากลางวัน สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า pH การแก้ ในบ่อปรั
ไขบเสถียรมีแนวโน้ม
ลดต�่ำลงนแสดงในตารางที
1) อัตราภาระสารอิ ทรีย์สูงเกินไป ่หรื5-17 อสภาพอากาศ (1) แก้ไขเช่นเดียวกับการแก้ไขปัญหาค่า DO ต่าและ
(1) อัตราภาระสารอิ น ทรี ย ์ ส ง
ู เกิ น ไป หรื อสภาพอากาศ
ไขปัญหาค่า (1) แก้ไขเช่อปรั
นเดียวกับการแก้ไขปัญหาค่า DO ต่าและ
ม่เหมาะสมเป็ตารางที ่ 5-17 สาเหตุและการแก้
นเวลานาน pH
เกิดในบ่กลิ่นเหม็บนเสถียรมีแนวโน้มลดต�่ำลง
ไม่เหมาะสมเป็นเวลานาน เกิดกลิ่นเหม็น
สาเหตุ การแก้ไข
(1) อัตราภาระสารอินทรีย์สูงเกินไป หรือ (1) แก้ไขเช่นเดียวกับการแก้ไขปัญหาค่า DO ต�่ำ
ญหา 6 : 6พบสาหร่
ปัญหา ายสี นาเงิ
นาเงินนแกมเขี
สภาพอากาศไม่
: พบสาหร่ ายสี ยยวในบ่
เแกมเขี
หมาะสมเป็ ออปรั
ปรับบเสถี
นเวลานาน
วในบ่ เสถียยรร และเกิดกลิน่ เหม็น (ปัญหาที่ 2 และปัญหาที่ 3)
สาหร่ ายสีายสี
สาหร่ น้าเงิ นแกมเขี
น้าเงิ นแกมเขียยวว (Blue (Blue green
green algae algaeหรืหรือ อcyanobacteria)
cyanobacteria) เป็นเป็ นสาหร่
สาหร่ ายที่ไาม่ยที
ต้อ่ไงการในบ่
ม่ต้องการในบ่
อ อ
บเสถี ปั่ 5-18)
ยร ย(รูรป(รูทีป่ ที5-18)
ปรับเสถี ญหาที เนืเนื่อ่ 6่องจากเป็
: พบสาหร่
งจากเป็ ายสีายที
นนสาหร่
สาหร่ น�้ำ่ผ่ผเงิลิลิตนตสารพิ
ยที แกมเขี
สารพิษษทีย่เทีวในบ่
ป็่เนป็อันนออัตรายต่
ปรั บเสถี
นตรายต่ ยอรปลาและสั
อปลาและสั ตว์เลีต้ยว์งลูเลีก้ยด้งลู กด้วยนมถ้
วยนมถ้ า า
สาหร่สารพิายสีนษำ�้ เงินีน้จแกมเขี ยวอ(Blue green่อalgae
โภคในปริ
บริโภคในปริมาณมาก
มาณมาก สารพิ ษนี้จะปลดปล่ะปลดปล่ ยออกมาเมื
ยออกมาเมื สาหร่หรื
่อสาหร่ าอยชนิ
ายชนิ cyanobacteria)
ดนีด้ตนีายหรื
้ตายหรื อเป็เซลแตกออก
นสาหร่ายที
อเซลแตกออก ไ่ ม่ตอ้ งการ
และสาหร่ และสาหร่ ายทาให้
ายทาให้
ในบ่อปรับเสถียร (รูปที่ 5-18) เนื่องจากเป็นสาหร่ายที่ผลิตสารพิษที่เป็นอันตรายต่อปลาและ
ค่า DO
DO ในน้ในน้ าลดลงด้ยเนื
าลดลงด้ วยเนื่องจากบดบั
่องจากบดบังแสงแดด แสงแดด สาเหตุ
สาเหตุแและการแก้ ไขปัไขปั
ญหาสาหร่ ายสีานยสี
้าเงินน้าเงิ
แกมเขี ยวในบ่อปรับ อปรับ
สัตว์เลี้ยวงลู กด้วยนมถ้าบริโงภคในปริ มาณมาก ละการแก้
สารพิ ษนี้จะปลดปล่ ญหาสาหร่
อยออกมาเมื ่อสาหร่นแกมเขี
ายชนิดยนีวในบ่ ้
เสถี ย รแสดงในตารางที
ถียรแสดงในตารางที
ตายหรือเซลล์ ่ 5-18
่ 5-18แตกออก และสาหร่ายท�ำให้คา่ DO ในน�ำ้ ลดลงด้วยเนือ่ งจากบดบังแสงแดด สาเหตุ
และการแก้ไขปัญหาสาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียวในบ่อปรับเสถียรแสดงในตารางที่ 5-18

รูปที่ 5-18 สาหร่ายสีนาเงินแกมเขียวขึนในบ่อปรับเสถียร


รูปที่ 5-18 สาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียวขึ้นในบ่อปรับเสถียร
รูปที่ 5-18 สาหร่ายสีนาเงิ4-142
นแกมเขียวขึนในบ่อปรับเสถียร
ตารางที่ 5-18 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาสาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียวในบ่อปรับเสถียร
4-142
สาเหตุ การแก้ไข
(1) บ่อปรับเสถียรอยู่ในสภาวะเกินพิกัด (1.1) ติดตั้งเครื่องเติมอากาศ ตีให้แพของ
(Overload) มีอัตราภาระสารอินทรีย์ สาหร่ายสีน�้ำเงินแกมเขียวให้แตก
สูงเกินไป (1.2) ก�ำจัดด้วยสารคอปเปอร์ซัลเฟต
ที่ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัม/ลิตร
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 147

ปัญหาที่ 7 : พบต้นไม้โผล่พ้นน�้ำโตขึ้นในบ่อปรับเสถียร
ปกติความลึกของน�้ำในบ่อแฟคัลเททีฟและบ่อบ่มมีค่าสูงพอที่จะท�ำให้พืชโผล่พ้นน�้ำโตขึ้น
ไม่ได้ ถ้าพบพืชโผล่พ้นน�้ำขึ้นในบ่ออาจท�ำให้ประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสียลดลง และเกิด
การไหลลัดวงจร สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาต้นไม้โผล่พ้นน�้ำโตขึ้นในบ่อปรับเสถียรแสดง
ในตารางที่ 5-19

ตารางที่ 5-19 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาต้นไม้โผล่พ้นน�้ำโตขึ้นในบ่อปรับเสถียร


สาเหตุ การแก้ไข
(1) ความลึกของน�้ำในบ่อต�่ำกว่าค่าที่ออกแบบ (1) เดินระบบทีค่ วามลึกน�ำ้ มากกว่า 0.9 เมตร
< 0.6 เมตร เนื่องจากมีสลัดจ์สะสม ขุดลอกตะกอนสะสมก้นบ่อเมื่อจ�ำเป็น
จ�ำนวนมาก
(2) บริเวณผนังบ่อที่มีความลาดชันน้อยมาก (2) ป้องกันด้านในของผนังบ่อที่ลาดชันด้วย
ท�ำให้ความลึกน�้ำบริเวณดังกล่าวน้อยกว่า การใช้แผ่นคอนกรีต ก้อนหิน แผ่นพลาสติก
0.6 เมตร เป็นต้น
(3) น�้ำในบ่อซึมลงใต้ดินจ�ำนวนมาก ท�ำให้ (3) ป้องกันการซึมน�้ำลงใต้ดิน ด้วยการปู
ความลึกน้อยลดลง แผ่นพลาสติกหรือใช้ชั้นดินเหนียวที่ก้นบ่อ
(4) ใบไม้จากต้นไม้ที่โตข้างบ่อตกลงในบ่อ (4) ลอกตะกอนออกและตัดต้นไม้ที่โตอยู่ข้าง
จ�ำนวนมาก ท�ำให้บริเวณขอบบ่อตื้นเขิน ขอบบ่อออกให้หมด

ปัญหาที่ 8 : แมลงเพิ่มจ�ำนวนอย่างรวดเร็วในบ่อปรับเสถียร
บ่อปรับเสถียรเป็นพื้นที่ที่ยุงชอบมาวางไข่ ท�ำให้พบยุงจ�ำนวนมากในโรงพยาบาลหลายแห่ง
สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาแมลงเพิ่มจ�ำนวนอย่างรวดเร็วในบ่อปรับเสถียรแสดงในตาราง
ที่ 5-20

ตารางที่ 5-20 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาแมลงเพิ่มจ�ำนวนอย่างรวดเร็วในบ่อปรับเสถียร


สาเหตุ การแก้ไข
(1) มีหญ้าหรือพืชโตขึน้ เป็นจ�ำนวนมากบริเวณ (1.1) ตัดหญ้าและก�ำจัดพืชที่โตบริเวณขอบบ่อ
ขอบบ่อด้านใน และเป็นแหล่งพันธุ์ยุง ด้านในอย่างสม�่ำเสมอ
(1.2) ป้องกันด้านบนและด้านในของผนังบ่อที่
ลาดชันด้วยการใช้แผ่นคอนกรีต ก้อนหิน
แผ่นพลาสติก
(1.3) ปล่อยปลาที่กินลูกน�้ำลงในบ่อ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
148 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ปัญหาที่ 9 : น�้ำทิ้งมีความเข้มข้นของสาหร่ายสูงเกินมาตรฐาน
ในระบบบ่อแฟคัลเททีฟของโรงพยาบาลสาหร่ายท�ำหน้าทีผ่ ลิตออกซิเจนให้แบคทีเรียก�ำจัด
สารอินทรีย์ จึงท�ำให้บ่อแฟคัลเททีฟมีความเข้มข้นของสาหร่ายสูง ส่วนบ่อบ่มจะรองรับน�้ำที่บ�ำบัด
แล้วจากบ่อแฟคัลเททีฟ ซึ่งมีความเข้มข้นของสารอินทรีย์ต�่ำท�ำให้ภายในบ่อบ่มมีความเข้มข้น
ของสาหร่ายไม่สูงมาก สาเหตุและแนวทางแก้ไขปับทที ญหาน� ่ 5้ำทิปั้ง่ มีญ5คหาต่
บทที วามเข้
ปัญหาต่ างๆ มข้นาและวิ
ของสาหร่
งๆ และวิ ธีกาารแก้ ยสู
ธีกงเกิ ไนขระบบ
ารแก้ ไขระบบ
มาตรฐานแสดงในตารางที่ 5-21
ปัญหาปัญ9 หา : นาทิ9 :งมีนาทิความเข้
งมีความเข้ มข้นของแข็มข้นของแข็
งแขวนลอยสู
งแขวนลอยสู งเกินมาตรฐาน
งเกินมาตรฐาน
ตารางที
ในระบบบ่ ่ 5-21
ในระบบบ่ อแฟคั สาเหตุ
อลแฟคัเททีแฟลเทที ละการแก้ ไขปัญหาปัายท
ของโรงพยาบาลสาหร่
ฟของโรงพยาบาลสาหร่ ญหาน�
าหน้ายทา้ำาหน้
ทีทิ่ผ้งลิมีาตคทีออกซิ
วามเข้
่ผลิตออกซิ
เจนให้มข้เนจนให้ แของสาหร่
บคทีแเบคที รียกาจั เารียสู งเกิดนสารอิ
ดยกสารอิ
าจั นทรียน์ จึทรีง ย์ จึง
มาตรฐาน
ทาให้ทบ่าให้
อแฟคั บ่อลแฟคั
เททีลฟเททีมีความเข้ฟมีความเข้ มข้นของสาหร่
มข้นของสาหร่ายสูง าส่ยสู
วนบ่
ง ส่อวบ่นบ่
มจะรองรั
อบ่มจะรองรั บน้าทีบ่บน้าบั าทีด่บแล้าบัวดจากบ่ แล้วจากบ่ อแฟคัอลแฟคั เททีลฟเทที ซึ่งมีฟซึ่งมี
ความเข้
ความเข้
มข้นของสารอิ
มข้นของสารอิ นทรียสาเหตุ น์ตทรี
่าทยาให้
์ต่าทภายในบ่
าให้ภายในบ่
อบ่มมีอคบ่วามเข้
มมีความเข้
มข้นของสาหร่
มข้นของสาหร่ การแก้
ายไม่ ไขสูงสาเหตุ
สาูงยไม่
มาก มาก สาเหตุ และแนวทางแก้
และแนวทางแก้ ไข ไข
ปัญหาน้(1)
ปัญาทิหาน้ ในบ่ อ บ่
้งมีคาทิวามเข้ม อยู
้งมีความเข้ ใ
่ นสภาวะเหมาะสมส�
มข้นของสาหร่ มข้นของสาหร่ ายสูงเกิายสู ำ หรั บ (1.1)
นมาตรฐานแสดงในตารางที ติ
งเกินมาตรฐานแสดงในตารางที ด ตั ง
้ เครื อ
่ งเติ
่ 5-21่ 5-21 ม อากาศที ร
่ ะดั บ พลั ง งาน
สาหร่ายในการเจริญเติบโต ท�ำให้น�้ำทิ้ง 1-2 วัตต์/ลูกบาศก์เมตร เพื่อท�ำให้น�้ำขุ่น
ตารางที
ตารางที
่ 5-21่ 5-21 สาเหตุสาเหตุ
และการแก้ และการแก้ ไขปัญไหาปั
ขปัญญหาปั หานญาทิหานงมีาทิ
ความเข้
งมีความเข้มข้นของสาหร่ มข้นของสาหร่ ายสูงเกิ ายสู นมาตรฐาน
งเกินมาตรฐาน
มีเซลล์สาหร่ายจ�ำนวนมาก ลดสาหร่าย (รูปที่ 5-19)
สาเหตุสาเหตุ การแก้การแก้ ไข ไข
(1.2) ต่อปลายท่อน�้ำทิ้งจากบ่อให้อยู่ต�่ำกว่า
(1) ในบ่(1)อบ่ในบ่
ม อยู
อบ่่ใมนสภาวะเหมาะสมส
อยู่ในสภาวะเหมาะสมส าหรับสาหร่
าหรับาสาหร่
ยใน ายใน(1.1) ติ(1.1)
ดตั้งเครื
ติด่ตัอ้งเติ
งเครืม่ออากาศที งเติมอากาศที ่ระดับพลั ่ระดังงาน บพลั1-2 งงานวัต1-2 ต์/ลบ.ม.
วัตต์/ลบ.ม.
เพื่อ เพื่อ
ผิวน�้ำ เพราะมีความเข้มข้นสาหร่าย
การเจริการเจริ
ญเติบโต ญเติทบาให้โตนท้าทิาให้้งมีนเซลล์
้าทิ้งมีสเาหร่
ซลล์าสยจาหร่
านวนมาก
ายจานวนมาก ทาให้นท้าขุาให้
่นลดสาหร่
น้าขุ่นลดสาหร่ าย (รูปาทีย่ 5-19)(รูปที่ 5-19)
(1.2) ต่(1.2)
ต�
อปลายท่

่ กว่
ต่อปลายท่

อ น้าทิ้องจากบ่ น้าทิ้งอจากบ่ ให้อ ยูอ่ตให้่ากว่ อ ยูา่ตผิ่ากว่
ว น้า ผิเพราะมี
ว น้า เพราะมีค วาม ค วาม
(1.3)
เข้มข้นเข้สาหร่
ติ ด
มข้นาสาหร่
ตั ง

ยต่ากว่ายต่
อุ ป กรณ์
า ากว่า
บ ง
ั แดดบางส่ ว นของพื น
้ ที ่
(1.3) ติ(1.3) ผิ ว น�
ดตั้งอุติปดกรณ์ ำ
้ บ่
ตั้งอุปบกรณ์ อ ใช้บแังผ่แดดบางส่
ังแดดบางส่ นพลาสติวนของพื ้นกทีลอยเหนื
วนของพื ที่ผอิวอน้น�าบ่้ำอ
่ผิวน้้นาบ่
แผ่แต่
ใช้แผ่นใช้พลาสตินพลาสติตกลอยเหนื
้องมัก่นลอยเหนื ตรวจสอบค่
อน้า แต่ า ่นตDO
อน้ตา้องมั
แต่ ้องมัเพราะ
ตรวจสอบค่
่นตรวจสอบค่ า DO าเพราะ DO เพราะ
แผ่
แผ่นกันแผ่แดดจะป้
นกันแดดจะป้น กั น แดดจะป้
องกันการละลายของ องกันการละลายของอ งกั น การละลาย
O2 จากอากาศ O2 จากอากาศ (รูปที่ 5-20)
(รูปที่ 5-20)
ของออกซิ
หรือ ใช้หรืโครงหลั
อ ใช้ โครงหลั
งคาบังงแดดเหนื เคาบั
จน (O 2อ)บ่จากอากาศ
งแดดเหนื อ อบ่อ (รูปที่ 5-20)
หรือใช้โครงหลังคาบังแดดเหนือบ่อ

รูปที่ 5-19
รูปที่ 5-19
ติดตังเครื
ติดตั่องเครื
งเติม่ออากาศในบ่
งเติมอากาศในบ่
อปรับอเสถี
ปรัยบรท
เสถีาให้
ยรทนาให้
าขุ่นนลดความเข้
าขุ่นลดความเข้
มข้นของสาหร่
มข้นของสาหร่
าย าย
รูปที่ 5-19 ติดตั้งเครื่องเติมอากาศในบ่อปรับเสถียรท�ำให้น�้ำขุ่นลดความเข้มข้นของสาหร่าย
รูปรูทีป่ ที5-19
่ 5-19ติดติตัดงเครื ่องเติ
ตังเครื มอากาศในบ่
่องเติ อปรัอปรั
มอากาศในบ่ บเสถี ยรท
บเสถี
คูย่มือาให้
รท นาขุนม่นาขุ
าให้
การควบคุ ลดความเข้
่นำลดความเข้
และบ� มข้นมำบัข้ของสาหร่
รุงรักษาระบบบ� ดน�น้ำของสาหร่าย าย 149
เสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

รูปรูทีป่ ที5-20
่ 5-20ติติดติดตัดตังอุตั้งงอุ
ปกรณ์ บังบแสงแดดเพื ่อลดความเข้ มข้มนข้ของสาหร่ ายในบ่อปรัอบปรัเสถี ยร ยร
รูปที่ 5-20 อุปปกรณ์
กรณ์บังังแสงแดดเพื
แสงแดดเพื ่อ่อลดความเข้
ลดความเข้ มข้นนของสาหร่
ของสาหร่าายในบ่
ยในบ่อปรับบเสถี เสถียร
4-144
4-144
ปัญหาที่ 10 : น�้ำทิ้งมีค่า BOD5 เกินค่ามาตรฐาน (> 20 มิลลิกรัม/ลิตร)
ค่า BOD5 ของน�ำ้ ทิง้ จะต้องมีคา่ ไม่เกิน 20 มิลลิกรัม/ลิตร ตามมาตรฐานน�ำ้ ทิง้ ของทางราชการ
ซึ่งค่านี้เป็นผลรวมของ BOD5 ที่ละลายน�้ำและ BOD5 ที่ไม่ละลายน�้ำ ตารางที่ 5-22 แสดงสาเหตุ
และการแก้ไขปัญหาค่า BOD5 ของน�้ำทิ้งเกินค่ามาตรฐาน

ตารางที่ 5-22 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า BOD5 ของน�้ำทิ้งเกินค่ามาตรฐาน


สาเหตุ การแก้ไข
(1) อัตราภาระสารอินทรียส์ งู เกินความสามารถ (1) ปรับบ่อแฟคัลเททีฟให้เป็นสระเติมอากาศ
ในการบ�ำบัดของบ่อปรับเสถียรที่ใช้อยู่ ด้วยการติดตั้งเครื่องเติมอากาศให้
สอดคล้องกับความต้องการใช้ออกซิเจน
(2) น�้ำทิ้งมีความเข้มข้นของเซลล์สาหร่ายสูง (2) แก้ไขปัญหาเช่นเดียวกับน�้ำทิ้งมี SS
ซึ่งเซลล์สาหร่ายท�ำให้ค่า BOD5 รวมของ เกินมาตรฐาน
น�้ำทิ้งเพิ่มขึ้น

5.2.2 ปัญหาในการเดินระบบสระเติมอากาศและแนวทางแก้ไข
ปัญหาที่ 1 : ค่า DO มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ระบบสระเติมอากาศได้ออกซิเจนส�ำหรับแอโรบิกแบคทีเรียใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์
จากเครื่องเติมอากาศ ซึ่งการเดินเครื่องเติมอากาศจะให้ออกซิเจนละลายลงน�้ำในอัตราที่ค่อนข้าง
คงที่ ในกรณีที่พบว่าค่า DO เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วแสดงว่าอัตราการใช้ออกซิเจนในสระเติมอากาศ
มากกว่าอัตราการใช้ออกซิเจน ซึ่งอาจเกิดจากมีปริมาณน�้ำเสียเข้าสระเติมอากาศลดลงอย่างมาก
หรือแบคทีเรียที่มีอยู่ไม่ย่อยสลายสารอินทรีย์ในน�้ำเสีย สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาค่า DO
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วแสดงในตารางที่ 5-23
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
150 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 5-23 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า DO มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว


สาเหตุ การแก้ไข
(1) อัตราไหลของน�้ำเสียลดลง หรือความ (1) ปรับลดชั่วโมงการเดินเครื่องเติมอากาศ
เข้มข้นของสารอินทรีย์ในน�้ำเสียลดลง ให้เหมาะสมกับอัตราภาระสารอินทรีย์
ท�ำให้อัตราการเติมออกซิเจนมีค่าสูงกว่า เพื่อลดการใช้พลังงาน ตรวจสอบค่า DO
อัตราการใช้ออกซิเจน อย่างสม�่ำเสมอ
(2) มีสารพิษที่ฆ่าแบคทีเรีย เช่น คลอรีน (2) แยกน�้ำเสียที่มีสารพิษออกไปก�ำจัด ไม่ให้
เป็นต้น ไหลเข้าระบบ ท�ำให้ไม่มีการใช้ เข้าระบบ แบคทีเรียในระบบสามารถปรับตัว
ออกซิเจนในการย่อยสารอินทรีย์ ได้ถ้าความเข้มข้นไม่สงู มาก ถ้าไม่ฟื้นให้
เริ่ม Startup ระบบใหม่

ปัญหาที่ 2 : ค่า DO มีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็ว


ในกรณีที่พบว่าค่า DO มีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็วแสดงว่าอัตราการใช้ออกซิเจนใน
สระเติมอากาศเพิม่ สูงขึน้ กว่าอัตราการให้ออกซิเจนจากเครือ่ งเติมอากาศ ซึง่ อาจเกิดจากมีปริมาณ
น�้ำเสียเข้าสระเติมอากาศเพิ่มขึ้นอย่างมาก สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาค่า DO ลดลงอย่าง
รวดเร็วแสดงในตารางที่ 5-24
ตารางที่ 5-24 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า DO มีแนวโน้มลดลงอย่างรวดเร็ว
สาเหตุ การแก้ไข
(1) อัตราไหลของน�ำ้ เสียเพิม่ ขึน้ หรือความเข้มข้น (1) ปรับเพิ่มชั่วโมงการเดินเครื่องเติมอากาศ
ของสารอินทรียใ์ นน�ำ้ เสียเพิม่ ขึน้ แต่จำ� นวน ให้เหมาะสมกับอัตราภาระสารอินทรีย์ ถ้า
ชั่วโมงที่เดินเครื่องเติมอากาศเท่าเดิม ค่า DO ไม่เพิม่ ให้ตดิ ตัง้ เครือ่ งเติมอากาศเพิม่
(2)เครื่องเติมอากาศอาจเกิดความเสียหาย (2) ตรวจสอบความผิดปกติของเครื่องและ
หรือการติดตั้งเปลี่ยนไปจากเดิม เช่น ซ่อมแซม ติดตั้งเครื่องเติมอากาศแบบเจ็ท
มุมของเครื่องเจ็ท ให้ถูกต้อง

ปัญหาที่ 3 : เกิดจุดบอด (Dead zone) ของการผสมภายสระเติมอากาศ


การผสมของน�้ำภายในสระเติมอากาศเป็นปัจจัยส�ำคัญที่มีผลต่อประสิทธิภาพการบ�ำบัด
น�้ำเสียของระบบสระเติมอากาศ แบคทีเรียและน�้ำเสียจะต้องผสมเข้ากันเพื่อให้แบคทีเรียได้
สัมผัสและย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีในน�้ำเสีย ของแข็งแขวนลอยในสระเติมอากาศจะตกตะกอน
และสะสมเป็นจ�ำนวนมากบริเวณจุดบอดของการผสม และอาจท�ำให้บริเวณดังกล่าวมีค่า DO ต�่ำ
และท�ำให้เกิดกลิน่ เหม็นของการย่อยสลายแบบไร้อากาศ สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหาการเกิด
จุดบอดของการผสมภายในสระเติมอากาศแสดงในตารางที่ 5-25
ปัญหาที
ปัญ่หาที 3 : ่เกิ3ด:จุเกิดบอด ดจุดบอด (Dead (Dead zone) zone)ของผสมภายสระเติ
ของผสมภายสระเติ มอากาศ มอากาศ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
การผสมของน้ การผสมของน้ าภายในสระเติ
าภายในสระเติ มอากาศเป็
มอากาศเป็ นปัจนจัยปัสจาคั ญสาคัที่มญอีผปรัทีลต่บ่มเสถี
จัยระบบบ่ อีผประสิ
ลต่ ทธิภาพการบ
อประสิ
ยร ระบบสระเติ ทมธิอากาศ
ภาพการบ าบัดน้าบัาเสี
และระบบบึ ดน้ยาเสี
งประดิ ของระบบ
ษฐ์ ย151 ของระบบ
สระเติสระเติ
มอากาศ มอากาศ แบคทีแบคที เรียและน้เรียและน้าเสียาเสี จะต้ยอจะต้งผสมเข้
องผสมเข้ ากันเพื ากั่อนให้
เพืแ่อบคที
ให้แบคทีเรียได้เรีสยัมได้ผัสสและย่ ัมผัสและย่ อยสลายสารอิ อยสลายสารอิ นทรียน์ททรีี่มียใน์ที่มีใน
น้าเสีน้ยาเสี ตารางที
ของแข็ ่ 5-25 สาเหตุและการแก้
งแขวนลอยในสระเติ ไขปัญหาเกิดจุดบอด (Dead
มอากาศจะตกตะกอนและสะสมเป็ zone) ของการผสมภายสระ
นจานวนมากบริ เวณจุเวณจุ ดบอดของการผสม
ย ของแข็ งแขวนลอยในสระเติ มอากาศจะตกตะกอนและสะสมเป็ นจานวนมากบริ ดบอดของการผสม
และอาจท เติ ม
าให้บาให้ อากาศ
ริเวณดั งกล่างวมี
และอาจท บริเวณดั กล่คา่าวมีDO ค่า ต่DO าและทต่าและท าให้เาให้ กิดกลิ
เกิ่นดกลิ
เหม็่นนเหม็ ของการย่ นของการย่ อยสลายแบบไร้ อยสลายแบบไร้ อากาศ อากาศ สาเหตุ และ และ
สาเหตุ
แนวทางแก้ ไขปัญไขปั หาการเกิ สาเหตุ
ดจุดบอดของการผสมภายในสระเติ มอากาศแสดงในตารางที การแก้ไ่ ข5-25
แนวทางแก้ ญหาการเกิ ดจุดบอดของการผสมภายในสระเติ มอากาศแสดงในตารางที ่ 5-25
ตารางที (1)
่ 5-25่ 5-25 ก� ำ
สาเหตุ ลั ง เครื อ
่ งเติ
และการแก้ ม อากาศไม่
ไขปัญไขปั เ พี
หาเกิ ย งพอส�
ดจุดบอด ำ หรั บ
(Dead (1) เพิ
zone)ม
่ จ� ำ นวนเครื อ

ของการผสมภายสระเติ งเติ ม อากาศที ่ตมิดอากาศ
ตั้งในบ่อ
ตารางที การผสม เพี สาเหตุ แ ละการแก้
ยงพอส�ำหรับการเติมออกซิเจน ญ หาเกิ ด จุ ด บอด (Dead zone)
หรือใช้เครื่องเติมการแก้ ของการผสมภายสระเติ
อากาศที ่มีก�ำลังสูงขึม้นอากาศ
สาเหตุ สาเหตุ ไ ข
การแก้ไข
(1) ก (1)
าลั งกเครื ่ อ
เท่
งเติ
านัม อากาศไม่
้น เ พี ย งพอส าหรั บ การผสม (1) เพิ ่ ม จ านวนเครื ่ อ งเติ ม อากาศที ่ติดตั้ง่ตในบ่
าลั
(2) ง เครื
ติ ด ่ อตังเติ

้ ม่ออากาศไม่
เครื งเติ ม เ พี ย งพอส าหรั
อากาศแบบเจ็ ท หับนการผสม
ปลาย (2) (1)ปรัเพิบ่มทิจศานวนเครืทางของเครื ่องเติอ่มอากาศที
งเติ ม อากาศ ิดตั้งอในบ่
ให้
หรืออใช้หรืเครื
ปลาย อใช้่องเครื่อง
เพียงพอส าหรับาหรั
เพียงพอส การเติ บการเติ มออกซิ มวกัเจนเท่เจนเท่
ออกซิ านั้น านั้น เติมอากาศที
เติชีม้ไอากาศที่มีกาลั่มงสูีกงาลัขึ้นงสูงขึ้น
(2) ติด(2)ตั้งติเครื ่ อ ไปทางเดี
งเติ ม อากาศแบบเจ๊ ย น 2
ท เครื
หั น อ
่ ง (รู
ปลายไปทางเดี ป ที ่ 5-21)
ย วกั น (2) ปรั บ ทิ ปคนละด้
ศ ทางของเครื าน่องเติมอากาศ ให้ปลายชี้ไปคนละด้าน
ดตั้งเครื ่องเติ มอากาศแบบเจ๊ ท หันปลายไปทางเดี ทท�ำมุยวกัม น(3)(2)ปรัปรับบมุทิมศของใบพั ทางของเครื ่องเติ่อมงให้ อากาศ สูงขึให้้นประดั
ลายชีบ้ไปคนละด้าน
2 เครื2่องเครื(รู(3) ใบพั
ป่องที่(รู5-21) ดของเครื ่องเติมอากาศแบบเจ็ ดเครื
(3) ใบพั ด ของเครื น้ป่ออทีงเติ
่ 5-21)
ยเกิ นไปจากผิวน�ท้ำทามุ
ม่ออากาศแบบเจ๊ ท�ำมให้ อเยเกิ
น้ามุกิดน�นไปจาก
้ำวน (3) ปรับของมุ มุปรั
มของใบพั มขึ้นกัดเครืบความลึ ่อดงให้ ส่อูงกงให้
ขึน�้น้ำสระดั ตรวจสอบคู
บระดั มขึ้น่มกัมือบขึความ
ของมุบของมุ
(3) ใบพัดของเครื (Vortex) งเติ ม อากาศแบบเจ๊ ท ท ม น้ อ ยเกิ น ไปจาก (3) บ มุ ม ของใบพั
การใช้เครื่ม่อืองการใช้เครื่อง เครื ง
ู ขึ น
้ ้นกับความ
ผิวน้าผิทวาให้ เ กิ ด น้ าวน
น้า ทาให้เกิดน้าวน (vortex) (vortex) ลึ ก น้ า ตรวจสอบคู
ลึกน้า ตรวจสอบคู่มือการใช้เครื่อง
(4) มีพ(4)ืชลอยน้(4) มี พ ช
ื ลอยน�
า เช่ นา ผัเช่กนตบชวาลอยอยู ำ
้ เช่ น ผั ก ตบชวาลอยอยู
่ บนผิว่ บน้นผิ
าในบ่ บ
่ น
อ เติ มอ เติ(4) (4) เอาพื ชลอยน� ้ำออกให้ หมด หไม่หมด คมด ไม่ีสคิ่งวรให้ มี
มีพืชลอยน้ ผัก ตบชวาลอยอยู ว น้าในบ่ ม เอาพื(4) ชเอาพื ลอยน้ าออกให้
ชลอยน้ าออกให้ วรให้
ไม่คมวรให้ กีมดีสขวางการผสม
ิ่งกีดขวางการผสม
อากาศขั ดขวางการผสมของน้ ผิวน�้ำในบ่อเติ า (รูมปอากาศขั ดขวางการผสม ของน้า สิ่งกีดขวางการผสมของน�้ำ
อากาศขั ดขวางการผสมของน้ าที่(รู5-22)
ปที่ 5-22) ของน้า
ของน�้ำ (รูปที่ 5-22)

บทที่ 5 ปัญหาต่างๆ และวิธีการแก้ไขระบบ


รูปที่ 5-21 เครื่องเติมอากาศแบบเจ็ทที่ติดตั้งด้านปลายไปทางเดียวกัน
รูปที่รู5-21 เครื่อเครื
ปที่ 5-21 งเติ่อมงเติ
อากาศแบบเจ๊ ทที่ตทิดทีตังด้
มอากาศแบบเจ๊ ่ติดาตันปลายไปทางเดี ยวกันยวกัน
งด้านปลายไปทางเดี
4-1464-146

รูปที่ 5-22 ภายในสระเติมอากาศมีสิ่งกีดขวางการผสมของน�้ำ


รูปที่ 5-22 ภายในสระเติมอากาศมีสิ่งกีดขวางการผสมของนา
ปัญหา 4 : นาทิงมีความเข้มข้นของของแข็งแขวนลอยสูงเกินมาตรฐาน
บ่อบ่มเป็นบ่อที่รองรับน้าที่บาบัดแล้วจากสระเติมอากาศ ซึ่งเป็นน้าที่มีความเข้มข้นของสารอินทรีย์ต่าทา
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
152 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ปัญหาที่ 4 : น�้ำทิ้งมีความเข้มข้นของของแข็งแขวนลอยสูงเกินมาตรฐาน
บ่อบ่มเป็นบ่อทีร่ องรับน�ำ้ ทีบ่ ำ� บัดแล้วจากสระเติมอากาศ ซึง่ เป็นน�ำ้ ทีม่ คี วามเข้มข้นของสาร
อินทรีย์ต�่ำท�ำให้ภายในบ่อบ่มมีความเข้มข้นของสาหร่ายไม่สูงมาก แต่ในบางกรณีพบว่าบ่อบ่มอยู่
สภาพที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของสาหร่าย ท�ำให้ในน�้ำทิ้งมีความเข้มข้นของสาหร่ายสูง
ส่งผลให้ความเข้มข้นของของแข็งแขวนลอยเกินค่ามาตรฐานน�ำ้ ทิง้ สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหา
น�้ำทิ้งมีความเข้มข้นของของแข็งแขวนลอยสูงเกินมาตรฐานแสดงในตารางที่ 5-26

ตารางที่ 5-26 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาปัญหาน�้ำทิ้งมีความเข้มข้นของของแข็งแขวนลอย


สูงเกินมาตรฐาน
สาเหตุ การแก้ไข
(1) ในบ่อบ่ม มีสภาวะเหมาะสมส�ำหรับ (1.1) ติดตั้งเครื่องเติมอากาศที่ระดับพลังงาน
สาหร่ายในการเจริญเติบโต ท�ำให้น�้ำทิ้งมี 1-2 วัตต์/ลูกบาศก์เมตร เพื่อท�ำให้น�้ำขุ่น
สาหร่ายจ�ำนวนมาก ลดสาหร่าย
(1.2) ต่อปลายท่อน�้ำทิ้งจากบ่อให้อยู่ต�่ำกว่า
ผิวน�้ำ เพราะน�้ำด้านล่างมีความเข้มข้น
สาหร่ายต�่ำกว่า
(1.3) ติดตั้งอุปกรณ์บังแดดบางส่วนของพื้นที่
ผิวน�้ำบ่อ
- ใช้แผ่นพลาสติกลอยเหนือน�้ำ แต่ต้อง
หมั่นตรวจสอบค่า DO เพราะป้องกัน
การละลายของออกซิเจน O2 จากอากาศ
- ใช้โครงหลังคาบังแดดเหนือบ่อ

ปัญหาที่ 5 : เครื่องเติมอากาศผิวน�้ำ (Surface Aerator) ช�ำรุด


ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียแบบสระเติมอากาศนิยมใช้เครื่องเติมอากาศผิวน�้ำแบบรอบช้าและแบบ
เจ็ทเนื่องจากมีประสิทธิภาพสูงและติดตั้งง่าย การช�ำรุดของมอเตอร์ของเครื่องเติมอากาศท�ำให้
ไม่มีการเติมอากาศ จุลินทรีย์ในสระเติมอากาศจะขาดออกซิเจนและเกิดสภาวะไร้อากาศใน
สระเติมอากาศ ส่งผลให้นำ�้ ทิง้ ไม่ผา่ นมาตรฐานฯ สาเหตุและแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-27
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 153

ตารางที่ 5-27 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขเครื่องเติมอากาศผิวน�้ำช�ำรุด


สาเหตุ การแก้ไข
(1) มอเตอร์ช�ำรุด สังเกตพบว่าไม่เกิด (1) ยกเครื่องเติมอากาศขึ้นมาตรวจสอบ
การผสมในสระเติมอากาศและไม่ได้ยิน มอเตอร์ ถ้าเสียหายให้ส่งซ่อม มีเครื่อง
เสียงเครื่องเดิน ส�ำรองและสลับการท�ำงานเพื่อยืดอายุ
การใช้งาน จัดท�ำแผนซ่อมบ�ำรุงโดย
ยกเครื่องเติมอากาศขึ้นมาตรวจสอบทุก ๆ
6 เดือนเพื่อตรวจสอบใบพัด จัดเตรียม
งบประมาณส�ำหรับการซ่อมแซมและ
ซื้อเปลี่ยนทดแทนตามอายุการใช้งาน

ปัญหาที่ 6 : เครื่องเติมเป่าอากาศ (Air Blower) ช�ำรุด


เครือ่ งเป่าอากาศท�ำหน้าทีส่ ง่ อากาศไปตามท่ออากาศเข้าหัวฟูเ่ พือ่ กระจายอากาศในสระเติม
อากาศ ถ้าเครื่องเป่าอากาศช�ำรุดจะไม่มีอากาศกระจายออกจากหัวฟู่ ท�ำให้ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย
ขาดออกซิเจนและเกิดสภาวะไร้อากาศ และส่งผลต่อประสิทธิภาพการบ�ำบัดน�้ำเสีย สาเหตุ
และแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-28

ตารางที่ 5-28 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขเครื่องเติมเป่าอากาศ (Air Blower) ช�ำรุด


สาเหตุ การแก้ไข
(1) มอเตอร์ของเครื่องเป่าอากาศช�ำรุด (1) ตรวจสอบเครื่องเป่าอากาศ ถ้ามอเตอร์
พบมอเตอร์หยุดเดิน มีความร้อนสูง เสียหายให้ส่งซ่อม จัดท�ำแผนซ่อมบ�ำรุง
มีกลิ่นไหม้ และมีเสียงดัง เดินไม่เรียบ ตามคูม่ อื ของผูผ้ ลิต จัดเตรียมงบประมาณ
เหมือนปกติ ส�ำหรับการซ่อมแซมและซือ้ เปลีย่ นทดแทน
ตามอายุการใช้งาน
(2) สายพานช�ำรุด ท�ำให้ปริมาณอากาศ (2) ตรวจสอบสภาพของสายพานอย่าง
ที่จ่ายน้อยกว่าปกติ สม�่ำเสมอทุก ๆ 2 เดือน เปลี่ยนสายพาน
เมื่อพบว่าสายพานช�ำรุดหรืออยู่ในสภาพ
ที่ไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
154 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

5.2.3 ปัญหาในการเดินระบบบึงประดิษฐ์และแนวทางแก้ไข

ปัญหาที่ 1 : ค่า DO ในบ่อบึงประดิษฐ์มีแนวโน้มต�่ำกว่า 1 มิลลิกรัม/ลิตร


ค่า DO เป็นตัวแปรที่ส�ำคัญที่สุดที่มีผลต่อการก�ำจัดสารอินทรีย์ในบึงประดิษฐ์ การเติม
ออกซิเจนลงในบึงประดิษฐ์แบบ FW จะมาจากการสังเคราะห์แสงจากสาหร่ายในบริเวณที่ไม่มี
ร่มเงาต้นไม้ และได้จากการละลายของออกซิเจนจากอากาศลงสู่ผิวน�้ำ (Surface reaeration)
ตารางที่ 5-29 แสดงสาเหตุ แ ละการแก้ ไ ขปั ญ หาค่า DO ในบึงประดิษฐ์มีแนวโน้มต�่ำกว่า
1 มิลลิกรัม/ลิตร

ตารางที่ 5-29 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า DO ในบึงประดิษฐ์มีแนวโน้มต�่ำกว่า


1 มิลลิกรัม/ลิตร
สาเหตุ การแก้ไข
(1) มีแนวโน้มที่อัตราภาระสารอินทรีย์เพิ่ม (1) เพิม่ ระบบบ�ำบัดขัน้ ต้น เช่น บ่อแฟคัลเททีฟ
สูงขึ้น และอาจมีค่าใกล้เคียงกับอัตรา หรือสระเติมอากาศ ด้วยการขุดบ่อน�ำ้ เพิม่
การผลิตออกซิเจนของบึงประดิษฐ์ และผันน�ำ้ เสียลงไปบ�ำบัดเพือ่ ลดค่า BOD5
ท�ำให้ค่า DO ต�่ำกว่า 1 มิลลิกรัม/ลิตร ก่อนไหลเข้าบึงประดิษฐ์
(2) มีแหนหรือผ�ำลอยบนผิวน�้ำในบึงป้องกัน (2) ก�ำจัดพืชลอยน�้ำออกให้หมด และดูแล
แสงแดด ท�ำให้สาหร่ายสังเคราะห์แสงไม่ได้ อย่างสม�่ำเสมอ
และป้องกันการถ่ายเทออกซิเจนจาก
อากาศลงสู่ผิวน�้ำ
(3) พืชเติบโตอย่างหนาแน่น ท�ำให้น�้ำไหล (3) ตัดพืชที่หนาแน่นเกินไปออก ให้มีความ
ลัดวงจร มีพื้นที่จุดบอดจ�ำนวนมาก ท�ำให้ หนาแน่นเหมาะสม เพื่อน�้ำไหลได้อย่าง
ออกซิเจนจากอากาศละลายน�้ำได้น้อย สม�่ำเสมอ ไม่เกิดจุดบอด และมีพื้นที่
รับแสงแดดส�ำหรับสาหร่าย
(4) ระดับน�้ำในบึงสูงกว่า 30 เซนติเมตร (4) ปรับระดับน�ำ้ ให้ได้ประมาณ 30 เซนติเมตร
ออกซิเจนละลายน�้ำลงที่ผิวน�้ำ เพื่อท�ำให้ออกซิเจนละลายน�้ำกระจาย
น�้ำที่ความลึกสูงขึ้นจะมีค่า DO ลดลง ได้ทั่วความลึก
(5) ตะกอนสะสมก้นบึงปริมาณมาก เกิดการ (5) ตรวจสอบความสูงของชั้นตะกอน และ
เน่าสลาย ท�ำให้เพิม่ อัตราภาระสารอินทรีย์ พิจารณาลอกตะกอนเมื่อจ�ำเป็น
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 155

ปัญหา 2 : มีกลิ่นเหม็น น�้ำในบึงประดิษฐ์มีสีด�ำ


กลิ่นที่เกิดขึ้นในบึงประดิษฐ์อาจเกิดจากมีตะกอนสะสมที่ก้นบ่อจ�ำนวนมากเกินไปและ
เกิดการย่อยสลายแบบไร้อากาศท�ำให้ผลิตก๊าซไข่เน่าในปริมาณมาก น�ำ้ ในบึงมีสดี ำ� เกิดจากสภาพ
ไร้อากาศของน�้ำในบ่อ สาเหตุและการแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นในบึงแสดงในตารางที่ 5-30

ตารางที่ 5-30 สาเหตุและการแก้ไขปัญหากลิ่นเหม็นในบึงประดิษฐ์


สาเหตุ การแก้ไข
(1) อัตราภาระสารอินทรียส์ งู เกินความสามารถ (1) เพิม่ ระบบบ�ำบัดขัน้ ต้น เช่น บ่อแฟคัลเททีฟ
ในการบ�ำบัดของบึงประดิษฐ์ ท�ำให้เกิด หรือสระเติมอากาศ ด้วยการขุดบ่อน�ำ้ เพิม่
สภาพไร้อากาศในบึงประดิษฐ์ (รูปที่ 5-23) และผันน�้ำเสียลงไปบ�ำบัดก่อน ไหลเข้า
บึงประดิษฐ์
(2) ระบบบึงประดิษฐ์ทใี่ ช้อยูม่ ขี นาดเล็กเกินไป (2) ของบประมาณก่อสร้างระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียใหม่
(3) น�้ำเสียกระจายตัวไม่ดี ท่อน�้ำเสียเข้า (3) ปรับท่อน�้ำเสียเข้าให้เป็นหลายท่อ
มีเพียงท่อเดียว ท�ำให้บริเวณที่น�้ำเสีย เพื่อกระจายน�้ำเสียออกอย่างสม�่ำเสมอ
เข้าบ่อเกิดสภาพไร้อากาศ
(4) มีพชื ลอยน�ำ้ ปกคลุมผิวน�ำ้ ในบึงจ�ำนวนมาก (4) ก�ำจัดพืชลอยน�้ำออก และดูแลอย่าง
ท�ำให้ออกซิเจนถ่ายเทจากอากาศไม่ได้ สม�่ำเสมอ
(5) มีตะกอนสะสมจ�ำนวนมาก เกิดการ (5) ตรวจสอบความสูงของชั้นตะกอน และ
เน่าสลายและปลดปล่อยสารอินทรีย์ พิจารณาลอกตะกอนเมื่อจ�ำเป็น
ออกมาก
(6) มีจุดบอดของการไหลของน�้ำในบ่อ น�้ำไหล บทที (6) ่ ก�5ำ่ 5จัปัดญปัสิญ
บทที ่งทีหาต่
หาต่ ่ขัดาขวางการไหลและท�
งๆ
างๆและวิ
และวิธีกธารแก้ำไขระบบ
ีการแก้ให้ไขระบบ
เกิด
ลัดวงจร เนื่องจากมีพืชเจริญเติบโตมาก การไหลลัดวงจร ตัดหรือก�ำจัดพืชที่เติบโต
เกินไป ท�ำให้บริเวณจุดบอดขาดออกซิเจน มากเกินไปออก

รูปรูทีป่ ที5-23
่ 5-23เกิดเกิสภาพไร้
ดสภาพไร้
อากาศในบึ
อากาศในบึ
งประดิ
งประดิ
ษฐ์ษฐ์
รูปที่ 5-23 เกิดสภาพไร้อากาศในบึงประดิษฐ์
ปัญปัหา
ญหา3 :3ค่:าค่BOD
า BOD5 ของน
5 ของน าทิาทิ
งเกิงเกิ
นค่นาค่มาตรฐาน
ามาตรฐาน(>(>2020มก./ล.) มก./ล.)
ค่าค่BOD
า BOD 5 ของน้
5 ของน้
าทิาทิ
้งจะต้
้งจะต้
องมีองมี
ค่าคไม่่าไม่
เกินเกิน2020มก./ล.มก./ล.ตามมาตรฐานน้
ตามมาตรฐานน้
าทิาทิ
้งของทางราชการ
้งของทางราชการตารางที
ตารางที
่ 5-31
่ 5-31
แสดงสาเหตุ
แสดงสาเหตุและการแก้
และการแก้ ไขปัไขปั
ญหาค่
ญหาค่
า BOD
า BODของน้ ของน้าทิาทิ
้งเกิ้งนเกิค่นาค่มาตรฐาน
ามาตรฐาน
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
156 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ปัญหาที่ 3 : ค่า BOD5 ของน�้ำทิ้งเกินค่ามาตรฐาน (> 20 มิลลิกรัม/ลิตร)


ค่า BOD5 ของน�ำ้ ทิง้ จะต้องมีคา่ ไม่เกิน 20 มิลลิกรัม/ลิตร ตามมาตรฐานน�ำ้ ทิง้ ของทางราชการ
ตารางที่ 5-31 แสดงสาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า BOD5 ของน�้ำทิ้งเกินค่ามาตรฐาน
ตารางที่ 5-31 สาเหตุและการแก้ไขปัญหาค่า BOD5 ของน�้ำทิ้งเกินค่ามาตรฐาน
สาเหตุ การแก้ไข
(1) ระดับน�้ำต�่ำกว่า 0.3 เซนติเมตร ท�ำให้ (1) ปรับประตูน�้ำหรือต่อท่อระบายน�้ำทิ้ง
ระยะเวลาเก็บกักน�้ำไม่เพียงพอ ให้สูงขึ้นเพื่อยกระดับน�้ำในบึงให้สูงขึ้น
(2) น�้ำเสียไหลลัดวงจร เนื่องจากพืชเติบโต (2) ก�ำจัดสิง่ กีดขวางการไหลของน�ำ้ ตัดต้นพืช
มากเกินไป ตะกอนสะสมขวางการไหล ที่มากเกินไปออก ลอกตะกอนที่สะสม
ของน�้ำ เกิดจุดบอดในบึง มากเกินไปออก
(3) ออกแบบไม่ถูกต้อง บึงประดิษฐ์มีขนาด (3) ของบประมาณก่อสร้างระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียใหม่
เล็กเกินไป ปกติบงึ ประดิษฐ์จะมีขนาดใหญ่
กว่าบ่อปรับเสถียรถ้าใช้เป็นระบบบ�ำบัด
ขั้นที่ 2 เหมือนกัน
(4) ไม่มกี ารบ�ำรุงรักษาต้นพืช ต้นไม้ขนึ้ ติดกัน (4) ตรวจสอบต้นพืชทุก ๆ ครึ่งปี ตัดต้น
ขวางทางไหลของน�้ำ ใช้ชนิดของพืชไม่ ทีเ่ ติบโตออกนอกพืน้ ทีก่ ำ� หนด ถอนต้นพืช
เหมาะสม ที่ไม่ต้องการออก

5.3 ระบบฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีน (ระบบบ�ำบัดขั้นที่ 3)

ปัญหาที่ 18 : ค่าฟีคัลโคลิฟอร์ม > 1,000 MPN/100 mL


พบในน�้ำทิ้งมีฟีคัลโคลิฟอร์มเกินค่ามาตรฐานน�้ำทิ้ง สาเหตุและแนวทางการแก้ไขแสดง
ในตารางที่ 5-32
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 157

ตารางที่ 5-32 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขค่าฟีคัลโคลิฟอร์ม > 1,000 MPN/100 mL


สาเหตุ การแก้ไข
(1) คลอรีนอิสระที่เหลืออยู่ต�่ำเกินกว่า (1) เพิ่มอัตราการเติมคลอรีนและปรับให้ได้
0.5 มิลลิกรัม/ลิตร หลังจากท�ำปฏิกิริยา 0.5 มิลลิกรัม/ลิตร หลังจากท�ำปฏิกิริยา
30 นาที (รูปที่ 5-24) 30 นาที
(2) อัตราการไหลของน�ำ้ เสียเข้าระบบสูงเกินไป (2) เพิ่มความเข้มข้นของสารละลายคลอรีน
ท�ำให้ถงั สัมผัสคลอรีนมีระยะเวลาท�ำปฏิกริ ยิ า หรือเพิม่ อัตราการเติมคลอรีนให้เหมาะสม
ไม่เพียงพอ กับอัตราไหล
(3) น�้ำทิ้งจากระบบบ�ำบัดน�้ำเสียหลักมีความ (3) ตรวจสอบระบบบ�ำบัดน�้ำเสียหลัก และ
ขุ่นสูง SS เป็นสารอินทรีย์จะท�ำปฏิกิริยา ควบคุมระบบให้ท�ำงานได้เป็นปกติ เพื่อได้
กับคลอรีนในทันที ท�ำให้มคี ลอรีนหลงเหลือ น�้ำทิ้งที่ใสก่อนเข้าสู่ระบบฆ่าเชื้อโรค
น้อยที่จะไปฆ่าเชื้อโรค
(4) น�้ำทิ้งมีค่า BOD5 > 20 มิลลิกรัม/ลิตร (4) ตรวจสอบระบบบ�ำบัดน�้ำเสียหลัก และ
BOD ท�ำปฏิกิริยากับคลอรีนในทันที ท�ำให้ ควบคุมระบบให้ท�ำงานได้เป็นปกติ เพื่อได้
มีคลอรีนหลงเหลือน้อยที่จะไปฆ่าเชื้อโรค น�้ำทิ้งที่มีค่า BOD5 < 20 มิลลิกรัม/ลิตร
(5) ถังสัมผัสคลอรีนสกปรก มีตะกอนสะสม (5) ท�ำความสะอาดถังสัมผัสคลอรีนอย่าง
ก้นถัง และมีตะกอนลอยบนผิวน�ำ้ สิง่ สกปรก สม�่ำเสมอ
จะท�ำปฏิกิริยากับคลอรีน ท�ำให้คลอรีน
หลงเหลือน้อยทีจ่ ะไปฆ่าเชือ้ โรค (รูปที่ 5-25)
(6) ถังสัมผัสมีขนาดเล็ก เวลาสัมผัสในการ (6) เปลี่ยนถังสัมผัสให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
ฆ่าเชื้อโรคไม่เพียงพอน้อยกว่า 30 นาที ตามแบบที่ถูกต้อง
(7) รูปแบบถังสัมผัสคลอรีนไม่เหมาะสม (7) ใช้ถังสัมผัสที่มีลักษณะการไหลของน�้ำ
เกิดการไหลลัดวงจรไม่มีแผ่นกั้นขวาง แบบไหลตามกันไป รักษาระดับน�้ำใน
การไหล หรือเกิดน�้ำท่วมถังสัมผัสล้น ถังสัมผัสให้ต�่ำกว่าผนังกั้นขวางการไหล
เหนือแผ่นกั้นขวางการไหล (รูปที่ 5-26)
(8) คลอรีนที่ใช้เสื่อมสภาพ จากการเตรียม (8) สารละลายคลอรีนควรใช้ให้หมดภายใน
ไว้ใช้งานนานเกินไป ถังผสมคลอรีนสกปรก 2 วัน ควรล้างถังสารละลายคลอรีน
มีตะกอน ถังคลอรีนถูกแสงแดด (รูปที่ 5-27) เดือนละครัง้ ติดตัง้ หลังคาป้องกันแสงแดด
แผ่ นแผ่กั้นขวางการไหล
ขวางการไหล
ขวางการไหล กั้นขวางการไหล
(รู(รูปปทีที่ 5-26) หรือหรืเกิอดเกิน้าท่
่ 5-26) ดน้วาท่
มถัวงมถั
สัมงผัสัสมล้ผันสเหนื ล้นเหนื
อแผ่อนแผ่กั้นนกั้นไป รัไปกษาระดั รักษาระดั บน้าในถั
บน้าในถั งสัมงผัสัสมให้ผัสตให้
่ากว่ต่ากว่
าผนัางผนั กั้นงขวางการไหล
กั้นขวางการไหล
ขวางการไหล
คลอรีนนทีที่ใช้่ใ(รูช้เสืเปสื่อ(รูที่อมสภาพ
(8)ขวางการไหล
(8)คลอรี ่ปมสภาพ
ที่ 5-26)
5-26) จากการเตรียมไว้
จากการเตรี ยมไว้ใช้ใงช้านนานเกิ
งานนานเกินนไปไป (8)(8)สารละลายคลอรี สารละลายคลอรีนควรใช้
นควรใช้ให้ใหห้มดภายใน
หมดภายใน2 2วันวันควรล้ ควรล้างาง
(8) (8)
คลอรี
ถัถังผสมคลอรี
งผสมคลอรีคลอรี
น ที ่ น
ใ ที
ช้
นนสกปรกมี
คู่มือการควบคุ เ สื่
สกปรกมี ใ ช้
่ อ เ สื
มสภาพ
มและบ�ตำตะกอน ่ อ มสภาพ จากการเตรี
จากการเตรี
รุะกอน ถังถัคลอรี
งรักษาระบบบ� ย มไว้ย มไว้
ใ ช้
งคลอรีำนบันถูดกถูน�แสงแดด
ก้ำเสี ง
แสงแดดใ ช้ ง านนานเกิ
านนานเกิ น ไป น ไป(8) (8) สารละลายคลอรี
สารละลายคลอรี
(รู(รูปปทีที่ 5-่ 5- ถั งถัสารละลายคลอรี
ยโรงพยาบาล น น ควรใช้
ควรใช้
ง สารละลายคลอรีนนเดืเดือ นละครั ใ ห้ ห ใ ห้ ห
มดภายในมดภายใน
อ นละครั้ ง ้ งติ ดติตัด้ งตัหลั 2 ง คาป้อนงกั
วั
้ ง หลัง คาป้2
น วั อควรล้
ควรล้ งกันางน าง
158 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
ถั27)
27) ถังผสมคลอรี
งผสมคลอรี นสกปรกมี นสกปรกมี ตะกอน
ตะกอน ถังคลอรี
ถังคลอรี นถูกนแสงแดด ถูกแสงแดด (รูป(รูที่ ป5-ที่ 5-แสงแดด ถั ง สารละลายคลอรี
ถัแสงแดด
ง สารละลายคลอรี น เดืนอเดืนละครั
อ นละครั ้ ง ติ้ งด ตัติ้ งดหลัตั้ งงหลั
คาป้ง คาป้
อ งกัอนงกั น
27)27) แสงแดดแสงแดด

ญหาต่างๆ และวิธีการแก้ไขระบบ รูปรูปทีที่ 5-24


่ 5-24คลอรี
คลอรีนนอิอิสสระที
ระที่เหลื
่เหลือออยูอยู่ต่ตาเกิ
่าเกินนกว่กว่า า0.5
0.5มก./ล.หลั
มก./ล.หลังจากท
งจากทาปฏิ
าปฏิกิรกิยราิยา3030นาที
นาที
รูปทีรูป่ 5-24 คลอรี
ที่ 5-24 นอินสระที
คลอรี ่เหลื่เหลื
อิสระที ออยูอ่ตอยู่าเกิ นกว่นากว่0.5
่ต่าเกิ มก./ล.หลั
า 0.5 งจากท
มก./ล.หลั าปฏิาปฏิ
งจากท กิริยกาิริย30า 30
นาทีนาที
รูปที่ 5-24 คลอรีนอิสระที่เหลืออยู่ต�่ำเกินกว่า 0.5 มิลลิกรัม/ลิตร หลังจากท�ำปฏิกิริยา 30 นาที

4-151
4-151
4-151
4-151

บทที่ 5 ปัญหาต่าง
บทที่ 5 ปัญหาต่างๆ แล

นไม่ใส

รูปที่ 5-25 น�้ำทิ้งในถังสัมรูผัปสทีคลอรี


่ 5-25นไม่นใาทิ
ส งในสัมผัสคลอรีนไม่ใส
รูปที่ 5-25 นาทิงในสัมผัสคลอรีนไม่ใส
รูรูปปทีที่ 5-25
่ 5-25นนาทิ บทที
าทิงในสั
งในสัมระบบบ่ ่ คลอรี
อ5
ปรับปั
มผัผัสสคลอรี นนญ ยใรหาต่
ไม่ไม่
เสถี ส างๆมอากาศ
ใสระบบสระเติ และวิ ธีการแก้
และระบบบึ งประดิษไฐ์ขระบบ
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
159
บทที
บทที่ 5่ 5ปัปัญญหาต่
หาต่างๆ
างๆและวิ
และวิธีกธารแก้
ีการแก้ไขระบบ
ไขระบบ
รูปที่ 5-26 เวลาสัมผัส
คลอรีนไม่เพียงพอ
ลอรีนไม่ใส ก ระดับน�้ำในถังต�่ำท�ำให้
ปริมาตรถังเก็บกักน�้ำ
ก ข ได้น้อยกว่า 30 นาที
(ก)
(ก) (ข)
(ข) ข ระดับน�้ำ(ค) ในท่
(ค) อทางออก
รูปที่ 5-25 นาทิงในสัมผัสคลอรีนไม่ใส
รูรูปปทีที่ 5-26
่ 5-26เวลาสั คลอรีนนไม่ไม่เพีเพีรูยยปงพอ
เวลาสัมมผัผัสสคลอรี รูงพอ
ทีป่ ที5-25
่ (ก)
5-25
(ก) นาทิ
ระดั
ระดันบบาทิ
นงในสั
งในสั
นาในถั
าในถั มงผังต่มต่สาท
ผัาท
คลอรี
สาให้
คลอรี
าให้ปนปริไม่
ริมนมาตรถั
ไม่
ใาตรถั
สใสงงเก็ อยูเก็บบ่ทกักัก�ำกนให้ น�้ำนนล้้อ้อยกว่
นาได้
าได้ นยกว่
แผ่าาน3030
กั้นนาที
นาที
(ข)
(ข)ระดั
ระดับบนนาในท่
าในท่ออทางออกอยู
ทางออกอยู่ท่ทาให้ าให้นนาล้าล้นนแผ่
แผ่นนกักันน(ค) (ค)ถัถังงสัสัมมผัผัสสไม่ไม่มมคีแีแผ่ผ่ถันนงกักัสันน
มาไหลลั
นน ผัาไหลลั
สไม่ดมดวงจร ีแวงจร
ผ่นกั้น
น�้ำไหลลัดวงจร

(ก)(ก)(ก) (ข)(ข)(ข) CL (ค)


(ค)(ค)
ค รูรู
ป ป
ทีที
่ 5-27
่ 5-27 ถั
ถัง ง
เตรี
เตรีย ยมสารละลายคลอรี
มสารละลายคลอรี นนสกปรก
สกปรก มี
มีตต ะกอนสนิ
ะกอนสนิ ม ม เหล็
เหล็ กก ตกค้
ตกค้ า างง
รูปทีรู่ ป5-26 เวลาสั
รูทีป่ ที5-26
่ 5-26 มผัมสผัคลอรี
เวลาสั
เวลาสั มสผัคลอรี
สคลอรีนไม่นเไม่
นพีไม่
เยพีงพอ
เยพีงพอ (ก)(ก)(ก)
ยงพอ ระดั บนบาในถั
ระดั
ระดั นบาในถั
นาในถั งต่งต่าทต่าให้
งาทาท ปปริริมปมาตรถั
าให้าให้ ริาตรถั
มาตรถั งงเก็เก็งบเก็
บกักับกกกันนกาได้
าได้ นน้อ้อนยกว่
นาได้ ยกว่ าา า30
้อยกว่ 3030นาที
นาที
นาที
(ข)(ข)ระดั บระดั
นบาในท่ อทางออกอยู ่ทาให้
่ทนาให้
าล้นนาล้
แผ่ นนแผ่
กันนกันนกั(ค) ถัถังสังถัสัมงมผัสัผัสมสไม่สมไม่
มีแีแมผ่ผ่ีแนนผ่กักันนน าไหลลั ดวงจร
(ค)
ปัปัญญหา
(ข)ระดั
หา19
นบาในท่
นาในท่
19: :ค่ค่าาTDS
อทางออกอยู
อทางออกอยู
TDS>>500
่ทาให้
500มก./ล.
มก./ล.จากน
นาล้ นแผ่
จากนาประปา
าประปา
น(ค)(ค) ผัไม่ นน
กันน าไหลลั
าไหลลั ดวงจร
พบน้
พบน้าทิ าทิ้ง้งมีมีคความเข้
วามเข้มมข้ข้นน TDS
TDSสูสูงงกว่กว่าาค่ค่าามาตรฐานน้
มาตรฐานน้าทิ าทิ้ง้งซึซึ่ง่งมากกว่
มากกว่าา 500500มก./ล.
มก./ล.บวกกั บวกกับบค่ค่าา TDS TDSของ
ของ
ทาให้ปริมาตรถังเก็บกักนาได้น้อยกว่า 30 นาที
น้น้าประปา
าประปาปกติ ปกติใในน้ นน้าเสี
าเสียยของโรงพยาบาลจะมี
ของโรงพยาบาลจะมีคค่า่าTDS TDSสูสูงงกว่
กว่าาน้น้าประปาเล็
าประปาเล็กกน้น้ออยยซึซึ่ง่งมาจากจากสิ
มาจากจากสิ่ง่งขัขับบถ่ถ่าายของ
ยของ
มนุ
มนุษษย์ย์แและการใช้
ละการใช้สสารเคมี ารเคมีตต่า่างงๆๆในหน่
ในหน่ววยรัยรักกษาพยาบาลโรงพยาบาล
ษาพยาบาลโรงพยาบาลแหล่ แหล่งงของน้
ของน้าเสี
าเสียยทีที่ม่มี ีTDS
TDSสูสูงงคืคืออน้น้าจากหน่
าจากหน่ววยย
ถังสัมผัสไม่มีแผ่นกันนาไหลลัดวงจร
ล้ล้าางไต
งไตได้ได้แแก่ก่น้น้าเกลืาเกลืออจากการฟื
จากการฟื้น้นสภาพเรซิ
สภาพเรซินนน้น้าทิ าทิ้ง้งจากระบบ
จากระบบRO ROและน้และน้าทิ าทิ้ง้งจากกระบวนการล้
จากกระบวนการล้าางไต งไตนอกจากนี
นอกจากนี้ค้ค่า่า
TDS
TDSทีที่เพิ่เพิ่ม่มขึขึ้น้นยัยังงมาจากการใช้
มาจากการใช้สสารละลายคลอรี
ารละลายคลอรีนนสาเหตุ สาเหตุแและแนวทางการแก้
ละแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที ไขแสดงในตารางที่ ่5-33 5-33

รูป่ รู5-27
ทีป่ ที5-27
่ 5-27 ถัเตรี
งถัเตรี
งเตรี
ยมสารละลายคลอรี
ยมสารละลายคลอรี
นนนสกปรก
สกปรก
นสกปรกมีตมีะกอนสนิ
ตะกอนสนิ
มมเหล็
เหล็
มเหล็
กกตกค้
ตกค้
กตกค้
าางงางาง
รูปรูทีป่ ที5-27 ถัถังงเตรี ยยมสารละลายคลอรี
มสารละลายคลอรี สกปรกมีตมีะกอนสนิ
ตะกอนสนิ มเหล็ กตกค้
4-152
4-152
ปัญปัหาญปัญหา
19หา19 : ค่19 : ค่: าค่าTDS
ปัาญTDS หาที>่ 19
TDS500> >500 500มก./ล.
: มก./ล.
มก./ล.จากน
ค่า TDSจากน
จากน
> 500
าประปา
าประปาาประปา
มิลลิกรัม/ลิตร จากน�้ำประปา
พบน้พบน� พบน้
พบน้ าทิ าทิ
้ ง มี
าทิ้งมี้ำคทิวามเข้้ ง คมี
วามเข้
ค วามเข้ ม
มข้น มTDSข้
ม นข้ น TDSTDSสู ง
สูกว่
ง กว่
า ค่
า า
ค่มาตรฐานน้
ามาตรฐานน้ าทิาทิ้งาทิ
้งซึ้งซึ่งมากกว่
่งซึมากกว่
่งมากกว่ า 500
า500 500 มก./ล. มก./ล.บวกกั บวกกั บค่บาค่าTDS TDSของ ของ
้งมีความเข้ ข้น สูTDS
งกว่าสูค่งากว่มาตรฐานน้
าค่ามาตรฐานน� ้ำทิ้ง ซึ่งามากกว่ มก./ล.
า 500 บวกกั มิลลิกบรัค่มา/ลิTDS ตร ของ
น้าประปา
น้าประปาน้าประปา ปกติปกติ ในน้ ในน้ าเสี
ยาเสี ยของโรงพยาบาลจะมี
ยของโรงพยาบาลจะมี ่าค่ายTDS
ค่าTDS TDS
สูงสูกว่
งสูกว่งากว่
น้าน้าประปาเล็
าาประปาเล็
น้าประปาเล็ กน้น้กออน้ยยอซึยซึ่ง่งซึมาจากจากสิ
มาจากจากสิ
่งมาจากจากสิ ่งขั่งบขัถ่บาถ่ยของ
ายของ
บวกกัปกติ บค่าในน้ TDS าเสี ของน� ของโรงพยาบาลจะมี
ำ้ ประปา ปกติในน�ำค้ เสี ของโรงพยาบาลจะมี คา่ กTDS สูงกว่าน�ำ้ ประปาเล็่งขักบน้ถ่อายยของ
มนุษมนุ
ย์มนุ
แษซึละการใช้
ย์ษแย์ละการใช้
และการใช้
่งมาจากสิสารเคมี
สารเคมี
สารเคมี
่งขับถ่ตา่ายของมนุ งต่าๆตง่าในหน่
ๆง ๆในหน่ในหน่วยรั
ษวย์ยรั กวษาพยาบาลโรงพยาบาล
ยรั
กษาพยาบาลโรงพยาบาล
และการใช้
กษาพยาบาลโรงพยาบาล
สารเคมีต่าง ๆ แหล่
แหล่
ในหน่
แหล่
งงของน้
ของน้
งของน้
วยรัาเสี
าเสีาเสี
ยยทีทีย่ม่มทีี ี TDS
กษาพยาบาลโรงพยาบาล
่มTDS
ี TDSสูสูงงสูคืคืงออคืน้น้อาจากหน่
าจากหน่
น้าจากหน่ ววยยวย
ล้าล้งไต
างไตได้ได้ แก่แก่น้าเกลื
น้าเกลื อยจากการฟื
ทีอจากการฟื ้นสภาพเรซิ
้นสูสภาพเรซิ
งคือนน�้ำนน้จากหน่
นน้าทิ
น้าทิ้งจากระบบ
้งวจากระบบ ROROและน้ แและน้
ก่าทิาทิ
น�ง้าทิ
ำ้งจากกระบวนการล้
จากกระบวนการล้
้งจากกระบวนการล้
อจากการฟื้นาาสภาพเรซิ งไตางไตนอกจากนี นอกจากนี
น ้ค้ค่า่า้ค่า
ล้างไต แหล่
ได้แก่งของน� น้าเกลื้ำอเสีจากการฟื ่มี TDS ้นสภาพเรซิ าทิ้งจากระบบ ยล้างไต RO ได้ และน้ เกลื งไต นอกจากนี
TDS TDSที่เทีพิ่เมพิขึ่ม้นขึยั้นงยัมาจากการใช้
งมาจากการใช้ สารละลายคลอรี
้ำสทิารละลายคลอรี น นสาเหตุสาเหตุ แาละแนวทางการแก้
และแนวทางการแก้ ไ่าขแสดงในตารางที
ไTDS
ขแสดงในตารางที
ที่เพิ่มขึ้นยั่ ่ 5-33 5-33
ง่ มาจากการ
5-33
TDS ทีน�่เพิ้ำ่มทิขึ้ง้นจากระบบ
ยังมาจากการใช้ RO และน� สารละลายคลอรี ้งจากกระบวนการล้
น สาเหตุและแนวทางการแก้งไต นอกจากนี้คไขแสดงในตารางที
ใช้สารละลายคลอรีน สาเหตุและแนวทางการแก้ไขแสดงในตารางที่ 5-33
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
160 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

ตารางที่ 5-33 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขค่า TDS > 500 มิลลิกรัม/ลิตร จากน�้ำประปา


สาเหตุ การแก้ไข
(1) เติมคลอรีนฆ่าเชือ้ โรคมากเกินไป หลังจาก (1) อัตราการเติมคลอรีนไม่ควรสูงเกินไป
คลอรีนฆ่าเชื้อโรคจะมีของแข็งละลาย นอกจากจะไปเพิ่มค่า TDS แล้ว คลอรีน
คงค้างอยู่ในน�้ำ ทีห่ ลงเหลืออยูใ่ นน�ำ้ ยังท�ำลายสภาพแวดล้อม
(2) มีน�้ำทิ้งจากหน่วยล้างไต ได้แก่ น�้ำเกลือ (2) ใช้ถงั พักกักเก็บน�ำ้ จากหน่วยล้างไตทัง้ หมด
จากการฟื้นสภาพเรซิน น�้ำทิ้งจากระบบ ใช้ถงั ทีเ่ ก็บน�ำ้ ประมาณ 1 – 2 ลูกบาศก์เมตร
RO และน�้ำทิ้งจากการล้างไต น�้ำทิ้งเหล่านี้ เพือ่ ให้คา่ TDS โดยรวมลดลงแล้วให้นำ�้ เสีย
มี TDS สูง และระบายออกไปทันทีทันใด ไหลล้นออกไประบบบ�ำบัดน�้ำเสีย วิธีนี้จะ
ลงสู่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย ท�ำให้ค่า TDS ของ ท�ำให้ค่า TDS ของน�้ำทิง้ เพิ่มเฉลี่ยต่อวัน
น�้ำทิ้งเพิ่มกะทันหัน ใกล้เคียงกัน

ปัญหาที่ 20 : ค่าซัลไฟด์ (SO22-) > 1 มิลลิกรัม/ลิตร


พบน�้ำทิ้งมีค่าซัลไฟด์สูงกว่าค่ามาตรฐานน�้ำทิ้ง ปกติจะพบซัลไฟด์ในน�้ำเสียที่อยู่ในสภาวะ
ไร้อากาศ ซึ่งเกิดจากแบคทีเรียรีดิวซ์ซัลเฟตไปเป็นซัลไฟด์ สาเหตุและแนวทางการแก้ไขแสดง
ในตารางที่ 5-34

ตารางที่ 5-34 สาเหตุและแนวทางการแก้ไขค่าซัลไฟด์ (SO22-) > 1 มิลลิกรัม/ลิตร


สาเหตุ การแก้ไข
(1) น�้ำเสียอยู่ในสภาพไร้อากาศ (1) ปรับปรุงระบบบ�ำบัดน�้ำเสียให้เป็นแบบ
เติมอากาศ
(2) ถังเก็บน�้ำทิ้งก่อนระบายออกนอกพื้นที่อยู่ (2) อย่าเก็บน�ำ้ ทีบ่ ำ� บัดแล้วในถังพักนานเกินไป
ในสภาพไร้อากาศเป็นระยะเวลากักพัก เพราะน�้ำทิ้งยังมี BOD5 อยู่ และแบคทีเรีย
นานและมีตะกอนสะสม สามารถย่อยสลายได้ท�ำให้ออกซิเจนหมด
เกิดสภาพไร้อากาศ เกิดการเปลีย่ นซัลเฟต
เป็นซัลไฟด์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 161

ภาคผนวก
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 163
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
164 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 165
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
166 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 167
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
168 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 169
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
170 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 171
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
172 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 173
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
174 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 175
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
176 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 177
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
178 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 179
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
180 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 181
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
182 ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์

บรรณานุกรม

[1] Verlicchi P., Galletti A., Petrovic M., Barcelo D., 2010, Hospital effkuents as a source
of emerging pollutants: an overview of micropollutants and sustainable
treatment options, J Hydrology, vol. 389, 416-428
[2] คู่มือระบบบ�ำบัดน�้ำเสียชุมชน, กรมควบคุมมลพิษ. 2560. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม.
[3] ประกาศกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก�ำหนดมาตรฐานควบคุม
การระบายน�ำ้ ทิง้ จากอาคารบางประเภทและบางขนาด ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 122 ตอนที่ 125ง
[4] ประกาศกระทรวง เรือ่ ง ก�ำหนดปริมาณไข่หนอนพยาธิและแบคทีเรียอิโคไล (Escherichia coli)
และวิธกี ารเก็บตัวอย่างและการตรวจหาไข่หนอนพยาธิและแบคทีเรียอิโคไล (Escherichia
coli) ในน�้ำทิ้งและกากตะกอนที่ผ่านระบบก�ำจัดสิ่งปฏิกูลแล้ว พ.ศ. 2561
[5] Oliveira T.O., Aukidy M. A., and Verlicchi P., 2018, Occurrence of Common Pollutants
and Pharmaceuticals in Hospital Effluents, Hospital Wastewaters: Characteristics,
Management, Treatment and Environmental Risks, Springer International
[6] Rozman U., Duh D, Cimerman M, Sostar S, 2020, Turk Hospital wastewater effluent:
hot spot for antibiotic resistant bacteria Journal of Water, Sanitation and
Hygiene for Development, 10 (2): 171–178.
[7] Le T, Ng C, Chen H, Yi X.Z., Koh T.H., Barkham T.M.S., Zhou Z., Gin K.Y., 2016,
Occurrences and Characterization of Antibiotic-Resistant Bacteria and
Genetic Determinants of Hospital Wastewater in a Tropical Country,
Antimicrobial Agents and Chemotherapy, Volume 60 Number 12, 7449 – 7456
[8] กรมควบคุมมลพิษ และ สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย. 2546. รายละเอียด
สนับสนุนเกณฑ์แนะน�ำการออกแบบระบบรวบรวมน�ำ้ เสียและโรงปรับปรุงคุณภาพน�ำ้
ของชุมชน เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร.
[9] Long Beach Water, 2020, The Sanitary Sewer System, Available Source: https://
lbwater.org/customer-services/sewer/, May 10, 2020
[10] Bizier, P, 2007, Gravity Sanitary Sewer Design and Construction: Manual of Practice
60 (ASCE MANUAL AND REPORTS ON ENGINEERING PRACTICE) second
edition
คู่มือการควบคุมและบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�้ำเสียโรงพยาบาล
ระบบบ่อปรับเสถียร ระบบสระเติมอากาศ และระบบบึงประดิษฐ์ 183

บรรณานุกรม (ต่อ)

[11] Metcalf & Eddy Inc., 2014, Wastewater Engineering: Treatment Disposal and Reuse,
5th ed, McGraw-Hill series in civil and environmental engineering
[12] Ministry of Construction (Japan), 1990, Technical Guideline for Drainage and
Wastewater Disposal Projects in Developing Countries.
[13] Mara, D.D. and H.W. Pearson, 1987, Waste Stabilization Ponds, Design Manual for
Mediterranean Europe, World Health Organization.
[14] สมพงษ์ หิรัญมาศสุวรรณ. 2552. กระบวนการบ�ำบัดน�้ำเสียทางชีวภาพ. ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด
สยามสเตชันซัพพลายส์, กรุงเทพฯ.
[15] Wallace, S.D. and R.L. Knight, 2006, Small Scale Constructed Wetland Treatment
Systems Feasibility, Design Criteria and O&M Requirements-WERF, Water
Environment Research Foundation, IWA Publishing.
[16] สมาคมวิศวกรรมสิง่ แวดล้อมแห่งประเทศไทย. 2540. ค่าก�ำหนดออกแบบระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: เรือนแก้วการพิมพ์.
[17] สมาคมวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย, “รายละเอียดสนับสนุนเกณฑ์แนะน�ำการ
ออกแบบระบบรวบรวมน�้ำเสียและโรงปรับปรุงคุณภาพน�้ำของชุมชน เล่ม 2,”
พิมพ์ครั้งที่ 1, กรมควบคุมมลพิษ, กรุงเทพ มหานคร, พ.ศ. 2546
[18] Arceivala, S.J. (1998) “Wastewater Treatment for Pollution Control,” 2nd ed., Tata,
McGraw-Hill Publishing Company Limited, New Delhi.
[19] Reed, S.C., W.C. Ronald, and E.J. Middlebrooks ,1995, Natural Systems for Waste
Management and Treatment, 2nd ed., McGraw-Hill, Inc.
[20] UN-HABITAT, 2008, Constructed Wetlands Manual, UN-HABITAT Water for Asian
Cities Programme Nepal, Kathmandu.
[21] Zickefoose, C. and R.B. Joe Hayes,1977, Operations Manual Stabilization Pond, U.S.
Environmental Protection Agency, EPA-430/9-77-012
[22] ส�ำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2551. คู่มือการควบคุมดูแล
และบ�ำรุงรักษาระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียโรงพยาบาลชนิดคลองวนเวียน (Oxidation Ditch: OD)

You might also like