You are on page 1of 34

ระบบทอสุขาภิบาล

บรรยายโดย…
ผูชวยศาสตราจารย พิพัฒน ภูริปญญาคุณ
ประวัติวิทยากร
จบการศึกษา
• ระดับปริญญาตรี วศ.บ.(วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (พ.ศ.2516)
• ระดับปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมสุขาภิบาล) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ.2523)
• Cert. in Sewage Works Engineering (JICA) Japan 1983
การทํางานปจจุบัน
• อนุกรรมการทดสอบความรูระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม (สมัยที่ 5, สมัยที่ 6, สมัยที่ 7)
สภาวิศวกร
• อนุกรรมการแกไขและปรับปรุงกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดระบบประปา การระบายน้ํา การบําบัดน้ําเสีย
และการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล กรมโยธาธิการและผังเมือง
• อนุกรรมการสาขาสิ่งแวดลอม สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.)
• อนุกรรมการวิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ
เอกสารอางอิง
1. วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ “มาตรฐานการเดินทอภายในอาคาร”
พิมพครั้งที่ 8 (ฉบับแกไขปรับปรุง) พ.ศ.2537 มาตรฐาน วสท.1004-16
2. ศ.ดร.วริทธิ์ อึ้งภากรณ “การออกแบบระบบทอภายในอาคาร” วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ พ.ศ.2541
3. ศ.ดร.สุรินทร เศรษฐมานิต และนายทาเคโอะ มอริมูระ “วิศวกรรมงานทอภายในอาคาร
(การออกแบบ ติดตั้ง และบํารุงรักษา)” พิมพครั้งที่ 2 โดย สมาคมสงเสริมความรูดานเทคนิคระหวางประเทศ
พ.ศ.2537
4. ผศ.ดร.เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน “การออกแบบระบบทออาคารและสิ่งแวดลอมอาคาร” เลม 2
มิตรนราการพิมพ พ.ศ.2542
Plumbing System
ระบบทอภายในอาคาร ประกอบดวย
1. ระบบทอน้ําเย็น (Cold Water Piping)
2. ระบบทอน้ํารอน (Hot Water Piping)
3. ระบบทอน้ําเสีย (Waste Water Piping) + ทอไขมันระบายน้ําจากหองครัว
4. ระบบทอน้ําโสโครก (Soil Piping)
5. ระบบทออากาศ (Vent Piping)
6. ระบบทอระบายน้ําฝน (Storm Water Piping)
7. ระบบทอดับเพลิง ทอไอน้ํา ทอ (O2, N2O, สุญญากาศ) ในโรงพยาบาล, ทอลมอัด, ทอน้ําเย็นสําหรับ
การปรับอากาศ, ทอระบายความรอนคอนเดนเซอร และทอกาซหุงตม เปนตน
การทดสอบ
1. ทอประปารับแรงดัน 100 psi (7 bar) หรือ 3 เทาของแรงดัน Pump
 ความดันตองการของ Flush Valve = 15 psi (1 bar = ความสูบน้ํา 10 เมตร)
 ความดันตองการของ Flush Tank = 8 psi
 ความดันทอมากกวา 60 psi ตองติดตั้ง Pressure Reducing Valve
 ความเร็วสูงสุดในทอไมเกิน 10/ฟุต/วินาที
 ขนาดทอเล็กสุดไมควรต่ํากวา ½ นิ้ว
2. ทอระบายน้ํา หามใชของอ 90 องศา (L) หรือ ตัวที (T)
 ใหใชของอ 45 องศา (L) หรือ ตัวทีวาย (Y)
 ความลาดชัน (Slope 1:25, 1:50, 1:100, 1:200)
 ทอยิ่งเล็กยิ่งลาดชัน เพื่อไมใหตกตระกอน
 ขนาดทอเล็กสุดไมควรต่ํากวา 2 นิ้ว
2
THE END
34

You might also like