You are on page 1of 87

ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา และการดูแล

บ้ารุงรักษาระบบประปา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไกรวิชญ์ เรืองฤาหาร
สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร

“การจัดการคุณภาพน้้าบริโภคส้าหรับผู้ดูแลระบบประปาหมู่บ้าน”
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา และการดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา

หัวข้อการบรรยาย
 ระบบสูบน้ำดิบ กำรควบคุมอัตรำกำรกรอง และกำรเดินเครื่องสูบน้ำดี
 กำรค้ำนวณปริมำณน้ำเพื่อเลือกใช้เครื่องสูบน้ำให้เหมำะสมและกำร
บ้ำรุงรักษำ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องในระบบประปำ
 กำรฆ่ำเชือโรคในกระบวนกำรผลิตประปำ
 กำรบ้ำรุงรักษำระบบน้ำดิบ และกำรบ้ำรุงรักษำระบบผลิตน้ำประปำ
 กำรบ้ำรุงรักษำระบบจ่ำยน้ำ
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา และการดูแล
บ้ารุงรักษาระบบประปา
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
 ความส้าคัญของการผลิตน้้าสะอาด(กระบวนการผลิตน้้าประปา)
 กระบวนกำรหรือวิธกี ำรปรับปรุงคุณภำพของน้ำดิบให้กลำยมำเป็นน้ำประปำที่มีควำม
สะอำดและปลอดภัยต่อกำรน้ำไปใช้อุปโภคบริโภค
 กระบวนกำรในกำรก้ำจัดสิ่งสกปรกที่ปนเปื้อนในน้ำดิบ (เชือโรค และสิ่งเจือปนอื่นๆ) ท้ำให้
น้ำสะอำดมำกพอจนกระทั่งอุปโภค-บริโภคได้
 กระบวนกำรในกำรก้ำจัดจุลินทรีย์ สำรเคมี ตะกอนดิน สิ่งเจือปนขนำดใหญ่อย่ำงขยะและ
วัชพืชต่ำงๆ
 ปรับปรุงคุณภำพน้ำให้ดีขึนและอยู่ในเกณฑ์มำตรฐำนที่สำมำรถน้ำมำใช้อุปโภค-บริโภคได้
โดยไม่ก่อให้เกิดอันตรำยต่อร่ำงกำย
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
 ความส้าคัญของการผลิตน้้าสะอาด(กระบวนการผลิตน้้าประปา)
แหล่งน้้าผิวดิน กระบวนการก้าจัดความสกปรก
แหล่งน้้ามีการปนเปื้อนด้วย ของน้้าก่อนน้าไปอุปโภค/บริโภค
แบคทีเรียและสารมลพิษต่างๆ

แหล่งน้้าส้าหรับ กระบวนการผลิตน้้าประปาจาก
กระบวนการผลิตน้้าประปา แหล่งน้้าผิวดินหรือบาดาล

แหล่งน้้าบาดาล
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
 ความส้าคัญของน้้าสะอาดและสุขภาพ
สุขภาพร่างกายที่ดี ลด
การบริโภค-อุปโคน้้าที่มีความสะอาด การเกิดโรคและเจ็บป่วย
ปลอดภัยไม่มีการปนเปื้อนด้วยสารเคมี
และแบคทีเรีย

การอุปโภค-บริโภคน้้าที่มีความ
สะอาด เกิดผลดีต่อร่างกาย
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ส่วนประกอบของระบบผลิตน้้าประปา
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
ระบบหอถังสูง(จ่ายน้้าให้ประชาชน)
กระบวนการสร้างตะกอน กระบวนการตกตะกอนก่อน
น้้าดิบผสมสารเร่งตกตะกอน เข้าระบบทรายกรอง ระบบทรายกรอง

แหล่งน้ำดิบส้ำหรับ ระบบเติมคลอรีน
ผลิตน้ำประปำ จ่ายน้้า

ปั๊มสูบน้ำดิบ
ส่วนประกอบหลักของระบบผลิตน้้าประปาหมู่บ้าน
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
ระบบการสร้างตะกอน
แหล่งน้้าผิวดินและ ระบบทราย ระบบฆ่าเชื้อโรค ระบบสูบจ่าย
ระบบสูบน้้าดิบ ด้วยสารส้มและแยก
แหล่งน้้าบาดาล กรอง ด้วยคลอรีน น้้าประปา
ตะกอน

ระบบปั๊มสูบน้้าดิบ ระบบสร้างตะกอนด้วย ระบบแยกตะกอน ระบบฆ่าเชื้อโรค จ่ายน้้าให้ชุมชน


การผสมกับสารส้ม และน้้าใส ด้วยคลอรีน

ท้าหน้าที่ในการน้า ท้าหน้าที่ในการรวม ท้าหน้าที่กรอง ท้าหน้าที่ในการ


น้้าดิบเข้าระบบ ตะกอนให้มีน้าหนัก และแยกสาร ฆ่าเชื้อโรคลดการ
ผลิตน้้าประปา มากขึ้นจากนั้นจะ ปนเปื้อนในน้้า เจ็บป่วยจากเชื้อ
เกิดการตกตะกอน โรคในน้้า
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
ตัวอย่างส่วนของระบบผลิตน้้าประปาแบบบาดาล หอถังสูง

Pump สูบน้้า
บ่อสูบน้้าบาดาล บ่อพักน้้า หอถังสูง ระบบจ่ายน้้า

ที่มา: ส้านักบริหารจัดการน้้า กรมทรัพยากรน้้า


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ส่วนประกอบของระบบผลิตน้้าประปาแบบบาดาล
ระบบน้้าดิบ ระบบผลิตน้้าประปา ระบบจ่าย

บ่อน้้าบาดาล ระบบเติมอากาศ ถังกรอง ถังน้้าใส หอถังสูง ผู้ใช้น้า

เหล็กที่ละลำยในน้ำดิบ น้ำที่ผ่ำนกำรกรอง สูบน้ำขึนหอถังสูงพร้อมจ่ำย


จับตัวเป็นตะกอนเหล็ก ไหลลงสู่ถังน้ำใส สำรละลำยคลอรีนเพื่อฆ่ำเชือโรค

ที่มำ: ส้ำนักบริหำรจัดกำรน้ำ กรมทรัพยำกรน้ำ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม


ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
ตัวอย่างส่วนของระบบผลิตน้้าประปาแบบผิวดิน หอถังสูง

 ระบบเร่งตกตะกอนด้วยสารเคมี
 ระบบตกตะกอน
 ระบบทรายกรอง

สถานีสูบน้้าผิวดิน บ่อพักน้้าใส จ่ายน้้าให้กับชุมชน


แหล่งน้้าผิวดิน

ที่มำ: ส้ำนักบริหำรจัดกำรน้ำ กรมทรัพยำกรน้ำ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ขั้นตอนการดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ระบบการสร้างตะกอน
แหล่งน้้าผิวดินและ ระบบทราย ระบบฆ่าเชื้อโรค ระบบสูบจ่าย
ระบบสูบน้้าดิบ ด้วยสารส้มและแยก
แหล่งน้้าบาดาล กรอง ด้วยคลอรีน น้้าประปา
ตะกอน

1 2 3 4 5 6
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
ตัวอย่างส่วนของระบบผลิตน้้าประปาแบบผิวดิน หอถังสูง

 ระบบเร่งตกตะกอนด้วยสารเคมี
 ระบบตกตะกอน
 ระบบทรายกรอง
สถานีสูบน้้า จ่ายน้้าให้กับ
ผิวดิน บ่อพักน้้าใส ชุมชน
แหล่งน้้าผิวดิน

ที่มำ: ส้ำนักบริหำรจัดกำรน้ำ กรมทรัพยำกรน้ำ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 การตรวจสอบคุณภาพของแหล่งน้้าดิบส้าหรับผลิตน้้าประปา
 กำรสังเกตและบันทึกสภำพของแหล่งน้ำดิบเบืองต้นก่อนที่จะน้ำไปใช้ในกำร
ผลิตน้ำประปำ

 แหล่งน้ำดิบที่เป็นน้ำบำดำลส่วนใหญ่คุณภำพของน้ำจะไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
มำก ส่วนใหญ่จะขึนอยู่กับพืนที่ชันใต้ดิน

 แหล่งน้ำผิวดิน(แม่น้ำ ห้วย ล้ำคลอง) จะมีกำรเปลี่ยนแปลงตำมฤดูกำล มีผล


ต่อกำรใช้สำรเคมีในกำรปรับปรุงคุณภำพน้ำประปำ
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
การตรวจสอบคุณภาพของแหล่งน้้าดิบส้าหรับผลิตน้้าประปา
 น้ำที่มีควำมขุ่นมำก มักพบในแหล่งน้ำดิบที่เป็นแบบผิวดินช่วงหน้ำฝน เกิดจำก
กำรไหลและน้ำพำตะกอนดินหรือสำรอื่นๆ
 แหล่งน้ำดิบที่มีควำมขุ่นมำกต้องมีกำรใช้สำรเคมีในกำรตกตะกอนมำกขึนตำม
ไปด้วย (สำรส้ม)

ค่าใช้จ่ายในการซื้อ
น้้าดิบที่มีความขุ่นสูง สารส้มที่ใช้ในการรวมตะกอน สารส้มเพิ่มขึ้น
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
ตัวอย่างส่วนของระบบผลิตน้้าประปาแบบบาดาล หอถังสูง
 ระบบเร่งตกตะกอนด้วย
สารเคมี
 ระบบตกตะกอน
 ระบบทรายกรอง
สถานีสูบน้้า จ่ายน้้าให้กับ
ผิวดิน บ่อพักน้้าใส ชุมชน
แหล่งน้้าผิวดิน

ที่มำ: ส้ำนักบริหำรจัดกำรน้ำ กรมทรัพยำกรน้ำ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบสูบน้้าดิบส้าหรับผลิตน้้าประปา
 กำรผลิตน้ำประปำ จะเริ่มตังแต่กำรน้ำน้ำดิบ/รำงชักน้ำ เพื่อรับน้ำจำก
แหล่งน้ำ เข้ำสู่บริเวณหรือจุดสูบน้ำ

 สูบน้ำดิบประกอบด้วยเครื่องสูบน้ำเพื่อสูบส่งน้ำดิบเข้ำระบบท่อน้ำดิบ
และส่งไปยังกระบวนกำรผลิตน้ำประปำ

 ส่วนที่ส้ำคัญคือ สถำนีสูบน้ำดิบ ปั๊มสูบน้ำดิบ และระบบท่อ ส้ำหรับกำร


ส่งน้ำดิบ เข้ำสู่กระบวนกำรปรับปรุงคุณภำพน้ำ
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบสูบน้้าดิบส้าหรับผลิตน้้าประปา  ปั๊มสูบน้้าดิบที่มีการติดตั้งในระบบน้้าประปา
หมู่บ้านโดยทั่วไป
 ปั๊มท้างานได้ ต้องเพิ่มการดูแล และหมั่น
ตรวจสอบสภาพปั๊มสูบ
 ต้องมีปั๊มอย่างน้อย 2 เครื่อง เพื่อสลับการใช้งาน
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบสูบน้้าดิบส้าหรับผลิตน้้าประปา
 ปั๊มสูบน้้าดิบที่มีการติดตั้งใน
ระบบน้้าประปาหมู่บ้าน
โดยทั่วไป
 ปั๊มท้างานได้ ต้องเพิ่มการดูแล
และหมั่นตรวจสอบสภาพปั๊ม
สูบ
 ต้องมีปั๊มอย่างน้อย 2 เครื่อง
เพื่อสลับการใช้งาน
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 การบ้ารุงรักษาปั้มน้้าประปา
 กำรตรวจเช็คปั๊มน้ำเป็นประจ้ำนันสำมำรถช่วยให้ปั๊มมี
อำยุกำรใช้งำนที่ยำวนำนได้และไม่ต้องหยุดท้ำงำนเพื่อ
ซ่อมแซมบ่อย

 กำรตรวจสอบและกำรบ้ำรุงรักษำ อำจแบ่งออกเป็นกำร
ตรวจสอบประจ้ำวัน กำรตรวจทุก 3 เดือน กำร
ตรวจสอบทุก 6 เดือน และกำรตรวจสอบประจ้ำปี

ที่มำ: นำยอิทธิกร ค้ำสีนำค โรงพยำบำลศูนย์สกลนคร


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
รายการตรวจสอบประจ้าวัน
 ตรวจสอบอุณหภูมิของ bearingโดยใช้เครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไม่ให้เกิน
40 องศำเซลเซียล
 ตรวจสอบกำรท้ำงำนของ bearing ด้วยเสียง ถ้ำ bearing ช้ำรุดจะมี
เสียงผิดปกติ (เสียงเหมือนเหล็กเสียดสีกัน)
 ตรวจสอบแรงดันน้ำด้ำนเข้ำและแรงดันน้ำด้ำนจ่ำย ควรใช้เกจวัดควำม
ดัน
 ตรวจสอบกำรรั่วจำกซีล สังเกต ด้วยสำยตำ

ที่มำ: นำยอิทธิกร ค้ำสีนำค โรงพยำบำลศูนย์สกลนคร


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
รายการตรวจสอบประจ้าวัน
 ตรวจสอบกำรสั่นสะเทือนของมอเตอร์ปั้มน้ำต้องใช้ประสบกำรณ์
ของช่ำง
 ตรวจสอบอุณหภูมิของมอเตอร์ปั้มน้ำด้วยเครื่องวัดอุณหภูมิไม่
เกิน 35-40 องศำเซลเซียล หรือ เอำหลังมือสัมผัสที่ตัวมอเตอร์
ปั้มน้ำ เพื่อเช็คควำมผิดปกติของอุณหภูมิ

 ตรวจสอบลูกลอยวัดระดับน้ำ อำจจะเป็นแบบไฟฟ้ำอัตโนมัติและ
ลูกลอยแบบธรรมดำ
ที่มำ: นำยอิทธิกร ค้ำสีนำค โรงพยำบำลศูนย์สกลนคร
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
รายการตรวจสอบทุก 3 เดือน
ตรวจสอบจำรบีของ bearing หำกเสื่อมสภำพกำรใช้งำนต้องเปลี่ยน
ตรวจสอบกำรสั่นสะเทือนของมอเตอร์ปั้มน้ำว่ำผิดปกติหรือไม่
 ตรวจสอบสีภำยนอกของมอเตอร์ปั้มน้ำว่ำเป็นสนิมหรือไม่
ตรวจสอบกำรรั่วจำกซีล
ตรวจสอบเมนวำวล์

ที่มำ: นำยอิทธิกร ค้ำสีนำค โรงพยำบำลศูนย์สกลนคร


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
รายการตรวจสอบทุก 6 เดือน
• ตรวจสอบที่อัดกันรั่วและปลอกเพลำตรงที่อัดกันรั่ว ถ้ำเกิด
ร่องลึกขึนที่ปลอกเพลำ เนื่องจำกกำรสึกหรอ จะต้อง
เปลี่ยนทังที่อัดกันรั่ว และปลอกเพลำ
• ตรวจสอบสภำพของกำรต่อตรงระหว่ำงเครื่องสูบ และ
มอเตอร์ตรวจเช็คบริเวณ coupling ถ้ำเปลี่ยนไปจำก
สภำพเริ่มใช้งำนเกินเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ก็ต้องตังศูนย์ใหม่

ที่มำ: นำยอิทธิกร ค้ำสีนำค โรงพยำบำลศูนย์สกลนคร


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
รายการตรวจสอบทุกปี
• ตรวจสอบสภำพของกำรสึกหรอของชินส่วนที่หมุนโดยเฉพำะ ตรงช่องว่ำงเล็กๆที่แหวน
กันสึก
• ตรวจสอบสภำพของกำรขึนสนิมภำยในเสือปั๊ม
• ตรวจสอบสภำพของวำล์วทีม่ ีชินส่วนเคลื่อนที่เช่น check valve gate valve
• ตรวจสอบต้องตังศูนย์ระหว่ำงมอเตอร์และปั๊มทุกครัง ที่มีกำรถอดปั๊มและมอเตอร์ออก
จำกกัน
• ตรวจสอบวัดควำมต้ำนทำนของฉนวนด้วยเครือ่ งมือวัดควำมต้ำนทำนฉนวน (Insulation
Meter) หรือหำกมีกำรถอดออกมำตรวจสอบและประกอบกลับเข้ำไป ควรมีกำรจด
บันทึกข้อมูลในกำรตรวจเช็คทุกครังเพื่อน้ำมำวำงแผนในกำรซ่อมบ้ำรุงกำรต่อไป
ที่มำ: นำยอิทธิกร ค้ำสีนำค โรงพยำบำลศูนย์สกลนคร
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
การตรวจสอบตู้คอนโทรลมอเตอร์ปั้มน้้า

• ตรวจสอบแหล่งจ่ำยไฟครบ 220/380 v
• ตรวจสอบภำยนอกตู้คอนโทรลมอเตอร์ปั้มน้ำ ช้ำรุด
หรือไม่
• ตรวจสอบปุ่มกดหน้ำตู้ ช้ำรุดหรือไม่
• ตรวจสอบสำยไฟและอุปกรณ์ภำยในตู้ ช้ำรุดหรือไม่

ที่มำ: นำยอิทธิกร ค้ำสีนำค โรงพยำบำลศูนย์สกลนคร


ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
ตัวอย่างส่วนของระบบผลิตน้้าประปาแบบบาดาล หอถังสูง

Pump สูบน้้า
บ่อสูบน้้าบาดาล บ่อพักน้้า หอถังสูง ระบบจ่ายน้้า

ที่มา: ส้านักบริหารจัดการน้้า กรมทรัพยากรน้้า


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
แบบจุ่ม (Submersible Pump)
ใช้ในงำนระบบประปำหมู่บ้ำนแบบบำดำล ท้ำกำรสูบน้ำบำดำล

https://www.nanagarden.com
ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
แบบจุ่ม (Submersible Pump)

ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561


ความรู้พื้นฐานการผลิตน้้าประปา
ตัวอย่างส่วนของระบบผลิตน้้าประปาแบบผิวดิน หอถังสูง
 ระบบเร่งตกตะกอนด้วย
สารเคมี
 ระบบตกตะกอน
 ระบบทรายกรอง
สถานีสูบน้้า จ่ายน้้าให้กับ
ผิวดิน บ่อพักน้้าใส ชุมชน
แหล่งน้้าผิวดิน

ที่มำ: ส้ำนักบริหำรจัดกำรน้ำ กรมทรัพยำกรน้ำ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 การเลือกวิธีในการปรับปรุงคุณภาพน้้าดิบและการผลิตน้้าประปา

ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 การเลือกวิธีในการปรับปรุงคุณภาพน้้าดิบและการผลิตน้้าประปา

ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบการสร้างตะกอนด้วยสารส้มและแยกตะกอน
 กำรก้ำจัดควำมขุ่นของน้ำเพื่อให้คุณภำพน้ำได้มำตรฐำนส้ำหรับใช้ในกำรอุปโภค
และบริโภค
 กระบวนกำรสร้ำงและรวมตะกอน (coagulation-flocculation) โดยกำรเติม
สำรรวมตะกอน (coagulant) เพื่อให้สำรแขวนลอยเกิดกำรรวมตัวกันเป็น
ตะกอนขนำดใหญ่หรือฟล๊อต (floc) และเกิดกำรตกตะกอน (sedimentation)
จำกนันน้ำไปผ่ำนกำรกรอง (filtration) ก่อนใช้ประโยชน์
 สำรส้ม (alum) เป็นโคแอกกูแลทน์ (coagulant) ที่นิยมใช้กันมำกที่สุด ใช้ได้ดี
กับแหล่งน้ำต่ำงๆ หำซือได้ง่ำย รำคำไม่แพง
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบการสร้างตะกอนด้วยสารส้มและแยกตะกอน

https://www.wcs-group.co.uk/
http://polyaluminium-chloride-pac.blogspot.com/
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ถังกวนช้าแบบใช้แผงกั้น (Baffle Channel Flocculator)
 กำรกวนน้ำช้ำๆ จะท้ำให้เม็ดตะกอนสัมผัสกับคอลลอยด์และอนุภำคของสำรปนเปื้อนในน้ำดิบได้
ดี และเกิดกำรตกตะกอนและแยกออกจำกน้ำ

 กำรออกแบบโดยกำรบังคับให้น้ำดิบที่ผสมกับสำรตกตะกอนไหลวกวน และคดเคียวไปมำด้วยแผง
กันนำ้ (Baffle)

 กระบวนกำรกวนน้ำกับสำรเร่งตะกอนเกิดขึนเมื่อน้ำถูกบังคับให้ไหลกลับทิศทำง ผ่ำนปลำยแผง
กัน และไหลไปตำมชองทำงกำรไหลที่ก้ำหนด
ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ถังกวนช้าแบบใช้แผงกั้น (Baffle Channel Flocculator)
 ถังกวนช้ำแบบใช้แผงกันแบ่งเป็น 2 ลักษณะตำมทิศทำงของกำรไหล คือ กำรไหลในทิศทำงตำม
แนวรำบ (Horizontal Flow Baffled Channel Flocculator) และกำรไหลในแนวดิ่ง (Vertical
Flow Baffled Channel Flocculator)
 ระบบประปำหมู่บ้ำนถังกวนช้ำแบบใช้แผงกันที่ใช้งำนกันทั่วไป จะเป็นแบบที่มีทิศทำงกำรไหลใน
แนวรำบมำกกว่ำแบบที่มีทิศทำงกำรไหลในแนวดิ่ง เนื่องจำกมีควำมสะดวกในกำรดูแลรักษำ
สำมำรถท้ำควำมสะอำดได้ง่ำย
 ข้อดีของถังกวนช้ำแบบใช้แผงกัน คือ กำรไหลของน้ำจะเป็นกำรไหลในทิศทำงเดียว จึงไม่มีปัญหำ
เกี่ยวกับกำรไหลลัดทำง (Short Circuit Flow) กำรใช้งำนง่ำย ค่ำดูแลรักษำต่้ำ
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ถังกวนช้าแบบใช้แผงกั้น (Baffle Channel Flocculator)

ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ถังกวนช้าแบบใช้แผงกั้น (Baffle Channel Flocculator)

ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบการสร้างตะกอนด้วยสารส้มและแยกตะกอน

ถังกวนช้าแบบใช้แผงกั้น (Baffle Channel Flocculator)


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบการสร้างตะกอนด้วยสารส้มและแยกตะกอน

การเติมสารส้มส้าหรับระบบประปาหมู่บ้าน
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบการสร้างตะกอนด้วยสารส้มและแยกตะกอน

ถังกวนช้าแบบใช้แผงกั้น (Baffle Channel Flocculator)


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบการสร้างตะกอนด้วยสารส้มและแยกตะกอน

ถังกวนช้าแบบใช้แผงกั้น
(Baffle Channel
Flocculator)
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
การสังเกตและดูและระบบการท้างานของระบบกวนช้าหรือการรวมตะกอน (Flocculation)

กระบวนกำรรวมตะกอนของสำรปนเปื้อนในน้ำดิบและสำรส้ม โดยสังเกตจำกกำรเกิดตะกอนสี
ขำวขุ่นระหว่ำงกำรไหลไปตำมรำงผสมสำร
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ถังตกตะกอน (Sedimentation)
ส่วนกำรตกตะกอนเป็นกำรขันตอนกำรแยก
ตะกอนที่มีขนำดใหญ่และมีน้ำหนักมำกพอที่จะ
ตกตะกอนได้เองตำมแรงโน้มถ่วงของโลกให้แยก
ออกจากน้้า ท้าให้ได้น้าใส และตะกอนเหลวแยก
จำกกัน

ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ถังตกตะกอน (Sedimentation)
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ถังตกตะกอน (Sedimentation)
 บ่อตกตะกอนหลังจำกที่
เกิดกำรรวมตัวของสำรส้ม
และสำรในน้ำดิบ

 น้ำมีควำมใสเพิ่มขึนไม่มี
ตะกอน
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ถังตกตะกอน (Sedimentation)  บ่อตกตะกอนหลังจำกที่เกิดกำร
รวมตัวของสำรส้มและสำรในน้ำ
ดิบไม่ดี เกิดเป็นตะกอนสีขำวขุ่น
ในบ่ตกตะกอน

 มักเกิดในช่วงฤดูฝน ที่มีควำมขุ่น
สูง ระยะเวลำกำรสัมผัสไม่
เพียงพอ และปริมำณสำรส้มไม่
เหมำะสม
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ถังตกตะกอน (Sedimentation)
 ฤดูหรือช่วงน้้าดิบมีความขุ่นสูง (ปริมาณตะกอนในน้้าดิบมาก) ต้องหมั่นดูและกระบวนการ
ตกตะกอน เวลาในการตกตะกอนลดลง ท้ำให้ตะกอนตกตะกอนไม่ทัน และเข้ำสู่ถังกรองได้

 ต้องหมั่นดูแลโดยกำรล้ำงถังตกตะกอนปีละ 2 ครั้ง และตรวจสอบความชุดรุด/เสียหายของ


อุปกรณ์และถังตกตะกอน

 เมื่อมีกำรตรวจสอบหรือหำกมีตะกอนเบำในถังตกตะกอน ต้องตักทิ้ง หรือระบายทิ้ง เพราะตะกอน


เบาไม่สามารถตกตะกอนได้ จึงจ้าเป็นต้องก้าจัดออก ก่อนระบายน้้าลงสู่ถังกรอง
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ถังตกตะกอน (Sedimentation)
กำรตรวจสอบหรือหำกมีตะกอนเบำในถัง
ตกตะกอน ต้องตักทิง หรือระบายทิ้ง เพราะ
ตะกอนเบาไม่สามารถตกตะกอนได้ จึง
จ้าเป็นต้องก้าจัดออก ก่อนระบายน้้าลงสู่ถัง
กรอง
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบทรายกรอง
 กำรกรองเป็นการแยกสารปนเปื้อนขนาดเล็ก
ที่แขวนลอยอยู่ในน้้าออกจากน้้าโดยกำรให้น้ำ
ไหลผ่ำนไปตำมชองวำงของตัวกลำงพรุน

 ระบบประปำหมู่บ้ำนส่วนใหญ่ใช้เป็นแบบ
ทรายกรอง
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ส่วนประกอบของระบบทรายกรองช้า (Slow Sand Filtration)
 ชันทรำยกรองละเอียดหนำ = 1.0 เมตร
 ทรำยกรองขนำดสัมฤทธิ์ (Effective size)= 0.25-0.30 mm.
 สัมประสิทธิ์ควำมสม่้ำเสมอ(Uniformity Coefficient) = 2-3
 ชันกรวดหนำ(Gravel Support Bed) = 30 cm.
 อัตรำกำรกรองต่้ำที่ = 0.04 – 0.40 m3/hr-m2
ข้อดี
ข้อเสีย
 ใช้เครื่องจักรกลน้อย
 ควำมขุ่นของน้ำที่เข้ำระบบไม่ควรเกิน 50 NTU
 กำรก่อสร้ำงไม่ยุ่งยำก ไม่มีกำรใช้สำรเคมี
 ใช้พืนที่ที่ใช้ในกำรก่อสร้ำงต้องใช้มำก
 ไม่ต้องใช้ทักษะควำมรู้มำกนักในกำรดูแลระบบ
 ต้องหยุดระบบนำนเมื่อต้องกำรล้ำง
 ประสิทธิภำพในกำรก้ำจัดจุลินทรีย์ 80-99 %
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบทรายกรองเร็ว(Rapid sand Filter) : กลไกกำรกรองน้ำจะไหลจำกบนลงล่ำงด้วยแรงโน้มถ่วง
ของโลก ท้ำกำรกรองจนเกิดกำรอุดตันจำกนันจะใช้กระบวนกำรล้ำงย้อน เพื่อท้ำควำมสะอำดทรำย
กรอง น้ำที่จะเข้ำระบบระบบทรำยกรองเร็วจะต้องผ่ำนกระบวนกำรสร้ำงตะกอน รวมตะกอน และ
ระบบกำรตกตะกอนมำก่อน

ที่มำ: https://dreamcivil.com/filter-numerical/
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ส่วนประกอบของระบบทรายกรอง(Rapid Sand Filtration)
-ชันทรำยกรองละเอียดหนำ = 0.60-0.80 เมตร
-ทรำยกรองขนำดสัมฤทธิ์ (Effective size)= 0.50-0.70 mm.
-สัมประสิทธิ์ควำมสม่้ำเสมอ(Uniformity Coefficient) = 1.5
-ชันกรวดหนำ(Gravel Support Bed) = 15-45 cm.
-อัตรำกำรกรองต่้ำที่ = 5-10 m3/hr-m2 ที่มำ: https://dreamcivil.com/filter-numerical/
ข้อดี ข้อเสีย
 กรองได้เร็วกว่ำกำรกรองช้ำ  ต้องใช้ทักษะควำมรู้มำกนักในกำรดูแลระบบ
 พืนที่ก่อสร้ำงน้อยกว่ำ ไม่จ้ำกัดควำมขุ่นที่เข้ำระบบ  ใช้สำรเคมีในกำรสร้ำงตะกอน
 ไม่ต้องน้ำทรำยออกมำล้ำงใช้กำรล้ำงย้อน  กำรออกแบบและก่อสร้ำงมีควำมซับซ้อนกว่ำกำรกรองช้ำ
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบทรายกรองภายใต้แรงดัน(Pressure sand Filter) : กลไกกำรกรองน้ำจะไหลจำก
บนลงล่ำงด้วยกำรเพิ่มควำมดันในกำรดันน้ำเข้ำสู่ระบบกำรกรอง แรงดันที่เพิ่มขึนจะมำ
จำกเครื่องอัดแรงดัน

ที่มำ: https://solutionpharmacy.in/pressure-sand-filter/
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ส่วนประกอบของระบบทรายกรองภายใต้แรงดัน(Pressure sand Filter)
 ชันทรำยกรองละเอียดหนำ = 0.60-0.80 เมตร
 ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำงถัง = 0.3-3.0 เมตร
 ทรำยกรองขนำดสัมฤทธิ์ (Effective size)= 0.50-0.70 mm.
 สัมประสิทธิ์ควำมสม่้ำเสมอ(Uniformity Coefficient) = 1.5
 ชันกรวดหนำ(Gravel Support Bed) = 15-45 cm.
 อัตรำกำรกรองต่้ำที่ = 7.50 m3/hr-m2
ข้อดี ข้อเสีย
 ควำมสูงของถังกรองต่้ำกว่ำระบบกรองเร็ว  ไม่เห็นส่วนประกอบภำยในระบบว่ำมีกำรท้ำงำน
 มีระบบกำรสูบน้ำภำยใต้แรงดัน อย่ำงไร กำรแก้ไขระบบจึงช้ำ
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบทรายกรองช้า (ส่วนมากในระบบประปาหมู่บ้าน)
 ระบบทรำยกรองช้ำ เป็นกำรกรองน้ำที่ใช้อัตรำกำรกรองต่้ำ (0.13-0.42 ลบ.ม./ชั่วโมง/ตำรำง
เมตร) โดยมีอัตรำกำรกรองน้ำต่้ำ มักใช้พืนที่มำกในกำรก่อสร้ำง
 ถังทรำยกรองที่ใช้มีขนำดเล็กกวำทรำยส้ำหรับกำรกรองเร็ว หำกน้ำดิบมีควำมขุนต่้ำสำมำรถ
น้ำมำกรองได้โดยไม่จ้ำเป็นต้องผ่ำนกระบวนกำรรวมตะกอนใช้สำรเคมีในกำรก้ำจัดควำมขุ่นมำ
ก่อน
 ระบบทรำยกรองช้ำเหมำะกับน้ำดิบที่มีกำรปนเปื้อนในระดับต่้ำถึงปำนกลำงมีควำมขุนต่้ำ ปกติ
ควรต่้ำกว่ำ 10-50 NTU
 ผู้ควบคุมดูแลระบบไม่จ้าเป็นต้องมีทักษะ และความเชี่ยวชาญในการเดินระบบมากนัก
ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
การดูแลกระบวนการกรอง (Filtration)
 ควรที่จะท้ำควำมสะอำดระบบทรำยกรองโดยกำรล้ำงย้อน เมื่อตะกอน/อนุภำคสะสมในทรำยมำกถึงจุดควบคุม เช่น
ควำมขุ่นของน้ำหลังผำนกรองเกินกว่ำ 4 NTU

 กำรท้ำควำมสะอำดตะกอนติดที่ผิวทรำยกรอง ท้ำให้ตะกอนแตกตัวเป็นขนำดเล็ก หลุดออกจำกทรำยกรอง และแตก


ตัวมีน้ำหนักน้อยกว่ำทรำยกรอง น้ำล้ำงย้อนจึงจะพัดออกไปได้เรียกว่ำ “ล้ำงหน้ำทรำย” หำกระบบล้ำง/ฉีดหน้ำ
ทรำยเสีย ให้ใช้ครำดหน้ำทรำยให้ตะกอนแตกตัว

 ควรล้ำงย้อนวันละครัง หำกปล่อยไว้นำนเกินไปจะเกิดปฏิกิริยำเคมีและชีวภำพในชันกรองหรือบนผิวกรอง เกิดกำร


สะสมตัวของตะกอนจนเกิดเป็นก้อนโคลน (Mud ball) หรือกำรเกิดสำหร่ำยซึ่งก่อให้เกิดปัญหำเรื่องกลิ่น และอื่นๆ
ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบทรายกรองช้า
 กำรท้ำควำมสะอำดตะกอนติดที่
ผิวทรำยกรอง ท้ำให้ตะกอนแตก
ตัวเป็นขนำด
 กำรให้ใช้ครำดหน้ำทรำยให้
ตะกอนแตกตัว

ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ตัวอย่างส่วนของระบบผลิตน้้าประปา หอถังสูง
 ระบบเร่งตกตะกอนด้วย
สารเคมี
 ระบบตกตะกอน
 ระบบทรายกรอง
สถานีสูบน้้า จ่ายน้้าให้กับ
ผิวดิน บ่อพักน้้าใส ชุมชน
แหล่งน้้าผิวดิน

ที่มำ: ส้ำนักบริหำรจัดกำรน้ำ กรมทรัพยำกรน้ำ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ระบบฆ่าเชื้อโรค (Disinfection)
 กำรก้ำจัดเชือโรคเป็นขันตอนที่มคี วำมส้ำคัญที่สุดในกระบวนกำรผลิตน้ำประปำเพรำะในน้ำ
ธรรมชำติมีจุลินทรีย์ปนเปื้อนอยู่มำก

 ชนิดและปริมำณขันตอนในกำรบ้ำบัดน้ำโดยทั่วไป เช่น กำรตกตะกอนและกำรกรอง ไม่


สำมำรถก้ำจัดเชือโรคได้ทังหมดจึงจ้ำเป็นต้องมีระบบก้ำจัดเชือโรคด้วย เพื่อให้ได้น้ำประปำที่
สะอำดปรำศจำกเชือโรค เหมำะแก่กำรอุปโภคบริโภคอย่ำงแท้จริง
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
กระบวนการฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีน (Chlorine Disinfection): กระบวนกำรในกำรฆ่ำเชือ
โรคที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำด้วยคลอรีน

ที่มำ: https://www.shutterstock.com/th/image-vector/illustration-until-raw-water-disinfected-chlorine-738412735
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ประเภทของคลอรีนที่ใช้ในการฆ่าเชื้อโรค
 ก๊าซคลอรีนเหลว(Liquefied Gaseous Chlorine): อันตรำยในกำรใช้และขนส่ง รำคำ
สูง เหมำะกับระบบประปำขนำดใหญ่

 Calcium Hypochlorite ,Ca(OCl)2 : ควบคุมกำรใช้ง่ำย ส่วนใหญ่เป็นชนิดผง เหมำะ


กับระบบประปำขนำดเล็ก

 Sodium Hypochlorite , NaOCl = แบบสำรละลำย มีควำมเสถียรต่้ำเสื่อมคุณภำพเร็ว


อำยุกำรใช้งำน 60-90 วัน เหมำะกับระบบประปำขนำดเล็กและสระว่ำยน้ำ
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ระบบก้ำจัดเชือโรคในกำรผลิตน้ำประปำสำมำรถท้ำได้หลำยวิธี เช่น กำรใช้รังสีอัลตรำไวโอเลต
(Ultraviolet, UV) และกำรใช้สำรเคมี

 กำรเลือกจะต้องพิจำรณำจำกคุณภำพของน้ำที่จะน้ำมำใช้ ขนำดของระบบผลิตรวมถึงควำมปลอดภัย
ในระบบทีใ่ ช้ด้วยกำรใช้สำรเคมีเป็นวิธีที่สะดวกและปลอดภัยกว่ำวิธีอื่นๆ

 กำรเลือกใช้สำรเคมีในกำรก้ำจัดเชือโรคในน้ำประปำจะต้องค้ำนึงถึงผลิตผลข้ำงเคียงที่เกิดจำกกำรใช้
สำรก้ำจัดเชือที่เรียกวำ Disinfection by Product หรือ DBP ด้วยเพรำะจะตกค้ำงปนเปื้อนอยูใน
น้ำประปำที่ผลิตได้และจะมีผลกระทบตอสุขอนำมัยของผู้ที่อุปโภคและบริโภคน้ำประปำนัน
ที่มำ: ส้ำนักบริหำรจัดกำรน้ำ กรมทรัพยำกรน้ำ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 สำรเคมีที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการก้าจัดเชื้อโรคในระบบประปา คือ สารเคมีประเภท
สารประกอบของคลอรีน เชนผงปูนคลอรีน คลอรีนเหลว

 ซึ่งสำรประกอบคลอรีนเหลำนีมีข้อเสียทีส่ ้ำคัญคือ เมื่อท้ำปฏิกิริยำกับสำรอินทรีย์ที่ละลำยอ


ยูในน้ำจะเกิด DBP ในรูปของสำรประกอบTrihalomethanes (THMs) และ Dioxin ซึ่ง
เป็นสำรก่อมะเร็งชนิดหนึ่ง

 ปัจจุบันมีกำรพัฒนำระบบกำรก้ำจัดเชือโรคในน้ำแบบอื่นๆให้มีควำมหลำกหลำยมำกขึนเพื่อ
เป็นทำงเลือกในกำรทดแทนสำรประกอบคลอรีน
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ระบบก้าจัดเชื้อโรคที่ดีควรมีลักษณะ:
o มีประสิทธิภำพในกำรก้ำจัดเชือโรคได้หลำยชนิด และไม่ท้ำให้เกิดกำรปนเปื้อนและเป็นพิษ
o มีประสิทธิภำพในกำรก้ำจัดเชือโรค โดยไมขึนอยูกับคุณภำพของน้ำ เชน pH และอุณหภูมิ
o ไม่ท้ำให้คุณภำพน้ำในด้ำนอื่นๆเปลี่ยนแปลง เช่น ท้ำให้เกิดกลิ่น และรส
o สำมำรถคงปริมำณอยู่ในน้ำได้ในระยะเวลำหนึ่ง เพื่อป้องกันกำรกลับมำปนเปื้อนของเชือ
โรคในระบบท่อน้ำ
o มีค่ำใช้จ่ำยที่เหมำะสม ไมท้ำให้ต้นทุนกำรผลิตน้ำประปำสูงมำกจนเกินไป

ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
กระบวนการฆ่าเชื้อโรค:
o ต้องไม่พบโคลิฟอร์ม (Coliform) ในน้ำประปำ
o น้ำประปำควรมีปริมำณคลอรีนอิสระคงเหลือหรือคลอรีนทังหมดคงเหลือมี
ค่ำอยู่ในช่วง 0.6-2.5 mg/L
o พิจำรณำควำมเหมำะสมของคุณภำพน้ำที่ผลิตได้รวมด้วย เพื่อให้กำรฆ่ำเชือ
โรคมีประสิทธิผลเป็นหลัก

ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 กระบวนการฆ่าเชื้อโรคด้วยคลอรีน (Chlorine Disinfection): กระบวนกำรในกำรฆ่ำ
เชือโรคที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำด้วยคลอรีน

สารคลอรีนน้้า

Chlorine Dosing Pumps


การปั๊มสารคลอรีนเข้าในระบบท่อ
ประปาเพื่อสูบให้กับชุมชน
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ระบบฆ่าเชื้อโรค (Disinfection)

การตรวจสอบและดูแลระบบฆ่าเชื้อโรค (Disinfection)
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
ตัวอย่างส่วนของระบบผลิตน้้าประปาแบบ หอถังสูง
 ระบบเร่งตกตะกอนด้วย
สารเคมี
 ระบบตกตะกอน
 ระบบทรายกรอง
สถานีสูบน้้า จ่ายน้้าให้กับ
ผิวดิน บ่อพักน้้าใส ชุมชน
แหล่งน้้าผิวดิน

ที่มำ: ส้ำนักบริหำรจัดกำรน้ำ กรมทรัพยำกรน้ำ กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม


การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 ถังน้ำใสท้ำหน้ำทีเ่ ก็บส้ำรองน้ำในช่วงที่มีอัตรำกำรใช้น้ำน้อยกว่ำอัตรำกำรผลิตน้ำประปำ
เพื่อจ่ำยน้ำในช่วงที่มีอัตรำกำรใช้น้ำมำกกวำอัตรำกำรผลิต

 ปกติถังน้ำใสจะออกแบบให้จุน้ำที่ผลิตได้ประมำณ 6-8 ชั่วโมงและใช้เพิ่มระยะเวลำในกำร


ท้ำปฏิกิริยำของคลอรีนในกำรฆ่ำเชือโรค (Contact time) ซึ่งต้องใช้เวลำอย่ำงน้อย 30
นำที
 ควรสังเกตว่ำน้ำในถังน้ำใสมีกำรหมุนเวียนทั่วถึงตลอดทังถัง และน้ำที่เติมคลอรีนแล้วต้องมี
ระยะเวลำกักเก็บในถังไม่น้อยกว่ำ 30 นำที ก่อนถูกสูบจ่ำยโดยปั๊มแรงสูง
ที่มำ: คู่มือกระบวนกำรผลิตน้ำประปำและควบคุมคุณภำพน้ำ พ.ศ.2561
การดูแลบ้ารุงรักษาระบบประปา
 หอถังสูงและระบบสูบน้้าแรงสูง
 หอถังสูงท้ำหน้ำทีค่ วบคุมแรงดันน้ำในระบบจ่ำยน้ำประปำ ควำมสูงของหอถังสูงต้องสูง
เพียงพอที่จะท้ำให้แรงดันน้ำปลำยท่อจ่ำยน้ำประปำที่อยู่ไกลสุด มีควำมดันไม่น้อยกว่ำ 1
บำร์

 ระบบสูบน้ำแรงสูงประกอบไปด้วยอำคำรโรงสูบน้ำแรงสูงแบบต่ำงๆ ภำยในติดตังเครื่องสูบ
น้ำแรงสูง ซึ่งจะสูบน้ำจำกถังน้ำใส เพื่อส่งขึนหอถังสูง หรือสูบจ่ำยน้ำโดยตรง กำรเลือก
ชนิดของเครื่องสูบน้ำต้องสัมพันธ์กับกำรเลือกอำคำรโรงสูบ
การควบคุมคุณภาพน้้าประปา
การควบคุมคุณภาพน้้าประปา
 การควบคุมคุณภาพน้้าดิบก่อนเข้าระบบผลิต
 การตรวจสอบการท้างานของระบบผลิตน้้า
 การควบคุมคุณภาพก่อนจ่ายน้้า
ต้าแหน่งจุด:การควบคุมคุณภาพน้้าประปา
ตรวจสอบระบบสูบและคุณภำพ สูบน้ำขึนหอถังสูงพร้อมจ่ำย
น้ำดิบ(pH, Hardness, Fe, Mn) สำรละลำยคลอรีนเพื่อฆ่ำเชือโรค
ตรวจสอบระบบเติมอำกำศ
กำรท้ำงำนของเครื่องจักร

บ่อน้้าบาดาล

ถังน้้าใสและระบบสูบ
ระบบเติมอากาศ ระบบตกตะกอน ระบบกรอง ขึ้นหอถังสูง
การควบคุมคุณภาพน้้าดิบก่อนเข้าระบบผลิต
 การตรวจสอบระบบสูบน้้าดิบ: เครื่องสูบน้ำดิบและระบบควบคุมไฟฟ้ำต่ำงๆ ให้ใช้งำน
ได้ตำมปกติ

 การตรวจสอบคุณภาพน้้าดิบ: ควำมเป็นกรด-ด่ำง (pH) สำรประกอบของเหล็ก กลิ่นสี


ควำมขุ่นของน้ำดิบ

 คุณภาพของน้้าดิบ: บทบำทและควำมส้ำคัญ อย่ำงมำกต่อกำรท้ำงำนของระบบต่ำง ๆ


เช่น ระบบสร้ำงตะกอน ระบบเติมอำกำศ ระบบก้ำจัดควำมกระด้ำงด้วยวิธีตกผลึก
ระบบกำรปรุงแต่งน้ำ เพื่อป้องกันกำรกัดกร่อนหรือกำรตกผลึก
การตรวจสอบการท้างานของระบบผลิตน้้า

ระบบน้้าดิบ ระบบผลิตน้้าประปา ระบบจ่าย

บ่อน้้าบาดาล ระบบเติมอากาศ ถังกรอง ถังน้้าใส หอถังสูง ผู้ใช้น้า

ตรวจสอบกำรท้ำงำน สูบน้ำขึนหอถังสูงพร้อมจ่ำย
กำรกระจำยน้ำเพื่อ คุณภำพภำพของน้ำที่
ของเครื่องสูบและ สำรละลำยคลอรีนเพื่อฆ่ำเชือโรค
สัมผัสอำกำศ ผ่ำนกำรกรอง
คุณภำพน้ำดิบ

ที่มา: ส้านักบริหารจัดการน้้า กรมทรัพยากรน้้า กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


การตรวจสอบการท้างานของระบบผลิตน้้า

 กำรตรวจสอบและปรับตังปริมำณน้ำดิบเข้ำระบบผลิตน้ำให้มีควำมเหมำะสมกับกำร
ท้ำงำนของระบบ
 ระบบเติมอำกำศ เป็นระบบที่สร้ำงขึนเพื่อให้น้ำที่ถูกสูบขึนมำกระจำยสัมผัสอำกำศ
แล้วตกลงมำไหลรวมสู่ระบบอื่นต่อไป
 ระบบเติมอำกำศ ท้ำหน้ำที่เติมอำกำศ (ออกซิเจน) ในน้ำท้ำให้เหล็กในน้ำ (ซึ่งอยู่ใน
รูปของสำรละลำย) เปลี่ยนเป็นตะกอนเหล็ก
 ตรวจสอบกำรท้ำงำนของระบบกระจำยน้ำ และกำรท้ำงำนของระบบไฟฟ้ำต่ำงๆ
การตรวจสอบการท้างานของระบบผลิตน้้า

 ถังกรอง มีหน้ำที่กรองตะกอนสนิมเหล็ก โดยให้น้ำไหลผ่ำนทรำยกรอง ซึ่งกำร


ตรวจสอบควำมพร้อมของถังกรองก่อนกำรผลิต
 ตรวจสอบคุณภำพของน้ำที่ผ่ำนกำรกรองเบืองต้น เช่น ควำมขุ่นของน้ำที่ผ่ำนกำร
กรอง เป็นต้น
 ถังน้ำใส: ท้ำหน้ำที่กักเก็บน้ำที่ผ่ำนกำรกรอง รักษำสมดุลระหว่ำงอัตรำกำรผลิตน้ำกับ
ระบบน้ำดิบและระหว่ำงระบบผลิตน้ำกับระบบจ่ำยน้ำประปำ
 ตรวจสอบการท้างานของระบบฆ่าเชื้อโรค
การควบคุมคุณภาพก่อนจ่ายน้้า
 การตรวจสอบเครื่องสูบน้้าดีและระบบควบคุม
 ตรวจสอบแรงดันของหอถังสูงท้ำหน้ำที่รักษำแรงดันน้ำให้คงที่สม่้ำเสมอในระบบ
ท่อจ่ำยน้ำประปำ
 หอถังสูงจะท้ำหน้ำที่ในกำรรักษำระยะเวลำกำรท้ำงำนของเครื่องสูบน้ำดีให้อยู่
ในช่วงที่เหมำะสมไม่เปิดปิดบ่อยจนเกินไป
 ปกติหอถังสูงมีควำมสูงจำกพืนดินประมำณ 11-25 เมตร ประโยชน์ของหอถังสูง
นอกจำกกำรจ่ำย น้ำประปำให้กับชุมชนแล้ว ยังใช้น้ำเพื่อกำรล้ำงหน้ำทรำยกรอง
(Back Wash)
แนวทางการจัดการและดูแล บ้ารุงรักษาระบบ
ประปาอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการจัดการและดูแล บ้ารุงรักษาระบบประปาอย่างมีประสิทธิภาพ

 การบ้ารุงรักษาแหล่งน้้าดิบ: การดูแลรักษำ และเฝ้ำระวังแหล่งน้ำดิบโดยมีค้ำแนะน้ำดังนี


 กำรดูแลลำนคอนกรีตและสภำพทั่วไปบริเวณบ่อน้ำบำดำลให้สะอำดถูกสุขลักษณะ

 กำรป้องกันโดยยกปำกบ่อให้สูงกว่ำระดับน้ำท่วมถึง และบ้ำรุงรักษำสภำพทั่วๆ ไปไม่ให้


บริเวณบ่อน้ำในบ่อมีกลิ่นเหม็น

 ห้ำมหย่อนเครื่องสูบลงไปสูบน้ำที่ก้นบ่อน้ำบำดำล หรือสูบตรงกับช่วงท่อกรองน้ำ
เพรำะจะท้ำให้บ่อพัง
แนวทางการจัดการและดูแล บ้ารุงรักษาระบบประปาอย่างมีประสิทธิภาพ

 การบ้ารุงรักษาระบบผลิตน้้าประปา
การตรวจสอบและการบ้ารุงรักษาระบบเติมอากาศ (ก้าจัดเหล็กและแมงกานีส)
 ท้ำกำรตรวจสอบระบบเติมอำกำศ ระบบกำรสูบน้ำดิบเข้ำระบบเติมอำกำศ ว่ำท้ำงำนปกติ
ไม่มีกำรช้ำรุดของโครงสร้ำง

 ผู้ดูแลระบบต้องหมั่นตรวจสอบโครงสร้ำงของระบบเติมอำกำศ (แอเรเตอร์) ให้อยู่ใน


สภำพใช้งำนได้เสมอ หำกเห็นว่ำช้ำรุดให้ซ่อมแซม หรือเปลี่ยนใหม่

 ผู้ดูแลระบบต้องหมั่นสังเกตท่อกระจำยน้ำดิบ หัวกระจำยน้ำดิบเพื่อไม่ให้เกิดกำรอุดตัน
แนวทางการจัดการและดูแล บ้ารุงรักษาระบบประปาอย่างมีประสิทธิภาพ

 การบ้ารุงรักษาระบบผลิตน้้าประปา
การบ้ารุงรักษาถังกรอง
 ตรวจสอบโครงสร้ำงของระบบถังกรองให้ใช้งำนได้ตำมที่ออกแบบไว้ และต้องหมั่นตรวจสอบ
และห้ำมปล่อยให้น้ำหน้ำทรำยกรองแห้ง

 ดูแลรักษำอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น พวงมำลัย เปิด – ปิด ประตูน้ำให้อยู่ในสภำพดี ถ้ำมีกำรรั่วซึม


ช้ำรุดให้ซ่อมแซมหรือเปลี่ยนใหม่

 ต้องหมั่นรักษำและท้ำควำมสะอำดถังกรอง โดยท้ำกำรขัดล้ำงท้ำควำมสะอำดถังกรองทุก 3-6


เดือน
แนวทางการจัดการและดูแล บ้ารุงรักษาระบบประปาอย่างมีประสิทธิภาพ

 การบ้ารุงรักษาระบบผลิตน้้าประปา
การบ้ารุงรักษาถังน้้าใส
 ตรวจสอบโครงสร้ำงของถังน้ำใสอยู่เสมอ และต้องดูแลรักษำปิดฝำให้มิดชิด
ไม่ให้มีสิ่งของตกลงไปได้
 ท้ำกำรตรวจสอบป้ำยบอกระดับน้ำให้อยู่ในสภำพดี เพื่อใช้ในกำรตรวจสอบ
ปริมำตรน้ำในถัง และใช้ดูว่ำมีกำรรั่วหรือแตกร้ำวของโครงสร้ำงหรือไม่
 ต้องตรวจสอบอุปกรณ์ประตูน้ำให้อยู่ในสภำพพร้อมใช้งำน หำกช้ำรุดรั่วซึม
ต้องซ่อมแซมหรือเปลี่ยนใหม่
 ท้ำควำมสะอำดถังน้ำใสอย่ำงสม่้ำเสมออย่ำงน้อย 6 เดือน/ครัง
แนวทางการจัดการและดูแล บ้ารุงรักษาระบบประปาอย่างมีประสิทธิภาพ

 การบ้ารุงรักษาระบบจ่ายน้้าประปา
การบ้ารุงรักษาเครื่องสูบน้้าดี และระบบควบคุม
 เครื่องสูบน้ำที่ผ่ำนกำรปรับปรุงในระบบจ่ำยน้ำประปำต้องดูแลอย่ำงสม่้ำเสมอ เพรำะอำจจะ
มีกำรใช้งำนที่ต่อเนื่อง
 ต้องมีกำรส้ำรองเครื่องไว้อย่ำงน้อย 1 เครื่อง เพรำะเหมำะสมต่อกำรใช้งำนและง่ำยต่อกำร
บ้ำรุงรักษำ
กระบวนการผลิตน้้าประปาจากแหล่งน้้าบาดาล

แลกเปลี่ยนเรียนรู้
“การจัดการคุณภาพน้้าบริโภคส้าหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน”

You might also like