You are on page 1of 8

บทที2่

ทฤษฎีทใี่ ช้
ในการทําวิจยั เรื่องการสร้างเครื่องกะเทาะฝาและลอกฉลากขวดพลาสติก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การจัดการขยะ เช่น ฝา ห่วงที่คอขวด และฉลาก ซึง่ เป็ นพลาสติกต่างชนิดกันให้แยกออกจากกัน
เมื่อนําไปรีไซเคิลทําให้พลาสติกที่ได้ไม่มีสิ่งเจือปน โดยผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาวิจยั ของเครื่องกะเทาะฝา
และลอกฉลากขวดพลาสติก มีวตั ถุประสงค์เพื่อนําพลาสติกที่ได้นนั้ กลับเข้ามาสูก่ ระบวนการนํา
กับมาใช้ใหม่โดยการนําไปสูก่ ระบวนบดเป็ นเม็ดพลาสติกหรือกระบวนการฉีดขึน้ รูป ซึง่ เป็ นการลด
ปริมาณของพลาสติกที่มีอยูแ่ ละเป็ นการนําวัสดุท่ีใช้แล้วนํากลับมาใช้ใหม่ โดยผูจ้ ดั ทําวิจยั ได้
ค้นคว้าจากเอกสารและทฤษฎีงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง โดยนําเสนอเป็ นลําดับขัน้ ตอนดังนี ้
1. ทฤษฎีในการออกแบบเครื่องจักรกล
2. การวิเคราะห์ความแข็งแรงของชิน้ ส่วนที่ออกแบบ
3. ชนิดพลาสติก
4. ทฤษฎีความแข็งแรงของวัสดุ, ทฤษฎีแรงเสียดทาน, ทฤษฎีความเค้นและความเครียด
1.ทฤษฎีในการออกแบบเครื่องจักรกล การออกแบบเครื่องจักรกลจะต้องพิจารณาถึงลักษลักณะที่
สําคัญของเครื่องจักร ซึง่ ประกอบด้วย เครื่องจักรต้องทํางานได้ตามหน้าที่ เครื่องจักรสามารถ
ควบคุมชิน้ ส่วนกลไกที่เคลื่อนไหวได้และต้องควบคุมการเคลื่อนไหวได้แน่นอนและเที่ยงตรง การ
ออกแบบชิน้ ส่วนที่ใช้ขบั เคลื่อนหรือส่งกําลังให้เครือ่ งสามารถทํางานได้ การออกแบบกลไก
(mechainsm) และโครงสร้างของเครื่อง(Frame) ที่จะต้องให้สามารถรับรองชิน้ ส่วนต่างๆ
ของเครื่องจักรและภาระภายนอกที่มากระทําได้
2.การวิเคราะห์ความแข็งแรงของชิน้ ส่วนที่ออกแบบและความเค้นชนิดต่างๆ ที่เกิดขึน้ เพื่อได้
ชิน้ ส่วนที่มีความแข็งแรงสามารถใช้งานได้โดยไม่เสียหาย ในการออกแบบเครื่องต้นแบบนีอ้ าศัย
ทฤษฏีที่สาํ คัญสําหรับคํานวณหาขนาดแรงใช้งาน หาขนาดของชิน้ ส่วน และการตรวจสอบความ
แข็งแรง
3.พลาสติก (Plastics)
พลาสติก (Plastic) มาจากรากศัพท์ภาษากรีก ว่า “plastikos” หมายความว่า หล่อหรือ
หลอมเป็ นรูปร่างได้ง่าย พลาสติกเป็ นโพลิเมอร์ประเภทหนึ่งที่สว่ นใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ขนึ ้
(Synthetic polymer) แต่ก็มีพลาสติกที่เกิดขึน้ จากธรรมชาติเช่นกัน เช่น ชะแล็ก พลาสติก
เป็ นสารอินทรีย ์ เป็ นไฮโดรคาร์บอน มีไฮโดรเจนและคาร์บอนเป็ นองค์ประกอบหลัก พลาสติกเป็ น
โพลิเมอร์ท่ีสามารถนํามาหล่อเป็ นรูปร่างต่าง ๆ ตามแบบ โดยใช้ความร้อนและแรงอัดเพียง
เล็กน้อย มีจดุ หลอมเหลวระหว่าง 80-350 องศาเซลเซียส ขึน้ อยูกบั ชนิดของพลาสติกด้วย
ปั จจุบนั พลาสติก (plastic) มีความสําคัญต่อชีวิตประจําวันเป็ นอย่างมาก เครือ่ งมือเครื่องใช้
และวัสดุก่อสร้างหลายชนิดทําด้วยพลาสติก เช่น เครื่องใช้ในครัวเรือนจําพวกจานชาม ขวดโหล
ต่าง ๆ ของเล่นเด็ก วัสดุก่อสร้าง สีทาบ้าน กาวติดไม้และติดโลหะ อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ และ
วิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็ นต้น เหตุท่ีพลาสติกเป็ นที่นิยมเพราะมีราคาถูก มีนาํ หนักเบา ทน
ความชืน้ ได้ดี ไม่เป็ นสนิม ทําให้เป็ นรูปร่างต่าง ๆ ตามต้องการได้ง่ายกว่าโลหะ เป็ นฉนวนไฟฟ้า
และฉนวนความร้อน มีท่งั ชนิดโปร่งใสและมีสีตา่ ง ๆ กัน ด้วยเหตุนีพ้ ลาสติกจึงใช้แทนโลหะหรือ
วัสดุบางชนิด เช่น แก้วได้เป็ นอย่างดี แต่พลาสติกก็มีขอ้ เสียหลายอย่างด้วยกัน คือ ไม่แข็งแรง (รับ
แรงดึง แรงบิดและแรงเฉือนได้ต่าํ มาก) ไม่ทนความร้อน (มีจดุ หลอมเหลวต่า ติดไฟง่าย ไม่คงรูป
และย่อยสลายยาก จึงทําให้ขอบเขตการใช้งานของพลาสติกยังไม่กว้างเท่าที่ควร
ชนิดของพลาสติก พลาสติกแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
1. เทอร์โมเซตติง (thermosetting)
2. เทอร์โมพลาสติก (thermoplastic)
1.1 เทอร์ โมเซตติง (Thermosetting) พลาสติกประเภทนีจ้ ะมีรูปทรงที่ถาวรเมื่อผ่าน
กรรมวิธีการผลิตโดยให้ความร้อน ความดันหรือตัวเร่งปฏิกิรยิ า การขึน้ รูปทําได้ยากและไม่สามารถ
นํากลับมาใช้ใหม่ได้ นอกจากนีย้ งั มีตน้ ทุนการผลิตสูง รวมทัง้ การใช้งานค่อนข้างจํากัดทําให้ใน
ปั จจุบนั มีใช้ในอุตสาหกรรมไม่ก่ีประเภท ได้แก่ เมลามีน ฟี นอลิก ยูเรียฟอร์มาลดีไฮด์โพลีเอสเตอร์
ที่ไม่อ่มิ ตัว เป็ นต้น โดยส่วนใหญ่จะใช้ผลิตเครื่องครัว ชิน้ ส่วนปลักไฟ ชิน้ ส่วนรถยนต์และชิน้ ส่วนใน
เครื่องบิน เป็ นต้น
1.2 เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) พลาสติกประเภทนีเ้ มื่อได้รบั ความร้อนหรือความ
ดันระหวางกระบวนการขึน้ รูป จะเปลี่ยนแปลงสถานะทางกายภาพ กล่าวคือ เมื่อได้รบั ความร้อน
จะอ่อนนิ่ม เเละเมื่อเย็นลงจะแข็งตัวโดยที่โครงสร้างทางเคมีจะไม่เปลี่ยนแปลงทําให้พลาสติก
ประเภทนีม้ ีคณุ สมบัติท่ีสามารถนํากลับมาเข้าสูก่ ระบวนการผลิตซํา้ า ๆ ได้ นอกจากนีย้ งั สามารถ
นํามาขึน้ รูปได้ง่ายด้วยต้นทุนการผลิตที่ต่าํ และมีหลายชนิดที่สามารถนํามาใช้งานได้อย่าง
กว้างขวาง ปั จจุบนั มีการนําไปใช้ในอุตสาหกรรมประเภทของเด็กเล่น ดอกไม้ประดิษฐ์บรรจุภณ ั ฑ์
ชิน้ ส่วนรถยนต์ และผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ พลาสติกประเภทนี ้ ได้แก่ โพลีเอทิลีน (PE),โพลีโพ
รพิลีน (PP), โพลิไวนิลคลอไรด์ (PVC), โพลิสไตรีน (PS), โพลิเอทิลีนเทเรพเลต (PET)
เป็ นต้น
ในประเทศไทยนิยมใช้พลาสติกจําพวกเทอร์โมพลาสติกกนมากที่สดุ เนื่องจากสามารถใช้งานได้
หลายประเภท โดยเฉพาะด้านบรรจุภณั ฑ์พลาสติกที่มีการผลิตในรูปแบบต่าง ๆ กัน เช่น
1.2.1 โพลิเอทิลีน (PE) ผลิตเป็ นถุงพลาสติกทัง้ ร้อนและเย็น ขวด ถัง และฟิ ลม์ พลาสติกประเภท
อ่อนนุ่ม กระสอบพลาสติก เป็ นต้น
1.2.2 โพลิโพรพิลีน (PP) นิยมผลิตเป็ นถุงบรรจุอาหาร และเสือ้ ผ้าสําเร็จรูปกระสอบพลาสติก
เป็ นต้น
1.2.3 โพลิไวนิลคลอโรด์ (PVC) และโพลิสไตรีน (PS) นิยมผลิตเป็ นถัง ถุงบรรจุผกั สด ผลไม้
และเนือ้ สัตว์บางชนิด เป็ นต้น
โพลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene Terephthalate : PETE ) หมายถึง
พลาสติกที่สว่ นใหญ่มีความใส มองทะลุได้ มีความแข็งแรง ทนทานและเหนียว ป้องกันการผ่าน
ของก๊าซได้ดีมีจดุ หลอมเหลว 250 - 260 องศาเซลเซียส ความหนาแน่น 1.39 นิยมนํามาใช้ทาํ
บรรจุภณ
ั ฑ์ต่าง ๆ เช่น ขวดนํา้ ดื่ม ขวดน้าเปล่า ขวดนํา้ มัน
โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นตํ่า (Low Density Polyethylene : LDPE) หมายถึง
พลาสติกที่มีความหนาแน่นตํ่า มีสีขาวขุ่นและมีความนิ่มกว่า HDPE มีความเหนียว ยืดตัวได้ใน
ระดับหนึ่ง ส่วนใหญ่ใสมองเห็นได้ จุดหลอมเหลว 110 องศาเซลเซียส ความหนาแน่น 0.92 - 0.94
นิยมนํามาใช้ทาํ แผนฟิ ลม์ ห่ออาหารและห่อของ
โพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene : HDPE) หมายถึง
พลาสติกที่มีความหนาแน่นสูง มีสีขาวขุ่นและมีความแข็งกว่า LDPE มีความเหนียว ยืดตัวได้ใน
ระดับหนึ่ง ส่วนใหญ่ใสมองเห็นได้ จุดหลอมเหลว 130 องศาเซลเซียส ความหนาแน่น 0.92 - 0.96
นิยมนํามาใช้ทาํ บรรจุภณ
ั ฑ์ต่าง ๆ เช่น ขวดแชมพู ขวดนม
จากการเพิ่มจํานวนบรรจุภณ
ั ฑ์พลาสติกปัจจุบนั ซึ่งมีแนวโน้มความต้องการจะขยายตัว
เพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็ว ในอนาคตนัน้ ก่อให้เกิดปั ญหาขยะพลาสติกที่ใช้แล้วตามมา ซึ่งทําให้เกิด
ปั ญหาต่อสิ่งแวดล้อม อีกทัง้ การกําจัดขยะพลาสติกในปั จจุบนั ยังมีอปุ สรรคอีกมาก โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง ไม่สามารถกําจัดพลาสติกบางชนิดได้ เนื่องจากยังไม่สามารถหลอมเพื่อนํากลับมาใช้ใหม่
ได้อีก อย่างไรก็ตามการนําพลาสติกกลับมาหมุนเวียนใช้ใหม่นนั้ ประเด็นสําคัญอยู่ท่ีการแยก
ประเภทของพลาสติกก่อนที่จะนําไปรีไซเคิล และการกําจัดสิ่งที่ไม่ตอ้ งการออกไป โดยปกติแล้ว
พลาสติกผสมเกือบทุกประเภทจะมีคณ ุ สมบัติแตกต่างกันไป เนื่องจากพอลิเมอร์ท่ีแม้จะมี
โครงสร้างทางเคมีท่ีเหมือนกัน แต่ไม่สามารถเข้ากันได้เสมอไป (incompatible) ตัวอย่างเช่น
โพลีเอสเตอร์ท่ีใช้ทาํ ขวดพลาสติก จะเป็ นโพลีเอ-สเตอร์ท่ีมีมวลโมเลกุลสูงกว่า เมื่อเทียบกับโพลีเอ
สเตอร์ท่ีใช้ในการผลิตเส้นใย (fiber) นอกจากนี ้ ยังมีสารเติมแต่งอีกประเภท ได้แก่ พวก
Compatibilizer ซึง่ มีผลโดยตรงต่อการ รีไซเคิลของพลาสติก สารเติมแต่งนีจ้ ะช่วยให้เกิด
พันธะทางเคมีระหวางพอลิเมอร์ 2 ประเภท ที่เข้ากันไม่ได้ ดังนัน้ Compatibilizer จะช่วย
เพิ่มประสิทธิภาพในการรีไซเคิล ตัวอยางเช่น การใช้ Chlorinated PE สําหรับพลาสติกผสม
PE/PVC
การระบุรหัสสําหรับพลาสติก (ID Code) และคุณสมบัติของขวดพลาสติก

โพลิเอทิลีน โพลิเอทิลีน โพลิไวนิล โพลิเอทิลีน โพลิ โพรพิลีน โพลิส ไตรี น


เทเรพทาเลต ความ คลอไรด์ ความ (PP) (PS)
(PET) หนาแน่นสู ง (PVC) หนาแน่นต่า
(HDPE) (LDPE)
รหัสของ
พลาสติก ( ID
Code)
ความใส ใส ขุ่น ใส ขุ่น ขุ่น ใส
การป้องกัน พอใช้ถึงดี ดีถึงดีมาก พอใช้ ดี ดีถึงดีมาก ไม่ดี ถึงพอใช้
ความชื้น
การป้องกัน ดี ดี ดี ไม่ดี ไม่ดี พอใช้
ออกซิเจน

อุณหภูมิสงู สุด 120 145 140 120 165 150


(°𝐹)

ความแข็ง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ตํ่า ปานกลาง ปานกลาง


ถึงสูง ถึงสูง ถึงสูง ถึงสูง
โพลิเอทิลีน โพลิเอทิลีน โพลิไวนิล โพลิเอทิลีน โพลิ โพรพิลีน โพลิส ไตรี น
เทเรพทาเลต ความ คลอไรด์ ความ (PP) (PS)
(PET) หนาแน่นสู ง (PVC) หนาแน่นต่า
(HDPE) (LDPE)
รหัสของ
พลาสติก ( ID
Code)
ความทนทาน ดีถึงดีมาก ดีถึงดีมาก พอใช้ถึงดี ดีมาก พอใช้ถึงดี พอใช้ถึงดี
ต่อการ
กระแทก
ความทนทาน ไม่ดี ถึงพอใช้ ดี ไม่ดี ถึงพอใช้ พอใช้ ดี พอใช้
ต่อความร้อน
ความทนทาน ดี ดีมาก พอใช้ ดีมาก ไม่ดี ถึงพอใช้ ไม่ดี
ต่อความเย็น
ความทนทาน ดี พอใช้ พอใช้ถึงดี พอใช้ พอใช้ ไม่ดี
ต่อแสงแดด ถึงพอใช้

หมายเหตุ หมายถึง พลาสติกนอกเหนือจาก 6 ประเภท ที่กล่าวมานี ้ การนําเอาบรรจุภณ


ั ฑ์
พลาสติกที่ใช้แล้ว มากลับเข้าสูก่ ระบวนการผลิตเพื่อนํากลับมาใช้ใหม่โดยการรวบรวมพลาสติกที่
ใช้แล้วตามบ้านเรือน และกองขยะเพื่อนํามาแปรสภาพพลาสติก
ทฤษฎีความแข็งแรงของวัสดุ
ความแข็งแรง (Strength) ของวัสดุเป็ นการบ่งบอกถึงความคงทนต่อการผิดรูปของวัสดุท่ีมี
ผลของแรง มากระทําต่อวัสดุนนั้ ซึง่ วัสดุแต่ละชนิดก็จะมีความแข็งแรงที่แตกต่างกันออกไป เช่น
โลหะมีความแข็งแรงมากกวาพลาสติก และวัสดุประเภทไม้ ในขณะที่พลาสติกกลับมีความยืดหยุน่
ที่สงู กว่า
ความยืดหยุ่น (Elasticity) เป็ นความสามารถของวัสดุเมื่อได้รบั แรงกระทําจะเกิดการยืดตัว
แล้วกลับคืนสูส่ ภาพเดิมได้เมื่อนําแรงที่มากระทําออก หรือสามารถเรียกได้ว่า สภาพการเปลี่ยนรูป
แบบยืดหยุน่
ความอ่อนเหนียว (Ductility) หรือสภาพยืดดึงได้ เป็ นสมบัติของชิน้ งานเมื่อได้รบั แรงกระทํา
จนเปลี่ยนรูปถาวร กล่าวคือ ช่วงในการเปลี่ยนรูปร่างถาวรนัน้ วัสดุสามารถยืดตัวหรือเปลี่ยนรูป
ได้มากน้อยระดับใดขึน้ อยูก่ บั ความอ่อนเหนียวของวัสดุนนั้ ๆ ความอ่อนเหนียวตรงกันข้ามกับ
ความเปราะ ถ้านําวัสดุนนั้ มาทดสอบการดึงชิน้ ทดสอบยาว 50 มิลลิเมตร เมื่อดึงแล้วยืดได้มาก
กว่า 5% จะจัดให้เป็ นวัสดุเหนียว แต่ถา้ ยืดแล้วได้นอ้ ยกว่า 5% จะเป็ นวัสดุเปราะ

ทฤษฎีแรงเสียดทาน (Friction)
แรงเสียดทาน (Friction) เป็ นแรงที่เกิดขึน้ เมื่อวัตถุหนึ่งพยายามเคลื่อนที่หรือกําลังเคลื่อนที่
ไปบนผิวของอีกวัตถุ เนื่องจากมีแรงมากระทํา มีลกั ษณะที่สาํ คัญดังนี ้ 1. เกิดขึน้ ระหว่างผิวสัมผัส
ของวัตถุ 2. มีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วตั ถุเคลื่อนที่ หรือตรงข้ามทิศทางของแรงที่พยายาม
ทําให้วตั ถุเคลื่อนที่ เมื่อวัตถุถกู แรงกระทําจะเกิดความเค้น (Stress) และความเครียด
(Strain) ขึน้ ในเนือ้ วัตถุ แรงกระทํากับวัตถุนนั้ อาจเป็ นแรงกระทําจากภายนอก แรงกระทําจาก
วัตถุขา้ งเคียง หรือแรง เนื่องจากนํา้ หนัก ในการออกแบบชิน้ งานทางวิศวกรรมจํานวนมากนัน้
ชิน้ งานจะรับภาระ หลายอย่างพร้อมกัน เช่น ความเค้นดึง ความเค้นกด และความเค้นเฉือน ซึ่ง
เรียกว่า ความเค้นผสม
ทฤษฎีความเค้นและความเครียด
ความเค้น
ความเค้น คือ แรงต้านทานภายในเนือ้ วัสดุท่ีมีต่อแรงภายนอกที่มากระทําต่อหนึ่งหน่วยพืน้ ที่
ความเค้นแบ่งออกเป็ น
ความเค้นดึง (Tensile Stress) เกิดขึน้ เมื่อมีแรงดึงมากระทําตัง้ ฉากกับพืน้ ที่ภาคตัดขวาง
โดยพยายามจะแยกเนือ้ วัสดุให้แยกขาดออกจากกัน
ความเค้นกด (Compressive Stress) เกิดขึน้ เมื่อมีแรงกดมากระทําตัง้ ฉากกับพืน้ ที่
ภาคตัดขวาง เพื่อพยายามอัดให้วสั ดุมีขนาดสัน้ ลง
ความเค้นเฉือน (Shear Stress) ใช้สญ
ั ลักษณ์ τ เกิดขึน้ เมื่อมีแรงมากระทําให้ทิศทางขนาน
กับพืน้ ที่ภาคตัดขวาง เพื่อให้วสั ดุเคลื่อนผ่านจากก่อนมีคา่ เท่ากับแรงเฉือน (Shear Force)
หารด้วยพืน้ ที่ภาคตัดขวาง A ซึง่ ขนานกับทิศทางของแรงเฉือน
ความเครียด
ความเครียด (Strain) คือ การเปลีย่ นแปลงรูปร่างของวัสดุ (Deformation) เมื่อมีแรง
ภายนอก มากระทํา (เกิดความเค้น) จะมีการยืดหรือหด การเปลี่ยนรูปของวัสดุนีเ้ ป็ นผลมาจาก
การเคลื่อนที่ ภายในเนือ้ วัสดุ
อ้างอิง

You might also like