You are on page 1of 6

บทที่ 3

วิธีการดำเนินงาน

ในบทที่ 3 นี้ จ ะนำเสนอวิ ธี ก ารดำเนิ น งานในการศึ ก ษาขนาดรู พ รุ น ของโฟมยางด้ ว ย


กระบวนการขึ้นรูปแบบดันลอปดำเนินงานโดยการเริ่มการศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยข้อมูลที่
ได้การศึกษาขนาดรูพรุนของโฟมยางด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบดันลอปการทดลองจะมีความมุ่งเน้น
ไปทีข่ นาดของรูพรุนที่ได้จากการเปลี่ยนตัวแปลปริมาณของสารที่ทำให้เกิดฟอง (โพแทสเซียมโอลีเอต)
ที่ต่างกันเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไปซึ่งวิธีการดำเนินงานแบ่งเป็นส่วนต่างๆดังนี้

3.1 แผนการดำเนินงาน
ในการศึกษาขนาดรูพรุนของโฟมยางด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบดันลอป โดยในการออกแบบ
สูตรส่วนผสมของโฟมยางเริ่มจากสืบค้นรวบรวมข้อมูล งานวิจัยที่เกี่ยวข้องแลทฤษฎีที่เกี่ยวข้องของ
โฟมยาง ดำเนิ น การโดยการอ้ า งอิ ง การปรั บ เปลี่ ย นชนิ ด ของสารที่ ท ำให้ เกิ ด ฟอง เพื่ อ หาการ
เปลี่ยนแปลงขนาดของรูพรุนจากการทดลองสูตรส่วนผสมครั้งนี้ พร้อมให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบ
และ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปรับปรุงพร้อมวิเคราะห์งานวิจัย การศึกษาขนาดรูพรุนของโฟมยางด้วย
กระบวนการขึ้นรูปแบบดันลอป จากนั้นรับคำแนะนำที่ได้จากการศึกษานำมาปรับปรุงแก้ไขงานวิจัย
การศึกษาขนาดรูพรุนของโฟมยางด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบดันลอป และ นำมาเสนออาจารย์ที่
ปรึกษาอีกครั้งเพื่อตรวจสอบและเช็คข้อบกพร่องอีกครั้งเกี่ยวกับงานวิจัย การศึกษาขนาดรูพรุนของ
โฟมยางด้ว ยกระบวนการขึ้น รูป แบบดันลอป เมื่องานวิจัย การศึกษาขนาดรูพ รุนของโฟมยางด้ว ย
กระบวนการขึ้นรูปแบบดันลอป ผ่านพร้อมดำเนินการทดลองตามที่วางแผนไว้ โดยการสร้างชิ้นงาน
ทดลองเป็นระยะเวลา 8 วัน โดยมีตัวแปลคือสารที่ทำให้เกิดฟอง (โพเทสเซียมโอลิเอต) และ ปริมาณ
อากาศที่เติมเข้าในถังปั่นแบบปิด โดยแต่ล่ะชนิดทดลองอย่างล่ะ 2 วัน หลังจากนั้นจึงนำไปทดสอบ
เชิงกลเพื่อหาค่าต่างๆของวัสดุ และ นำค่ามาวิเคราะห์ตามความแตกต่างที่เก็บผลได้จากการทดลอง
วิเคราะห์โดยการนำผลมาลงในกราฟแล้วเปรียบเทียบความแตกต่างเมื่อสรุปผลได้แล้วนำมาจัดทำเป็น
เล่มปริญญานิพนธ์เพื่อนำมาเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา และ นำเสนอต่อคณะกรรมการในการสอบ
โดยมีการเริ่มศึกษาค้นคว้าทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับกังหันลมจากต้นเดือน
กรกฎาคม ถึง ปลายเดือนพฤษจิกายน ออกสูตรแนวนอนจากกลางเดือนสิงหาคม ถึง ต้นเดือนตุลาคม
ปรั บ ปรุ ง สู ต รของโพมยางจากปั ญ หาที่ ได้ ในการออกแบบครั้ ง แรกจากกลางเดื อ นธั น วาคม ถึ ง
กลางเดือนกุมภาพั น ธ์ ซึ่ง แก้ ไขได้ เร็ว กว่าแผนการดำเนิ นงานที่ ว างไว้ถึงปลายเดือนมีน าคม และ
ทดลองกังหั น ลมแนวนอนเป็ น ระยะเวลา 8 วัน พร้อมวิเคราะห์ ผ ลการทดลองที่ ได้ จากต้ น เดื อ น
กรกฎาคม ถึง กลางเดือนพฤษจิกายนของอีกปี มีรายละเอียดขั้นตอนการดำเนินโครงการดังแสดงใน
27

เริ่ม

ศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ออกสูตรส่วนผสมในการผลิตโฟมยาง

ไม่ผ่าน

ตรวจสอบโดยอาจารย์ที่
ปรึกษา

ผ่าน

วางแผนการทดลอง

ไม่ผ่าน

นาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา

ผ่าน
ทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง

จัดทาปริญญานิพนธ์และนาเสนอ

จบ

รูปที่ 3.1 ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ


28

ตาราง 3.1 แผนการดำเนินงาน

ปี 2565 ปี 2566
ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค
1. ศึกษาเอกสาร ตำรา P
และงานวิจัยในหัวข้อที่
เกี่ยวข้อง A ● ● ● ● ● ● ● ● ● ●
2. เตรียมวัสดุปกรณ์ P
และออกแบบการ
ทดลอง A ● ● ● ●
3. ทำการทดลองและ P
วิเคราะห์ผล A
4. จัดทำงานรายงาน P
โครงการวิจัย A
5. นำเสนอลงานวิจัย P
A

● แสดงแผนการดำเนินงาน
● แสดงการดำเนินงานจริง

28
29

3.2 การออกแบบ/เครื่องมือ
จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากศูนย์ เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ จึงได้สูตรส่วนผสมเคมี
ยางในการผลิตยางฟองน้ำ ดังนี้

น้ำยางและสารเคมี น้ำหนัก น้ำหนัก


(เปียก)(กรัม) (แห้ง)(phr)
60% น้ำยางข้น 167 100
10% แอมโมเนีนโอลิเอต 15 1.5
50% S 4 2
50% ZDEC 4 2
50% ZMBT 4 2
50% Wingstay L 4 2
50% ZnO 10 5
33% DGP 4 1.4
12.5% SSF 2 0.25

ตารางที่ 3.2 สูตรส่วนผสมจากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ

เนื่ องจากวิจัย ต้องการศึกษาผลกระทบของขนาดรูพ รุนจากการปรับเปลี่ยนส่วนผสมของ


แอมโมเนียโอลิเอต และจากการทดลองเบื้องต้นพบว่าจากสูตรส่วนผสมจากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและ
วัสดุแห่งชาติ เมื่อนำยางที่สุกแล้วมาผ่าพบว่าเกิดโพลงขนาดใหญ่ จึงทำการปรับเปลี่ยนสูตรส่วนผสม
โดยปรับเปลี่ยนซิ้งค์ออกไซด์และโซเดียมซิลิโคฟลูออซิลิเกตเป็น 10 phr และ 7 phr ตามลำดับ และ
ทำการศึกษาของส่วนผสมของแอมโมเนียโอลิเอตที่ 0.5,0.75,1,1.25,1.5,2,2.25,2.5 phr
น้ำหนัก(เปียก) น้ำหนัก (แห้ง)
น้ำยางและสารเคมี
(กรัม) (phr)
60% น้ำยางข้น 167 100
1.5
10% แอมโมเนีนโอลิเอต 15
50% S 4 2
50% ZDEC 4 2
50% ZMBT 4 2
50% Wingstay L 4 2
50% ZnO 10 5
33% DGP 10 3.3
12.5% SSF 7 0.88

ตารางที่ 3.3 สูตรส่วนผสมที่ใช้ในการทดลอง


3.3 ขั้นตอนการสร้าง/ขั้นตอนการดำเนินงาน
30

3.3.1 ขั้นตอนตอนการผลิตโพมยาง
1) ทำการปั่นน้ำยางไล่แอมโมเนียเป็นเวลา 1 นาที

รูปที่ 3.2 ปั่นน้ำยางไล่แอมโมเนีย

2) ใส่สารแอมโมเนียโอลิเอตแล้วปั่นเป็นเวลา 3 นาที
3) ใส่กำมะถัน แซดดีอีซี แซดเอ็มบีที และโลวีนอกซ์ แล้วปั่นเป็นเวลา 1 นาที
4) ใส่ซิงค์ออกไซด์ และดีพีจี แล้วปั่นเป็นเวลา 1 นาที
5) ใส่เอสเอสเอฟ แล้วปั่นเป็นเวลา 15 วินาที
6) เทยางที่ได้จากการปั่นลงเบ้าแม่พิมพ์

รูปที่ 3.2 เทยางที่ได้จากการปั่นลงเบ้าแม่พิมพ์


31

7) นำไปอบที่อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 45 นาที


3.3.2 ขั้นตอนการทดสอบโพมยาง

You might also like