You are on page 1of 132

19/22559

สภาวิศวกร

วิชา : Engineering Materials


เนื้ อหาวิชา : 238 : 01 Metals

้ ที่ 1 : แร่ Bauxite ที่เป็ นวัตถุดิบในการถลุงอะลูมิเนี ยม มีสารประกอบใดเป็ น


ขอ
สารประกอบหลัก

1 : Bayer 2 : Al203 3: Al2(S043


4 : NayAlF6 คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 2

้ ที่ 2 : เหล็กหลอ่ หมายถึง เหล็กที่มีปริ มาณของธาตุคาร์บอนผสมอยูร่ ะหวา่ งคา่ ดังขอ


ขอ ้ ใด

1 : 0.022 - 6.7 % โดยน้ําหนัก 2 : 1.2 - 6.7% โดยน้ําหนัก 3: 2.0 - 4.3 % โดยน้ําหนัก 4 : 2.0 - 6.7
% โดยน้ําหนัก
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 3 : เหล็กกลา้ คาร์บอนปานกลาง มีปริ มาณของธาตุคาร์บอนผสมอยูเ่ ป็ นปริ มาณเทา่ ใด


ขอ

1: 0.40 % โดยปริ มาตร 2 : 0.40 % โดยน้ําหนั ก 3: 0.04 % โดยปริ มาตร 4 : 0.04 % โดยน้ําหนั ก

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 4 : เหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ ํ มักนิ ยมนํามาใชผ


ขอ ้ ลิตเป็ นผลิตภัณฑใ์ นขอ
้ ใด

1: ตัวถังรถยนต์ 2 : ลูกสูบ 3: มีดกลึง 4: ดอกสวา่ น คา่ ตอบที่ถูกตอ


้ ง :1

้ ที่ 5 : เหล็กกลา้ คาร์บอนปานกลางมีคา่ ความแข็ง (Hardness) เป็ นอยา่ งไร เทียบกับเหล็กกลา้


ขอ
คาร์บอนสูงภายใตเ้ งื่อนไขสภาวะการอบชุบเหมือนกัน

1 : น้อยกวา่ 2 : มากกวา่ 3: เทา่ กัน 4 ่ ามารถระบุไดว้ า่ เป็ นอยา่ งไร คาํ ตอบที่ถูกตอ
: ไมส ้ ง:1
้ ที่ 6 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ไมใ่ ชว่ ั ตถุประสงคข์ องการเติมธาตุโครเมียม (Cr) ในเหล็กกลา้ ผสมสูง
(High alloy steels)

1 : เพิ่มความแข็งแรง ลดการผุกร่อน 2 : เพิ่มความแข็ง 3: เพิ่มความเหนี ยว ขึ้นรู ปงา่ ย


4 : เพิ่มความสามารถในการตา้ นทานการคืบ (Creep) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 7: ในกระบวนการผลิตเหล็กหลอ่ เหนี ยว (Nodular cast iron) ธาตุใดที่เติมลงไปเพื่อทาํ ให้แกรไฟตร์ วมตัวกันเป็ น


ขอ
อนุ ภาคทรงกลม

1 : โครเมียม 2: ซีเรี ยม 3 : คาร์บอน 4 : โคบอลต์ คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:2

้ ที่ 8 : ทองเหลือง (Brass) คือโลหะผสมของธาตุหลักธาตุใด


ขอ

1 : ทองแดง และเงิน 2: ทองแดง และดีบุก 3: ทองแดง และตะกั ่ว

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
1/63
สภาวิศวกร
19/2/2559

4 : ทองแดง และสั งกะสี คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:4

้ ที่ 9 : โลหะผสมสูงกลุม
ขอ ่ ซูเปอร์อัลลอย (Superalloys) เชน
่ Nickel-based superalloys มักนิ ยมนําไปใช้
งานใดในปัจจุบัน

1 : ใบพัดในเครื่ องกังหันก๊าซในเครื่ องบินไอพน


่ 2 : อุปกรณ์ภายในเครื่ องคอมพิวเตอร์เชน
่ ฮาร์ดดิสค ์ 3 : ลูกสูบเครื่ องยนต์
4: มีดกลึง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 10 : โลหะใดไมใ่ ชโ่ ลหะทนไฟ (Refractory Metal)


ขอ


1 : ทั งสเตน 2 : โมลิบดินัม 3: แทนทาลัม 4 : เยอรมั นเนี ยม คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 11 : โลหะใตจัดเป็ นโลหะมีสกุล (Noble Metal)


ขอ


1: ทั งสเตน 2 : แพลตินัม 3: ิ อน 4 : เยอรมันเนี ยม คาํ ตอบที่ถูกตอ
ซิลก ้ ง :2

้ ที่ 12 : โลหะใดจัดเป็ นโลหะหนัก


ขอ
1: แมกนี เซียม 2 : อะลูมิเนี ยม 3 : เบอริ ลเลียม 4 : โมลิบดินัม

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 13 : โลหะใดที่ไมค
ขอ ่ วรนํามาเป็ นภาชนะบรรจุอาหาร
walalalalalala
1:อะลูมิเนี ยม 2: ตะกั ่ว 3: ดีบุก
4 : เหล็กกลา้ ไร้สนิ ม คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 14 : โลหะไดไมเ่ หมาะสมสาํ หรับนํามาทาํ เป็ นกระทะเพื่อปรุ งอาหาร


ขอ

1: อะลูมิเนี ยม 2: เหล็กกลา้ ไร้สนิ ม 3: ทองแดง


4: แมกนี เซียม คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 15 : พิวเตอร์ (Pewter) คือ โลหะผสมใด


ขอ

1 : ดีบุกผสม 2: ทองแดงผสม 3: อะลูมิเนี ยมผสม


4 : ไทเทเนี ยมผสม คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 1

้ ที่ 16 : โลหะใดที่นํามาใชท
ขอ ้ าํ เป็ นชิ้นสว่ นเครื่ องบินน้อยที่สุด

1 : ไทเทเนี ยม 2 : อะลูมิเนี ยม 3: สั งกะสี


4 : นิ กเกิล คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 17 : เหล็กกลา้ ไร้สนิ มเกรด 18-8 หมายถึง เหล็กกลา้ ที่ผสมโลหะชนิ ดใดเป็ นปริ มาณสูงสุดสองชนิ ดแรก
ขอ

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=7010128aSubj=33
263
19/2/2559
สภาวิศวกร

1: โครเมียม-นิ เกิล 2: ไทเทเนี ยม-นิ เกิล 3: โครเมียม-ซิลิกอน 4 : ไทเทเนี ยม-ซิลิกอน

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 18 : ผลิตภัณฑใ์ ดที่ไมส


ขอ ่ ามารถใชอ
้ ะลูมิเนี ยมเป็ นสว่ นผสมหลักได้
1: วงลอ
้ รถยนต ์ 2 : ตัวถังรถยนต ์ 3 : กระป๋องน้ําอัดลม 4 : ไสห
้ ลอดไฟ

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 19 :เหล็กชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ สามารถกลึงเพื่อตกแตง่ ขึ้นรู ปได้งา่ ยที่สุด


ขอ

1: เหล็กกลา้ ชุบแข็ง 2: เหล็กหลอ่ ขาว 3: เหล็กหลอ


่ กราไฟตก
์ ลม
4 : เหล็กกลา้ ไร้สนิ มเฟร์ไรด์ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

ขอ้ ที่ 20 : เหล็กกลา้ ชนิ ดใดมีสภาพดึงยึดได้ (Ductility) มากที่สุด ภายใตส


้ ภาวะการอบ
ชุบที่เหมือนกัน

1 : เหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ ํ 2: เหล็กกลา้ คาร์บอนปานกลาง 3 : เหล็กกลา้ คาร์บอนสูง 4 : เหล็กกลา้ เครื่ องมือ

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 21 : ในกระบวนการผลิตเหล็กหลอ่ เทา ธาตุใดที่ตอ


ขอ ้ งเติมลงไปเพื่อทาํ ใหค
้ าร์บอนรวมตัวกัน
เป็ นกราไฟต์

1:อะลูมิเนี ยม 2 : ซิลิกอน 3 : แคลเซียม 4 : แมกนี เซียม

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 22 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชส
่ มบัติของเหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ ํ

1: มีความเหนี ยวสูง 2 : สามารถตกแตง่ ขึ้นรู ปได้งา่ ย 3 : สามารถชบแข็งได้งา่ ย


่ ามารถรับแรงกระแทกได้มาก คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ไมส ้ ง:3

้ ที่ 23 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชส
่ มบัติเดน
่ ของอะลูมิเนี ยม

1 : น้ําหนักเบา 2 : ทนอุณหภูมิได้สูง 3:ออ่ นแตเ่ หนี ยว


4 : นําความร้อนได้ดี คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 24 : บรอนซ์ คือ โลหะผสมชนิ ดใด


ขอ

1 : ทองแดงผสมดีบุก 2 : อะลูมิเนี ยมผสมทองแดง 3 : ดีบุกผสมตะกั่ว


4 : นิ เกิลผสมไทเทเนี ยม คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :1

้ ที่ 25 : ขอ
ขอ ้ ใดคือลักษณะเดน
่ ของเหล็กหลอ่ ขาว

1: แข็ง ยากตอ่ การตกแตง่ 2 : ออ่ น เหนี ยว ตกแตง่ -ขึ้นรู ปได้งา่ ย 3: รับแรงอัดและแรงสั ่นสะเทือนได้ดี
่ นตอ่ การเสียดสี คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ไมท ้ ง:1

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
363
19/22559
สภาวิศวกร

้ ที่ 26 : เหล็กหลอ่ เทาตา่ งจากเหล็กหลอ่ ขาวอยา่ งไร


ขอ

่ เทามีกราไฟตอ์ ิสระเป็ นสว่ นหนึ่ งของ


่ ี 2: เหล็กหลอ
1: เหล็กหลอ่ เทามีซิลิกอนเป็ นสว่ นผสม แตเ่ หล็กหลอ่ ขาวไมม
โครงสร้าง แตเ่ หล็กหลอ่ ขาวไมม
่ ี 3: เหล็กหลอ่ เทามีความแข็งมากกวา่ เหล็กหลอ่ ขาว 4 : เหล็กหลอ่ เทา
สามารถรับแรงกระแทกได้น้อยกวา่ เหล็กหลอ่ ขาว คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:2

้ ที่ 27 : ในกระบวนการผลิตเหล็กหลอ่ กราไฟตก


ขอ ์ ลม ธาตุใดที่ตอ
้ งเติมลงไปเพื่อทาํ ให้กราไฟตอ์ ิสระ
เป็ นทรงกลม

1 : อะลูมิเนี ยม 2 : ซิลิกอน 3: แคลเซียม 4 : แมกนี เซียม

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 28 : เหล็กกลา้ ผสมชนิ ดใดที่ไมส


ขอ ่ ามารถชุบแข็งได้ดี

1: เหล็กกลา้ โมลิบดินัม 2: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มออสเทไนต ์ 3: เหล็กกลา้ แมงกานี ส 4 : เหล็กกลา้ โครเมียม

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 29 : เหล็กกลา้ ถูกแบง่ แยกออกจากเหล็กหลอ่ ด้วยปริ มาณคาร์บอนกี่เปอร์เซน


ขอ ็ ต์

1:1% 2: 2% 3:3% 4 : 4%

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ่ 30 : ธาตุผสมใดที่มีสว่ นสาํ คัญในการทาํ ให้เหล็กกลา้ ไร้สนิ มทนตอ่ การเกิดสนิ มในบรรยากาศปกติ และตอ


ขอที ้ งมีปริ มาณ
ธาตุอยา่ งน้อยสุดเทา่ ใด

1 : 13% โดยน้ําหนักโครเมียม 2 : 8% โดยน้ําหนักโครเมียม 3 : 13% โดยน้ําหนักนิ เกิล 4: 8%


โดยน้ําหนักนิ เกิล คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 31 : ขอ
ขอ ้ ความใดตอ่ ไปนี้ เป็ นการกลา่ วที่ถูกตอ
้ ง

1 : เหล็กกลา้ Hypoeutectoid plain-carbon คือเหล็กกลา้ ที่มีปริ มาณคาร์บอนมากกวา่ 0.8% โดยน้ํา


้ ที่ใชใ้ นงานกอ
หนัก 2: เหล็กเสน ่ สร้างทาํ จากเหล็กหลอ่ 3: ธาตุท่ีมีบทบาทในการทาํ ให้เหล็กกลา้ ไร้สนิ ม
: เหล็กหลอ่ เป็ นโลหะผสมประเภท Ferrous ที่มี
สามารถทนตอ่ การกัดกร่อนได้ดีคือโครเมียม 4
ปริ มาณคาร์บอนน้อยกวา่ 2.4% โดยน้ําหนัก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 32 : โลหะใดตอ่ ไปนี้ มีจุดหลอมเหลวที่ตา่ ํ ที่สุด


ขอ

1 : ทองแดง 2: ทองแดงผสมสั งกะสี 3: ทองแดงผสมเหล็ก 4: ทองแดงผสมนิ เกิล

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 33 : ชิ้นงานใดตอ
ขอ ่ ไปนี้ มีความแข็งแรงสูงสุด

1 : เหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ ํ ซุบแข็ง 2 : เหล็กกลา้ คาร์บอนปานกลางชุบแข็ง 3 : เหล็กกลา้ ผสมตา่ํ ชุบแข็ง 4 :


เหล็กกลา้ ไร้สนิ มออสเทไนตช์ ุบแข็ง
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 34 : โลหะชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ ที่เหมาะสมสาํ หรับทาํ เครื่ องยนต์ (Engine block) สาํ หรับรถแขง่
ขอ
มากที่สุด

1 : เหล็กกลา้ (Steel) เนื่ องจากหลอ่ งา่ ยที่สุด 2: เหล็กกลา้ ไร้สนิ ม (Stainless steel) เพราะทนตอ่ การเกิดสนิ ม
ได้ท่ี 3: อะลูมิเนี ยมผสม (Aluminium alloy) เพราะมีน้ําหนักเบา

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
ม 63
สภาวิศวกร
19/22559
4 : โลหะผสมยิง่ ยวด (Superalloy) เพราะทนอุณหภูมส ้ ี คาํ ตอบที่ถูกตอ
ิ ูงไดด ้ ง:3

้ ที่ 35 : วัสดุแมเ่ หล็กถาวรชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ ที่ให้กาํ ลังแมเ่ หล็กสูงสุด


ขอ
1 : เหล็กคาร์บอน 2 : อัลนิ โค (Alnico) 3 : เฟร์ไรต์ (Hard Ferrite)
4 : นิ โอดิเมียม-บอรอน (NdFeB) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 36 : โลหะชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ สามารถนํามารี ดเย็นเป็ นแผน


ขอ ่ บางได้งา่ ยที่สุด

(

1:อะลูมิเนี ยม 2 : ทองแดง 3: ทองเหลือง 4 : เหล็กกลา้ ไร้สนิ ม คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:1

้ ที่ 37 : โลหะชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ ที่เหมาะสาํ หรับการผลิตวงลอ


ขอ ์ ากที่สุด
้ รถยนตม
N

1:อะลูมิเนี ยมบริ สุทธิ์ 2: อะลูมิเนี ยมผสมซิลิคอน 3: อะลูมิเนี ยมผสมทองแดง 4 : อะลูมิเนี ยมผสมแมงกานี ส คาํ ตอบ
ที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 38 : โลหะชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ ไมเ่ กิดสนิ ม


ขอ

1 : เหล็กกลา้ ไร้สนิ ม
2 : ทองแดง 3: อะลูมิเนี ยม
้ 1 2 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:4

้ ที่ 39 : เหล็กกลา้ ชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ เหมาะสาํ หรับใชง้ านที่อุณหภูมิสูง


ขอ

1 : เหล็กกลา้ คาร์บอนสูง (High carbon steel) 2: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มเฟร์ไรต์ (Ferritic stainless steel) 3 :
เหล็กกลา้ ไร้สนิ มออสเทไนต์ (Austenetic stainless steel)
4 : เหล็กกลา้ ไร้สนิ มมาร์เทนไซต์ (Martensitic stainless steel) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง
:3

้ ที่ 40 : โลหะชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ เหมาะสาํ หรับการผลิตถังไฮโดรเจนเหลวสาํ หรับยานอวกาศมากที่สุด


ขอ

1: อะลูมิเนี ยมผสมทองแดง 2:อะลูมิเนี ยมผสมลิเทียม 3: อะลูมิเนี ยมผสมซิลิคอน


4 : อะลูมิเนี ยมผสมสั งกะสี คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2
เนื้ อหาวิชา : 239 : 02 Engineering polymers

้ ที่ 41 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชว่ ั สดุพอลิเมอร์

1: ยาง (Rubber) 2 : พลาสติก (Plastic) 3 : ไม้ (Wood) 4 : แก้ว (Glass) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4
้ ที่ 42 : ยางที่ผา่ นกระบวนการ Vulcanization แลว้ จัดเป็ นพอลิเมอร์ประเภทใด
ขอ

่ รง (Linear polymer) 2 : พอลิเมอร์แบบครอสลิงค ์ (Crosslinked polymer) 3: พอ


1 : พอลิเมอร์แบบสายโซต
ลิเมอร์แบบสายเดียว (Single chain polymer) 4 : พอลิเมอร์แบบถึง (Branched polymer)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 43 : ขอ
ขอ ้ ใดเป็ นพอลิเมอร์แบบโครงขา่ ย (network)
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
863
19/22559
สภาวิศวกร

1 : พอลิสไตรี น (Polystyrene) 2: ฟี นอลฟอร์มัลดีไฮด์ (Phenol-formaldehyde) 3: พอลิเอทธิลีน (Polyethylene)


4 : พอลิพรอพิลีน (Polypropylene) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 44 : ขอ้ ใดเป็ นลักษณะของเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic)


ขอ

1 : แซง็ ตัวเมื่อถูกความร้อน และออ่ นตัวเมื่อลดอุณหภูมิ 2 : ออ่ นตัวเมื่อถูกความร้อน แตก่ ลับมาแข็งดว้ เมื่อลด


อุณหภูมิ 3: แข็งตัวเมื่อถูกความร้อน และไมส ้ อ่ นตัวได้อีก 4: แข็งตัวเมื่อถูกความร้อน แตส
่ ามารถทาํ ใหอ ่ ามารถทาํ
ให้ออ่ นตัวได้เมื่อลดอุณหภูมิ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 45 : ขอ
ขอ ่ ไปนี้ กลา่ วไมถ
้ ใดตอ ่ ูกตอ
้ ง

1: โคพอลิเมอร์ (Copolymer) ประกอบด้วย มอนอเมอร์มากกวา่ หนึ่ งชนิ ดเรี ยงตอ่ กัน 2 : อัลเทอร์เนต
โคพอลิเมอร์ (Alternate copolymer) ประกอบด้วย มอนอเมอร์มากกวา่ หนึ่ งชนิ ดเรี ยงตอ่ แบบสลับกัน
3 : แรนดอมโคพอลิเมอร์ (Random copolymer) ประกอบด้วย มอนอเมอร์มากกวา่ หนึ่ งชนิ ดเรี ยงตอ่ แบบสุม่ 4
: กราฟทโ์ คพอลิเมอร์ (Graft copolymer) ประกอบดว้ ย มอนอเมอร์มากกวา่ หนึ่ งชนิ ดเรี ยงตอ่ อยูใ่ น
สายโซท ่ ่ีเป็ นเสนตรง
้ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 46 : ปัจจัยใดมีผลตอ่ สมบัติเชิงกลของพอลิเมอร์แบบกึ่งผลึก (Semicrystalline


ขอ
polymers)

1 : น้ําหนักโมเลกุล (Molecular weight) 2: ระดับของสภาพเป็ นผลึก (Degree of crystalinity) 3 : การ


อบออ่ น (Annealing)
้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
4: ขอ ้ ง:4
้ ที่ 47 : จากกราฟความเคน
ขอ ้ -ความเครี ยด (Stress-strain plot) กราฟเสน
้ ใดแสดงสมบัติของวัสดุยืดหยุน

(Elastomeric polymer)

1: 1 2 : II 3 : III
4 : IV คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :4

้ ที่ 48 : พอลิเมอร์ใดตอ่ ไปนี้ เป็ นเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastics)


ขอ

1: PVC 2 : Epoxy resins 3: Polyester


4 : Melamine คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 1

้ ที่ 49 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ไมใ่ ชพ
่ อลิเมอร์

1 : พอลิเอทิลีน (Polyethylene) 2 : พอลิคาร์โบเนต (Polycarbonate) 3 : ซิลิคอนคาร์ไบด ์ (Silicon carbide)


4 : ซิลิโคน (Silicone) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 50 : เพราะเหตุใดยางรถยนตจ์ ึงมีสีดาํ


ขอ

้ งสั มผัสถนนซึ่งมีความสกปรก จึงผสมสีดาํ ลงไป 2: เนื่ องจากตอ


1: เนื่ องจากตอ ้ งการให้มีความแข็งแรงขึ้น จึง
ใสส่ ารเสริ มแรงชนิ ดหนึ่ งซึ่งมีสีดาํ ลงไป 3: เพื่อให้งา่ ยตอ่ การดูแลรักษา
4 : ขอ้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:2

้ ที่ 51 : โดยทั่วไปพอลิเมอร์มีสมบัติเชิงกลในขอ
ขอ ่ ไปนี้ มากกวา่ วัสดุวศ
้ ใดตอ ิ วกรรมชนิ ด
อื่นๆ

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=7010128aSubj=33
#63
19/2/2559
สภาวิศวกร

1 : Tensile Strength 2 : Modulus of Elasticity 3: Yield Strength 4 : Elongation

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 52 : วัตถุดิบที่ใชใ้ นการผลิตพอลิเมอร์มาจากแหลง่ ใด


ขอ

1 : แก๊สธรรมชาติ 2: น้ํามันปิ โตรเลียม 3 : ผลิตผลทางการเกษตร


4 : ขอ้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :4
้ ที่ 53 : ขอ
ขอ ่ ไปนี้ ไมใ่ ชล่ ั กษณะหรื อสมบัติของเทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting)
้ ใดตอ

1 : มีโครงสร้างตาขา่ ย 2: นํามาขึ้นรู ปใหมไ่ มไ่ ด้ 3: ทนแรงกระแทกไดด


้ ี 4 : ทนความร้อนได้ดี
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 54 : ขอ
ขอ ่ ไปนี้ ไมใ่ ชโ่ ครงสร้างของโคพอลิเมอร์ (Copolymer)
้ ใดตอ

1 : โครงสร้างแบบบล็อก (Block) 2 : โครงสร้างแบบสลับ (Alternating) 3 : โครงสร้างแบบเชิงเสน้


(Linear}
่ (Random) คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : โครงสร้างแบบสุ ม ้ ง:3

้ ที่ 55 : ขวดพลาสติกใสที่ใชบ
ขอ ้ รรจุน้ําอัดลมในทอ
้ งตลาดมักทาํ ดว้ ยพอลิเมอร์ชนิ ดใด

1: พอลิโพรพิลีน (Polypropylene) 2: พอลิสไตรี น (Polystyrene) 3: พอลิเอทิลีนเทอร์ฟาทาเลต


(Polyethylene terephthalate)
4 : พอลิเมทิล เมทาครี เลต (Polymethyl methacrylate) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 56 : เราสามารถเพิ่มสมบัติในการรับแรงกระแทกให้กับพลาสติกที่เปราะได้โดยการผสมสิง่ ใดตอ่


ขอ
ไปนี้ ลงไปในพลาสติก

1: ยาง (Rubber) 2 : สารเสริ มแรง (Reinforcing filler) 3 : สารป้องกันการแตกหักของสายโซโมเลกุล


(Stabilizer)
4 : สารเพิ่มเนื้ อ (Extender) คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 1

้ ที่ 57 : ถา้ นําขวดพลาสติกที่ทาํ จากพอลิเอทิลีนไปบรรจุน้ําอัดลมและปิ ดฝาให้แน่น จะเกิดสิง่


ขอ
ใดขึ้น

่ ีสงิ่ ใดเปลี่ยนแปลง 2
1 : ไมม : น้ําอัดลมจะมีสีท่ีจางลง 3 : แก๊สคาร์บอนไดออกไซดจ์ ะระเหยออกไป
4 : ปริ มาณของน้ําอั ดลมจะลดลง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 58 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ไมเ่ ป็ นความจริ ง

1 : โดยทั่วไป พอลิเมอร์มีคา่ การนําความร้อนที่ตา่ ํ กวา่ โลหะมาก 2: โดยทั่วไป อากาศมีคา่ การนําความ


ร้อนที่ตา่ ํ กวา่ พอลิเมอร์มาก 3: โดยทั่วไป พอลิเมอร์มีคา่ สั มประสิทธิ์ของการขยายตัวเมื่อได้รับความร้อนมากกวา่
โลหะ 4 : โดยทั่วไป เซรามิกมีคา่ สั มประสิทธิ์ของการขยายตัวเมื่อได้รับความร้อนมากกวา่ พอลิเมอร์ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:
4

้ ที่ 59 : กระบวนการในขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ เป็ นกระบวนการสร้างพอลิเมอร์จากมอนอเมอร์

1 : Monomerization 2: Polymerization 3: Hydration


4: Annealing คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
7/63
19/2/2559
สภาวิศวกร

้ ที่ 60 : เทฟลอน (Teflon) คือชื่อทางการคา้ ของพอลิเมอร์ในขอ


ขอ ้ ใด

1 : Polystyrene 2: Polyurethane 3: Polytetrafluoroethylene 4: Polyvinyl chloride คาํ ตอบที่ถูก


ตอ
้ ง:3
เนื้ อหาวิชา : 240 : 03 Engineering ceramics

้ ที่ 61 : ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่อผสมซี เมนตก


ขอ ์ ั บน้ําคือปฏิกิริยาใด

1 : ปฏิกิริยา Hydration 2: ปฏิกิริยา Oxidation 3: ปฏิกริ ยา Reduction 4 : ปฏิกิริยา Dehydration คาํ ตอบที่
ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 62 : การเติมแร่ยิปซั ่ม (Gypsum) ลงในซีเมนตม


ขอ ์ ีวัตถุประสงคอ์ ยา่ งไร

1: เพื่อลดตน ้ ทุนวัตถุดิบ 2 : เพื่อควบคุมเวลาการแข็งตัวของซีเมนต์ 3: เพื่อเพิ่มความแข็งแรงใหก้ ั บซีเมนต์ 4 :


เพื่อให้ซีเมนตม์ ีอายุการใช้งานที่นานขึ้น คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 2

้ ที่ 63 : ทาํ ไมเซรามิกโดยทั่วไปมีสมบัติท่ีแข็ง (Hard) และเปราะ (Brittle) กวา่ โลหะ


ขอ

1 : การเคลื่อนที่ของ Dislocation เกิดขึ้นในเซรามิกได้งา่ ยกวา่ โลหะ 2: เซรามิกทั่วไปยึดกันด้วยพันธะแวนเดอร์


วาลส ์ แตโ่ ลหะยึดกันด้วยพันธะโลหะ 3: ในเซรามิก ระนาบอะตอมเกิดการเลื่อน (Slip) ได้บางระนาบเทา่ นัน

4 : เซรามิกมีความหนาแน่นสูงกวา่ โลหะ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 64 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชส
่ มบั ติของเซรามิก


1 : เป็ นฉนวนทังทางความร ้ ้ดี 4 : เฉื่ อยตอ
้ อนและไฟฟ้า 2: ความตา้ นทานตอ่ แรงกระแทกตา่ํ 3: ทนตอ่ แรงตั งได ่ การเกิด
ปฏิกิริยาเคมี
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 65 : ขอ
ขอ ่ ลที่เกิดจากการเกิดรู พรุ น (Porosity) ในเนื้ ออิฐทนไฟ
้ ใดไมใ่ ชผ

1 : อิฐทนไฟเป็ นฉนวนทางความร้อนที่ดีข้ึน 2: อิฐทนไฟสามารถทนตอ่ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดีข้ึน 3:


่ การผุกร่อนดีข้ึน 4: อิฐทนไฟมีความแข็งแรงลดลง คาํ ตอบที่ถูกตอ
อิฐทนไฟมีความตา้ นทานตอ ้ ง:3

้ ที่ 66 : วัสดุในขอ
ขอ ้ ใดเหมาะที่จะทาํ เป็ นวัสดุขัดถู (Abrasive material)

1 : เหล็ก 2 : อะลูมินา 3: พอลิเอทิลีน 4 : ไม้

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 67 : Glass transition temperature คืออะไร


ขอ

1: อุณหภูมิจุดหลอมเหลว (Melting point) ของแกว้ 2 : อุณหภูมิท่ีแลว้ มีสภาพการนําไฟฟ้า 3 : อุณหภูมิท่ี


แลว้ เปลี่ยนจากสภาพที่มีความหนื ดสูงเป็ นสภาพที่แข็งและเปราะ 4 : อุณหภูมิท่ีแกว้ กลายเป็ นไอ คาํ
ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 68 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชเ่ ซรามิกวิศวกรรม (Engineering ceramic)

1: พอร์ซิเลน (Porcelain)

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
ผ 63
19/22559
สภาวิศวกร

2 : อะลูมินา (Alumina) 3 : ซิลิกอนในไตรด์ (Silicon nitride)


4 : เซอร์โคเนี ย (Zirconia) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 69 : เซรามิกลักษณะใดที่ไมเ่ หมาะสมสาํ หรับการนํามาใชท


ขอ ้ าํ เป็ นกระดูกเทียม

1 : เซรามิกที่มีสมบัติตา้ นทานการผุกร่อนที่ดี 2 : เซรามิกที่มีความหนาแน่นสูง 3: เซรามิกที่มีความแข็งแรง


สูง 4 : เซรามิกที่สามารถยึดติดกับเนื้ อเยื่อได้ดี คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 2

้ ่ 70 : ทาํ ไมปัจจุบันนิ ยมนําเซรามิกวิศวกรรม เชน


ขอที ่ อะลูมินา (Alumina) มาใชท
้ าํ หัวเทียนแทนโลหะ
1 : เซรามิกมีความแข็งแรงมากกวา่ โลหะที่อุณหภูมิสูง 2 : เซรามิกเป็ นวัสดุเปราะกวา่ โลหะ 3: เซรามิกมีการนําไฟฟ้า
ที่ดีกวา่ โลหะ 4 : เซรามิกมีความหนาแน่นตา่ ํ กวา่ โลหะ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :1

้ ที่ 71 : ขอ
ขอ ้ ใดกลา่ วถูกตอ
้ ง

1 : การขึ้นรู ปแกว้ จะทาํ ขณะที่แกว้ มีสภาพเป็ นของเหลวที่มีความหนื ดสูง 2 : การขึ้นรู ปแกว้ จะเกิดปฏิกิริยา
Sintering 3 : แกว้ โดยทั่วไปเป็ นของแข็งที่มีผลึก 4 : หลังจากขึ้นรู ปแก้วแลว
้ ตอ
้ งนําแก้วไปอบและเผา คาํ ตอบ
ที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 72 : การเพิ่มความแข็งแรงให้กับแก้วโดยวิธีเทมเปอร์ (Temper) หรื อ Chemical treatment มี


ขอ
หลักการอยา่ งไร

้ แรงดึงที่ผิวและความเค้นแรงอัดภายในเนื้ อแก้ว 2 : ทาํ ให้เกิดความเคน


1: ทาํ ให้เกิดความเคน ้ แรงอัดที่ผิวและ
ความเคนแรงดึ
้ งภายในเนื้ อแก้ว 3: ทาํ ให้เกิดความเคน
้ แรงอัดในเนื้ อแก้ว 4 : ทาํ ให้เกิดความเคน
้ แรงถึงในเนื้ อแก้ว

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 73 : เซรามิกประเภทใดมีความเหนี ยว (Toughness) ดีท่ีสุดที่อุณหภูมิหอ


ขอ ้ ง

1: ซิลิกอนไนไตรด์ (Silicon nitride) 2 : ซิลิกอนคาร์ไบด์ (Silicon carbide) 3: อะลูมินา (Alumina)


4 : Partially stabilized zirconia คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 74 : Glass-ceramic แตกตา่ งจาก แกว้ (Glass) อยา่ งไร


ขอ

1: แก้วโปร่งใสแต่ Glass-ceramic ไมโ่ ปร่งใส 2 : แก้วไมน


่ ําไฟฟ้า แต่ Glass-ceramic นําไฟฟ้า 3: แกว
้ นําความร้อนได้ไม่

ดี แต่ Glass ceramic สามารถนําความร้อนได้ 4 : แก้วทนการเปลียนแปลงความร้อน (Thermal shock) ได้ แต่
Glass-ceramic ทนไมไ่ ด้
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ่ 75 : Pyroelectric ceramic มีสมบัติเดน


ขอที ่ ในขอ
้ ใด

1 : สามารถเปลี่ยนสมบัติทางกลให้เป็ นสมบัติไฟฟ้า 2 : สามารถเปลี่ยนสมบัติทางไฟฟ้าให้เป็ นสมบัติทางกล 3


: สามารถเปลี่ยนสมบั ติทางไฟฟ้าใหเ้ ป็ นสมบั ติทางเคมี 4 : สามารถเปลี่ยนสมบัติทางความร้อนให้เป็ นสมบัติทางไฟฟ้า
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 76 : เซรามิกประเภทแก้วตา่ งจากเซรามิกโดยทั่วไปอยา่ งไร


ขอ
่ ีผลึก แตเ่ ซรามิกโดยทั่วไปเป็ นโครงสร้างที่มีผลึก (Crystalline) 2 : แก้วสามารถดึงยึดได้ แตเ่ ซรามิกโดย
1 : แกว้ ไมม
้ ่ี 4 : แกว
ทั่วไปมีสมบัติเปราะ 3: แกว้ ทนแรงดึงไดด้ ี แตเ่ ซรามิกทนแรงอั ดไดท ้ ทนทานตอ่ สารเคมีไดด้ ี แตเ่ ซรามิกโดย
ทั่วไปเกิดปฏิกิริยาไดง้ า่ ย คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 77 : ผลิตภัณฑใ์ ดตอ่ ไปนี้ ไมจ่ าํ เป็ นตอ


ขอ ้ งใชว้ ั สดุเซรามิก
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=7010128aSubj=33
063
19/22559
สภาวิศวกร

1 : กระสวยอวกาศ 2 : เตาเผา 3: ลูกถว


้ ยไฟฟ้า (Electrical insulator) 4 : มีดผา่ ตัด

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 78 : ขอ
ขอ ้ ใดไมช่ ว่ ยทาํ ให้วัสดุท่ีผลิตจากอะลูมินา (Numina) มีสมบัติโปร่งแสง
(Translucent) ได้

1 : อะลูมินาที่ใช้มีความบริ สุทธส
์ ูงมาก 2 : เป็ นวัสดุผลึกเดี่ยว (Single crystal) 3 : การจัดเรี ยงตัวของ
ผลึกมีทิศทางใกลเ้ คียงกันมาก 4 : ขอบเกรน (Grain boundary) มีความหนามาก คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:4

้ ที่ 79 : กระถางปลูกตน
ขอ ้ ไม้ โอง่ ดิน อิฐมอญ จัดเป็ นเซรามิกประเภทใด

1: Stoneware 2: Earthenware 3: Porcelain 4: Bone China

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 80 : วัสดุทนไฟที่ใช้ในเตาเผาอุณหภูมิสูงมักทาํ จากวัสดุในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้

1: CaO 2: Feldspar 3: Cement 4: Mullite

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4
เนื้ อหาวิชา : 241 : 04 Asphalt Wood and concrete

้ ที่ 81 : ไมจ้ ั ดเป็ นวัสดุประเภทใด


ขอ

1: วัสดุเชิงประกอบ 2 : พอลิคาร์บอเนต 3: พอลิไวนิ ลคลอไรด์ 4 : พอลิเมอร์ คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:4
้ ที่ 82 : เพราะเหตุใดไมจ้ ึงรับแรงดัต (Bending force) ไดด
ขอ ้ ี

้ ใยเรี ยงตัวในทิศใดทิศหนึ่ ง 2: มีความเหนี ยวสูง 3 : เนื้ อไมม้ ีความหนาแน่นสูง 4 : ไมม


1 : เสน ่ ีน้ําหนักเบา
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 83 : ขอ
ขอ ้ ใดเป็ นสว่ นประกอบหลักของยางมะตอย (Asphalt)

1 : ธาตุคาร์บอน (C) และ ไนโตรเจน (N) 2 : ธาตุคาร์บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H) 3: ธาตุคาร์บอน (C) และ
ซั ลเฟอร์ (S)
4 : ธาตุคาร์บอน (C) และออกซิเจน (O) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 84 : ไมม
ขอ ่ ีสมบัติทางกลตามขอ
้ ใด

1:เทา่ กันทุกทิศทาง 2 : ความแข็งแรงตามแนวความยาวมากกวา่ แนวขวาง 3: ความแข็งแรงขนานเสน้ ใยตา่ํ กวา่ ความแข็งแรงตั ง้


ฉาก

4 : โมดูลัสเทา่ กั นทุกทิศทาง คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง :2

้ ที่ 25 : ยางมะตอย (Asphalt) และยางมะตอยผสม (Asphalt mix) มีสมบัติตา่ งกันอยา่ งไร


ขอ

1:ยางมะตอยมีแรงเสียดทาน (Friction) มากกวา่ ยางมะตอยผสม 2: ยางมะตอยผสมมีแรงเสียดทาน


้ าํ พื้นรับแรงที่มีสมบัติใกลเ้ คียงกัน
(Friction) มากกวา่ ยางมะตอย 3: ยางมะตอยและยางมะตอยผสมใชท

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
1063
19/2/2559
สภาวิศวกร

4: ยางมะตอยแข็งแรงมากกวา่ ยางมะตอยผสม

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 86 : การใชค
ขอ ่ สร้าง คอนกรี ตถูกใชเ้ พื่อให้รับแรงประเภทใด
้ อนกรี ตในการกอ

1 : แรงดึง (Tension) 2: แรงอัด (Compression) 3: แรงเฉื อน (Shear)


4 : แจึงบิด (Torsion) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2

้ ที่ 87 : ความสามารถในการทาํ งาน (Workability) ของคอนกรี ตสามารถทดสอบดว้ ยวิธีใด


ขอ
1 : การทดสอบความลา้ (Fatigue test) 2: การทดสอบโดยใชแ
้ รงอัด (Compressive test) 3 : การทดสอบความ
แข็งแบบบริ เนลล์ (Brinell) 4 : การทดสอบการยุบตัว (Slump test) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 88 : สว่ นประกอบหลักของคอนกรี ตคือขอ


ขอ ้ ใด

1 : ทราย (Sand หินฟันมา้ (Feldspar) และซีเมนต์ (Cement) 2: หินยอ่ ย (Aggregate) หินฟันมา้ (Feldspar) และ
ซีเมนต ์ (Cement) 3: ทราย (Sand) หินยอ
่ ย (Aggregate) และซีเมนต์ (Cement)
4 : ทราย (Sand) หินยอ่ ย (Aggregate) และบิทูเมน (Bitumen} คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 3
เนื้ อหาวิชา : 242 : 05 Phase equilibrium diagrams and their interpretation

้ ที่ 89 : สมการ delta ferrite + L -->austenite เรี ยกปฏิกิริยานี้ วา่ ปฏิกิริยาใด


ขอ

1: Eutectoid 2: Eutectic 3: Peritectic 4: Peritectoid

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 90 : ขอ
ขอ ้ มูลที่สามารถทราบไดจ้ ากแผนภาพเฟส (Phase diagram)
้ ใดไมใ่ ชข่ อ

1: สภาพการละลายได้ของธาตุหนึ่ งในอีกธาตุหนึ่ ง 2 : อุณหภูมิท่ีสารเริ่มหลอมละลาย 3 : ความดันที่สาร


เปลี่ยนเฟส 4 : ปริ มาตรของสารที่หลอมเหลว คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :4

้ ที่ 91 : ขอ
ขอ ้ ใดเป็ นสิง่ ที่สามารถทราบได้จากแผนภาพเฟส (Phase diagram)

1 : อุณหภูมิท่ีโลหะผสมเริ่ มแข็งตัวเป็ นของแข็ง 2: สภาพการละลายได้ของธาตุหนึ่ งในอีกธาตุหนึ่ ง ณ สภาวะ


สมดุล 3 : เฟสตา่ งๆ ที่มีอยูใ
่ นเนื้ อวัสดุ 4 : ขอ้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 4

้ ที่ 92 : ขอ
ขอ ้ ใดคือปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในแผนภาพเฟสของ Fe-Fe3C ที่กาํ หนดให้
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
11/63
19/22559
สภาวิศวกร

1800.
Atomic Percent Carbon
15
IELD
-
11
11
"T
F1
-
0.28

13

L + C(graphite)

15

ไป
---
**
-

(PF
-
*
*
*

Temperature °C
1
๒๕๕๒ ๒ - ๒๒ ๒๒ * *

Fegc
.85

ปี ที่
--
-
--
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-

BE
งา

Weight Percent Carbon

1 : Peritic, Eutectic, Eutectoid 2: Peritectic, Eutectic, Eutectoid 3


: Peritectic, Eutectic, Eutectertic
้ 1 2 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง :2

้ ที่
ขอ
93
(Eutectoid)
ของเหล็กกลา้ คาร์บอน
เกิดที่ปริ มาณคาร์บอนกี่เปอร์เซน
็ ตโ์ ดยน้ําหนัก
ปฏิกริ ยายเทกทอยด ์ Atomic Percent Carbon
I
15

15C 1536c0.92
(6Feb 053 14500163
L + Clgraphite)

27

11Egg 11
=
=
=
=

(Fe)
Temperature °C
Feac
BatH

2.EZI O.ตริ

-------------
-
-
-----

600
-
Fe)

Weight Percent Carbon

1: 0.025% 2 : 0.8% 3: 2.0% 4 : 4.3%

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 94 : โครงสร้างใดคือโครงสร้างของเหล็กกลา้ คาร์บอนสว่ นผสมยู


ขอ
เทกทอยดท ์ ่ีเป็ นตัวอยา่ งชา้ ๆ ผา่ นปฏิกิริยายเทคทอยด์ เรี ยกโครงสร้างที่
เกิดขึ้นวา่ อะไร

1 : เฟร์ไรต์ (Ferrite) 2: เพอร์ไลต์ (Pearlite) 3: ออสเทไนต์


(Austenite)
4 : ซีเมนไทต์ (Cementite) คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:2

้ ที่ 95 : ขอ
ขอ ้ มูลที่ไดจ้ ากการอา่ นแผนภาพเฟสในสภาวะ
้ ใดไมใ่ ชข่ อ
ที่สมดุล
1: ชนิ ดของเฟสที่เกิดขึ้น 2 : ปริ มาณของเฟสที่เกิดขึ้น 3 : อุณหภูมิท่ีสาร
เริ่ มแข็งตัว (Solidify) หรื อหลอมเหลว (Melt) 4 : ชนิ ดของ
โครงสร้างผลึกของเฟสที่เกิดขึ้น

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
12/63
สภาวิศวกร
19/2/2559
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 96 : สารละลาย (Solution) และของผสม (Mixture) แตกตา่ งกันอยา่ งไร


ขอ

1 : สารละลายจะเกิดการแยกกันของสารทาํ ให้เกิดเฟสมากกวา่ หนึ่ งเฟส ของผสมจะเกิดเป็ นเนื้ อเดียวกันมีเพียง


หนึ่ งเฟส 2 : สารละลายจะเกิดเฉพาะในของเหลวเทา่ นัน ้ ของผสมจะเกิดจากการผสมของเหลวและของแข็งด้วย
กัน 3: สารละลายจะเกิดเป็ นเนื้ อเดียวกันมีเพียงหนึ่ งเฟส ของผสมจะเกิดการแยกกันของสารทาํ ให้เกิดเฟส
มากกวา่ หนึ่ งเฟส
4 : สารละลายจะเกิดจากการรวมกันของของเหลวและของแข็งเป็ นเฟสเดียว ของผสมจะเกิดจากการรวมกันของ
สารทาํ ให้กลายเป็ นเฟสเดียว

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 97 : เสน
ขอ ้ Liquidus มีความสาํ คัญอยา่ งไร

้ ภาวะที่สมดุล เฟสจะเป็ นเฟสของเหลวทังหม


1 : ภายใตส ้ ดที่อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ เสน

Liquidus 2: ภายใตส้ ภาวะที่สมดุล อุณหภูมิท่ีอยูต่ า่ ํ กวา่ เสน
้ Liquidus เฟสของเหลวเปลี่ยนเป็ นเฟส
ของแข็ง 3: ภายใตส้ ภาวะที่สมดุล เฟสของแข็งชนิ ดหนึ่ งจะเริ่ มเกิดเป็ นเฟสของแข็งมากกวา่ หนึ่ งชนิ ดที่เสน

Liquidus 4:ภายใตส ้ ภาวะที่สมดุล อุณหภูมิสูงกวา่ เสน
้ Liquidus เฟสของเหลวเริ่ มเกิด

เป็ นเฟสของแข็งทังหมด คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 98 : เสน
ขอ ้ Solidus มีความสาํ คัญอยา่ งไร
้ ภาวะที่สมดุล เฟสของแข็งชนิ ดหนึ่ งจะเริ่ มเกิดเป็ นเฟสของแข็งมากกวา่ หนึ่ งชนิ ดที่
1 : ภายใตส
้ Solidus 2: ภายใตส
เสน ้ ภาวะที่สมดุล อุณหภูมิท่ีอยูต ่ า่ ํ กวา่ เสน
้ Solidus จะประกอบด้วย
เฟสของเหลวและเฟสของแข็ง 3: ภายใตส้ ภาวะที่สมดุลอุณหภูมิท่ีอยูต่ า่ํ กวา่ เสน้ Solidus เฟสของเหลวจะ
เปลี่ยนเป็ นเฟสของแข็งทังหมด
้ ้ ภาวะที่สมดุล อุณหภูมิท่ีอยูส
4: ภายใตส ่ ูงกวา่ เสน
้ Solidus จะประกอบด้วย

เฟสของแข็งทังหมด คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 3

้ ที่ 99 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชล่ ั กษณะของเสน
้ Solvus

้ ภาวะที่สมดุล เฟสของแข็งชนิ ดหนึ่ งจะเริ่ มเกิดเป็ นเฟสของแข็งมากกวา่ หนึ่ งชนิ ดที่


1 : ภายใตส
เสน
้ Solvus 2: ภายใตส้ ภาวะที่สมดุล อุณหภูมิท่ีอยูต่ า่ํ กวา่ เสน้ Solvus จะประกอบด้วยเฟสของเหลวและเฟส
้ ภาวะที่สมดุล เสน
ของแข็ง 3 : ภายใตส ้ Solvus จะเป็ นเสน
้ แสดงขีดจาํ กัดการละลาย (Solubility limit) ของ
เฟสของแข็งสองเฟส 4: ้ ภาวะที่สมดุลอุณหภูมิท่ีเหนื อเสน
ภายใตส ้ Solvus เป็ นเฟสของแข็ง

ทังหมด คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 100 : ขอ
ขอ ้ ใดไมท
่ าํ ใหเ้ กิด Isomorphous Systems

1: โครงสร้างผลึกของแตล่ ะธาตุมีโครงสร้างแบบเดียวกัน 2 : ธาตุแตล


่ ะตัวตอ
้ งรวมกันเกิดเป็ นสารประกอบ
(Compound) 3: ขนาดของอะตอมทังสองธาตุ
้ มีความแตกตา่ งกันไมเ่ กิน 15% 4 : ธาตุแตล
่ ะตัวควรมีคา่
Valence electron เหมือนกัน คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 101 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - นิ กเกิล (Ni) โลหะผสมประกอบด้วยทองแดง


ขอ
47%โดยน้ําหนักและนิ กเกิล 53% โดยน้ําหนัก ที่ 1300 องศาเซลเซียส ประกอบดว้ ยเฟสอะไร
Composition (at% Ni) 0 20 40 60 80 100

1991
|
|
|
|
|
|
2800
15CNC
Liquid
1453
26]
14

Solidus line
Temperature (°C)
Liquidus line
ณ +L
1240)
1100
Temperature (°F)

2200

I 10
1065

0
20
80
40 60 Composition (wt% Ni)
100 (N)

1 : เฟสของเหลว 2: เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง g 3 : เฟสของแข็ง a 4: ขอ


้ 12 และ 3 ผิด

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
1363
สภาวิศวกร
19/22559

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 102 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - นิ กเกิล (Niy โลหะผสมประกอบดว้ ยทองแดง


ขอ
30% โดยน้ําหนักและนิ กเกิล 70% โดยน้ําหนัก ถูกให้ความร้อนจากอุณหภูมิห้อง อยากทราบวา่
เฟสของเหลวเริ่ มเกิดขึ้นที่อุณหภูมิใด
Composition (at% Ni) 0 20 40 60 80 100 1 ]

28
15CMU

Liquid
1453

26]
1 40

Solidus line
Liquidus line
2400
Temperature (°C)
1300
Temperature (°F)

2007
"
บ)

I1CG]

1035

|
1000
0 (Cu)
20
40
60
80
100
(N)
Composition (wt% ND

1 : ประมาณ 1200 องศาเซลเซียส 2: ประมาณ 1300 องศาเซลเซียส 3: ประมาณ 1350 องศา


เซลเซียส 4 : ประมาณ 1380 องศาเซลเซียส คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 103 : ขอ
ขอ ้ ใดไมเ่ กี่ยวขอ
้ งกับการเกิดโครงสร้างแกน (Cored
structure)

1 : เกิดในสภาวะที่ไมส
่ มดุล 2: เกิดจากความเขม้ ขน
้ ของสว่ นประกอบทางเคมี
(Chemical composition) ในแตล่ ะสว่ นตา่ งกัน 3: สามารถแก้ไขได้โดยการทาํ กรรมวิธี
ทางความร้อน (Heat treatment) 4 : การเย็นตัวลงอยา่ งชา้ ๆ

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 104 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - นิ เกิล (Ni) โลหะผสมประกอบด้วยทองแดง


ขอ
47% โดยน้ําหนักและนิ เกิล 53%โดยน้ําหนักที่ 1300 องศาเซลเซียส ประกอบด้วย เฟสสอง
เฟส คือ เฟสของแข็ง g ซ่ึงมีสว่ นประกอบโดยน้ําหนักของทองแดง 42% และ นิ เกิล 58%
และเฟสของเหลวซ่ึงมีสว่ นประกอบโดยน้ําหนักของทองแดง 55% และ นิ เกิล 45%
้ ้
็ ตโ์ ดยน้ําหนักของเฟสทังสองของโลหะผสมนี
อยากทราบเปอร์เซน
Composition (at% Ni) 0 20 40 60 80 100 10 | | | | | | | | | 1

-2500
150 |

Liquid
145

Liquidus line
Solidus line
Temperature (°C)
13OD
Temperature (°F)

I1ODE
10850
230)
1000
0
|
| 20
|
|
||||
40 60 Composition (wt% ND)
| 80
| 100
(NI)

1 : เปอร์เซน็ ตข์ องเฟสของเหลว คือ 61.5% และเปอร์เซน ็ ตข์ องเฟสของแข็ง 4 คือ


38.5% 2 : เปอร์เซน็ ตข์ องเฟสของเหลว คือ 38.5% และ เปอร์เซน
็ ตข์ องเฟสของแข็ง g คือ 61.5%
็ ตข์ องเฟสของเหลว คือ 44.5% และ เปอร์เซน
3: เปอร์เซน ็ ตข์ องเฟสของแข็ง 4 คือ 55.5% 4 :
็ ตข์ องเฟสของเหลว คือ 55.5% และ เปอร์เซน
เปอร์เซน ็ ตข์ องเฟสของแข็ง g คือ 44.5%

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
14463
1922559
สภาวิศวกร

้ ที่ 105 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - นิ กเกิล (Ni) คา่ Degree of freedom บน


ขอ
เสน้ Liquidus มีคา่ เทา่ ใด
Composition (at% Ni) 1 9 20 40 60 80
1600 |
100 | | | | | | | | | 1
28]
150
Liquid
1453

26
1
ปี /

Solidus line
23C
Temperature (°C)
1300
Liquidus line
*
*
Temperature (°F)

1100
2
)
1035

1000
" (Cu)
20
40
60
80

Composition (wt% Ni)


(ND)

1 : Degree of freedom = 0 2: Degree of freedom = 1 3: Degree of


freedom = 2
4 : Degree of freedom = 3 คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 2

้ ที่ 106 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - สั งกะสี (Zn) ในชว่ ง


ขอ
อุณหภูมต ้ ่ 500 องศาเซลเซียส ถึง 750 องศาเซลเซียส ของโลหะผสมที่
ิ ั งแต
มีเปอร์เซน็ ตโ์ ดยน้ําหนักของ สั งกะสีตังแต
้ ่ 60% ถึง 100% มีปฏิกิริยา Invariant ใด
เกิดขึ้นบา้ ง

แ e 6 10s แ 5tI
Atomic Percent Zinc 10 20 30 40 50
T Ttrrrrrrrrrr
60
70
80
90
100

32.2018
634;
.
TAT

[ C 13.02
EO,

Temperature °C
(Cu)
785

7
ราคา 63
0. 6
41
|65
560"

38.965453148.57.7
25
6
1
0725
1.5g C

(Zn)

*
Cu
10
20
30
40 50 60 Weight Percent Zinc
70
80
90
100
Zn

1: Eutectic reaction ua: Eutectoid reaction 2: Peritectic reaction wax Eutectoid


reaction 3: Eutectic reaction และ Peritectuid reaction
4: Monotectic reaction ta: Eutectoid reaction คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

ขอ ้ ที่ 107 : จากแผนภาพเฟสของ นิ กเกิล (Ni) - ไททาเนี ยม (Ti) มีปฏิกิริยา Invariant ใดเกิด
ขึ้นบา้ ง
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
1563
19/22559
สภาวิศวกร

Atomic Percent Nickel 30 40 50 60


1)

70
80
90
เ on ()

1670C
16001

ขาธิ

1400 -
1yEpE

BigC

Temperature °C
- 10

111FC
TiNi
(Ni)

1QQQ

(8Ti) |
942ec
1
BBC
TiNiz
800 -
3
765°C
#5

* (aTi)
Tizni
Stor)
ทากาชา
1

[
1
30
--- 8300 40 50 60 70 Weight Percent Nickel
Ni

1: Monotectic reaction, Peritectic reaction uaEutectoid reaction 2:


Monotectic reaction, Peritectic reaction uaPeritectoid reaction 3: Peritectic
reaction, Eutectic reaction La Eutectoid reaction
4: Eutectoid reaction, Peritectoid reactionua. Peritectic reaction คาํ ตอบที่ถูก
ตอ
้ ง:3

้ ที่ 108 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - เงิน (Ag) โลหะผสมประกอบ


ขอ
ด้วยทองแดง 10% โดยน้ําหนักและเงิน 90%โดยน้ําหนัก ถูกให้ความร้อนจนเกิด
เฟสของแข็ง และ เฟสของเหลว ถา้ สว่ นประกอบของเฟสของเหลวประกอบดว้ ยเงิน (Ag)
85%โดยน้ําหนัก อยากทราบวา่ โลหะผสมนี้ ถูกให้ความร้อนถึงอุณหภูมิเทา่ ใด

Atomic Percent Copper


50 60 70
0
10
20
30
40
80
G)
10 ปี
1EU02
คน. เกมหยุดตก
คาราบาว

11003
104.E า

1000 9f1.83c

(Cu)
"ร.10

(Ag) 0.8
25.
Temperature °C
TTTTTTTTTTTTTTTT

T
TTTT 1
1
1
1
1
1

E1
EU

90
100
30 40 50 60
Weight Percent Copper
Cu
1 : ประมาณ 750 องศาเซลเซียส 2 : ประมาณ 800 องศาเซลเซียส 3: ประมาณ 850 องศา
เซลเซียส 4 : ประมาณ 950 องศาเซลเซียส คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 109 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - สั งกะสี (Zn) โลหะผสม


ขอ
ประกอบดว้ ยทองแดง 20%โดยน้ําหนักและสั งกะสี 80% โดยน้ําหนัก ที่ 598
องศาเซลเซียส ประกอบด้วย

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
1863
19/22559
สภาวิศวกร

Atomic Percent Zinc


| 50 ft)
"0
80 TTTTTTTTTTTTTTTTTTT
30
100
ios
ETTTTTTTTTTTT

32.
02

7dog
80.5
\

.8
*
*
h
Temperature °C
(Cu)
TE
อย่าง

| .5
560
38.95)
BE.

.5
Rss Ste ไม่
-
มี
419.5ger
แบบ

(ZnE

100 ราย
0
10
20
30
50

70
80
30
"
E]
100

10 5 0 60 Weight Percent Zinc


Cu

เฟสอะไร

1 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง 6 2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง 3 : เฟสของแข็ง 4 :


เฟสของเหลว เฟสของแข็ง 6 และเฟสของแข็ง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 110 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - เงิน (Ag) โลหะผสม


ขอ
ประกอบด้วยทองแดง 10% โดยน้ําหนัก และเงิน 90%โดยน้ําหนัก ถูกให้
ความร้อนจนเกิดเฟสของแข็ง 8 และ เฟสของเหลว ถา้ สว่ นประกอบของเฟสของเหลว
ประกอบด้วยเงิน (Ag) 85% โดยน้ําหนัก อยากทราบวา่ เฟสของแข็ง 8 ประกอบด้วยเงินกี่
็ ตโ์ ดยน้ําหนัก
เปอร์เซน

Atomic Percent Copper 0 10 20 30 40 50 60 70 12)


TTTTTTTTTTT
80
30
จาก การที่
1
และ 2
จ"
"
""

103
*104.8

100g

961.93*cs

79.1*
(Cu)
(Ag) 8.8
26.
Temperature °C
TTFTTTTTTTTTTTT

300 31

P
()
ปี

40 50 ka Weight Percent Copper


Ag

1 : ประมาณ 90% โดยน้ําหนัก 2: ประมาณ 95% โดยน้ําหนัก 3 : ประมาณ 5% โดย


น้ําหนัก 4 : ประมาณ 10% โดยน้ําหนัก คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 2

้ ่ 111 :
ขอที

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
1763
19/2559
สภาวิศวกร จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - นิ กเกิล (Niy โลหะผสมประกอบดว้ ย
ทองแดง 30%โดยน้ําหนักและนิ เคิล 70%โดยน้ําหนัก ที่ 1350 องศาเซลเซียส ประกอบดว้ ย
เฟสอะไร
Composition (at% Ni) 0 20 40 60 80 100

2800
150
Liquid
1453C
2600
140

Solidus line
Liquidus line
21G
Temperature (°C)
1300
Temperature (°F)
I4I

1200F
220

1100
20
1035

|
100
C)
20
10

(ใน)
Composition (wt% Ni)
(N)

1 : เฟสของเหลว 2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง g 3: เฟสของแข็ง g


4 : เฟสของสารประกอบระหวา่ งทองแดงและนิ เกิล คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2
้ ที่ 112 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - สั งกะสี (Zn) โลหะผสม
ขอ
ประกอบดว้ ยทองแดง 20%โดยน้ําหนักและสั งกะสี 80%โดยน้ําหนัก ที่ 800
องศาเซลเซียส ประกอบด้วย

Atomic Percent Zinc 10 20 30 40 50 60


รสนเ ITTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTTT าหารจากการขาย
70 กา
80 90
ร ทักทาย
100
1

111111111111111

328602348
32.กาง 7.5

88
11111111

( 700
193.02
80,ง
#g.
Temperature °C
TTTT

(Cu)
785

38.953544
(57.7
|
BBs
CH3E4250 บ
ชาย 4i8.5gC

(Zn)

100
""
| TT เบน 1

30
70
405060 | Weight Percent Zinc
100
Cu
เฟสีอะไร
Zn

1 : เฟสของเหลว 2 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง 6 3 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง 4 :


เฟสของแข็ง y คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 1

้ ที่ 113 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) – สั งกะสี (Zn) โลหะ


ขอ
ผสมประกอบด้วยทองแดง 20%โดยน้ําหนักและสั งกะสี 80%โดยน้ํา
หนัก ที่ 500 องศาเซลเซียส ประกอบดว้ ย

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
1863
19/22559
สภาวิศวกร

Atomic Percent Zinc


| 50 ft)
"0
80 TTTTTTTTTTTTTTTTTTT
30
100
ios
ETTTTTTTTTTTT

32.
02

7dog
80.5
\

.8
*
*
h

Temperature °C
(Cu)
TE
อย่าง

| .5
560
38.95)
.5
BE. เ 250 บ" REG)
- มี 419.5ger
แบบ

(ZnE

100 บาท
30
50

70
80
30
"
E]
100

10 5 0 60 Weight Percent Zinc


Cu
เฟสอะไร

1 : เฟสของเหลว 2: เฟสของแข็ง 3: เฟสของแข็ง 6


4 : เฟสของเหลว และเฟสของแข็ง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 2

้ ที่ 114 : จากแผนภาพเฟสของตะกั่ว (Pb) - ดีบุก (Sn) โลหะผสม


ขอ
ประกอบด้วยดีบุก 40%โดยน้ําหนักและตะกั่ว 60%โดยน้ําหนัก ที่ 150
องศาเซลเซียส ประกอบดว้ ยเฟสอะไร
Atomic Percent Tin
30
จากราคา
0 10 20 350 TTTTTTT าร
(3275020

23198819

(a Ph)
13
.
7.8

Temperature °C
HTTTTTTTTT

(Sn) -

-
1
1
1
1
1
1
ๆ ของ แลกราง
0

1)

30
70
80
90
40 50 60 Weight Percent Tin
100
Sn
บา้ ง
Pb

1 : เฟสของแข็งสองชนิ ดคือ (a Pb) และ (8Sn) 2 : เฟสของแข็ง (a Pb) และเฟส


ของเหลว 3 : เฟสของแข็ง (8Sn) และเฟสของเหลว 4 : เฟสของเหลว คาํ ตอบที่ถูก
ตอ
้ ง:1

้ ที่ 115 : จากแผนภาพเฟสของตะกั่ว (Pb) - ดีบุก (Sn) โลหะ


ขอ
ผสมประกอบดว้ ยดีบุก 61.9%โดยน้ําหนักและตะกั่ว 38.1%โดยน้ํา
หนัก ที่ 183 องศาเซลเซียส ประกอบดว้ ยเฟส

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
19/63
19/212559
สภาวิศวกร

30
40
Atomic Percent Tin 50 60 70
80
90
วแกง 10 20
1327.502c
100
350
จะมา
กกกก
"""""""

300
1

2503
231.98it

(4 Ph)
18st
163
Temperature °C

-
1E3
.

151

(BSn)
10,
20
30
70
80
90
100
0
Pb
40 50 60 Weight Percent Tin
อะไรบา้ ง
Sn

1 : เฟสของแข็งสองชนิ ดคือ (a Pb) และ (BSn) และเฟสของเหลว 2: เฟสของแข็ง (a Pb) และเฟส


ของเหลว 3: เฟสของแข็ง (8Sn) และเฟสของเหลว 4 : เฟสของแข็งสองชนิ ดคือ (a Pb) และ (8Sn)
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1
้ ที่
ขอ
116
จากแผนภาพเฟสของตะกั่ว
(Pb)
ดีบุก
(Sn)
บริ เวณที่เป็ น
มีความหมายวา่ อยา่ งไร

Atomic Percent Tin 50 60 70


0
10
20
30
4)

70
80
350T

90
100
322.5020

800

25] -
2319691c

(4 Pb)
200

1st
Temperature °C
18.3
61.8
B

(0)

(Sn)

20
30
70
80
90
0 11 Pb

40 50 60 Weight Percent Tin


1)
Sn

1 : เฟสสารละลายของแข็ง (a Pb) ที่มีโครงสร้างผลึกของดีบุกและตะกั่วอยูร่ ่วมกัน 2: เฟส


สารละลายของแข็ง (a Pb) ที่มีโครงสร้างผลึกของตะกั่ว และมีอะตอมของดีบุกแทรกอยู ใ่ นโครงสร้าง 3 :
เฟสสารละลายของแข็ง (a Pb) ที่มีโครงสร้างผลึกแตกตา่ งจากโครงสร้างของดีบุกและตะกั่ว 4 : เฟส
สารละลายของแข็ง (a Pb) ที่มีโครงสร้างผลึกของดีบุก และมีอะตอมของตะกั่วแทรกอยูใ่ นโครงสร้าง

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ่ 117 : ขอ
ขอที ้ ใดไมใ่ ชล่ ั กษณะของโครงสร้างจุลภาคของสว่ นประกอบ Eutectic

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
20/63
19/2/2559
สภาวิศวกร

1: Lamellar 2: Rodlike 3: Globular 4: Homogeneous

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 118 : ปฏิกิริยาตอ


ขอ ่ ไปนี้ ขอ
้ ใดไมใ่ ชป
่ ฏิกิริยา Invariant

1 : Eutectic reaction 2: Monotectic reaction 3: Peritectoid reaction 4 : Oxidation reaction

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

ขอ้ ที่
119 :
(Cu)
-
นิ กเกิล
(Ni)
คา่
Degree
of freedom
ระหวา่ งเสน ้
Solidus
และ
Liquidus
มีคา่ เทา่ ใด
จากแผนภาพเฟสของทองแดง
Composition (at% Ni) 20 40 60
.0
80
100
15)

25)

150
Liquid
1153

26Ul
ไมม
่ ี

Solidus line
Liquidus line
2400
Temperature (°C)
1300

แ L/
Temperature (°F)

122C]

11on
Ill]
2
)
1035

Composition (wt% Ni)


(Ni)
1 : Degree of freedom = 0 2: Degree of freedom = 1 3: Degree of freedom = 2
4 : Degree of freedom = 3 คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 2

้ ที่ 120 : ขอ
ขอ ่ ไปนี้ เป็ นปฏิกิริยา Monotectic
้ ใดตอ

1 : C++
20 x
2. ๕๕๕๕๗ g 5218
2 coloug +5+L 4.A+L sea 36

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

ขอ ้ ที่ 121 : กรรมวิธีการชุบที่ใชต


้ ั วกลางชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ ที่ทาํ ใหเ้ กิดอัตราการคายความร้อนจาก
ชิ้นงานมากที่สุด

1 : อากาศปกติ 2:อากาศในเตาอบ 3: น้ําเปลา่


4 : น้ํามัน คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 122 : กรรมวิธีการอบชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ ทาํ ใหช้ ้น


ขอ ิ งานมีความแข็งแรงสูงที่สุด

1: การอบในกระบวนการ (Process annealing) 2 : การอบปรกติ (Normalizing) 3 : การอบออ่ นเต็มที่


(Full annealing) 4 : สเฟี ยรอยไดซิง (Spheroidizing) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 123 : ในการอบออ่ นเต็มที่ (Full annealing) ชิ้นงานถูกทาํ ให้เย็นลงดว้ ยตัวกลาง


ขอ
ชนิ ดใด

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
21/63
19/22559
สภาวิศวกร

1:อากาศปรกตินอกเตาอบ 2 : อากาศในเตาอบ 3: น้ําเปลา่ 4 : น้ํามัน คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:2
้ ที่ 124 : ในการอบปรกติ (Normalizing) ชิ้นงานถูกทาํ ให้เย็นลงด้วยตัวกลางชนิ ดใด
ขอ

1 : อากาศปรกตินอกเตาอบ 2: อากาศในเดาอบ 3: น้ําเปลา่ 4 : น้ํามัน คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:1

้ ที่ 125 : ขอ
ขอ ้ ใดคือโครงสร้างที่ได้จากการเย็นตัวอยา่ งชา้ ๆ ของเหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ ํ ที่มีโครงสร้างออสเทไนต์
(Austenite)

1 :เพอร์ไลต ์ (Pearlite) และเฟร์ไรต ์ (Ferrite) 2:เพอร์ไลต์ (Pearlite) และ ซีเมนไทต์ (Cementite) 3 : เบในต์
(Bainite) 4 : มาร์เทนไซต ์ (Martensite)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 126 : จากแผนภาพการแปลงคงอุณหภูมิ (Isothermal transformation diagram) ของเหล็กกลา้ คาร์บอน


ขอ
1.13 wt%C ขอใดคื้ อโครงสร้างสุดทา้ ยของชิ้นงานเหล็กกลา้ คาร์บอน 1.13 wi%C ขนาดเล็กที่ถูกอบที่
อุณหภูมิ 920 องศาเซลเซียส จนมีโครงสร้างเป็ นออสเทไนต์ (Austenite) ตลอดทังชิ ้ ้นกอ่ นทาํ ให้เย็นตัวลง
อยา่ งรวดเร็ว จนชิ้นงานมี อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส และแชช ่ ้น ้ ่ีอุณหภูมิน้ี นาน 1 นาที กอ่
ิ งานไวท
นทาํ ใหเ้ ย็นตัวถึงอุณหภูมิหอ
้ ง
น[|||||
1600
goo
A
A+ C

|
A+P
--------
A+B
Temperature (°C)
Temperature (°F)
the

50 %
M(start)

100E
M(506) M(90%)

10
102
104
105
106
103 Time (s)

1 : ออสเทไนต์ (Austenite) และเบในต์ (Bainite) 2: ออสเทไนต์ (Austenite) เบในต์ (Bainite) และมาร์


เทนไซต์ (Martensite) 3 : เบในต์ (Bainite) และมาร์เทนไซต ์ (Martensite)
4 : ซีเมนไทด์ (Cementite) เบในต์ (Bainite)และมาร์เทนไซต์ (Martensite) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง
:3

้ ที่ 127 : ขอ
ขอ ้ ใดคือวัตถุประสงคข์ องการอบปรกติ (Normalizing)

1 : เพื่อปรับปรุ งสมบัติเชิงกลให้ดีข้ึน 2 : เพื่อปรับปรุ งโครงสร้างให้สมา่ ํ เสมอ 3 : เป็ นการทาํ ลาย


ความเครี ยดภายใน
้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:4

้ ที่ 128 : ขอ
ขอ ้ ใดคือวัตถุประสงคข์ องการอบออ่ น (Annealing)

1 : เพื่อเพิ่มความแข็งแรง 2 : เพื่อให้ได้โครงสร้างที่มีความออ
่ นตัวสูง 3 : เพื่อเพิ่มความแข็งให้กับวัสดุ 4 :
ขอ
้ 12 และ 3 ถูก

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
2263
สภาวิศวกร
19/12/2559
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2
้ ที่ 129 : ขอ
ขอ ้ ใดคือปัจจัยที่มีผลตอ
่ ความแข็งของเหล็กกลา้ คาร์บอนปานกลาง

1: ปริ มาณคาร์บอน 2: อุณหภูมิกอ่ นการชุบแข็ง 3: อัตราการชุบแข็ง


้ 12 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:4

้ ที่ 130 : โครงสร้างเพอร์ไลต์ (Pearlite) ในเหล็กกลา้ เป็ นโครงสร้างที่


ขอ
ไดจ้ ากปฏิกิริยาอะไร

1 : ยูเทกติก (Eutectic) 2 : ยูเทกทอยด์ (Eutectoid) 3: เพริ เทกติก (Peritectic) 4


: เพริ เทกทอยด์ (Peritectoid)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 131 : ในภาวะสมดุล ณ อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ อุณหภูมิยูเทคทอยดเ์ ล็กน้อย โครงสร้าง


ขอ
เหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ ํ (0.2wt%C) ประกอบด้วยโครงสร้างของเฟสกิง่ เสถียร
(Metastable phase) ใดบา้ ง และเกิดขึ้นในปริ มาณเทา่ ใด
Atomic Percent Carbon
15
IEC

15380.00
(ore)

คอ.16
L + Clgraphite)

เรา

11E

Temperature C
L
ปี
-
y

Fe
Weight Percent Carbon

1 : เฟร์ไรต์ (Ferrite) 80% และเพอร์ไลต์ (Pearlite) 20% 2: เฟร์ไรต์ (Ferrite) 20%


และ เพอร์ไลต์ (Pearlite) 80% 3: เฟร์ไรต์ (Ferrite) 75% และ เพอร์ไลต์ (Pearlite)
25% 4 : เฟร์ไรด์ (Ferrite) 25% และเพอร์ไลต ์ (Pearlite) 75% คาํ ตอบที่ถูก
ตอ
้ ง:3

้ ที่ 132 : ลักษณะโครงสร้างบริ เวณรอบรอยเชื่อม (HAZ) ในเหล็กกลา้


ขอ
คาร์บอนตา่ ํ สว่ นที่ติดกับบริ เวณหลอมเหลว (Fusion Zone) ของรอยเชื่อม
คือ ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้

1 : โครงสร้างมีขนาดเกรนหยาบ 2: โครงสร้างมีขนาดเครนละเอียด 3: โครงสร้างเป็ นมาร์เทน


ไซต์ (Martensite)
4 : โครงสร้างเป็ นเบในต์ (Bainite) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 2

้ ที่ 133 : จากแผนภาพเฟสดีบุก-ตะกั่ว โครงสร้างของโลหะผสมดีบุก


ขอ
และตะกั่วที่อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ 183C เล็กน้อย ประกอบด้วยเฟส
Proeutectic a 73.2% โดยน้ําหนัก และเฟส ของ Eutectic (g + 8)
26.8% โดยน้ําหนัก สว่ นผสมของโลหะนี้ คือขอ
้ ใด
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
23363
19/2/2559
สภาวิศวกร

10
20
30
40
Atomic Percent Tin 50 60 70
80
350 1r+

90
199
าร

32.502c
//

231.9681t

200
(4 Pb)
183
Temperature °C
183

(8Sn) -

9"10"20304050602060
Weight Percent Tin
Pb
Sn

1: ดีบุก 20% และตะกั่ว 80% โดยน้ําหนัก 2 : ดีบุก 25% และตะกั่ว 75% โดยน้ําหนัก 3: ดีบุก
30% และตะกั่ว 70% โดยน้ําหนัก 4 : ดีบุก 35% และตะกั่ว 65% โดยน้ําหนัก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 134 : จากแผนภาพเฟสดีบุก-ตะกั่ว โลหะผสมของดีบุก 85% และตะกั่ว 15% โดยน้ําหนัก


ขอ
จาํ นวน 750 กรัมที่อุณหภูมส
ิ ูงกวา่ 183°C เล็กน้อย ประกอบด้วยเฟส Proeutectic B

0
Atomic Percent Tin 50 60
10
20
30
40
0
p0
90
00

1327.502c

231.88Bit

(u Pb)
1eset
188
Temperature °C
61.9

Temperature
(8Sn) -

แ FT PTT TTTT

10
20
30
40 50 60 Weight Percent Tin
70
80
90
100
กี่กรัม
Pb
Sn

1:323.4 2 : 482.6 3:526.7 4 : 651.2

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 135 : จากแผนภาพเฟสดีบุก-ตะกั่ว โลหะผสมของดีบุก 85% และตะกั่ว 15% โดยน้ําหนัก


ขอ
จาํ นวน 750 กรัมที่อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ 183"c เล็กน้อย ประกอบดว้ ยเฟส ๔ กี่กรัม

http://www.coe.or.th/coe/
main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
2463
19/22559
สภาวิศวกร

Atomic Percent Tin 50 60 70


[
19
20
30
40
80
90
T
T
1
1
1
1
1
1

502c

231.E681t

(w Ph)
183c
Temperature °C
183

(Sn)
"T
E
TEET T *
**
**
*

10
20
30
70
80
90
If

0 Pb
40 50 60 Weight Percent Tin
Sn

1 : 323.65 2 : 240.64 3: 120.75


4:04.36 คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 3

้ ที่ 136 : จากแผนภาพเฟสของทองแดง (Cu) - เงิน (Ag) โครงสร้างของโลหะผสม


ขอ
ทองแดงและเงินที่อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ 779°C เล็กน้อย ประกอบดว้ ยเฟส Proeutectic a
68% โดยน้ําหนัก
และเฟสของ
Eutectic

่ นผสมของโลหะนี้ คือขอ
32% โดยน้ําหนัก สว ้ ใด

Atomic Percent Copper


50 60 70
0
10
20
30
40
80
G)
10 ปี
1EU02
คน. เกมหยุดตก
คาราบาว

11003
104.E า

1000 61.30

(Cu)
"ร.10
52
Temperature °C
"TTTTTTTTTTTTTTT

1 TTTTT 1 1
1
1
1
1
1

2
10
20
90
30 40 50 60 0
Weight Percent Copper
100
Cu

1: ทองแดง 10% และเงิน 90% โดยน้ําหนัก 2: ทองแดง 15% และเงิน 85% โดยน้ําหนัก
3: ทองแดง 20% และเงิน 80% โดยน้ําหนัก 4: ทองแดง 25% และเงิน 75% โดยน้ําหนัก คาํ
ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2
้ ที่ 137 : โลหะผสมของทองแดง 70% และ เงิน 30% โดยน้ําหนัก จาํ นวน
ขอ
800 กรัม ที่อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ 779 องศาเซลเซียส เล็กน้อย จะมีเฟสใดเกิดขึ้นบา้ ง
และเกิดขึ้นเป็ นจาํ นวน

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
263
19/2/2559
สภาวิศวกร

Atomic Percent Copper


50 60 70
0
10
20
30
40
ปี
90
1200

11004
*1084.87 C

1000 961.83eck

(Cu)
"ราบ.1
รี่ (Ag)/a.8
CE.

Temperature 'C
4003

300 3

200 บาท
1
)
30 40 50 60
Weight Percent Copper
Ag
เทา่ ใด

1 : เฟส (Cu) 410.5 กรัม และเฟส (Ag) 389.5 กรัม 2 : เฟส (Cu) 501.7 กรัม และเฟส (Ag)
298.3 กรัม 3: เฟส (Cu) 524.6 กรัม และเฟส (Ag) 275.4 กรัม
4 : เฟส (Cu) 588.8 กรัม และเฟส (Ag) 211.5 กรัม คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :4

้ ที่ 138 : โลหะผสมของทองแดง 70% และ เงิน 30% โดยน้ําหนัก จาํ นวน 800 กรัม ที่
ขอ
อุณหภูมิสูงกวา่ 779 องศาเซลเซียส เล็กน้อย จะมีเฟสใดเกิดขึ้นบา้ งและเกิดขึ้นเป็ นจาํ
นวน

0
10
20
Atomic Percent Copper
50 60
30
40
30
100
1200 รายงานระบุหมุดการกากกกกกกกกกก
T

11003
1054.67et
100g
Fi.c3C
900

79.1
77.1C
(Ag) /8.8
281

Temperature °C

10
20
30
50
70
80
90
10

นี้ Ag
40
50 Weight Percent Copper
Cu
เทา่ ใด

1: เฟส (Cu) 610.5 กรัม และเฟส (Ag) 189.5 กรัม 2 : เฟส (Cu) 510.7 กรัม และเฟส (Ag) 298.3
กรัม 3: เฟส (Cu) 524.6 กรัม และเฟส (Ag) 275.4 กรัม
4 : เฟส (Cu) 730 กรัม และเฟส (Ag) 70 กรัม คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่
ขอ
139
จากแผนภาพเฟสของ
นิ กเกิล
(Ni)
ไททาเนี ยม
ขอ
้ ใดคือปฏิกริ ยา
Eutectic
ที่เกิดขึ้น

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
2863
19/2/2559
สภาวิศวกร

Atomic Percent Nickel 30 40 50 60


10
20

70
80
90
100
TITTEET

laon 0

1670°C
1600

1455°C

14001
1380°C

1310°C
1304°C
Temperature °C
1200
1118°C
TiNi
(Ni)

1000
984°C

(BTi)
942°c
882°C
TiNiz
800
V
765°C

765°C
Hati)
Tizni
------830°C
1+1!
!
!
TTTTTTTT

6001
0
10
30
20
80
70
40 50 60 Weight Percent Nickel
Ti
Ni

1. L ooking X871) + TI, M


L-cooling 671)+L
(871) Foolina i)+7i,M 1. TIM+ L-CODING →71, N คาํ
ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1
Tot 140 : Tallmuntwa
a nia
(Ni)
-
Innitled
(Ti)
atnaujisen
Peritectic
Bliniatu

Atomic Percent Nickel 30 40 50 60


10
20

70
80
90
100

1670°C 1600

1455°C

1400
1380°C
NA

1310°C
1304°C

Temperature "C
1200

1118°C
TiNi

1000
984°C

(BTi)
942°C

882"CN
TiNis
800
765°C

(aTi)
Ti Ni
630°C ------
600 1.
TTT
TTTTTTTTTTTTTTTTT
TTTTTTTTT

0
20
30
70
80
90
40 50 60 Weight Percent Nickel

1. 71, N + L Cooling (077) 2. (A7i)+Lcooby x 671)


L cooling >ZIN + 73 M2 .. TIM+L_COPINE > 71,
M

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
27/63
สภาวิศวกร
19/2/2559
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 141 : ในระบบ Ternary ซ่ึงประกอบด้วยสว่ นประกอบ 3 ชนิ ด อยากทราบวา่ ถา้ ให้
ขอ
อุณหภูมิสามารถเปลี่ยนแปลงได้ แตค ่ วามดันมีคา่ คงที่ จะมีจาํ นวนเฟสเกิดขึ้นได้มากที่สุด
พร้อมกันกี่เฟสที่อุณหภูมิและสว่ นประกอบเดียวกัน

1: 5 2:4 3 : 3
4 : 2 คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ่ 142 : จากแผนภาพเฟสทองแดง-เงิน ถา้ โลหะผสมของทองแดง 70% และ เงิน 30% โดยน้ําหนัก


ขอที
จาํ นวน 800 กรัม ที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส จะมีเฟสใดเกิดขึ้นบา้ งและ

Atomic Percent Copper


50 60 70 80
0 10 20 30 120 ขายอาหารจาก
40
TrtTTTTTTT

11003
1084.ครู

110 0E1.30

(Ag) 8.8
CH.1

Temperature °C
30 40 50 60
Weight Percent Copper
70
80
1[

(Ci

เกิดขึ้นเป็ นจาํ นวนเทา่ ใด

1 : เฟส (Cu) 610.5 กรัม และเฟสของเหลว 189.5 กรัม 2 : เฟส (Cu) 549.6 กรัม และเฟสของเหลว 250.4
กรัม 3 : เฟส (Cu) 580.6 กรัม และเฟสของเหลว 219.4 กรัม 4 : เฟส (Cu) 730 กรัม และเฟสของเหลว 70
กรัม

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 143 : ขอ
ขอ ่ ไปนี้ ไมใ่ ชเ่ ฟสในเหล็กกลา้ คาร์บอน (Carbon steel)
้ ใดตอ

1: เหล็กบริ สุทธิ์ 2: เฟร์ไรต์ (Ferrite) 3 : ซีเมนไทต์ (Cementite)


4 : ขอ้ 1 2 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :1

ข้อที่ 144 : ซีเมนไทต์ (Cementite) ในเหล็กกลา้ คาร์บอนเป็ นเฟส (Phase) ชนิ ดใด

1: ธาตุบริ สุทธิ์ 2 : สารละลายของแข็ง (Solid solution) 3 : สารประกอบ (Compound)


4 : สารประกอบระหวา่ งโลหะ (Intermetallic compound) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่
ขอ
145
เหล็กกลา้ คาร์บอน
0.8wt%C
ชุบในน้ําเย็นจากอุณหภูมิ
1000
องศาเซลเซียส
จะไดโ้ ครงสร้างใด
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
263
19/22559
สภาวิศวกร

Atomic Percent Carbon


15
IELD
-
11
11
"T
F1
-
0.28

150gs16 นเรา
13"

L + c(graphite)
15

---
**
-

(PF
-
*
*
*

Temperature °C
๒๕๕๒ ๒ ๒๒ ๒๒ * *

Fegc
.85

ปี

BE

HaFe)

35
งา
Weight Percent Carbon

1 : มาร์เทนไซต์ (Martensite) 2 : เฟร์ไรด์ (Ferrite) 3 : เพอร์ไลต์


(Pearlite) 4 : ออสเทไนต์ (Austenite) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่
ขอ
146
:
้ ใดตอ่ ไปนี้ ที่สามารถเพิม
โลหะผสมในขอ ่ ความแข็งแรงโดยการบม
่ แข็ง
(Age
hardening)
ได้

Atomic Percent Copper


[ 30 40 50
10
g
70
)
sg for
lig
Temperature °c
1
1
1

58
1
1

Ent
1
1
1
400 31 ()

10
0
0
0
0
0
0
0 0 0 Weight Percent Capper
Al
cu

1: A + 4wt%Cu 2 : A + 8wt%Cu 3: AN + 12wt%Cu


4 : AI + 16wt%Cu คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 1

้ ที่
ขอ
147
14

:
เฟสของแข็งเฟสแรกที่เกิดจากการแข็งตัวจากสภาวะของเหลวของ
AN+20wt00S
คือขอ
้ ใด
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
29/63
19/22559
สภาวิศวกร

Atomic Percent Silicon

1s00 3
10
350
40
30
100

1i4c
IT T

Temperature °C

(1)
(si)
0 BHTTTTT
0 Al
10
0
30 40 50 A)
Weight Percent Silicon
60

1 (AI) 2 : (Si) 3: Eutectic ((AI)+(Si}} 4 : สารประกอบอะลูมิเนี ยมซิลไซด์ คาํ ตอบที่ถูก


ตอ
้ ง:2

้ ที่
ขอ
148
โครงสร้างงานหลอ่ ทองเหลือง
(Zn+
20wt%Cu)
โดยทั่วไป
จะเป็ นดังในขอ
้ ใด

Atomic Percent Zinc


40 50 60
11000
10
20
30
70
80
90
100
ก 1 ชช

น 375 32.902348
"
"
FEE
700*CLB03 ใน.le

Temperature °C
ต่อมา

18.5

(Cu)
ge

38.95) %
(57.7
BB3 125r ไป

(Zn)

70
to
90
Cu
40 50 60 Weight Percent Zinc
100
Zn

1 : สารละลายของแข็ง (Solid solution) สว่ นผสมเทา่ กันทุกตาํ แหน่ง 2 : สารละลาย


ของแข็ง (Solid solution) ลักษณะเป็ นเดนไดรท์ (Dendrite) 3: สารประกอบ (Compound)
สว่ นผสมเทา่ กันทุกตาํ แหน่ง
4 : สารประกอบ (Compound) ลักษณะเป็ นเดนไดรท์ (Dendrite) คาํ ตอบที่ถูก
ตอ
้ ง:2

้ ที่ 149 : ชว่ งการแข็งตัว (Freezing range) ของโลหะผสม Cu + 40wt%Ni มีคา่ ประมาณ
ขอ
เทา่ ใด

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
3063
19/22559
สภาวิศวกร
Composition (at% Ni)
40 60
0
20
80
100

150
Liquid
1153

26]
14

Liquidus line
Solidus line
Temperature (°C)
124]
13/0
Temperature (°F)

12tip
2200

11002
10850
2
ปี

20
Composition (wt% Ni)
(N)

1 : 10 องศาเซลเซียส 2 : 40 องศาเซลเซียส 3 : 100 องศาเซลเซียส


4 : 150 องศาเซลเซียส คาํ ตอบที่ถูกต้อง : 2

ขอ้ ที่
150
:
โลหะผสม Cu + 40wt%Ni
Composition (at% Ni)

แข็งตัวอยา่ งชา้ ๆ
ในภาวะสมดุล
การแข็งตัวจะเริ่ มตน ้ สุดที่อุณหภูมิใดโดยประมาณ (องศาเซลเซียส)
้ และสิน

0 1600 |
|
20 |
|
40 |
|
60 |
|
80 |
|
100 1
280
150
Liquid
14530

14 ปี

Solidus line
Liquidus line
Temperature (°C)
Temperature (°F)
site:

[]
ไ C2CD

1100
200
10250

10000
20
40
60
80
100
Composition (wt% Ni)
(NI)

1 : เริ่ มตน ้ สุด 1085 2 : เริ่ มตน้ 1455 สิน้ สุด 1240 3 : เริ่ มต้น 1280 สิน้ สุด 1240 4
้ 1455 สิน
: เริ่ มตน้ 1280 สิน ้ สุด 1085 คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 3
ข้อที่ 151 : โครงสร้างที่เกิดขึ้นจากการแข็งตัวของโลหะผสม Pb + 30wt%Sn ในภาวะสมดุล ประกอบ
ด้วยโครงสร้างยูเทคติก (Eutectic microconstituent) ประมาณเทา่ ใด

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
3163
19/22559
สภาวิศวกร

Atomic Percent Tin 50 60 70


[
19
20
30
40
80
90
T
T
1
1
1
1
1
1

502c
231.E681t

(w Ph)
183c
Temperature °C
183

(Sn)

"T
E
TEET T *
**
**
*

10
20
30
70
80
90
If

0 Pb
40 50 60 Weight Percent Tin
Sn

1: 16% 2: 26% 3:36% 4: 46%

คา่ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 152 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ที่ไมส
้ มูลในขอ ่ ามารถหาได้จากแผนภาพเฟส (Phase diagram)
1: ชนิ ดของเฟสในภาวะสมดุล 2: สว่ นผสมของเฟสในภาวะสมดุล 3: ปริ มาณของเฟสในภาวะสมดุล
4 : รู ปร่างของเฟสในภาวะสมดุล

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 153 : โครงสร้างที่ได้จากกระบวนการมาร์เทมเปอริ่ ง (Martempering)


ขอ
คือโครงสร้างใด

1: เฟร์ไรต์ (Ferrite) 2: เพอร์ไรต์ (Pearite) 3: เบในต์ (Bainite)


4 : มาร์เทนไซด์ (Martensite) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 154 : ธาตุใดสง่ เสริ มให้เกิดแกรไฟต์ (Graphite) แทนที่จะเกิดคาร์ไบด์


ขอ
(Carbide) ในเหล็กหลอ่

1:cr 2 : Mn 3 : Mo
4 : Si คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 4

้ ที่ 155 : วัตถุประสงคห


ขอ ์ ลักของการอบคืนไฟ (Tempering) คือขอ
้ ใด

1 : เพิ่มความแข็งให้กับเพอร์ไลต์ (Pearlite) 2: เพิ่มความแข็งให้กับมาร์เทนไซต์ (Martensite)


3: เพิ่มความเหนี ยวให้กับเพอร์ไลต์ (Pearlite)
4 : เพิ่มความเหนี ยวให้กับมาร์เทนไซต์ (Martensite) คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 4

้ ที่ 156 : การอบปรกติ (Normalizing) สาํ หรับเหล็กกลา้ 0.2wt%C ควรอบ


ขอ
ที่อุณหภูมิใด (องศาเซลเซียส)

1:700 2 : 800

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
3263
19/2/2559
สภาวิศวกร

3 : 950 4 : 1050

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

ขอ้ ที่
157
:
อุณหภูมิท่ีเหมาะสมในการปมเพื่อเพิม
่ ความแข็ง
(Aging)
สาํ หรับโลหะผสม
AI
+
4wt%Cu
คือขอ้ ใด
(องศาเซลเซียส)

Atomic Percent Copper


[
40
50
R
70
g
g 1pn
1
1
TT TTTTTTTTT
----
-
--
CLE

Temperature oc
1
-
1
1
1

-
1

-
1
1
IT III

900 -(al)

100 Ti 111

0
0
0
0
40 50 0 Weight Percent Copper
Al
Cu

1 : 200 2 : 400 3: 500

ํ ตอบที่ถูกตอ
4 : 600 คา ้ ง :1

ขอ้ ที่
158
:
ในการหลอ่ โลหะผสม
Cu
+
10wt%Sn
จะเกิดปฏิกิริยาเพริ เทกติก
(Peritectic)
ได้หรื อไม่

Atomic Percent Tin


30 40 50

120
10
20
60
70
80
90 100
111111TTTTTTTTT
1 TL LT
บบบบบบ

1064

136 70ec

25.5
30.8 78
Temperature °C

GAN 840%
58.8
(cu)
J582°C

415c

31.8ee
1894C60.31
18

10
20
30
70
80
100
40 50 60 Weight Percent Tin
Sn

1 : ไมส่ ามารถเกิดได้ เพราะสว่ นผสมไมใ่ ชส


่ ว่ นผสมเพริ เทกติก 2 : ไมส
่ ามารถเกิด
ได้ เพราะปริ มาณดีบุกน้อยเกินไป 3: สามารถเกิดไดใ้ นกรณี ท่ีการแข็งตัวเป็ นไป
อยา่ งไมส่ มดุล
4 : สามารถเกิดได้ในทุกกรณี ไมว่ า่ การแข็งตัวจะเป็ นแบบสมดุลหรื อไมก
่ ต
็ าม
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
3363
19/2/2559
สภาวิศวกร

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 159 : โครงสร้างงานหลอ่ ของโลหะชนิ ดใดตอ


ขอ ่ ไปนี้ ที่จะไมม
่ ีเดนไดรด์
(Dendrite) ปรากฏใหเ้ ห็นอยา่ งชั ดเจน

1 : ทองเหลือง 2 : อะลูมิเนี ยมผสมซิลิคอน 3: เหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ ํ 4 : เหล็กกลา้


ไร้สนิ ม คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 160 : การเปลี่ยนเฟสจากออสเทไนต ์ (Austenite) เป็ นเบในต์


ขอ
(Bainite) ของเหล็กกลา้ คาร์บอน 0.8wt%C ที่อุณหภูมิ 300 องศา
เซลเซียส เกิดขึ้นได้คอ่ นขา้ งซ้า เพราะเหตุ
Atomic Percent Carbon
lg
20
IELD

1SEE
นิ

(CF)
10.11830
ขา

I + C(graphite)
st

11gc

-
"
*
4 ปี
*
Temperature ac
T
**
*
*
*
*
,
*
*
%
0
0

500
afe)

Weight Percent Carbon

1 : แรงผลัก (Driving force) ตา่ ํ เนื่ องจากอุณหภูมิตา่ ํ เกินไป 2: อัตรา


การแพร่ซึม (Diffusion rate) ของคาร์บอนตา่ ํ เกินไป 3 : อัตราการแพร่ซึม
(Diffusion rate) ของเหล็กตา่ ํ เกินไป
4 : เหล็กมีปริ มาณคาร์บอนสูงเกินไป คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2
เนื้ อหาวิชา : 243 : 06 Mechanical properties and testing

้ ที่ 161 : แทง่ ทองเหลืองทรงกระบอกขนาดเสน


ขอ ้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 10 มม.
ยาว 150 มม. ไดร้ ั บความร้อนที่อุณหภูมิหอ
้ ง (25 องศาเซลเซียส) จนมี
อุณหภูมิถึง 160 องศา เซลเซียส ทาํ ใหเ้ สน
้ ผา่ นศูนยก์ ลางของแทง่
ทองเหลืองมีขนาดเพิม ่ ขึ้นเทา่ ไร กาํ หนดใหค ิ ธิ์การ
้ า่ สั มประสท
ขยายตัวทางความร้อนของทองเหลือง คือ 20.0 (องศาเซลเซียส
X 10-6) และคา่ Poisson's Ratio = 0.34
1:0.0095 มม. 2 : 0.0270 มม. 3: 0.0345 มม.
4 : 0.0375 มม. คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2

้ ที่ 162 : วัสดุสว่ นใหญใ่ นกลุม


ขอ ่ ใดที่เปราะ (Brittle) มากที่สุด

1: โลหะ 2 : เซรามิก 3: พอลิเมอร์


4 : วัสดุเชิงประกอบ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2

้ ที่ 163 : วัสดุสว่ นใหญใ่ นกลุม


ขอ ่ ใดมีสภาพยืดหยุน
่ ได้ (Ductile) มาก
ที่สุด

1: โลหะ 2: เซรามิก 3: พอลิเมอร์


4 : วัสดุเชิงประกอบ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 164 : วัสดุสว่ นใหญใ่ นกลุม


ขอ ่ ใดมีความแข็งตึง (Stiffness) มาก
ที่สุด

1: โลหะ

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
#63
19/2/2559
สภาวิศวกร

2 : เซรามิก 3: พอลิเมอร์
4 : วัสดุเชิงประกอบ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 165 : การคืบ (Creep) หมายถึง การเสียรู ปที่อุณหภูมิสูงในลักษณะใด


ขอ
1: การเสียรู ปถาวรของวัสดุ (Plastic deformation) เนื่ องจากไดร้ ั บแรงดึงเกินจุดคราก (Yield point) 2 : การ
เสียรู ปชั ่วคราวของวัสดุ (Elastic deformation) เนื่ องจากไดร้ ั บแรงดึงเกินจุดดราก (Yield point) 3 : การเสีย
รู ปถาวรของวัสดุ (Plastic deformation) เนื่ องจากได้รับแรงดึงตา่ กวา่ จุดคราก (Yield point) 4 : การเสียรู ป
ชั ่วคราวของวัสดุ (Elastic deformation) เนื่ องจากได้รับแรงดึงตา่ ํ กวา่ จุดคราก (Yield point) คาํ
ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 166 :ความลา้ (Fatigue) หมายถึงเหตุการณ์ใด


ขอ

1 : การยืดตัวอยา่ งชา้ ๆ ของวัสด 2 : การแตกหักของวัสดุ เนื่ องจากได้รับแรงถึง 3 : การแตกหักของวัสดุ เนื่ องจากได้


รับแรงกด 4 : การแตกหักของวัสดุ เนื่ องจากได้รับแรงแบบซา้ ํ ไปซา้ ํ มา คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 167 : วัสดุในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีความแข็ง (Hardness) มากที่สุด

1 : เหล็กหลอ่ ขาว 2: เหล็กกลา้ เครื่ องมือ 3: เพชรตามธรรมชาติ 4 : แทง่ นาโนเพชร

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 168 : ภายใตแ


ขอ ้ รงดึงอยา่ งไรที่ทาํ ให้เหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ ํ เสียรู ปอยา่ งไมส
่ มา่ ํ เสมอ (Non-
uniform deformation)

1 : ใชแ
้ รงดึงน้อยกวา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield strength) 2 : ใชแ ้ รงถึงมากกวา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield
strength) 3 : ใชแ ้ รงดึงน้อยกวา่ ความตา้ นแรงดึง (Tensile strength) 4 : ใชแ้ รงดึงมากกวา่ ความตา้ นแรงดึง
(Tensile strength)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 169 : สมบัติใดบง่ ชี้ถึงพลังงานที่วัสดุดูดกลืนไวก


ขอ ้ ่อนที่จะเสียรู ปอยา่ งถาวร (Plastic
deformation)

1 : มอดุลัสของสภาพยืดหยุน
่ (Modulus of elasticity) 2 : มอดูลัสของความยืดหยุน
่ (Modulus of
resilience) 3: ความแข็งแรง (Strength) 4 : อัตราสว่ นของปัวซอง (Poisson's ratio) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง
:2
WN -

้ ที่ 170 : สมบัติใดบง่ ชี้ถึงพลังงานที่วัสดุดูดกลืนไวก


ขอ ้ อ่ นที่ช้น
ิ งานแตกหัก
1: มอดุลัสของสภาพยืดหยุน
่ (Modulus of elasticity) 2: ความแข็งแรง (Strength) 3 : ความเหนี ยว
่ นของปัวซอง (Poissons ratio) คาํ ตอบที่ถูกตอ
(Toughness) 4 : อัตราสว ้ ง:3

้ ที่ 171 : สมบัติใดบง่ ชี้การเปลี่ยนแปลงขนาดของแทง่ โลหะตามทิศทางการดึงเทียบกับขนาดเดิมใน


ขอ
ทิศทางนัน ้ ตอ่ การเปลี่ยนแปลงขนาดของแทง่ โลหะในทิศทางตังฉากก
้ ั บ ทิศทางการดึงเทียบกับขนาดเดิมใน

ทิศทางนัน

1 : มอดุลัสของสภาพยืดหยุน
่ (Modulus of elasticity) 2 : มอดุลัสของความยืดหยุน
่ (Modulus of resilience)
3: ความเหนี ยว (Toughness) 4 : อัตราสว่ นของปัวซอง (Poisson's ratio)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 172 : เซรามิกสามารถรับแรงชนิ ดใดได้ดีท่ีสุด


ขอ

1 : แรงดึง (Tension) 2 : แรงอัด (Compression) 3 : แรงบิด (Torsion) 4 : แรงกระแทก (Impact)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
3563
19/22559
สภาวิศวกร

้ ที่ 173 : ชิ้นงานในลักษณะใดที่เสียรู ปด้วยการถึงได้ยากที่สุด


ขอ

1 : ชิ้นงานที่มีความแข็งแรงสูง (Strength) 2: ชิ้นงานที่มีความแข็งตึงมาก (Stiffness) 3 : ชิ้นงานที่มี


ความเหนี ยวมาก (Toughness) 4 : ชิ้นงานที่มีสภาพดึงยืดไดม ้ าก (Ductility) คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:2

้ ที่ 174 : การทดสอบใดที่เหมาะสมสาํ หรับหาคา่ ความเหนี ยว (Toughness) ของวัสดุ


ขอ
มากที่สุด

1: Impact test 2: Tension test 3: Creep test 4 : Hardness test คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 175 : เครื่ องวัดความแข็งแบบบริ เนลเหมาะสมสาํ หรับวัดความแข็งของวัสดุชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ มาก


ขอ
ที่สุด

1: เหล็กหลอ่ เทา 2: ยางพารา 3: ไมส


้ ั ก 4: พลาสติก
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 176 : แทง่ โลหะผสมของอลูมิเนี ยมมีเสน


ขอ ้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 15 มิลลิเมตร น่าไปทดสอบด้วย
้ ผา่ นศูนยก์ ลางของโลหะผสมนี้ กลายเป็ น 14.5
แรงดึง (Tension) 24.5 กิโลนิ วตัน ถา้ เสน
มิลลิเมตร จงหาคา่ ความเสน
้ ทางวิศวกรรม (Engineering stress) ในหน่วย MPa

1: 139 2 : 148 3: 160 4 : 183

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 177 : วัสดุในขอ


ขอ ่ ไปนี้ มีความแข็งแรง (Strength) มากที่สุด
้ ใดตอ

1 : ทอ่ นาโนคาร์บอน 2: เหล็กหลอ่ เทา 3 : ไททาเนี ยมผสมนิ เกิล 4 : เพชร

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 178 : ขอ
ขอ ้ ใดถูกตอ
้ ง

่ หนึ่ งหน่วยพื้นที่ของชิ้นงานเริ่ มตน


1 : ความเห็นจริ ง คือ แรงกระทาํ ตอ ้ กอ
่ นรับแรง 2:
ความเคน ้ ทางวิศวกรรม คือ แรงกระทาํ ตอ่ หนึ่ งหน่วยพื้นที่ของชิ้นงานในขณะใด ๆ 3:
ความเครี ยดจริ ง คือ การเปลี่ยนแปลงความยาวของชิ้นงานตอ่ หนึ่ งหน่วยความยาวของชิ้นงานเริ่ ม
้ กอ่ นการเปลี่ยนแปลง
ตน
4 : ความเครี ยดทางวิศวกรรม คือ การเปลี่ยนแปลงความยาวของชิ้นงานตอ่ หนึ่ งหน่วยความยาวของชิ้นงานเริ่ ม
ตน
้ กอ่ นการเปลี่ยนแปลง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

ขอ ้ ที่ 179 : วัสดุชิ้นหนึ่ งมีความตา้ นแรงคราก (Yield strength) เทา่ กับ 300 MPa เมื่อนําวัสดุ
ชิ้นนี้ มารับแรงซ่ึงกอ่ ให้เกิดความเค้นเทา่ กับ 200 MPa โดยเป็ นการรับแรงดึงสลับกับ การรับแรง
อัด ซึ่งอาจทาํ ใหว้ ั สดุช้ินดังกลา่ วมีโอกาสที่จะเกิดการแตกหักประเภทใดมากที่สุด

1 : แตกหักแบบเปราะ 2: แตกหักแบบเหนี ยว 3: ความลา้ (Fatigue)


4: ความคืบ (Creep} คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 180 : จงคาํ นวณคา่ มอดูลัสของสภาพยืดหยุน


ขอ ่ (Modulus of elasticity) ของวัสดุ M จาก
ขอ้ มูลตอ่ ไปนี้ วัสดุ M ได้รับแรงดึง (Tension) ซ่ึงทาํ ให้เกิดการเสียรู ปอยา่ งชั ่วคราว (Elastic
deformation) โดยมีคา่ ความเสน
้ ทางวิศวกรรม (Engineering stress) เทา่ กับ 500 MPa และความเครี ยดทาง
วิศวกรรม (Engineering strain) เทา่ กับ 0.001
1 : 500 GPa 2: 50 GPa 3:5GP2
4 : 0.5 GPa คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :1

้ ที่ 181 : ภายใตแ


ขอ ้ รงดึง (Tension) อยา่ งไรที่ทาํ ใหช้ ้น
ิ งานเสียรู ปแบบยืดหยุ น
่ (Elastic deformation)

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
3a63
19/2/2559
สภาวิศวกร

1 : ใชแ
้ รงดึงน้อยกวา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield strength) 2 : ใซแ์ รงถึงมากกวา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield
strength) 3: ใฑแ์ รงดึงน้อยกวา่ ความตา้ นแรงดึง (Tensile strength) 4 : ใชแ
้ รงดึงมากกวา่ ความตา้ นแรงดึง
(Tensile strength) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 182 : ภายใตแ


ขอ ้ รงดึง (Tension) อยา่ งไรที่ทาํ ให้ช้น
ิ งานเสียรู ปอยา่ งถาวร (Plastic
deformation)

1 : ใชแ ้ รงดึงน้อยกวา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield strength) 2 : ใชแ้ รงถึงมากกวา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield
strength) 3: ใชแ ้ รงดึงน้อยกวา่ ความตา้ นแรงดึง (Tensile strength) 4 : ใชแ
้ รงถึงมากกวา่ ความตา้ นแรงดึง
(Tensile strength)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

ขอ ้ ที่ 183 : ภายใตแ


้ รงดึง (Tension) อยา่ งไรที่ทาํ ให้ช้น
ิ งานอะลูมิเนี ยมเสียรู ปอยา่ งถาวรและสมา่ ํ เสมอตลอดทัง้
ชิ้นงาน (Uniform-plastic deformation)

1 : ใชแ ้ รงดึงน้อยกวา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield strength) 2 : ใชแ้ รงดึงมากกวา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield
strength) 3: ใชแ ้ รงดึงมากกวา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield strength) แตน
่ ้ อยกวา่ ความตา้ นแรงดึง (Tensile
strength)
้ รงถึงมากกวา่ ความตา้ นแรงดึง (Tensile strength) คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ใชแ ้ ง :3

้ ที่ 184 : ขอ
ขอ ้ ใดกลา่ วผิด เกี่ยวกับการแตกหักของวัสดุ

1: การแตกหักแบบเหนี ยว (Ductile fracture) จะเกิดหลังจากการเสียรู ปอยา่ งถาวร (Plastic deformation)


และการขยายรอยแตก (Crack) จะเกิดอยา่ งชา้ ๆ 2: การแตกหักแบบเปราะ (Brittle fracture) จะเกิดโดยไมม่ ีการเสียรู ป
อยา่ งถาวร (Plastic deformation) ซึ่งมีการขยายรอยแตก (Crack) ไดร้ วดเร็ว 3 : การเกิดคอคอด (Necking) ของวัสดุจะ
เกิดขึ้นกอ
่ นการแตกหักแบบเหนี ยว (Ductile fracture) และแบบเปราะ (Brittle fracture) เสมอ
4: วัสดุท่ีเหนี ยว เชน
่ พอลิเมอร์ และเหล็กกลา้ บางชนิ ด จะสามารถดูดกลืนพลังงานที่ใชใ้ นการทาํ ให้วัสดุแตกหัก
่ เซรามิก คาํ ตอบที่ถูกตอ
ได้มากกวา่ วัสดุท่ีเปราะ เชน ้ ง:3

้ ที่ 185 : ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงรู ปร่างของวัสดุกอ


ขอ ่ นการแตกหัก หมายถึง
สมบัติขอ ้ ใด

1 : ความเหนี ยว (Toughness) 2 : สภาพดึงยืดได้ (Ductility) 3: ความยืดหยุน


่ (Resilience)
4 : ความลา้ (Fatigue) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 186 : ขอ
ขอ ้ ใดกลา่ วผิด เกี่ยวกับกฎของฮุก (Hooke's law)

: คา่ คงที่
้ (Stress) และความเครี ยด (Strain) ที่แปรผันตรงซึ่งกันและกัน 2
1 : ความสั มพันธข์ องความเสน
ของการแปรผันที่เป็ นไปตามกฎของฮุก คือ คา่ มอดูลัสสภาพยืดหยุน ่ (Modulus of
elasticity) 3 : การเสียรู ปที่เกิดขึ้นซ่ึงความเคน
้ (Stress) และความเครี ยด (Strain) แปรผัน
ตรงซ่ึงกันและกันนี้ เรี ยกวา่ การเสียรู ปอยา่ งถาวร (Plastic deformation)
่ เป็ นคา่ ที่บอกถึงความแข็งดึง (Stiffness) ของวัสดุในการตา้ นทานตอ่ การ
4 : คา่ มอดุลัสสภาพยืดหยุ น
่ (Elastic deformation) ของวัสดุ คาํ ตอบที่ถูกตอ
เสียรู ปแบบยืดหยุ น ้ ง:3

้ ที่ 187 : ความลา้ (Fatigue) ของวัสดุหมายถึงอะไร


ขอ

1 : การปิ ดตัวทีละน้อย เนื่ องจากวัสดุรับแรงเป็ นเวลานาน 2 : วัสดุมีความแข็งแรงลดลง เนื่ องจากรับ


แรงซา้ ํ ซาก 3 : การสึกหรอของชิ้นงาน เนื่ องจากรับแรงซา้ ํ ซากเป็ นเวลานาน
4 : การแตกร้าวของชิ้นงาน เนื่ องจากรับแรงซา้ ํ ซากเป็ นเวลานาน
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 188 : การทดสอบความแข็งของเหล็กหลอ่ เทา (Gray cast iron) ควรใชว้ ธิ ีทดสอบแบบใด


ขอ

1 : บริ เนลล์ (Brinell) 2 : วิกเกอร์ส (Vickers) 3: รอคเวลล์ ซี (Rockwell c) 4 : รอคเวลล ์ เอ(Rockwell A)


คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 189 :สภาพดังยึดได้ (Ductility) ของโลหะสามารถทดสอบไดโ้ ดยวิธีใด


ขอ

้ รงดึง (Tensile test) 2 : การทดสอบความแข็ง (Hardness test) 3 : การทดสอบโดยใชแ้ รง


1 : การทดสอบโดยใชแ
กระแทก (Impact test)
4 : การทดสอบความลา้ (Fatigue test) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
3763
1922559
สภาวิศวกร

้ ที่ 190 : จงคาํ นวณคา่ ความเครี ยดทางวิศวกรรม (Engineering strain) ของวัสดุรูปร่างเป็ นแทง่ ยาว 2.2
ขอ
เมตร และพื้นที่หน้าตัดเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีความยาวแตล่ ะด้านเทา่ กับ 50 มิลลิเมตร เมื่อนําไปรับแรงดึง
ปรากฏวา่ ความยาวเพิ่มขึ้นเป็ น 2.202 เมตร

1 : 0.09 2 : 0.009 3 : 0.0009 4 : 0.00009

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 191 : จงคาํ นวณคา่ ความเคน


ขอ ้ ทางวิศวกรรม (Engineering stress) ของวัสดรู ปทรงกระบอกเสน
้ ผา่ น
ศูนยก์ ลาง 10 มิลลิเมตร ยาว 1 เมตร และถูกรับแรงถึงขนาด 50,000 N

1 : 640 GPa 2: 640 MPa 3: 640 kPa


4: 640 Pa คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 192 : ลวดทองแดงยาว 500 มิลลิเมตร มีคา่ มอดูลัสของสภาพยืดหยุน


ขอ ่ (Modulus of elasticity) 110 GPa
้ 350 MPa หากการเสียรู ปที่เกิดขึ้น นี้ เป็ นการเสียรู ปแบบยืดหยุน
ถูกดึงดว้ ยแรงดึงจนมีความเคน ่ (Elastic
deformation) ลวดทองแดงจะถูกปัดออกจนมีความยาวเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็มิลลิเมตร
N วง

1 : 0.016 2:0.16 3: 1.6 4 : 16

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 193 : เมื่อนําวัสด A และวัสดุ B มาทดสอบแรงดึงได้ความสั มพันธร์ ะหวา่ งความเคน


ขอ ้ และความเครี ยดดังรู ป
จากผลการทดสอบ ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ เปรี ยบเทียบสมบัติของวัสดุ A และ วัสดุ B ไดถ ้ งที่สุด
้ ูกตอ
ความเห็น

ความเครี ยด

1 : วัสดุ A มีความแข็งดึง (Stiffness) มากกวา่ วัสดุ B 2: วัสดุ A มีความเหนี ยว (Toughness) มากกวา่ วัสดุ B
่ (Resilience) มากกวา่ วัสดุ B 4 : วัสดุ A มีสภาพดึงยืดได้ (Ductility)
3: วัสดุ A มีความยืดหยุน
มากกวา่ วัสดุ B คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1
้ ที่ 194 : แทง่ โลหะมีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีความยาวด้านเทา่ กับ 25 เซนติเมตร
ขอ
ทาํ จากเหล็กกลา้ เกรด 1020 ซ่ึงมีคา่ ความตา้ นแรงดึง (Tensile strength) เทา่ กับ 380 MPa
และคา่ ความตา้ นแรงคราก (Yield strength) เทา่ กับ 180 MPa เมื่อแทง่ โลหะนี้ ไดร้ ั บแรงดึง
25,000 นิ วตัน จะเกิดการเสียรู ปอยา่ งไร

่ 2:
1 : เกิดการเสียรู ปแบบยืดหยุ น เกิดการเสียรู ปอยา่ งถาวรโดยเสียรู ปอยา่ งสมา่ ํ เสมอตลอดทัง้
ชิ้นงาน 3 : เกิดการเสียรู ปอยา่ งถาวรโดยเสียรู ปอยา่ งไมส่ มา่ เสมอตลอดทังชิ
้ ้นงาน
4 : เกิดการเสียรู ปอยา่ งถาวรโดยเสียรู ปอยา่ งไมส ้ ้นงานและแตกหัก คาํ ตอบที่ถูกตอ
่ มา่ เสมอตลอดทังชิ ้ ง :
1

้ ที่ 195 : ชิ้นงานทดสอบชนิ ดหนึ่ งเมื่อได้รับความเคน


ขอ ้ 30,000 Ib/in2 จะกอ่ ให้เกิดความเครี ยดเทา่ กับ 0.05
จงคาํ นวณหาคา่ มอดูลัสของสภาพยืดหยุน ่ (Modulus of elasticity) ในหน่วย Ibin2 ของชิ้นงานทดสอบนี้

1.6.0 x10
1.5 x 10
3. 6.0 x10 4. 1.5x10
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 196 : หากตอ


ขอ ้ งการเปรี ยบเทียบการเปลี่ยนแปลงขนาดของวัสดุตามทิศทางการดึงตอ่ การเปลี่ยนแปลงขนาด

ในทิศทางตังฉากก ้ ใดตอ่ ไปนี้ มาพิจารณา
ั บทิศทางการดึงของวัสดุชนิ ดตา่ งๆ ควรนํา สมบัติของวัสดุในขอ
เปรี ยบเทียบ

1 : ความเคน
้ (Stress) 2 : อัตราสว่ นของปัวซอง (Poisson's ratio) 3 : ความเหนี ยว (Toughness)
่ (Modulus of elasticity) คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : มอดสั สของสภาพยืดหยุ น ้ ง:2

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
3863
19/22559
สภาวิศวกร

้ ที่ 197 : วัสดุในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีความแข็ง (Hardness) มากที่สุด

1: พอลิไวนิ ลคลอไรด์ 2: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มมาเทนไซต ์ 3: เหล็กหลอ่ เทา 4 : ซิลิกอนคาร์ไบด์


คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 198 : โลหะผสมทองแดงถูกใช้งานโดยไดร้ ั บความเคน


ขอ ้ แบบวัฏจักร (Cycle stresses) ที่
25 องศาเซลเซียส เมื่อถูกใชไ้ ปนานระยะหนึ่ งเกิดการแตกหักขึ้นแมว้ า่ ความเค้นที่ได้ รั บมีคา่ น้อยกวา่
คา่ ความตา้ นแข็งครก ความเสียหายนี้ เป็ นการแตกหักแบบใด

1 : การแตกร้าวเนื่ องจากการคืบ (Creep fracture) 2 : การแตกหักลา้ (Fatigue fracture) 3 : การแตกร้าว


เปราะ (Brittle fracture) 4 : การแตกร้าวเหนี ยว (Ductile fracture) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 199 : ความเสียหายเนื่ องจากการคืบ (Creep) มักเกิดขึ้นเมื่อโลหะถูกนําไปใชง้ านใน


ขอ
สภาวะใด

1 : ใชง้ านที่อุณหภูมิหอ ้ แบบวัฏจักร (Cycle stresses) เป็ นเวลานาน 2 : ใชง้ าน


้ ง และไดร้ ั บความเคน
ที่อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ อุณหภูมิห้อง และได้รับความเค้นแบบวัฏจักร (Cycle stresses) เป็ นเวลานาน
3: ใชง้ านที่อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ อุณหภูมิหอ
้ ง และได้รับความเคน ้ านที่อุณหภูมิสูง และได้รับ
้ คงที่เป็ นเวลานาน 4 : ใชง
ความเคน ้ คงที่เป็ นเวลานาน คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:4

้ ที่ 200 : วัสดุช้น


ขอ ิ หนึ่ งถูกดึงจนขาดเป็ น 2 สว่ น พบวา่ บริ เวณรอยขาดแผกแตกแบบราบเรี ยบ
แสดงวา่ วัสดุน้ี น่าจะมีสมบัติอยา่ งไร

1 : มีความแข็งดึง (Stiffness) สูง และความแข็ง (Hardness) สูง 2: มีความแข็งดึง (Stiiness) สูง และสภาพดึงยืด
ได้ (Ductility) สูง 3: มีความแข็ง (Hardness) ตา่ ํ และสภาพดึงยืดได้ (Ductility) สูง
4 : มีความแข็ง (Hardness) ตา่ ํ และสภาพดึงยึดได้ (Ductility) ตา่ ํ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 1
เนื้ อหาวิชา : 244:07 Physical and chemical properties and testing

้ ที่ 201 : วัสดุสว่ นใหญใ่ นกลุม


ขอ ่ ใดมีสัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่ องจากความร้อนมากที่สุด

1 : โลหะ 2: เซรามิก 3: พอลิเมอร์ 4 : วัสดุเชิงประกอบ คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:3

้ ที่ 202 : วัสดุสว่ นใหญใ่ นกลุม


ขอ ่ ใดมีสัมประสิทธิ์การขยายตัวเนื่ องจากความร้อนน้อยที่สุด

1: โลหะ 2 : เซรามิก 3: พอลิเมอร์

4 : วัสดุเพิ่งประกอบ คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง :2

้ ที่ 203 : วัสดุสว่ นใหญใ่ นกลุม


ขอ ้ ีท่ีสุด
่ ใดสามารถนําความร้อนไดด
1: โลหะ 2: เซรามิก 3 : พอลิเมอร์ 4 : วั สดุเชิงประกอบ

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 204 : วัสดุชนิ ดใดเหมาะสาํ หรับนํามาทาํ เป็ นตัวนําความร้อนได้ดีท่ีสุด


ขอ

1: เหล็กกลา้ ไร้สนิ ม 2 : อะลูมิเนี ยม 3: พลาสติก 4: กระจก

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ่ 205 : วัสดุประเภทใดที่มีชอ่ งวา่ งของแถบพลังงาน (Energy band gap) กวา้ ง


ขอที

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
3963
19/2/2559
สภาวิศวกร

1:สารตัวนํา (Conductor) 2 : สารกึ่งตัวนํา (Semiconductor) 3: ฉนวน (Insulator)


4 : ขอ้ 12 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 206 : โครงสร้างอิเล็กตรอนของสารกึ่งตัวนําทางไฟฟ้า (Semiconductor) คือขอ


ขอ ้ ใด

1 : โครงสร้างของสารที่มีอิเล็กตรอนไมเ่ ต็มแถบเวเลนซ์ (Valance band) 2 : โครงสร้างของสารที่ระดับ


พลังงานของแถบการนํา (Conduction band) ซ้อนอยูก
่ ั บระดับพลังงานของแถบเวเลนซ์ (Valance band) 3:
โครงสร้างของสารที่มีอิเล็กตรอนเต็มแถบเวเลนซ์ (Valance band) แตช่ อ่ งวา่ งระหวา่ งแถบเวเลนซ์ (Valance band) และแสบกา
รนํา (Conduction band) หา่ งกันไมม ่ าก 4: โครงสร้างของสารที่มีรเล็กตรอนเต็มแถบเวเลนซ์ (Valance band) แตช่ อ ่ งวา่ ง
ระหวา่ งแถบเวเลนซ์ (Valance band) และแอบการนํา (Conduction band) หา่ งกันมาก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 207 : โครงสร้างของสารตัวนําไฟฟ้าคือขอ


ขอ ้ ใด

1 : โครงสร้างของสารที่มีอิเล็กตรอนไมเ่ ต็มแถบเวเลนซ์ (Valance band) 2: โครงสร้างของสารที่ระดับ


พลังงานของแถบการนํา (Conduction band) ซ้อนอยูก่ ั บระดับพลังงานของแถบเวเลนซ์ (Valance band) 3 : ถูกทั งข
้ อ้ 1
และ 2

้ 12 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ


4 : ขอ ้ ง :3

้ ที่ 208 : แมเ่ หล็กถาวร (Hard magnet) หมายถึงขอ


ขอ ้ ใด

1 : วัสดุท่ีงา่ ยตอ่ การทาํ เป็ นแมเ่ หล็ก 2: วัสดุท่ีสามารถรักษาภาวะการเป็ นแมเ่ หล็กได้ดี 3: วัสดุท่ีตอ้ งใชส้ นามแม่
เหล็กภายนอกน้อยเพื่อทาํ เป็ นแมเ่ หล็ก
่ ายใน คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : เหล็กที่มีสนามแมเ่ หล็กตกคา้ งอยูภ ้ ง:2

้ ที่ 209 : แมเ่ หล็กชั ่วคราว (Soft magnet) หมายถึงขอ


ขอ ้ ใด

1 : วัสดุท่ีงา่ ยตอ่ การทาํ เป็ นแมเ่ หล็ก 2: วัสดุท่ีสามารถลบลา้ งอาํ นาจแมเ่ หล็กได้งา่ ย 3: วัสดุท่ีตอ
้ งใชส
้ นามแมเ่ หล็ก

ภายนอกน้อยเพือทาํ เป็ นแมเ่ หล็ก 4 : ขอ้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบทีถูกตอ ่ ้ ง:4

้ ที่ 210 : อุณหภูมิคูรี (Curie temperature) คือ อุณหภูมิใด


ขอ

1 : อุณหภูมิท่ีเกิดการเปลี่ยนโครงสร้างผลึก 2 : อุณหภูมิท่ีเกิดการเปลี่ยนสภาพความเป็ นแมเ่ หล็ก 3:


อุณหภูมิท่ีความจุความร้อนจาํ เพาะมีคา่ คงที่
4 : อุณหภูมิท่ีของแข็งมีความหนื ดลดลง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2

้ ที่ 211 : เมื่อแสงตกกระทบวัสดุใดๆ ปรากฏการณ์ใดสามารถเกิดขึ้นได้บา้ ง


ขอ

้ นกลับ 2: แสงผา่ นทะลุโดยเกิดการหักเหขึ้นภายใน 3: แสงถูกดูดกลืน 4 : ขอ้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ


1 : แสงสะทอ
ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 212 : เมื่อแสงตกกระทบลงบนวัสดุโปร่งใส (Transparent) ไมม


ขอ ่ ีสี จะเกิดปรากฏการณ์ใดขึ้น

: แสงผา่ นทะลุโดยเกิดการหักเหขึ้นภายใน 3: แสงถูกดูดกลืน 4 : ขอ


้ นกลั บ 2
1 : แสงสะทอ ้ 1 2 และ 3 ถูก
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 213 : เซลลแ์ สงอาทิตย ์ (Solar cell) ใชห


ขอ ้ ลักการใดในการเปลี่ยนพลังงานจากแสงให้เป็ นพลังงาน
ไฟฟ้า

1 : การดูดกลืนพลังงานของแสงในสารกึ่งตัวนํา 2 : การหักเหของคลื่นแสงในสารกึ่งตัวนํา 3 : การสะทอ


้ นของแสง
่ ่
ทีผิวของสารกึงตัวนํา
้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:1

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
40/63
1922559
สภาวิศวกร

้ ที่ 214 : โลหะในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีความตา้ นทานการกัดกร่อน (Corrosion resistance) ใน
บรรยากาศปกติน้อยที่สุด
1: เหล็กกลา้ 2: เหล็กหลอ่ 3: อะลูมิเนี ยม
4 : ทองแดง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 215 : โลหะในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีความตา้ นทานการกัดกร่อน (Corrosion resistance) ในบรรยากาศปกติสูง
ที่สุด

1: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มเฟอร์ไรต์ (Ferritic stainless steel) 2: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มมาร์เทนไซต ์ (Martensitic
stainless steel) 3: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มออสเทไนต ์ (Austenitic stainless steel)
4 : เหล็กกลา้ ไร้สนิ มแปซิฟิก (Pacific stainless steel)
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 216 : โลหะในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ควรนํามาเคลือบผิวเหล็กเพื่อป้องกันการเกิดสนิ มและเพิ่มความแข็ง
ให้กับเหล็ก

1 : สั งกะสี 2 : โครเมียม 3: อะลูมิเนี ยม


4 : ดีบุก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 217 : วัสดุใดตอ่ ไปนี้ มีคา่ ความเป็ นแมเ่ หล็กตา่ ํ ที่สุด


ขอ

1: วัสดุไดอะแมกนิ ติก (Diamagnetic material) 2 : วั สดุพาราแมกนิ ติก (Paranagnetic material) 3 : วัสดเฟร์โรแมกนิ


ติก (Ferromagnetic material) 4 : วั สดุเพาะแมกนิ ติก (Ferrignetic material)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ่ 218 : ไดโอดเปลง่ แสง (Light emitting diode, LED) ใชห


ขอที ้ ลักการใดในการทาํ งาน

้ นแสง (Reflection) 2 : การดูดกลืนแสง (Absorption) 3 : การหักเหของแสง (Refraction) 4


1 : การสะทอ : ขอ
้ 1
2 และ 3 ลูก คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 2

้ ที่ 219 : แวน


ขอ ่ ขยาย (Magnifier) ใชห
้ ลักการใดในการทาํ งาน

1 : การสะทอ
้ นแสง (Reflection) 2 : การดูดกลืนแสง (Absorption) 3 : การหักเหของแสง (Refraction)
4 : ขอ้ 12 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 220 : โลหะในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีสภาพนําไฟฟ้า (Electrical conductivity) น้อยที่สุด

1 : ทองแดงบริ สุทธิ์ ที่ใชง้ าน ณ อุณหภูมิตา่ ํ 2 : ทองแดงบริสุทธิ์ ที่ใชง้ าน ณ อุณหภูมิสูง 3 : ทองแดงผสมนิ เกิล


และผา่ นกระบวนการรี ดเย็น ที่ใชง้ าน ณ อุณหภูมต
ิ า่ ํ
4: ทองแดงผสมนิ เกิลและผา่ นกระบวนการรี ดเย็น ที่ใชง้ าน ณ อุณหภูมิสูง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 221 : โลหะในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีสภาพตา้ นทานไฟฟ้า (Electrical
resistivity) น้อยที่สุด

1 : ทองแดงบริ สุทธิ์ ที่ใชง้ าน ณ อุณหภูมิตา่ ํ 2: ทองแดงบริ สุทธิ์ ที่ใชง้ าน ณ อุณหภูมิสูง 3: ทองแดงผสมนิ เกิลและ
ผา่ นกระบวนการรี ดเย็น ที่ใชง้ าน ณ อุณหภูมิตา่ ํ
4 : ทองแดงผสมนิ เกิลและผา่ นกระบวนการรี ดเย็น ที่ใชง้ าน ณ อุณหภูมิสูง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 222 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการเพิ่มสภาพนําไฟฟ้า (Electrical conductivity) ให้กับสารกึ่งตัวนํา
(Semiconductor) ควรทาํ อยา่ งไร

1: ลดอุณหภูมิการใชง้ าน 2 : เติมสารเจือปน 3 : นําไปผา่ นกระบวนการขึ้นรู ปเย็น

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
41/63
สภาวิศวกร
19/22559

้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ


4 : ขอ ้ ง:2

้ ที่ 223 : ถา้ ตอ้ งการเพิ่มสภาพนาไฟฟ้า (Electrical conductivity) ใหก


ขอ ้ ั บสารตัวนํา (Conductor) ควรทาํ อยา่ งไร

1: ลดอุณหภูมิการใชง้ าน 2 : เติมสารเจือปน 3 : นําไปผา่ นกระบวนการขึ้นรู ปเป็ น 4 : ขอ


้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบ
ที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 224 : เมื่อสั มผัสโต๊ะไมแ


ขอ ้ ละโต๊ะเหล็กที่ตังอยู
้ ใ่ นหอ
้ งปรับอากาศบริ เวณเดียวกัน เราจะรู้ สึกโต๊ะเย็น
ไมเ่ ทา่ กันอยา่ งไร

1 : โต๊ะเหล็กเย็นกวา่ เพราะเหล็กมีความจุความร้อนมากกวา่ ไม้ 2: โต๊ะเหล็กเย็นกวา่ เพราะเหล็กถา่ ยเทความร้อนได้ดีกวา่


้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
ไม้ 3: โต๊ะเหล็กเย็นกวา่ เพราะเหล็กมีความหนาแน่นมากกวา่ ไม้ 4 : ขอ ้ ง:2

้ ที่ 225 : ถา้ ให้ความร้อนกับชิ้นงานที่มีความหนามากจะเกิดสิง่ ใดขึ้น


ขอ

1 : ชิ้นงานบวมขึ้น เนื่ องจากการขยายตัวทางความร้อนที่ผิวชิ้นงานมากกวา่ 2: ชิ้นงานหดตัวลง


เนื่ องจากการหดตัวภายในชิ้นงาน 3: ผิวชิ้นงานเกิดการแตกร้าว เนื่ องจากการหดตัวภายในชิ้นงาน 4 : เกิดความเคน

อัด (Compressive stress) ที่ผิวชิ้นงาน และความเคน
้ ถึง (Tensile stress) ภายในชิ้นงาน
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 226 : เพราะเหตุใดจึงเห็นสีในวัสดุโปร่งใส (Transparent) บางชนิ ด


ขอ

1 : แสงที่สง่ ผา่ นถูกดูดกลืนไปในบางชว่ งความยาวคลื่น 2 : แสงที่สง่ ผา่ นเกิดการหักเหขึ้นภายในเนื้ อวัสดุ 3 :


มีการผสมเม็ดสีลงในเนื้ อวัสดุ
้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:1
A

ข้อที่ 227 : ขอ
้ ใดตอ่ ไปนี้ ทาํ ให้เกิดสนิ มไมม ื นผิวชิ้นงานเหล็กกลา้ ที่มีรอยขีดขว่ นในบรรยากาศที่มี
่ ีสบ
ความชื้น

1 : ผิวชิ้นงานถูกเคลือบดว้ ยสั งกะสี 2 : ผิวชิ้นงานถูกเคลือบดว้ ยโครเมียม 3 : ผิวชิ้นงานถูกเคลือบดว้ ยดีบุก 4 :


ผิวชิ้นงานถูกเช็ดทาํ ความสะอาดดว้ ยน้ําสะอาดเป็ นประจาํ คา่ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:2

้ ที่ 228 : เทพีเสรี ภาพทาํ มาจากทองแดงบริ สุทธิ์ เพราะเหตุใดเทพีเสรี ภาพจึงมีสีเขียว


ขอ

์ ีเขียว 3 : เกิดการผุกร่อนที่
1 : มีการทาสีเขียวเพื่อป้องกันการผุกร่อน 2: เกิดการผุกร่อนที่ผิวเกิดเป็ นทองแดงออกไซดส
ผิวเกิดเป็ นทองแดงซั ลเฟตสีเขียว 4 : เกิดการผุกร่อนที่ผิวเกิดเป็ นทองแดงคลอไรดส์ ีเขียว คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 229 : ขอ
ขอ ้ ความใดตอ่ ไปนี้ เป็ นการกลา่ วที่ถูกตอ
้ ง

1 : เงินมีคา่ สภาพนําไฟฟ้า (Electrical conductivity) ดีกวา่ ทอง 2: ลวดตัวน่าที่มีขนาดพื้นที่หน้าตัดมากมี


่ วา่ ลวดตัวนําที่มีขนาดพื้นที่หน้าตัดน้อยกวา่ ในวัสดุเดียวกันที่มีความยาวเทา่ กัน 3:
การนําไฟฟ้าแยก
อะลูมิเนี ยมมีคา่ สภาพตา้ นทานไฟฟ้า (Electrical resistivity) มากกวา่ เพชร 4 : อุณหภูมิไมม
่ ีผลตอ่ ความสามารถใน
การนําไฟฟ้าในวัสดุท่ีเป็ นโลหะ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 230 : ขอ
ขอ ้ ความใดตอ่ ไปนี้ เป็ นการกลา่ วที่ผิด

1 : N-type เป็ นสารกึ่งตัวนําประเภท Extrinsic semiconductor 2 : อุณหภูมิสูงมีผลตอ


่ ความสามารถในกา
รนําไฟฟ้าในวัสดุท่ีเป็ นสารกึ่งตัวนํา 3: การเติม (Doping) ด้วยธาตุโบรอน (B) เขา้ ไปแทนที่ซิลิกอน
(Si++) ในโครงสร้างผลึกทาํ ใหเ้ กิดเป็ นสารกึ่งตัวนําแบบ N-type
4 : การแพร่ (Diffusion) มีบทบาทอยา่ งมากในการทาํ สารกึ่งตัวนําประเภท Extrinsic semiconductor คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 231 : วัสดุสว่ นใหญใ่ นกลุม


ขอ ่ ใดตอ่ ไปนี้ มีจุดหลอมเหลว (Melting point) สูงที่สุด
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=7010128aSubj=33
4263
19/2/2559
สภาวิศวกร

1 : เซรามิก 2: โลหะ 3: พอลิเมอร์ 4 : ไม้

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

ขอ้ ที่ 232 : ลวดทองเหลืองยาว 1 เมตร ถูกทาํ ใหร้ ้ อนจนมีอุณหภูมส ิ ูง 70 องศาเซลเซียส จากอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส
ขณะที่ปลายทังสองข
้ า้ งถูกยึด จงหาขนาดของความเสน ้ ที่เกิดขึ้นในหน่วย MPa กาํ หนดใหค ้ า่ มอดูลัสของสภาพยืดหยุน

(Modulus of elasticity) ของทองเหลืองมีคา่ 97 GPa และสั มประสิทธิ์การขยายตัวเนื่ องจากความร้อน
(Coeffeicient of thermal expansion) ของทองเหลืองมีคา่ 20x10 องศาเซลเซียส

1 : +0.08 2: -0.08 3: +77.60

4: 77.60 คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง :4

้ ที่ 233 : วัสดุในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ เกิดการขยายตัวเนื่ องจากความร้อนสูงที่สุด

1 : ซิลิกา 2: เหล็กกลา้ 3: พอลิเอทิลีน 4 : อะลูมินา คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:3

้ ที่ 234 : วัสดุในขอ


ขอ ่ ไปนี้ มีคา่ ความจุความร้อนสูงที่สุด
้ ใดตอ


1 : แก้ว 2 : ทังสเตน 3: พอลิไวนิ ลคลอไรด ์ 4:อะลูมิเนี ยม คา่ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 235 : วัสดุในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ สามารถนําไฟฟ้าได้ดีข้ึนเมื่ออุณหภูมิลดลง

1 : อะลูมิเนี ยม 2: ซิลิกอน 3: พอลิเอสเทอร์ 4 : แคดเมียมซั ลไฟด์ คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง :1

้ ที่ 236 : การทาํ งานของอุปกรณ์วัดแสงทั่วไปในการถา่ ยภาพเกี่ยวขอ


ขอ ้ งกับปรากฏการณ์ใด

1 : การเปลง่ แสง (Luminescence) 2 : การนําไฟฟ้าด้วยแสง (Photoconductivity) 3: การเรื องแสงแบบฟลูออ


เรสเซนซ์ (Fluorescence) 4 : การเรื องแสงแบบฟอสฟอเรสเซนซ์ (Phosphorescence) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:
2

้ ที่ 237 : เพราะเหตุใดพอลิเมอร์ท่ีมีความเป็ นผลึกสูงจึงไมโ่ ปร่งใส (Transparent)


ขอ

1 : การมีผลึกทาํ ให้เกิดการเปลง่ แสงมาก 2 : การมีผลึกทาํ ให้เกิดการเรื องแสงมาก 3 : การมีผลึกทาํ ให้เกิดการกระ


เจิงของแสงในเนื้ อวัสดุมาก 4 : การมีผลึกทาํ ให้อิเล็กตรอนเลื่อนระดับชั นพล
้ ั งงานได้มาก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง
:3

้ ที่ 238 : หากตอ


ขอ ้ งการตรวจสอบวัสดุตัวอยา่ งวา่ เป็ นแมเ่ หล็กถาวร (Hard magnet) หรื อแม่
เหล็กชั ่วคราว (Soft magnet) ควรพิจารณาจากสมบัติในขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้

1 : คา่ ความไวตอ่ สภาพแมเ่ หล็ก (Magnetic susceptibility) 2 : คา่ ความสามารถซึมซั บแมเ่ หล็ก (Magnetic
permeability) 3 : เสน้ โคง้ ฮิสเทอรี ซิส (Hysteresis loop) 4 : คา่ คงที่ไดอิเล็กทริ ก (Dielectric
constant) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 239 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ไมใ่ ชว่ ั สดุไดอะแมกนิ ติก

1 : อะลูมินัมออกไซด์ (Al2O3) 2 : แมกนี้ ไทต์ (Fe304) 3: ทองแดง (Cu)

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
463
สภาวิศวกร
19/2/2559

4 : สั งกะสี (Zn) คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:2

้ ที่ 240 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชแ
่ มเ่ หล็กถาวร

1 : วัสดุไดอะแมกนิ ติก 2 : วัสดุพาราแมกนิ ติก 3: วัสดุเฟร์โรแมกนิ ติก 4 : ขอ้ 1 และ 2 ลูก


คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

เนื้ อหาวิชา : 245 : 08 Structures of materials

้ ที่ 241 : เพราะเหตุใดเหล็กแผน


ขอ ่ ที่ผา่ นกระบวนการขึ้นรู ปด้วยวิธีรีดเย็น (Cold rolling) จึงมี
ความแข็งมากกวา่ เหล็กแผน ่ ที่ผลิตด้วยวิธีรีดร้อน (Hot roling)

1 : การรี ดเย็นไมท
่ าํ ให้เกิดผลึกใหม่ (Recrystallization) 2: การรี ดเย็นทาํ ให้มีความเคน้ ตกคา้ ง (Residual
stress) บนผิวเหล็กแผน ่ น้อยกวา่ การรี ดร้อน 3 : การรี ดเย็นทาํ ให้ผิวเหล็กแผน
่ เกิดออกไซดม ์ ากกวา่ การรี ด
ร้อน 4 : ขอ้ 12 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 242 : พันธะใดเป็ นพันธะทางกายภาพ (Physical bond)


ขอ
1 : พันธะโลหะ (Metallic bond) 2: พันธะไอออนิ ก (lonic bond) 3 : พันธะโควาเลนซ์ (Covalent bond)
4 : พันธะแวนเดอร์วาลส ์ (Van der Waals bond) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 243 : โครงสร้างผลึกชนิ ดใดมีการจัดเรี ยงอะตอมอยา่ งหนาแน่นที่สุด


ขอ

1 : โครงสร้างลูกบาศกอ์ ยา่ งงา่ ย (Simple cubic) 2 : โครงสร้างลูกบาศกถ์ ึงกลางเซล (Body-centered


cubic) 3 : โครงสร้างลูกบาศกก ์ ่ึงกลางผิวหน้า (Face-centered cubic) 4 : โครงสร้างออร์โทรอม
นึ กถึงกลางฐาน (Base-centered orthorhombic) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 244 : โครงสร้างของออสเทไนต์ (Austenite) ในเหล็กกลา้ มีโครงสร้างผลึกรู ปแบบใด


ขอ

1 : Body-centered cubic (BCC) 2: Face-centered cubic (FCC) 3: Hexagonal close-


packed (HCP) 4 : Body-centered cubic (BCC) และ Face-centered cubic
(FCC) คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 2

้ ที่ 245 : วัสดุชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ มีพันธะหลักเป็ นพันธะโคเวเลนต์ (covalent bond)


ขอ

1 : Ni 2 : Sic 3 : H2O ระหวา่ งโมเลกุล

4 : MgO คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง :2

้ ที่ 246 : ทังสเตนที


ขอ ้ ่ 20 องศาเซลเซียส มีโครงสร้างผลึกแบบ Body-centered cubic (BCC) โดยมีคา่

lattice parameter 0.3165 นาโนเมตร (mm) จงคาํ นวณหาคา่ รัศมีอะตอม ของโลหะทังสเตนในหน ่ วยนาโน
เมตร (mm)

1:0.1371 2:0.1432 3: 0.2315


4 : 0.7309 คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :1

้ ที่ 247 : กาํ หนดให้a, b, c คือคา่ ความยาวแตล่ ะด้านของหน่วยเซลล์ และ g, 8, y คือมุมระหวา่ งด้าน ถา้ พบ
ขอ
วา่ โครงสร้างผลึกแบบหนึ่ งมีคา่ abc และ d = 8 = y = 90 องศา อยากทราบวา่ โครงสร้างผลึกนี้ มีช่ือวา่
อะไร

1 : Cubic 2: Tetragonal 3: Orthorhombic


4: Monoclinic คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 3
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
44163
19/22559
สภาวิศวกร

้ ที่ 248 : กาํ หนดให้ a, b, c คือคา่ ความยาวแตล่ ะด้านของหน่วยเซลล ์ และ a, B, Y คือมุม


ขอ
ระหวา่ งด้าน ถา้ พบวา่ โครงสร้างผลึกแบบหนึ่ งมีคา่ a = b = c และ องศา มีอะดอมอยูด่ ามมุมทุกมุม
่ ่ึงกลางหน้าทังหกหน
และมีอะตอมอยูก ้ ้ าของหน่วยเซลล์ อยากทราบวา่ โครงสร้างผลึกนี้ มีช่ือวา่ อะไร
g = B = y = 90

1 : Simple cubic 2: Body-centered cubic 3: Simple orthorhombic


4: Face-centered cubic คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 4

้ ่ 249 : โครงสร้างผลึกแบบ body-centered cubic (BCC) ในหนึ่ งหน่วยเซลล์ (Unit cell) ประกอบด้วย
ขอที
กอะตอม

1: 1 อะตอม 2 : 2 อะตอม 3:3 อะตอม


4: 4 อะตอม คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 250 : โครงสร้างผลึกแบบ Face-centered cubic (FCC) ในหนึ่ งหน่วยเซลล ์ (Unit cell)
ขอ
ประกอบดว้ ยกอะตอม

1: 1 อะตอม 2:2 อะตอม 3:3 อะตอม 4:4 อะตอม

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 251 : โครงสร้างผลึกแบบ Hexagonal closed pack (HCP) ในหนึ่ งหน่วยเซลล์ (Unit cell) ประกอบ
ขอ
ด้วยกอะตอม

1 : 2 อะตอม 2:4 อะตอม 3: 6 อะตอม 4:8 อะตอม

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 252 : ขอ
ขอ ่ ไปนี้ มีโครงสร้างแบบ Closed-pack
้ ใดตอ

1 : Body-centered tetragonal 2 : Body-centered cubic 3: Face-centered cubic


4: Base-centered orthorhombic คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 3
้ ที่ 253 : พลาสติกใสจะมีโครงสร้างภายในเป็ นแบบใด
ขอ

่ ีความเป็ นผล็ก 2: มีความเป็ นผลึกที่มีขนาดเล็กกวา่ ความยาวคลื่นแสง 3: ขอ


1 : ไมม ้ 1 และ 2 ถูก 4 : ขอ
้ 1
และ 2 ผิด คา่ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 3

้ ที่ 254 : เพราะเหตุใดพอลิเมอร์ชนิ ดที่มีโครงสร้างภายในที่สามารถเกิดผลึกได้ จึงมีลักษณะ


ขอ
เป็ นแบบถึงผลึก (Semicrystalline) เทา่ นัน ้

้ น 2 : เพราะพอลิเมอร์มีสายโซโมเลกุลที่ยาวมาก 3:
1 : เพราะพอลิเมอร์มีโครงสร้างผลึกที่ยุง่ ยากซั บซอ
้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่
เพราะการจัดเรี ยงตัวให้เป็ นระเบียบของทุกโมเลกุลของพอลิเมอร์ทา่ ได้ยาก 4 : ขอ
ถูกตอ
้ ง:4
้ ่ 255 : ปริ มาณความเป็ นผลึกของพอลิเมอร์มีผลตอ่ ความหนาแน่นของพอลิเมอร์ชนิ ดนัน
ขอที ้ อยา่ งไร

1 : ปริ มาณผลึกที่มากขึ้น ทาํ ใหค


้ วามหนาแน่นเพิ่มขึ้น 2: ปริ มาณผลึกที่มากขึ้น ทาํ ใหค้ วามหนาแน่นลด
ลง 3: ปริ มาณผลึกที่มากขึ้น อาจทาํ ให้ความหนาแน่นเพิ่มขึ้นหรื อลดลงก็ได้ 4 : ปริ มาณผล็กไมม่ ีผลตอ่ ความหนา
แน่น คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :1

้ ที่ 256 : พันธะเคมีท่ีเกิดในสายโซห


ขอ ่ ลักของโมเลกุลพอลิเมอร์คือพันธะชนิ ดใด

1 : พันธะโคเวเลนซ์ (Covalent bond)


2 : พันธะไอออนิ ก (lonic bond) http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
4563
19/22559
สภาวิศวกร

3 : พันธะโลหะ (Metallic bond) 4 : พันธะแวนเดอร์วาลส ์ (Van der Waals bond)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ่ 257 : โครงสร้างโมเลกุลของพอลิเอทิลีน (Polyethylene) แบบกิ่ง (Branched) มีสมบัติตา่ งจากโครงสร้างโมเลกุล


ขอที
ของพอลิเอทิลีนแบบเสน ้ ตรง (Linear) อยา่ งไร

1 : ความแข็งแรงเพิ่มขึ้น 2 : ความเป็ นผลึกลดลง 3 : การปัดและหดตัวลดลง 4 : ความทนตอ่ การถูกขีดขว่ น


เพิ่มขึ้น คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2
้ ที่ 258 : ขอ
ขอ ้ ใดคือคาํ จาํ กัดความของ Tg (Glass transition temperature)

1 : อุณหภูมิท่ีสายโซร่ องของโมเลกุลพอลิเมอร์สามารถเคลื่อนที่ได้ 2 : อุณหภูมิท่ีสายโซห


่ ลักของ
โมเลกุลพอลิเมอร์สามารถเคลื่อนที่ได้ 3 : อุณหภูมิในการเกิดผลึก 4 : อุณหภูมิในการหลอมเหลว
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 259 : ถา้ นําพอลิเมอร์ท่ีมีโครงสร้างภายในเป็ นแบบกึ่งผลึก (Semicrystalline polymer)


ขอ
มาอบที่อุณหภูมิสูงกวา่ Tg (Glass transition temperature) ประมาณ 10 – 20 องศา
เซลเซียส เป็ นเวลา 24 ชั ่วโมง ผลที่ได้จะเป็ นอยา่ งไร

1 : สภาพถึงยึดได้ (Ductility) เพิ่มขึ้น 2 : ความแข็งแรงที่จุดคราก (Yield strength) ลดลง 3 : คา่ มอดุลัสสภาพ


่ (Modulus of elasticity) เพิ่มขึ้น 4: ความแข็ง (Hardness) ลดลง คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 3
ยืดหยุน

้ ที่ 260 : พอลิเมอร์ท่ีไมส


ขอ ่ ามารถเกิดโครงสร้างผลึกได้ คือพอลิเมอร์ชนิ ดใดตอ่ ไปนี้

1 : พอลิเอทิลีน (Polyethylene) 2 : พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate) 3: ไนลอน


(Nylon) 4 : พอลิสไตรี น (Polystyrene)
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 261 : ขอ
ขอ ้ ใดคือโครงสร้างผลึกของมาร์เทนไซด์ (Martensite)

1 : Face-centered cubic (FCC) 2: Body-centered cubic (BCC) 3: Body-centered tetragonal (BCT)

4: Face-centered tetragonal (FCT) คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:3

้ ที่ 262 : ขอ
ขอ ้ ใดคือโครงสร้างผลึกของเบในต์ (Bainite)

1 : Face-centered cubic (FCC) 2: Body-centered cubic (BCC) 3 : Body-centered tetragonal


(BCT)
4: Face-centered tetragonal (FCT) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 263 : เหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ ํ (0.2wt%C) ในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีขนาดเกรนเล็กที่สุด

1 :อบที่อุณหภูมิ 1050 องศาเซลเซียส ปลอ่ ยให้เย็นในเตา 2: อบที่อุณหภูมิ 1050 องศาเซลเซียส


ปลอ่ ยใหเ้ ย็นในอากาศ 3 : อบที่อุณหภูมิ 950 องศาเซลเซียส ปลอ่ ยให้เย็นในเตา 4 : อบที่อุณหภูมิ 950
องศาเซลเซียส ปลอ่ ยให้เย็นในอากาศ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4
้ ที่ 264 : โครงสร้างที่ทนตอ่ การคืบ (Creep) ได้ดีท่ีสุดคือ ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้

1 : ผลึกเดี่ยว (Single crystal) 2: โครงสร้างที่มีเกรนขนาดใหญ่ 3 : โครงสร้างที่มีเกรนขนาดเล็ก


4 : โครงสร้างที่มีเกรนรู ปร่างเรี ยวยาว คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :1

้ ที่ 265 : โครงสร้างจุลภาคของรอยเชื่อมเหล็กกลา้ ไร้สนิ มออสเทไนต์ (Austenite stainless steel)


ขอ
บริ เวณพื้นที่หลอมเหลว (Fusion Zone) ประกอบด้วยเฟสตา่ งๆ ดังในขอ ้ ใด
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
4863
19/2559
สภาวิศวกร
ตอ่ ไปนี้

1:ออสเทไนต ์ (Austenite) 2 : ออสเทไนต์ (Austenite) และเฟร์ไรต์ (Ferrite) 3: ออสเทไนต์


(Austenite) และ เพอร์ไลต์ (Pearlite) 4 : ออสเทไนต์ (Austenite) และ คาร์ไบด์ (Carbide)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 266 : โครงสร้างของเหล็กกลา้ คาร์บอนในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ที่ทนตอ่ แรงกระแทกที่อุณหภูมิตา่ ํ ไดด
้ ีท่ีสุด

1 : ออสเทไนต์ (Austenite) เกรนขนาดใหญ่ 2 : เฟร์ไรด์ (Ferrite) เกรนขนาดใหญ่ 3: ออสเทไนต์


(Austenite) เกรนขนาดเล็ก 4 : เฟร์ไรด์ (Ferrite) เกรนขนาดเล็ก

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 267 : การเกิดขอ


ขอ ้ บกพร่องแบบ Schottky มักเกิดกับผลึกที่ยึดกันด้วยพันธะชนิ ดใด

1 : พันธะโลหะ (Metallic bond) 2 : พันธะโควาเลนท์ (covalent bond) 3: พันธะไอออนิ ก (lonic bond)


4 : พันธะแวนเดอร์วาลส ์ (Van der Waals bond) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 268 : ทาํ ไมขอ


ขอ ้ บกพร่องแบบ Frenkel มักเกิดกับ Cation มากกวา่ Anion

่ วา่ Anion 2: Anion มีขนาดใหญก


1:cation มีขนาดใหญก ่ วา่ Cation 3 : การแทรกของ Anion ในผลึกเกิดไดง้ า่ ย
กวา่
4: Anion มักจะอยูไ่ มเ่ ป็ นระเบียบ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2
้ ที่ 269 : สารประกอบออกไซดป
ขอ ์ ระเภทใดที่ชว่ ยทาํ ให้ความหนื ดของแก้วตา่ ํ ลง

1 : Na20 2: Al2O3 3 : SiO2 4 : TiO2

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 270 : ทาํ ไมแกรไฟต์ (Graphite) ถึงสามารถหลุดออกเป็ นแผน


ขอ ่ ๆได้งา่ ย


1 : ระหวา่ งชั นของโครงสร ้
้ างแกรไฟตย์ ึดกันดว้ ยพันธะไอออนิ ก (lonic bond) 2: ระหวา่ งชั นของโครงสร ้ าง
แกรไฟตไ์ มม ้
่ ีการยึดกันดว้ ยพันธะใดๆ 3: ระหวา่ งชั นของแกรไฟต ย์ ึดกันดว้ ยพันธะโควาเลนท์ (Covalent

bond) 4: ระหวา่ งชั นของโครงสร้ างแกรไฟตเ์ ป็ นพันธะแวนเดอร์วาลส ์ (Van der Waals bond) คาํ
ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 271 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ไมใ่ ชโ่ ครงสร้างผลึกของเซรามิก

1 : BaTiO3 2 : NaCI 3: A203 4 : CH4

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 272 : การเติมสาร Intermediate oxides ในแก้วเพื่อประโยชน์อะไร


ขอ

1 : เพื่อให้สามารถขึ้นรู ปแก้วได้งา่ ยขึ้น 2: เพื่อให้แก้วมีความหนื ดตา่ ํ ลง 3: เพื่อปรั บปรุ งสมบั ติของแก้ว 4 : เพื่อ
้ ก้วหลอมตัวที่อุณหภูมิตา่ ํ ลง คาํ ตอบที่ถูกตอ
ทาํ ใหแ ้ ง:3

้ ที่ 273 : ขอ
ขอ ้ ใดไมถ ้ งเมื่อกลา่ วถึงโครงสร้างของแกว้
่ ูกตอ

1 : แก้วมีโครงสร้างเป็ นตาขา่ ย (Network structure) ที่มีทิศทางไมแ


่ น่นอน 2: พันธะของโครงสร้างของแก้ว
ยึดกันด้วยพันธะไอออนิ ก (lonic bond)
3 : แก้วมีโครงสร้างแบบไมเ่ ป็ นผลึก http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
463
19/22559
สภาวิศวกร

4 : โครงสร้างของแกว้ เกิดจากการยึดกันของ SiO4 คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:2

้ ที่ 274 : การเติมสาร Glass-modifying oxide ในแกว้ เพื่อประโยชน์อะไร


ขอ
1 : เพื่อให้แก้วมีความต้านทานตอ่ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ (Thermal shock resistance) 2 : เพื่อ
ให้แก้วมีความหนื ดตา่ ํ ลง 3 : เพื่อให้แก้วมีความแข็งสูงขึ้น 4 : เพื่อให้แก้วมีผลึกเกิดขึ้น คาํ ตอบที่ถูก
ตอ
้ ง:2

้ ที่ 275 : โครงสร้างผลึกแบบ Perovskite มีความสาํ คัญสาํ หรับวัสดุประเภทใด


ขอ
N

1 : Pyroelectric material 2: Piezoelectric material 3: Semiconductor 4 : Capacitor คาํ ตอบที่


ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 276 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชอ่ งคป
์ ระกอบของอะตอม

1 : นิ วเคลียร์ 2: นิ วตรอน 3: อิเล็กตรอน


4: โปรตอน คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 277 : พันธะในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีความแข็งแรงน้อยที่สุด

1: พันธะไอออนิ ก 2: แรงแวนเดอร์วาลส ์ 3: พันธะโลหะ 4 : พันธะไฮโดรเจน


คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 278 : โครงสร้างผลึกในขอ


ขอ ่ ไปนี้ ที่อะตอมมีการบรรจุแบบชิดที่สุด (closed
้ ใดตอ
pack)

1: FCC และ BCC 2: FCC llaHCP 3 : BCC และ HCP 4 : Simple cubic และ HCP

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 279 : พันธะใดตอ


ขอ ่ ไปนี้ เกิดขึ้นระหวา่ งโมเลกุลของน้ําในน้ําแข็ง

1 : พันธะโคเวเลนซ์ 2: พันธะไอออนิ ก 3 : พันธะไฮโดรเจน 4 : พันธะโลหะ คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:3

้ ที่ 280 : สารประกอบของ LiAg มีหน่วยเซลลเ์ ป็ นแบบ Simple cubic และอะตอมทังสองชนิ


ขอ ้ ดตา่ งมี
์ ั งกลา่ วนี้ จะมีลักษณะเหมือน กับผลึกในขอ้ ใด
้ หน่วยเซลลด
เลขโคออร์ดิเนชั นเทา่ กับ 8 ดังนัน

1: NaCl 2: Zns 3 : CSCI


4 : AgCI คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3
เนื้ อหาวิชา : 246 : 09 Processing-Structure relationships
้ ่ 281 : ขอ
ขอที ้ งที่สุด
้ ใดตอ่ ไปนี้ ถูกตอ

1: เหล็กโครงสร้าง FCC มีความแข็งแรงเพิ่มขึ้นชา้ กวา่ เหล็กโครงสร้าง BCC ระหวา่ งการขึ้นรู ป


เย็น (Cold working) 2: การเคลื่อน (Dislocation) ในผลึกโครงสร้าง FCC สามารถเคลื่อนที่ได้
ยากกวา่ ในผสึกโครงสร้าง Bcc 3 : การเคลื่อน (Dislocation) ในผลึกโครงสร้าง FCC สามารถ
เคลื่อนที่ไดง้ า่ ยกวา่ ในผสึกโครงสร้าง HCP
้ 1 2 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:3

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
4g63
19/2/2559
สภาวิศวกร

้ ที่ 282 : การชบแข็งเหล็กกลา้ คาร์บอนปานกลาง ตอ้ งทาํ การเผาเหล็กจนไดโ้ ครงสร้างใดกอ่ นทาํ ใหเ้ ป็ นตัวอยา่ งรวดเร็ว
ขอ

1 : เฟร์ไรต์ (Ferrite) 2: ออสเทไนต ์ (Austenite) 3: ซีเมนไทต ์ (Cementite)


4 : มาร์เทนไซต ์ (Martensite) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 283 : เหล็กหลอ่ ขาว (White cast iron) มีโครงสร้างจุลภาคดังในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้

1 : เฟร์ไรต ์ และ เพอร์ไลต ์ (Ferrite & Pearlite) 2: ซีเมนไทต ์ และเพอร์ไลด์ (Cementite & Pearlite) 3: เฟร์ไรต ์
และ แกรไฟต ์ (Ferrite & Graphite)
4 : เพอร์ไลต์ และ แกรไฟต์ (Peartite & Graphite) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2
้ ที่ 284 : ขอ
ขอ ้ ใดคือโครงสร้างของเหล็กกลา้ คาร์บอนปานกลางที่ได้จากการปลอ่ ยให้เย็นอยา่ งชา้ ๆ จากโครงสร้างออสเท
ไนต ์ (Austenite)

1: Cementite + Pearlite 2: Ferrite + Pearlite 3: Bainite + Pearlite 4: Martensite + Pearlite

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 285 : ขอ
ขอ ้ ใดคือโครงสร้างจุลภาคของเหล็กกลา้ คาร์บอนที่ผา่ นการเผาด้วยอุณหภูมิคงที่ประมาณ
730 - 750 องศาเซลเซียส เป็ นเวลานาน 20 ชั ่วโมง

1 : เพอร์ไลตห
์ ยาบ (Coarse pearlite) 2 : เพอร์ไลตล์ ะเอียด (Fine pearlite) 3 : สเฟียรอยไดต์ (Spheroidite) 4 : เบ
ในตแ์ บบขนนก (Feathery bainite)
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 286 : ในกระบวนการหลอ่ โลหะ เมื่อโลหะที่หลอมเหลวเกิดการแข็งตัว และเกิดโพรง


ขอ
ชอ่ งวา่ งขึ้นภายในชิ้นงาน ซ่ึงถือวา่ เป็ นความบกพร่องประเภทใด

้ 3 : ความบกพร่องแบบระนาบ 4 : ความบกพร่องแบบปริ มาตร คาํ ตอบที่ถูก


1: ความบกพร่องแบบจุด 2: ความบกพร่องแบบเสน
ตอ
้ ง:4

้ ที่ 287 : ขอ
ขอ ้ ใดกลา่ วไมถ
่ ูกตอ
้ ง

1 : Equiaxed grains เป็ นเกรนที่เกิดจากผลึกที่โตสมา่ ํ เสมอในทุกทิศทาง 2: Columnar grains พบ


บริ เวณที่น้ําโลหะสั มผัสกับผิวแมพ
่ ิมพ์ 3 : Equiaxed grains เกิดเนื่ องจากน้ําโลหะเย็นตัวอยา่ งรวดเร็ว
4 : Columnar grains มทิศทางเติบโตเขา้ สูภ ่ ิมพ ์ คาํ ตอบที่ถูกตอ
่ ายในของแมพ ้ ง:2

้ ที่ 288 : ขอ
ขอ ้ ใดกลา่ วถึงกระบวนการเกิดผลึกใหม่ (Recrystallinzation) ไมถ
่ ูกตอ
้ ง

1 : ตอ ้ งเกิดการเปลี่ยนรู ปน้อยที่สุดคา่ หนึ่ งจึงจะสามารถเกิดผลึกใหมไ่ ด้ 2 : ถา้ ปริมาณการเปลี่ยนรู ปน้อย


จะทาํ ใหอ ่ ูงขึ้น 3 : ขนาดเครนสุดทา้ ยหลังการเกิดผลึกใหมจ
้ ุณหภูมิในการเกิดผลึกใหมส ่ ะขึ้นอยูก
่ ั บปริ มาณการ
เปลี่ยนรู ป
4 : โลหะบริ สุทธิม ์ ีอุณหภูมิการเกิดผลึกใหมส ่ ูงกวา่ โลหะผสม คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:4
เนื้ อหาวิชา : 247 : 10 Structure-Property relationships

้ ที่ 289 : เหล็กกลา้ ไร้สนิ มชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ ที่แมเ่ หล็กดูดไมต


ขอ ่ ิด

1: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มเฟร์ไรด์ (Ferritic stainless steel) 2: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มออสเทนไนต ์ (Austenitic stainless
steel) 3: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มมาร์เทนไซต ์ (Martensitic stainless steel)
4 : เหล็กกลา้ ไร้สนิ มดูเพล็กซ์ (Duplex stainless steel) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2

้ ที่ 290 : ถา้ แสงสามารถสอ่ งทะลุผา่ นแผน


ขอ ้
่ บางของอะลูมิเนี ยมออกไซด์ (Al2O3) ได้ทังหมด ขอ
้ ใดคือโครงสร้างของ
อะลูมิเนี ยมออกไซดแ ผน
์ ่ นั ้

1 : ผลึกเดี่ยว (Single crystal)

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=7010128aSubj=33
4963
สภาวิศวกร
19/2/2559
2: พหุผลึก (Polycrystal) เนื้ อแน่นไมม
่ ีชอ่ งวา่ งภายใน 3: พหุผลึก (Polycrystal) ที่มีชอ่ งวา่ ง
ภายใน
4 : ขอ
้ 12 และ 3 ผิด

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 291 : ถา้ แสงสามารถสอ่ งทะลุผา่ นแผน


ขอ ่ บางของอะลูมิเนี ยมออกไซด ์ (Al2O3) ได้บางสว่ น ขอ
้ ใด
คือโครงสร้างของอะลูมิเนี ยมออกไซดแ์ ผน ้
่ นัน

1 : ผลึกเดี่ยว (Single crystal) 2 : พหุผลึก (Polycrystal) เนื้ อแน่นไมม


่ ีชอ่ งวา่ งภายใน 3 : พหุผลึก

(Polycrystal) ทีมีชอ่ งวา่ งภายใน
้ 12 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ
4: ขอ ้ ง:2

้ ที่ 292 : ถา้ แสงไมส


ขอ ่ ามารถสอ่ งทะลุผา่ นแผน
่ บางของอะลูมิเนี ยมออกไซด ์ (Al2O3) ได้ ขอ
้ ใดคือ
โครงสร้างของอะลูมิเนี ยมออกไซดแ์ ผน ่ นัน้

1 : ผลึกเดี่ยว (Single crystal) 2 : พหุผลึก (Polycrystal) เนื้ อแน่นไมม


่ ีชอ่ งวา่ งภายใน 3: พหุ
ผลึก (Polycrystal) ที่มีชอ่ งวา่ งภายใน
้ 12 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:3

้ ที่ 293 : โครงสร้างผลึกชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ สามารถเสียรู ปจากการดึงได้งา่ ยที่สุด


ขอ

1 : Hexagonal closed-pack (HCP) 2: Face-centered cubic (FCC) 3: Body-centered cubic


(BCC)
4: Simple cubic (SC) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 294 : เพราะเหตุใดเซอร์โคเนี ยมออกไซด์ (ZrO2) ที่ผสมดว้ ยวิเทียมออกไซด์ (Y203) หรื อที่เรี ยก
ขอ
วา่ Yttria-stabilized zirconia (YSZ) จึงสามารถนํามาใชเ้ ป็ นตัวตรวจวัด ปริ มาณก๊าซออกซิเจน
(Oxygen sensor) ได้

1 : เนื่ องจากการผสมเทียมออกไซดท ์ าํ ให้เกิดชอ


่ งวา่ งของประจุบวก (Cation vacancy)
ขึ้นในโครงสร้างผลึกของเซอร์โคเนี ยมออกไซด์ ทาํ ให้ออกซิเจนไอออนสามารถเคลื่อนที่
เขา้ มาได้ จึงสามารถใชต
้ รวจวัดปริ มาณออกซิเจนได้
2 : เนื่ องจากการผสมเทียมออกไซดท ์ าํ ใหเ้ กิดชอ่ งวา่ งของประจุลบ (Anion vacancy) ขึ้นในโครงสร้าง
ผลึกของเซอร์โคเนี ยมออกไซด์ ทาํ ให้ออกซิเจนไอออนสามารถเคลื่อนที่เขา้ มาได้ จึงสามารถใชต้ รวจวัด
ปริ มาณออกซิเจนได้ 3 : เนื่ องจากอิเทียมไอออนมีขนาดเล็กกวา่ เซอร์โคเนี ยมไอออน เมื่อผสมกันแลว ้ เกิด
การแทนที่ของประจุบวกขึ้น สง่ ผลให้โครงสร้างผลึกของเซอร์โคเนี ยมออกไซดเ์ กิดการหดตัว ทาํ ให้
ออกซิเจนไอออนสามารถเคลื่อนที่เขา้ มาได้ จึงสามารถใช้ตรวจวัดปริ มาณออกซิเจนได้ 4 : เนื่ องจาก
เนื่ องจากอิเทียมไอออนมีขนาดใหญก ่ วา่ เซอร์โคเนี ยมไอออน เมื่อผสมกันแลว้ เกิดการแทนที่ของประจุ
บวกขึ้น สง่ ผลใหโ้ ครงสร้างผลึกของเซอร์โคเนี ยมออกไซดเ์ กิด
้ รวจวัดปริ มาณออกซิเจนได้ คาํ ตอบที่ถูก
้ อกซิเจนไอออนสามารถเคลื่อนที่เขา้ มาได้ จึงสามารถใชต
การขยายตัว ทาํ ใหอ
ตอ้ ง:2

้ ที่ 295 : ทาํ ไมเซรามิกที่มีโครงสร้างคลา้ ยกับผลึกเดี่ยว (Like a single Crystal) ถึงยอมใหแ


ขอ ้ สงผา่ น
ได้ (Translucent)

1 : เนื่ องจากภายในเกรนมีการจัดเรี ยงอะตอมที่เกือบจะอยูใ่ นทิศทางเดียวกัน 2: เนื่ องจากขอบเกรนมี


ความหนา 3: เนื่ องจากภายในเกรนมีธาตุอ่ืนมาแทรก 4 : เนื่ องจากมีชอ่ งวา่ งเกิดขึ้นภายในเครน คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 296 : โครงสร้างจุลภาคระหวา่ งเพอร์ไลตห


ขอ ์ ยาบ (Coarse pearlite) และเพอร์ไลตล์ ะเอียด (Fine pearlite)
โครงสร้างใดมีความแข็งแรงมากกวา่ และเพราะอะไร

1 : เพอร์ไลตห์ ยาบแข็งแรงมากกวา่ เพราะมีปริ มาณคาร์บอนอิสระมากกวา่ 2 : เพอร์ไลตล์ ะเอียดแข็งแรงมากกวา่ เพราะมี


ปริ มาณคาร์บอนอิสระมากกวา่ 3 : เพอร์ไลดห
์ ยาบแข็งแรงมากกวา่ เพราะมีขนาดของเกรนใหญก ่ วา่ 4 : เพอร์ไลต์
ละเอียดแข็งแรงมากกวา่ เพราะมีขนาดของเกรนเล็กกวา่ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 297 : จงเรี ยงลาํ ดับโครงสร้างจุลภาคที่มีความแข็งจากมากไปน้อย


ขอ

1 : เพอร์ไลต ์ (Pearlite), เบในต ์ (Bainite), มาร์เทนไซต ์ (Martensite) 2: เบในต ์ (Bainite), เพอร์ไลต ์ (Pearlite),
มาร์เทนไซต ์ (Martensite) 3: มาร์เทนไซต์ (Martensite) เบในต์ (Bainite), เพอร์ไลต์ (Pearlite)
4 : เบในต์ (Bainite}, มาร์เทนไซต์ (Martensite), เพอร์ไลต์ (Pearlite) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 298 : โครงสร้างของเหล็กกลา้ สเพียรอยไดซ์ (Spheroidized steel) มีสมบัติทางกลอยา่ งไร และ


ขอ
เพราะอะไร

1 : มีความแข็งสูง เพราะปรากฏโครงสร้างของซีเมนไทต ์ (Cementite) แบบแทง่ 2 : มีความออ่ นตัวสูง เพราะปรากฏ


โครงสร้างของซีเมนไทต ์ (Cementite) แบบกลม

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
50/63
19/22559
สภาวิศวกร

3: มีความแข็งสูง เพราะปรากฏโครงสร้างของกราไฟต ์ (Graphite) แบบแทง่


4 : มีความออ่ นตัวสูง เพราะปรากฏโครงสร้างของกราไฟต์ (Graphite) แบบกลม คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง :
2
้ ที่ 299 : เซรามิกทั่วไปมีคา่ ของสมบัติในขอ
ขอ ้ ใดน้อยกวา่ ของโลหะทั่วไป

1 : Hardness 2: Thermal insulation 3: Toughness 4: Chemical resistance คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:3

้ ที่ 300 : วัสดุในขอ


ขอ ้ ใดสามารถดูดกลืนพลังงานไวก ่ นที่จะเสียรู ปทรงอยา่ งถาวรได้สูง
้ อ

1 : แผน
่ อะลูมิเนี ยม 2: แผน
่ ยาง 3: แผน ่ สั งกะสี คาํ ตอบที่ถูกตอ
่ กระจก 4 : แผน ้ ง:2
เนื้ อหาวิชา : 248 : 11 Methods and tools for structure investigation

้ ที่ 301 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการวิเคราะหโ์ ครงสร้างจุลภาคของชิ้นงานโลหะด้วยกลอ
้ งจุลทรรศน์แบบแสง
(Optical microscope) ควรเตรี ยมชิ้นงานอยา่ งไร

ขัดผิวชิ้นงานให้เรี ยบและกัดผิวชิ้นงานด้วยกรด 3: ขัดผิวจนชิ้นงานมีความบางมากๆ


1: ขั ดผิวชิ้นงานให้เรี ยบ 2:

4 : ไมต ้ งเตรี ยมผิวชิ้นงาน คาํ ตอบที่ถูกตอ


่ อ ้ ง:2

้ ที่ 302 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการวิเคราะหล์ ั กษณะทางโครงสร้างจุลภาคของห้องเครื่ องยนตด
์ ีเซลที่ ผา่ นกรรมวิธี
การหลอ่ ควรเลือกใชเ้ ครื่ องมือใด

1 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer) 2 : กลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสอ่ งผา่ น


(Transmission electron microscope) 3: กลอ ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์ (Scanning
electron microscope)
4 : ขอ
้ 1 2 และ 3 ถูก

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ่ 303 : ถา้ ตอ้ งการตรวจสอบการยึดติดของผลิตภัณฑว์ งจรรวม (Integrated circuit) บนแผงวงจรรวม (Print


ขอที
circuit board) ดว้ ยการยึดพื้นผิว (Surface mount) ควรเลือกใช้ เครื่ องมือใด

1 : กลอ ้ งจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope) 3 :


้ งถา่ ยรู ปดิจิตอล (Digital Camera) 2 : กลอ
กลอ
้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสอ่ งผา่ น (Transmission electron microscope) 4 : มาตรวั ดการเสียวเบน
ของรั งสีเอ็กซ์ (X-ray diffractometer)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

์ ารกระจายตัวของเฟสที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเชื่อมยึดติดของผลิตภัณฑว์ งจรรวม
้ ที่ 304 : ถา้ ตอ้ งการวิเคราะหก
ขอ
(Integrated circuit) บนแผงวงจรรวม (Print circuit board) ควรเลือกใชเ้ ครื่ องมือใด
1 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer) 2 : กลอ้ งจุลทรรศน์แบบแสง
(Optical microscope) 3 : กลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์ (Scanning electron microscope)
้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสอ่ งผา่ น (Transmission electron microscope) คาํ ตอบที่ถูกตอ
4: กลอ ้ ง:
3

้ ที่ 305 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการวิเคราะหโ์ ครงสร้างผลึกของวัสดุ ควรเลือกใชเ้ ครื่ องมือใด

1 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer) 2 : กลอ้ งจุลทรรศน์แบบ


แสง (Optical microscope) 3: กลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์ (Scanning electron
microscope)
้ 1 2 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:1

้ ที่ 306 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการวิเคราะหท
์ ิศทางการเรี ยงตัวของอะตอมในแวน
่ ผลึกซิลิกอน (Silicon wafer)
ควรเลือกใชเ้ ครื่ องมือใด

้ งจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope) 2 : กลอ


1 : กลอ ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์
(Scanning electron microscope) 3 : กลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสอ่ งผา่ น (Transmission
electron microscope) 4 : ขอ้ 12 และ 3 ผิด

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
51/63
สภาวิศวกร
19/22559

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 307 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการบันทึกภาพของทอ่ น้ําที่เกิดการผุกร่อน ควรเลือกใชเ้ ครื่ องมือใด

1 : กลอ
้ งถา่ ยรู ปดิจิตอล (Digital Camera) 2 : กลอ้ งจุลทรรศน์แบบแสง (Optical microscope) 3 :
กลอ
้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห ์ (Scanning electron microscope)
้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสง่ ผา่ น (Transmission electron microscope) คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : กลอ ้ ง:1

้ ที่ 308 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการวิเคราะหร์ ู ปร่างของผลึกนาโนคาร์บอนที่ผลิตได้ ควรเลือกใชเ้ ครื่ องมือใด

1: มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer) 2 : กลอ้ งจุลทรรศน์แบบแสง (Optical


microscope) 3: เครื่ องวัดการเรื องแสงของรังสีเอกซ์ (X-ray fluorescence spectroscope)
4 : กลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสอ่ งผา่ น (Transmission electron microscope) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 4

้ ที่ 309 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการวิเคราะหโ์ ครงสร้างจุลภาคของก้อนโลหะด้วยกาํ ลังขยายขนาด 5,000 เทา่
ควรเลือกใชเ้ ครื่ องมือใด
งง “

1: Optical microscope 2: Optical spectroscope 3: Scanning electron microscope


4: Scanning tunneling electron microscope คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 310 : ขอ้ ใดไมใ่ ชส


ขอ ่ งิ่ ที่กลอ
้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบกราดวิเคราะห์ (Scanning electron microscope) สามารถ
ให้ผลการวิเคราะหไ์ ด้

1: การกระจายตัวของเฟส 2 : ลั กษณะพื้นผิวที่แตกหัก 3: โครงสร้างผลึกของเฟสตา่ งๆ ในชิ้นงาน 4 : รู ปร่าง


ของเฟสตา่ งๆ ในชิ้นงาน คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 311 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการวิเคราะหโ์ ครงสร้างการจัดเรี ยงตัวของอะตอมตา่ งๆ ควรเลือกใชเ้ ครื่ องมือใด

1 : มาตรวัดการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (X-ray diffractometer) 2 : กลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ


สอ่ งผา่ น (Transmission electron microscope) 3: ขอ้ 1 และ 2 ถูก 4 : ขอ้ 1 และ 2 ผิด

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 312 : กฏในขอ


ขอ ่ ไปนี้ ที่จาํ เป็ นตอ
้ ใดตอ ึ ษาโครงสร้างผลึกด้วยเทคนิ คการเลี้ยว
่ การศก
เบนของรังสีเอ็กซ์

1: Pauli exclusion principle 2: Bragg's law 3: Hund's rule


4: Lever rule คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 2
เนื้ อหาวิชา : 249 : 12 Metals processing

้ ที่ 313 : ในการดึงเหล็กให้เป็ นเสน


ขอ ้ ลวด ตอ
้ งใชแ
้ รงถึงในชว่ งใด

1 : ไมเ่ กินความตา้ นแรงครก (Yield strength) 2: ไมเ่ กินความตา้ นแรงดึง (Tensile strength) 3: มากกวา่ ความตา้ น
แรงคราก (Yield strength) แตไ่ มเ่ กินความตา้ นแรงดึง (Tensile strength) 4: มากกวา่ ความตา้ นแรงถึง (Tensile
strength) แตไ่ มถ
่ ึงจุดแตกหัก (Fracture point)
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 314 : ในการดัดชิ้นงานตอ


ขอ ้ งเลือกมีดตัดอยา่ งไร
้ งมี ความแข็งมากกวา่ ชิ้นงาน 2: มีดตัดตอ
1 : มีดตัดตอ ้ งมีความแข็งแรงมากกวา่ ชิ้นงาน 3: มีดตัดตอ
้ งมี
ความเหนี ยวมากกวา่ ชิ้นงาน
4: มีดตัดทนความร้อนได้ดี คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง:1

้ ที่ 315 : ขอ
ขอ ้ ดีของการขึ้นรู ปด้วยการหลอ่ แบบหลอ่ ทราย (Sand casting)
้ ใดคือขอ

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=7010128aSubj=33
52163
19/22559
สภาวิศวกร

้ ทุนแบบหลอ่ ตา่ ํ 3 : ชิ้นงานมีผิวเรี ยบ ไมต


1 : ผลิตได้เร็ว คราวละมาก ๆ 2: ตน ้ งตกแตง่ เพิ่ม 4
่ อ : ขอ
้ 12 และ 3 ถูก คาํ ตอบ
ที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 316 : การขึ้นรู ปเย็น (Cold working) หมายถึง การขึ้นรู ปด้วยแรงทางกล ณ อุณหภูมิใด
ขอ

1 : อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ อุณหภูมิห้อง 2 : อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ อุณหภูมิการเกิดผลึก (Crystallization temperature) 3:


อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ อุณหภูมิการตกผลึกใหม่ (Recrystallization temperature)
4: อุณหภูมิตา่ ํ กวา่ อุณหภูมิการเปลี่ยนสภาพจากเปราะเป็ นดึงยืดได้ (Ductile-oritle transition
temperature) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 317 : กรรมวิธีการทางความร้อนใด คือ การเผาชิ้นงานที่ข้ึนรู ปดว้ ยผงโลหะ เพื่อใหผ


ขอ ้ งโลหะ
เชื่อมติดกัน

1: การอบออ่ น (Annealing) 2 : การอบปกติ (Normalizing) 3 : การอบคืนตัว (Tempering) 4 : การอบซินเตอร์


(Sintering) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 318 : กรรมวิธีการขึ้นรู ปโลหะใดตอ่ ไปนี้ ที่กอ


ขอ ่ ให้เกิดการสูญเปลา่ ของวัตถุดิบน้อยที่สุด

1: การหลอ่ ด้วยแมพ
่ ิมพท
์ ราย (Sand casting) 2 : การหลอ่ แบบใชแ ่ บบ (Die casting) 3
้ มแ : การขึ้นรู ปโลหะผง
(Powder Metallurgy) 4 : การตกแตง่ (Machining)
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 319 : ในการขึ้นรู ปเย็น (Cold working) ขอ


ขอ ้ งที่สุด
้ ใดตอ่ ไปนี้ ถูกตอ

1 : ควบคุมขนาดของชิ้นงานใหเ้ ที่ยงตรงไดย้ าก 2 : เกิดออกไซดท


์ ่ีผิวชิ้นงาน 3: ชิ้นงานมีความแข็ง (Hardness)
มากขึ้น
้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:3

้ ที่ 320 : ขอ
ขอ ้ ดีของการขึ้นรู ปร้อน (Hot working) ของโลหะ
้ ใดคือขอ

1 : สามารถลดขนาดชิ้นงานได้คราวละมากๆ 2 : สามารถควบคุมขนาดของชิ้นงานได้งา่ ย 3: ชิ้นงานมีความแข็งเพิ่ม


้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
มากขึ้น 4 : ขอ ้ ง:1

้ ที่ 321 : ขอ
ขอ ้ ด้อยของการขึ้นรู ปร้อน (Hot working) ของโลหะ
้ ใดคือขอ

1 : ควบคุมขนาดของชิ้นงานให้เที่ยงตรงได้ยาก 2 : ซินงานมีความเปราะมากขึ้น 3 : เกิดความเค้นตกคา้ ง


ภายในเนื้ อชิ้นงานมากขึ้น
้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ขอ ้ ง:1

้ ที่ 322 : ขอ
ขอ ้ ดีของการขึ้นรู ปเย็น (Cold working) ของโลหะ
้ ใดคือขอ

1 : ได้ผิวชิ้นงานเรี ยบเป็ นมัน สะอาด 2 : ชิ้นงานมีความแข็งเพิ่มมากขึ้น 3: สามารถควบคุมขนาดของชิ้นงาน


ได้งา่ ย
้ 12 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
4: ขอ ้ ง :4

้ ที่ 323 : กรรมวิธีการผลิตใดตอ่ ไปนี้ สามารถผลิตหัวคอ


ขอ ้ ข็งแรงที่สุด
้ นไดแ

1 : การหลอ่ ขึ้นรู ป (Casting) 2 : การทุบขึ้นรู ป (Forging) 3 : การตกแตง่ ขึ้นรู ป (Machining) 4 : การอัดรี ด


(Extrusion) คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 2

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
53.63
1922559
สภาวิศวกร

้ ที่ 324 : ในการหลอ่ ชิ้นสว่ นอะลูมิเนี ยมผสม ธาตุผสมชนิ ดใดที่ทาํ ให้จุดหลอมเหลวของอะลูมิเนี ยมตา่ ํ
ขอ
ลงมากที่สุด

1: ทองแดง 2 : ซิลิคอน 3: นิ เกิล 4 : แมงกานี ส คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง :2

้ ที่ 325 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการผลิตชิ้นสว่ นงานหลอ่ อะลูมิเนี ยมเป็ นจาํ นวนมาก ควรเลือกใช้
กรรมวิธีการหลอ่ ชนิ ดใดตอ ่ ไปนี้
1: การหลอ่ ด้วยแมพ
่ ิมพท
์ ราย (Sand Casting) 2: การหลอ่ จากแบบพอกหุน
่ (Investment casting) 3 : การหลอ่ แบบใช้
่ บบ (Die casting) 4
แมแ : การหลอ่ แบบตอ่ เนื่ อง (Continuous casting) คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 3

ขอ้ ที่ 326 : ชิ้นงานโลหะที่ผา่ นการขึ้นรู ปดว้ ยกรรมวิธีการรี ดเย็น (Cold rolling) จะมี
ลักษณะใด

1 : ผิวเรี ยบ ความแข็งแรงลดลง 2 : ผิวเรี ยบ ความแข็งแรงเพิ่มขึ้น 3: ผิวหยาบ ความแข็งแรงลดลง


4 : ผิวหยาบ ความแข็งแรงเพิ่มขึ้น คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 327 : การหลอ่ ชิ้นงานเครื่ องประดับ นิ ยมใชก


ขอ ้ ารหลอ่ แบบใด

1: การหลอ่ ด้วยแมพ
่ ิมพท
์ ราย (Sand casting) 2 : การหลอ่ จากแบบพอกหุน
่ (Investment casting) 3 : การหลอ่ แบบ
ใชแ
้ มแ ่ แบบตอ่ เนื่ อง (Continuous casting)
่ บบ (Die casting) 4 : การหลอ

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 328 : ประแจ (Wrench) ที่สามารถใช้งานได้ทนทาน เป็ นผลิตภัณฑท


ขอ ์ ่ีมักจะได้จากการขึ้นรู ปด้วย
กรรมวิธีใดตอ่ ไปนี้

1 : การรี ด (Rolling) 2: การทุบขึ้นรู ป (Forging) 3: การหลอ่ (Casting) 4 : การอัดรี ด (Extrusion) คาํ


ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 329 : ลวดสาํ หรับใชท


ขอ ์ ่ีมักจะได้จากกรรมวิธีการขึ้นรู ปใดตอ่ ไปนี้
้ าํ ตะปู เป็ นผลิตภัณฑท

1 : การรี ดร้อน (Hot rolling) 2: การวั ตรี ด (Extrusion) 3 : การดึงรี ด (Drawing)


4 : การรี ดเย็น (Cold rolling) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 330 : มีดกลึงที่มีความเหนี ยว (Toughness) มาก จะมีผลตอ่ การกลึงอยา่ งไร


ขอ

1 : สามารถใชค ้ วามเร็วสูงได้ 2 : สามารถกินลึกชิ้นงานไดค


้ ราวละมาก ๆ 3 : กลึงไดช้ ้น
ิ งานผิวเรี ยบ
4 : มีดกลึงทนตอ่ การสึกดี คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 331 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการตัดแตง่ ชิ้นงานให้เป็ นร่องรู ปตัว L ดังรู ปขา้ งลา่ งนี้ ควรเลือกใช้
กรรมวิธีการใด
1: การกลึง (Turning) 2 : การกัด (Milling) 3 : การไส (Shaping) 4 : การเจาะ (Drilling) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubi=33
54/63
19/22559
สภาวิศวกร

้ ที่ 332 : ในการแลน


ขอ ่ ประสาน (Brazing) เพื่อทาํ ใหแ
้ ผน ่ เชื่อมติดกัน ควรเลือก
่ เหล็กสองแผน
ใชล้ วดเชื่อมชนิ ดใดตอ่ ไปนี้

1: เหล็กกลา้ 2: อะลูมิเนี ยม 3: ทองแดง 4 : ทองเหลือง คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:4

้ ที่ 333 : รู ข้ึน (Riser) ในงานหลอ่ มีไวเ้ พื่ออะไร


ขอ

1 : เพื่อใหน ้ ้ ําโลหะสั นออกมานอกแบบ 2: เพื่อใหน ้ ้ ําโลหะในสว่ นรู ข้ึน (Riser) เดิมเต็มในชิ้นสว่ นงาน
หลอ่ ขณะแข็งตัว 3: เพื่อให้มีการหดตัวหลั งการเย็นตัวของงานหลอ่
4 : เพื่อเพิ่มน้ําหนักในการกดทับแบบงานหลอ่ คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:2

้ ที่ 334 : ปากแมแ


ขอ ่ บบ (Gate) ในงานหลอ่ มีไวเ้ พื่ออะไร

1 : เป็ นชอ่ งสาํ หรับน้ําโลหะวิง่ เขา้ แมแ ่ งวิง่ ของรู ข้ึน


่ บบ 2 : เป็ นชอ่ งสาํ หรับเทน้ําโลหะ 3: เป็ นชอ
(Riser) 4 : เป็ นรู ไอของแบบหลอ่ ทราย คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 335 : วัสดุในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีความแข็ง (Hardness) สูงที่สุด

1 : เหล็กกลา้ ความเร็วรอบสูง (High speed steel) 2: เหล็กกลา้ คาร์บอนสูง (High carbon steel) 3 :อะลูมินา
(Alumina)

4: Cubic boron nitride คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง: 4

้ ที่ 336 : วัสดุในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ มีความเหนี ยว (Toughness) สูงที่สุด

1: เหล็กกลา้ คาร์บอนสูง (High carbon steel) 2 : เหล็กกลา้ ความเร็วรอบสูง (High speed steel) 3: อะลู
มินา (Alumina)
4 : Cubic boron nitride คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 337 : เหล็กกลา้ ชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ ตัดแตง่ ไดย้ ากที่สุด


ขอ

1: เหล็กกลา้ ไร้สนิ มเฟร์ไรต์ (Ferritic stainless steel) 2: เหล็กกลา้ คาร์บอนตา่ํ (Low carbon
steel) 3: เหล็กกลา้ ผสม (Alloy steel) 4 : เหล็กกลา้ เครื่ องมือ (Tool steel) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 338 : ในการรี ด Slab เพื่อให้ได้เหล็กแผน


ขอ ่ (Sheet metal) ด้วยกรรมวิธีการรี ดร้อน (Hot
rolling) ควรเลือกใชล ้ ูกรี ดแบบใด และความเร็วรอบอยา่ งไร เพื่อลดขนาดอยา่ งรวดเร็ว

้ ูกรี ดขนาดใหญ่ ผิวหยาบ และความเร็วสูง 2


1: ควรใชล : ควรใชล
้ ูกรี ดขนาดใหญ่ ผิวหยาบ และความเร็วรอบตา่ ํ 3:
้ ูกรี ดขนาดใหญ่ ผิวละเอียด และความเร็วรอบสูง 4
ควรใชล : ควรใชล
้ ูกรี ดขนาดใหญ่ ผิวละเอียด และความเร็ว
รอบตา่ ํ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 339 : ในการขึ้นรู ปร้อน (Hot working) ของโลหะ ควรใชอ


ขอ ิ ่ีมากกวา่ คา่ ใด
้ ุณหภูมท

1 : อุณหภูมิตกผลึก (Recrystallization Temperature) 2 : อุณหภูมิยูเทกทอยด์ (Eutectoid Temperature) 3: อุณหภูมิยูเท


กติก (Eutectic Temperature) 4 : อุณหภูมิจุดหลอมเหลว (Melting Temperature) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 340 : Anodizing คืออะไร


ขอ

1 : การชุบผิวเหล็กให้สวยงาม 2 : การชุบแข็งอะลูมิเนี ยม 3 : การชุบแข็งผิวอะลูมิเนี ยม

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
563

19/22559
สภาวิศวกร

4 : การทาํ อะลูมิเนี ยมให้ออ่ น

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 341 : โลหะในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ สามารถหลอ่ ได้งา่ ยที่สุด

1 : เหล็กหลอ่ เทา (Gray cast iron) 2: เหล็กหลอ่ ขาว (White cast iron) 3 : เหล็กหลอ
่ เหนี ยว (Ductile cast
iron) 4: เหล็กหลอ่ อบเหนี ยว (Malleable cast iron) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 342 : กระบวนการในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ สามารถชุบแข็งผิวเหล็กที่ใหค
้ วามแข็งสูงที่สุด

1 : คาร์บูไรซิ่ง (Carburizing) 2 : ในไตร์ต้งิ (Nitriding) 3 : ใชก้ ระแสเหนี่ ยวนํา (Induction hardening) 4 : ใช้
เปลวเพลิง (Flame hardening) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 343 : การลดปัญหาการแตกร้าวในการเชื่อมเหล็กกลา้ ผสมตา่ ํ สามารถทาํ ไดโ้ ดยวิธีใดตอ่ ไปนี้


ขอ
1 : ให้ความร้อนชิ้นงานกอ ่ นเชื่อม 2 : อบชิ้นงานหลังการเชื่อม 3: ใชก้ า๊ ซเฉื่ อยคลุมขณะเชื่อม 4 : เชื่อมโดย
้ าํ ลังไฟฟ้าตา่ ํ คาํ ตอบที่ถูกตอ
ใชก ้ ง:1

้ ที่ 344 : กระบวนการผลิตในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ที่เหมาะที่สุดในการผลิตใบพัดของเครื่ องกังหันก๊าซ (Gas
turbine blades)

1 : การหลอ่ ดว้ ยแมพ ์ ราย (Sand casting) 2 : การหลอ


่ ิมพท ่ แบบใชแ
้ มแ
่ บบ (Die casting) 3 : การหลอ่ จากแบบพอกหุน

(Investment casting) 4 : การทุบขึ้นรู ป (Forging) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 345 : กรรมวิธีใดตอ่ ไปนี้ สามารถผลิตแผน


ขอ ่ เหล็กกลา้ ที่มีขนาดเที่ยงตรงตามที่ตอ
้ งการได้ดีท่ีสุด

1: การรี ดร้อน (Hot rolling) 2: การรี ดเย็น (Cold rolling) 3 : การทุบขึ้นรู ป (Forging) 4 : การดึงรี ด
(Drawing) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 346 : ขอ
ขอ ่ ลไกการเพิ่มความแข็งแรงให้กับอะลูมิเนี ยมและอะลูมิเนี ยมผสม
้ ใดไมใ่ ชก

1 : การขึ้นรู ปเย็น (Cold working) 2 : การขึ้นรู ปร้อน (Hot working) 3 : การชุบแข็งแบบตกตะกอน


(Precipitate hardening) 4 : การทา่ ใหเ้ ป็ นสารละลายของแข็ง (Solid solution) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 347 : กรรมวิธีใดตอ่ ไปนี้ เหมาะสาํ หรับผลิตภัณฑโ์ ลหะที่มีจุดหลอมเหลวสูงและมีสภาพการดึงยืดได้น้อย


ขอ

1: การหลอ่ แบบพอกหุน
่ (Investment casting) 2: การอัดรี ด (Extrusion) 3: กรรมวิธีโลหะผง (Powder
metallurgy)
4 : การรี ดร้อน (Hot rolling) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 348 : กระบวนการใดที่เหมาะสมสาํ หรับการขึ้นรู ปแผน


ขอ ่ โลหะให้เป็ นชิ้นงานรู ปถว้ ย

1 : การหลอ่ ขึ้นรู ป (Casting) 2: การทุบขึ้นรู ป (Forging) 3 : การลากขึ้นรู ป (Deep drawing) 4 : การอัดรี ด


(Extrusion)
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3
เนื้ อหาวิชา : 250 : 13 Ceramics processing

้ ที่ 349 : ผลิตภัณฑเ์ ซรามิกในขอ


ขอ ้ ใดเหมาะกับการขึ้นรู ปโดยการอัด (Pressing)
http://www.coe.or.th/coelmain/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
563
19/22559
สภาวิศวกร
1:อา่ งลา้ งหน้า 2: กระเบื้องปูพ้ ืนและผนัง 3: แจกัน
4 : ถว้ ยกาแฟ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 2

้ ที่ 350 : ผลิตภัณฑเ์ ซรามิกในขอ


ขอ ้ ใดเหมาะกับการขึ้นรู ปโดยการหลอ่ แบบ (Slip casting)

1 : อา่ งลา้ งหน้า 2: กระเบื้องปูพ้ืนและผนัง 3 : โอง่ มั งกร 4 : ทอ่ ระบายน้ํา คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 351 : ผลิตภัณฑเ์ ซรามิกในขอ


ขอ ้ ใดเหมาะกับการขึ้นรู ปโดยการอัดรี ด (Extrusion)

้ ยกาแฟ 3 : กระเบื้องมุงหลังคา 4
1 : สุขภัณฑใ์ นห้องน้ํา 2: ถว : ทอ่ น้ําทิ้ง
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 352 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ จะไมเ่ กิดขึ้นเมื่อใหค
้ วามร้อนกับเซรามิกในกระบวนการอบแหง้ (Drying)

์ ลังอบมีขนาดใหญข่ ้ึน 4
1 : ฝ่ระหวา่ งอนุ ภาคถูกขจัดออก 2 : สารอินทรี ยถ์ ูกขจัดออก 3 : ผลิตภัณฑห : ผลิตภัณฑห
์ ลัง
อบมีความแข็งแรงตา่ ํ และเปราะ คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 3

้ ที่ 353 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ไมเ่ กิดขึ้นในกระบวนการ Sintering

1: Solid-state diffusion 2: อนุ ภาคเกิดการเชื่อมตอ


่ กันบริ เวณที่สัมผัสกับอนุ ภาคอื่น 3 : เกิดการ
หลอมละลายเป็ นของเหลว
4 : ชอ่ งวา่ งระหวา่ งอนุ ภาคมีขนาดเล็กลง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 354 : ในการขึ้นรู ปเซรามิกชนิ ดที่มีดินเป็ นองคป


ขอ ์ ระกอบหลัก (Clay products) โดย
วิธีการหลอ่ แบบ (Slip casting) ใชว้ ั สดุใดเป็ นแบบหลอ่

1 : ทราย 2: โลหะ 3:ยาง


4: ปูนปลาสเตอร์ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 355 : ในการผลิตเซรามิกชนิ ดที่มีดินเป็ นองคป


ขอ ์ ระกอบหลัก (Clay products) ด้วยวิธีการหลอ่ แบบ (Slip
casting) แบบที่ใชใ้ นการขึ้นรู ปควรมีลักษณะอยา่ งไรและเพราะเหตุใด

์ ่ีได้มีการขยายขนาด จึงตอ้ งทาํ ให้แบบมีขนาดเล็กกวา่ งานจริ ง 2: เนื่ องจากผลิตภัณฑท


1 : เนื่ องจากผลิตภัณฑท ์ ่ีได้มี
้ แบบจะมีขนาดเทา่ งานจริ ง 3: เนื่ องจากผลิตภัณฑท
จะมีขนาดเทา่ เดิม ดังนัน ์ ่ีไดม
้ ีการหดตัว จึงตอ
้ งทาํ
ใหแ
้ บบมีขนาดใหญก
่ วา่ งานจริ ง
์ ่ีได้อาจจะหดตัวหรื อขยายตัวก็ได้ การเพื่อขนาดแบบแลว้ แตช่ นิ ดของผลิตภัณฑ์ คาํ ตอบที่ถูกตอ
4 : ผลิตภัณฑท ้ ง: 3

้ ที่ 356 : กระจก เป็ นผลิตภัณฑท


ขอ ์ ่ีมักจะได้จากการขึ้นรู ปแบบใด

1: การเป่า (Blowing) 2 : การอั ด (Pressing) 3: การดึง (Drawing)


4 : การอัดรี ด (Extrusion)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 357 : ผลิตภัณฑป


ขอ ์ ระเภทใดขึ้นรู ปโดยการเป่า (Blowing)

1 : ขวดแก้ว 2 : จานแกว
้ 3 : กระจก 4 : เลนส ์

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
5763
19/22559
สภาวิศวกร

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 358 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชว่ ั ตถุประสงคใ์ นการใชด ้ ม (Conventional
้ ินเป็ นวัตถุดิบในเซรามิกตังเดิ
ceramics)

1 : ดินชว่ ยในเรื่ องความเหนี ยวขณะขึ้นรู ปทาํ ให้ข้ึนรู ปได้งา่ ย 2 : ดินชว่ ยให้เซรามิกคงรู ปอยูไ่ ด้ขณะเผา 3
: ดินชว่ ยให้เซรามิกมีความหนาแน่นสูง
4 : ดินมีราคาถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 3

้ ที่ 359 : ในการบดผสมวัตถุดิบสาํ หรับผลิตเซรามิก ทาํ ไมจึงตอ


ขอ ้ งมีการควบคุมการกระจายขนาดอนุ ภาค
(Particle size distribution)

่ งวา่ งน้อยที่สุด 3: เพื่อ


1 : เพื่อให้วัตถุดิบหลอมตัวได้งา่ ย 2: เพื่อให้วัตถุดิบสามารถอัดตัวกันเพื่อให้มีชอ
ใหว้ ั ตถุดิบผสมกันไดด ้ ียิง่ ขึ้น
4 : เพื่อใหว้ ั ตถุดิบไมเ่ กิดการหดตัวหลังใหค
้ วามร้อน คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 360 : ถา้ ตอ


ขอ ้ งการขึ้นรู ปทอ่ เซรามิกที่มีความยาวและมีหน้าตัดเหมือนกันตลอดความยาวชิ้นงาน 1
เมตร ควรขึ้นรู ปด้วยวิธีใด

1: การอั ด (Pressing) 2: การอัดรี ด (Extrusion) 3: การฉี ด (Injection)


4 : การเป่า (Blowing) คา่ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2

้ ที่ 361 : ในกระบวนการอบ ทาํ ไมผลิตภัณฑเ์ ซรามิกที่ผนังมีความหนามากมีแนวโน้มที่จะเกิดการ


ขอ
แตกได้งา่ ยกวา่ เซรามิกที่มีผนังบาง

1: การหดตัวที่ผิว (Surface) กับเนื้ อสว่ นใน (Interior) มีคา่ แตกตา่ งกัน 2 : ผลิตภัณฑผ์ นั งหนาตอ้ งอบที่
์ นั งบาง 3: น้ําในเนื้ อสว่ นใน (Interior) ของผลิตภัณฑผ
อุณหภูมิสูงกวา่ ผลิตภัณฑผ ์ นังหนาสามารถกาํ จัดออกได้งา่ ย 4:
ผลิตภัณฑผ
์ นังหนามีความแข็งแรงน้อยกวา่ ผลิตภัณฑผ
์ นังบาง
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 362 : การเกิดเป็ นเนื้ อแก้ว (Vitrification) จะทาํ ให้เกิดผลในขอ


ขอ ้ ใด

1: สั มประสิทธิ์การขยายตัวเนื่ องจากความร้อน (Coefficient of thermal expansion) ตา่ ํ ลง


2 : การนําความร้อน (Thermal conductivity) ตา่ ํ ลง 3 : การนําไฟฟ้า (Electrical conductivity) ดีข้ึน 4
: การเสียรู ป (Warpage) ตา่ ํ ลง คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 363 : ในเซรามิกแบบดังเดิ


ขอ ้ ม (Conventional ceramic) การเติม Flux จะมี
ประโยชน์ในเรื่ องใด

้ ลิตภัณฑเ์ กิดเป็ นเนื้ อแก้ว 2: ทาํ ให้การเกิดเป็ นเนื้ อแก้วสามารถเกิดที่อุณหภูมิตา่ ํ ลง 3: ไม่


1 : ทาํ ใหผ
ให้ผลิตภัณฑเ์ กิดการหดตัว 4 : ทาํ ให้มีความเปราะน้อยลง คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:2

้ ที่ 364 : ขอ
ขอ ้ ใดเป็ นกระบวนการที่สาํ คัญที่ใชใ้ นการทาํ กระจกนิ รภัย (Safety glass) สาํ หรับ
กระจกหน้ารถ

1: Pressing 2: Drying 3: Tempering 4 : Blowing คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง:3

้ ที่ 365 : กระบวนการในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ทาํ ให้ช้น
ิ งานเซรามิกมีความหนาแน่นมากขึ้นและมีรูพรุ นน้อยลง

1: Drying 2: Pressing 3: Casting 4 : Sintering

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 366 : ขวดเบียร์เป็ นผลิตภัณฑท


ขอ ์ ่ีมักจะได้จากกรรมวิธีการขึ้นรู ปใดตอ่ ไปนี้

1 : Pressing
2 : Extrusion http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
5863
สภาวิศวกร
19/2/2559
3: Blowing
4 : Casting คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 367 : กระจกหน้าตา่ งเป็ นผลิตภัณฑท


ขอ ์ ่ีมักจะไดจ้ ากกรรมวิธีการขึ้นรู ปใดตอ่ ไปนี้

1: Pressing 2: Drawing 3: Blowing


4 : Casting คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2

้ ที่ 368 : ขอ
ขอ ้ ใดกลา่ วเกี่ยวกับกรรมวิธีทางความร้อนของแก้วไมถ
่ ูกตอ้ ง

1: การอบออ่ นแกว้ ทาํ เพื่อลดปริ มาณความเสน ้ ตกคา้ งของชิ้นงาน 2 : การอบออ่ นแกว้ ทาํ ไดโ้ ดยการใหค้ วามร้อนถึงจุด
้ ง 3 : การเพิ่มความแข็งใหก
ออ่ นตัวแลว้ ปลอ่ ยใหเ้ ป็ นตัวชา้ ๆ จนถึงอุณหภูมิหอ ้ ั บแกว้ (Glass tempering) ทาํ ไดโ้ ดยการ
ให้ความร้อนถึงจุดออ่ นด้ว แลว้ ทาํ ให้เป็ นตัวอยา่ งรวดเร็วโดยการเป่าลม 4 : ชิ้นงานที่เป็ นตัวอยา่ งรวดเร็วจาก
การเพิ่มความแข็งให้กับแก้ว (Glass tempering) จะทาํ ให้เกิดความเค้นอัดที่ผิวและเกิดความเคน ้ แรงดึงที่เนื้ อ
ภายใน คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3
เนื้ อหาวิชา : 251 : 14 Polymers processing

้ ที่ 369 : ผลิตภัณฑพ


ขอ ์ อลิเมอร์ท่ีได้จากการขึ้นรู ปด้วยเครื่ องอัดรี ด (Extrusion) จะมีลักษณะแบบใด

1 : เป็ นภาชนะกลวง 2:รู ปร่างลั กษณะซั บซ้อนมาก 3 : รู ปร่างหน้าตัดเหมือนกันตลอดความยาวของชิ้นงาน 4 : ขอ้ 1 2


และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :3

้ ที่ 370 : กระบวนการขึ้นรู ปชนิ ดใดที่ไมน


ขอ ่ ิ ยมใชก
้ ั บพอลิเมอร์ชนิ ดเทอร์โมพลาสติก
(Thermoplastic)

1 : การฉี ดขึ้นรู ป (Injection molding) 2 : การเป่าขึ้นรู ป (Blow molding) 3 : การรี ดใหเ้ ป็ นแผน

(Calendering)
4: การหลอ่ (Casting) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 371 : ขอ
ขอ ้ ใดคือสว่ นประกอบที่สาํ คัญของเครื่ องขึ้นรู ปแบบฉี ด (Injection molding)

1 : หน่วยฉี ด (Injection unit) 2 : หน่วยจับยึด (Clamping unit) 3 : แมพ ้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ
่ ิมพ์ (Mold) 4 : ขอ
ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 372 : ทอ่ พลาสติก เป็ นผลิตภัณฑท


ขอ ์ ่ีไดจ้ ากการขึ้นรู ปแบบใด

1 : การฉี ดขึ้นรู ป (Injection molding) 2 : การเป่าขึ้นรู ป (Blow molding) 3 : การอัดรี ด (Extrusion) 4 : การ
อัดเขา้ กับแบบ (Compression molding)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 373 : ขวดพลาสติก เป็ นผลิตภัณฑท


ขอ ์ ่ีมักจะได้จากการขึ้นรู ปแบบใด

1: การฉี ดขึ้นรู ป (Injection molding) 2 : การเป่าขึ้นรู ป (Blow molding) 3 : การอัดรี ด (Extrusion)


4 : การอัดเขา้ กับแบบ (Compression molding) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 374 : ผงถา่ น (Carbon black) ที่ใชเ้ ป็ นสว่ นผสมในยางรถยนต ์ เป็ นสารเติมแตง่ ชนิ ดใด
ขอ

1 : สี (Colorant) 2 : สารเสริ มแรง (Reinforcing filler) 3 : สารไมเ่ สริ มแรง (Non-reinforcing filler)
4: สารป้องกันการติดไฟ (Flame retardant) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
5963
19/2/2559
สภาวิศวกร

้ ที่ 375 : ผลิตภัณฑท


ขอ ์ ่ีทาํ จากพอลิเมอร์ชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ มีการหดตัวหลังกระบวนการขึ้นรู ปมากที่สุด

่ (Elastomer) 2: เทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting) 3: เทอร์โมพลาสติกชนิ ดที่เกิดโครงสร้างผลึก


1 : วัสดุยึดหยุน
(Crystalline thermoplastic)
4 : เทอร์โมพลาสติกชนิ ดที่ไมเ่ กิดโครงสร้างผลึก (Non-Crystalline thermoplastic) คาํ ตอบที่ถูกตอ ้ ง:3

้ ที่ 376 : สารเติมแตง่ ชนิ ดไมเ่ สริ มแรง (Non-reinforcing filer) นิ ยมใชผ
ขอ ้ สมในพอลิเมอร์กอ่ นทาํ การขึ้นรู ปเพราะเหตุ
ใด

1 : เพื่อใหส ี วยขึ้น 2: เพื่อลดตน้ ทุน 3 : เพื่อใหใ้ ชใ้ นชว่ งอุณหภูมิท่ีกวา้ งขึ้น


้ ส
4 : เพื่อใชใ้ นการหลอ่ ลื่น คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :2

้ ที่ 377 : พอลิไวนิ ล คลอไรด์ (Polyvinyl chloride) สามารถนํามาใชเ้ ป็ นหนังเทียมได้ ถา้ หากเดิมสารเติมแตง่ ชนิ ดใด
ขอ
ลงไปในกระบวนการผลิต
1 : สารหลอ่ ลื่น (Lubricant) 2 : สารเสริมแรง (Reinforcing filler) 3: สารป้องกันการแตกหักของสายโซ
โมเลกุล (Stabilizer)
้ 12 และ 3 ผิด คาํ ตอบที่ถูกตอ
4: ขอ ้ ง:4

้ ที่ 378 : เพราะเหตุใดกระบวนการขึ้นรู ปแบบอัดเขา้ กับแบบ (Compression molding) จึงนิ ยมใช้


ขอ
กับพอลิเมอร์ชนิ ดเทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting) มากกวา่ พอลิเมอร์ชนิ ดเท อร์โมพลาสติก
(Thermoplastic)

1 : การขึ้นรู ปเทอร์โมเซตติ้ง ไมจ่ าํ เป็ นตอ ้ งมีการหลอ่ เย็น 2 : ผลิตภัณฑท์ ่ีได้จากการขึ้นรู ปเทอร์โมเซต
ติ้ง มีผิวที่เป็ นมันวาวกวา่ 3: ประหยัดพลังงาน เนื่ องจากในกระบวนการผลิดเทอร์โมเซตติ้ง มีความ
ตอ ้ งการใชอ ้ ุณหภูมิท่ีตา่ ํ กวา่ ในกระบวนการผลิตเทอร์โมพลาสติก 4 : ขอ ้ 1 2 และ 3 ถูก คาํ ตอบที่ถูก
ตอ
้ ง:1

้ ที่ 379 : สารเติมแตง่ ที่นิยมใชใ้ นการทาํ ให้ยางเกิดโครงสร้างตาขา่ ย (Network) ขณะขึ้นรู ปคือขอ


ขอ ้ ใด

1: หินปูน 2 : กาํ มะถัน 3: ผงถา่ น 4 : ขี้ผ้ึง คาํ ตอบที่ถูกตอ


้ ง :2

้ ที่ 380 : กระบวนการขึ้นรู ปพอลิเมอร์โดยวิธีการอัดรี ดเป่าขึ้นรู ป (Extrusion blow molding) จะมี


ขอ
ความแตกตา่ งจากกระบวนการขึ้นรู ปโดยวิธีการฉี ดเป่าขึ้นรู ป (Injection blow molding) อยา่ งไร

1 : ชนิ ดของพอลิเมอร์ท่ีใชแ ์ ่ีได้มีความซั บซ้อน


์ ่ีได้เป็ นภาชนะกลวง 3: รู ปร่างผลิตภัณฑท
้ ตกตา่ งกัน 2 : ผลิตภัณฑท
เหมือนกัน 4 : เทคนิ คที่ใช้ในการเป่าด้วยวิธีการฉี ดเป่าขึ้นรู ป (Injection blow molding) ยุง่ ยากกวา่
การเป่าด้วยวิธีการอัดรี ดเป่าขึ้นรู ป (Extrusion blow molding) คา่ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:4

้ ที่ 381 : ชอ
ขอ ์ ่ีมักจะไดจ้ ากการขึ้นรู ปแบบใด
้ นพลาสติกตักไอศกรี ม เป็ นผลิตภัณฑท

1 : การหลอ่ (Casting) 2 : การอัดเขา้ แบบ (Compression molding) 3: การฉี ดขึ้นรู ป (Injection molding) 4 : การ
อัดรี ด (Extrusion)
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 382 : กลอ่ งพลาสติกใสสาํ หรับใสข่ นมเคก


ขอ ์ ่ีมักจะได้
้ ชิ้นเล็กๆ เป็ นผลิตภัณฑท
จากการขึ้นรู ปแบบใด

1 : การขึ้นรู ปด้วยความร้อน (Thermo-forming) 2 : การอัดเขา้ แบบ (Compression molding) 3: การฉี ดขึ้น


รู ป (Injection molding) 4 : การเป่าขึ้นรู ป (Blow molding) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 383 : จานขา้ วเมลามีน (Melamine) เป็ นผลิตภัณฑท


ขอ ์ ่ีมักจะไดจ้ ากการขึ้นรู ปแบบใด
1: การขึ้นรู ปด้วยความร้อน (Thermo-forming)

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=7010128aSubj=33
6063
สภาวิศวกร
1912/2559
2: การอัดเขา้ แบบ (Compression molding) 3 : การฉีดขึ้นรู ป (Injection molding) 4 : การเป่าขึ้นรู ป (Blow
molding)
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 384 : ยางลบดินสอ เป็ นผลิตภัณฑท


ขอ ์ ่ีมักจะได้จากการขึ้นรู ปแบบใด

1: การอัดรี ด (Extrusion) 2 : การอัดเขา้ แบบ (Compression molding) 3 : การฉี ดขึ้นรู ป (Injection


molding)
4 : การเป่าขึ้นรู ป (Blow molding) คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง: 1

้ ที่ 385 : สารเต็มแหง่ ประเภทใดตอ่ ไปนี้ ใชส


ขอ ้ าํ หรับลดความรุ นแรงของอัคคีภัยที่เกิดขึ้นกับวัสดุพอลิเมอร์

1: Stabilizer 2: Colorant 3: Flame retardant


4 : Filler คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

้ ที่ 386 : แผน


ขอ ่ ฟิ ลม ์ ่มักจะได้จากกรรมวิธีการขึ้นรู ปใดตอ่ ไปนี้
์ พลาสติกเป็ นผลิตภัณฑที

1 : Injection molding 2 : Extrusion 3: Casting


4: Blow molding คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 387 : ขันตอนใด


ขอ ้ ตอ่ ไปนี้ ที่ไมเ่ กี่ยวขอ
้ งกับการสั งเคราะหพ
์ อลิเมอร์แบบเดิม (Addition polymerization)

1 : Initiation 2 : Termination 3: Condensation 4 : Propagation คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 3

้ ที่ 388 : ผลิตภัณฑใ์ นขอ


ขอ ่ ามารถขึ้นรู ปด้วยกระบวนการฉี ด (Injection molding) ได้
้ ใดไมส

1: เปลือกหุม ่ ซีดี 4 : ฝาครอบโทรศั พทม


้ สายเคเบิล 2 : ใบพัดลม 3: แผน ์ ือถือ
คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

เนื้ อหาวิชา : 252 : 15 Composite materials


้ ที่ 389 : วัตถุประสงคห
ขอ ์ ลักในการพัฒนาวัสดุเชิงประกอบ (Composites) คือขอ
้ ใด

1 : เพิ่มความรวดเร็วในการผลิตและประสิทธิภาพการผลิต 2: ลดตน ้ ทุนการผลิต เพิ่มความ


สามารถในการแขง่ ขัน 3: ปรั บปรุ งสมบั ติบางประการของชิ้นงาน เชน่ ความแข็งแรง 4 : ลดผลกระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม
และใชท ้ คา่ คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ รัพยากรให้คุม ้ ง:3

้ ที่ 390 : วัสดุในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ไมใ่ ชว่ ั สดุเชิงประกอบ (Composites)

1: ซีเมนต์ (Cement) 2 : คอนกรี ต (Concrete) 3 : คอนกรี ตเสริ มเหล็ก (Reinforced concrete)


4 : โฟม (Foam)

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:1

้ ที่ 391 : ผลิตภัณฑใ์ ดตอ่ ไปนี้ ที่นิยมผลิตจากวัสดุเชิงประกอบ (Composites)


ขอ

1 : ถว้ ยกาแฟ 2 : หมอ้ หุงขา้ ว 3: ไมเ้ ทนนิ ส 4 : กรอบแวน


่ ตา

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:3

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?
aMenu=701012&aSubj=33
61/63
19/2/2559
สภาวิศวกร

้ ที่ 392 : ไฟเบอร์กลาส (Fiberglass) เป็ นวัสดุชนิ ดใด


ขอ

1 : เป็ นแก้ว (Glass) ที่นํามาขึ้นรู ปเป็ นเสน


้ ใย (Fiber) 2 : เป็ นวัสดุเชิงประกอบ (Composite) ที่มีเท
อร์โมเซท (Thermoset) เป็ นโครงสร้างพื้น (Matrix) 3: เป็ นวัสดุเชิงประกอบที่มีเทอร์โมพลาสติก
(Thermoplastic) เป็ นโครงสร้างพื้น 4 : เป็ นวัสดุเชิงประกอบที่มีเซรามิก (Ceramic) เป็ นโครงสร้างพื้น คาํ
ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 393 : ใยแกว้ (Glass fibers) ประกอบดว้ ยสารประกอบชนิ ดใดมากที่สุด


ขอ

1: SiO2 2: Al2O3 3: CaO 4: Mg0 คา่ ตอบที่ถูกตอ


้ ง :1

้ ที่ 394 : เซอร์เมท (Cermet) เป็ นวัสดุชนิ ดใด


ขอ
1 : เซรามิก 2 : วัสดุเชิงประกอบ (Composite) มีโลหะเป็ นโครงสร้างพื้น (Matrix) 3: วัสดุเชิงประกอบ
(Composite) มีเซรามิกเป็ นโครงสร้างพื้น (Matrix) 4 : โลหะชนิ ดหนึ่ ง มีความแข็งสูง ใชเ้ ป็ นมีดกลึง

คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง:2

้ ที่ 305 : เคฟลาร์ (Kevlar) เป็ นเสน


ขอ ้ ใยชนิ ดใด

1 : เสน
้ ใยธรรมชาติ 2 : เสน ้ ใยคาร์บอน คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ใยพอลิเมอร์สังเคราะห์ 3: เสน้ ใยแก้ว 4 : เสน ้ ง:2

้ ที่ 396 : กระบวนการในขอ


ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ ที่ใช้ในการผลิตเสน
้ ใยคาร์บอน (Carbon fibers)

1: Pyrolysis 2: Hydrolysis 3: Synthesis


4: Analysis คาํ ตอบที่ถูกตอ
้ ง :1

้ ที่ 397 : วัสดุเชิงประกอบ (Composite) ชนิ ดใดตอ่ ไปนี้ ที่เหมาะสาํ หรับผลิตกา้ นสูบ (Connecting rods) ใน
ขอ
เครื่ องยนต ์

1 : อะลูมิเนี ยมเสริ มใยแกว้ (Glass fibers) 2: อะลูมิเนี ยมเสริ มใยซิลิกอนคาร์ไบด์ (SiC) 3: อะลูมิเนี ยมเสริ มใยหิน
(Asbestos)
4 : อะลูมิเนี ยมเสริ มใยเหล็ก (Steel) คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 2

้ ที่ 398 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ เป็ นวัสดุเชิงประกอบที่มีสมบัติแบบไอโซทรอปิ ก

1: คานไม้ 2 : โครงเครื่ องบินไฟเบอร์กลาส 3: ยางรถยนตเ์ สริ มแรงด้วยคาร์บอนแบล็ก 4 : ชิ้นสว่ นกระสวย


้ ใยยาวเคฟลาร์และอีพอกซี (Kevlar-epoxy) คาํ ตอบที่ถูกตอ
อวกาศทาํ จากเสน ้ ง:3

้ ที่ 399 : ขอ
ขอ ้ ใดไมใ่ ชว้ ธิ ีเพิ่มความแข็งแรงให้กับวัสดุเชิงประกอบ

1 : ลดขนาดของอนุ ภาคให้เล็กลง 2: ลดความยาวเสน ้


้ ใยเสริ มแรงให้สันลง 3: เพิ่มแรงยึดเหนี่ ยวระหวา่ งเนื้ อฟื้ น
และอนุ ภาคเสริ มแรง 4: ปรับการกระจายตัวของอนุ ภาคในเนื้ อฟื้ นให้สมา่ ํ เสมอ คาํ ตอบที่ถูกตอ้ ง : 2

้ ที่ 400 : ขอ
ขอ ้ ใดตอ่ ไปนี้ คือหน้าที่ของเฟสกระจายตัว (Disperse phase) ในวัสดุเชิงประกอบ

1 : เป็ นตัวกลางในการถา่ ยโอนแรงจากภายนอกใหก ้ ีข้ึน 3: ป้องกันความเสีย


้ ั บวัสดุผสม 2 : เสริ มสมบัตขิ องวัสดุผสมใหด
หายของเฟสเนื้ อพื้น (Matrix) จากสภาพแวดลอ
้ ม

http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
6263
19/2/2559
สภาวิศวกร

้ ทุนการผลิต คาํ ตอบที่ถูกตอ


4 : ลดตน ้ ง:2
http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=33
6363

You might also like