You are on page 1of 11

1

การทดลองที่ 5
โครงสร้ างของผลึก

ของแข็งที่เกิดในธรรมชาติหรื อสังเคราะห์ข้ นึ แบ่งเป็ น 2 ประเภทคือ


1. ของแข็ ง ผลึ ก (crystalline solid) คื อ ของแข็ ง ที่ ป ระกอบด้ว ยอนุ ภ าค (อะตอม
โมเลกุล หรื อไอออน) เรี ยงตัวกันอย่างมีระเบียบแบบแผนแน่นอนทางเรขาคณิ ตในสามมิติ มีดา้ น
ตัดกันเป็ นเหลี่ยม มีมุมเฉพาะตัวแน่นอน ทาให้มีรูปทรงต่างๆ กัน ซึ่ งขึ้นอยู่กบั ขนาดของอนุ ภาค
ชนิดความแข็งแรงของพันธะเคมีที่ยึดระหว่างอนุภาค และพลังงานความร้อนภายในระบบ การที่
ของแข็งแต่ละชนิ ดมีรูปทรงของผลึกเฉพาะตัว ทาให้มีผลต่อสมบัติของสารหลายประการ เช่ น
ความหนาแน่น จุดหลอมเหลว และความว่องไวในการทาปฏิกิริยาเคมี เป็ นต้น
2. ของแข็งอสัณฐาน (amorphous solid) คือ ของแข็งที่ประกอบด้วยอนุภาค ซึ่งเรี ยงกัน
โดยไม่มีระเบียบแบบแผน ไม่มีรูปทรงทางเรขาคณิ ต เช่น แก้ว ยาง ไม้ ขี้ผ้ งึ และพลาสติก เป็ นต้น
โครงสร้างของอนุภาคในผลึก เรี ยกว่า แลตทิซผลึก (crystal lattice) และจุดศูนย์กลาง
ของอนุ ภาคที่ อยู่ใ นแลตทิซผลึ ก เรี ยกว่า จุดแลตทิซ (lattice point) ถ้าแบ่งแลตทิซผลึก ลงไป
เรื่ อ ยๆ จนกระทั่ง เล็ ก ที่ สุ ด และยัง คงรั ก ษารู ป ร่ า งลัก ษณะตลอดจนแบบแผนการเรี ย งตัว ทาง
เรขาคณิ ตของอนุภาคไว้ได้เหมือนแลตทิซผลึกเดิมทุกประการ ส่ วนเล็กที่สุดนี้ เรี ยกว่า เซลล์ หน่ วย
(unit cell) ดัง นั้น ถ้า นาเซลล์หน่ ว ยหลายๆ หน่ วยมาต่ อ เรี ย งซ้ า ๆ กันออกไปทั้ง สามมิ ติ จ ะได้
แลตทิซผลึกนัน่ เอง
การจัดเรี ยงทรงกลมที่มีขนาดเท่ากันในสามมิติ จัดได้ 2 แบบคือ แบบที่ทาให้เกิดช่ องว่าง
น้อยที่ สุ ด เรี ย กว่า การเรี ยงตั ว แบบชิ ด ที่ สุ ด (closest packing) และแบบที่ ทาให้เ กิ ด ช่ อ งว่า ง
มากกว่า เรี ยกว่า การเรียงตัวแบบไม่ ชิดที่สุด (non–closest packing) ดังรู ป 5.1

รู ป 5.1 การจัดเรี ยงทรงกลมที่มีขนาดเท่ ากัน


(ก) การเรี ยงตัวแบบชิ ดที่สุด
(ข) การเรี ยงตัวแบบไม่ ชิดที่สุด
2

จากรู ปจะเห็นว่าพื้นที่สาหรับการจัดเรี ยงทรงกลมทั้งสองรู ป (ก และ ข) เท่ากัน แต่รูป (ก)


สามารถจัดเรี ยงทรงกลมได้มากกว่ารู ป (ข) การจัดเรี ยงแบบ (ก) เป็ นการเรี ยงตัวแบบชิดที่สุด
การเรี ยงตัวแบบชิดที่สุดมี 2 แบบ คือ
1. โครงสร้ า งชิ ด ที่ สุ ดรู ปเฮกซะโกนอล (hexagonal closest-packed structure, hcp)
เป็ นการจัดเรี ยงทรงกลมที่จุดศูนย์กลางของทรงกลมในชั้นที่ 1 และชั้นที่ 3 ในแนวดิ่งตรงกัน เรี ยก
การเรี ยงชั้นแบบนี้วา่ ABABA ดังรู ป 5.2

รู ป 5.2 โครงสร้ างชิ ดที่สุดรู ปเฮกซะโกนอล

2. โครงสร้ า งชิ ด ที่ สุ ด รู ป ลู ก บาศก์ (cubic closest-packed structure, ccp) เป็ นการ
จัด เรี ย งทรงกลมที่ จุ ด ศู น ย์ก ลางของทรงกลมในชั้น ที่ 1 และชั้น ที่ 4 ในแนวดิ่ ง ตรงกัน เรี ย ก
การเรี ยงชั้นแบบนี้ ว่า ABCABC ดังรู ป 5.3 โครงสร้างแบบนี้ เรี ยกอีกชื่ อหนึ่ งว่า face-centered
cubic structure (fcc)

รู ป 5.3 โครงสร้ างชิ ดที่สุดรู ปลูกบาศก์


3

โครงสร้างและเซลล์หน่วยของ fcc แสดงดังรู ป 5.4

ที่มุม ปริ มาตรเท่ากับ 1/8 อนุภาค

ที่หน้า ปริ มาตรเท่ากับ 1/2 อนุภาค

รู ป 5.4 โครงสร้ างและเซลล์ หน่ วยของ fcc

การเรี ย งตัวแบบไม่ ชิด ที่ สุ ดมี หลายแบบ เช่ น โครงสร้ างแบบลูก บาศก์ (simple cubic
structure, sc) และแบบ body-centered cubic structure (bcc) ดังรู ป 5.5

(ก) (ข)

รู ป 5.5 (ก) โครงสร้ างแบบ sc


(ข) โครงสร้ างแบบ bcc
4

โครงสร้างและเซลล์หน่วยของ sc และ bcc แสดงดังรู ป 5.6

ที่มุม ปริ มาตรเท่ากับ 1/8 อนุภาค

(ก)

ที่มุม ปริ มาตรเท่ากับ 1/8 อนุภาค ตรงกลาง ปริ มาตรเท่ากับ 1 อนุภาค

(ข)

รู ป 5.6 (ก) โครงสร้ างและเซลล์ หน่ วยของ sc


(ข) โครงสร้ างและเซลล์ หน่ วยของ bcc

โลหะเกือบทั้งหมดมีการจัดเรี ยงอะตอมในแลตทิซผลึกเป็ นแบบชิ ดที่สุด ซึ่ งการเรี ยงตัว


แบบนี้ทาให้เกิดช่องว่างในแลตทิซผลึกได้ 2 แบบ คือ
1. ช่ องว่างเตตระฮีดรอล (tetrahedral hole) คือ ช่องว่างที่อยู่ระหว่างอนุภาค 4 อนุภาค
ที่เรี ยงตัวกันเป็ นทรงเหลี่ยมสี่ หน้า ดังรู ป 5.7

ช่องว่างเตตระฮีดรอล

รู ป 5.7 ช่ องว่ างเตตระฮีดรอล


5

2. ช่ องว่างออกตะฮีดรอล (octahedral hole) คือ ช่องว่างที่อยู่ระหว่างอนุภาค 6 อนุภาค


ที่เรี ยงตัวกันเป็ นทรงเหลี่ยมแปดหน้า ดังรู ป 5.8

ช่องว่างออกตะฮีดรอล

รู ป 5.8 ช่ องว่ างออกตะฮีดรอล

ในแลตทิ ซ ผลึ ก ของโลหะ แต่ล ะอนุ ภาคจะถูก ล้อมรอบด้วยอนุ ภาคชนิ ด เดี ย วกัน ซึ่ ง
จานวนอนุภาคที่ลอ้ มรอบอนุภาคใดอนุภาคหนึ่งชิดที่สุด เรี ยกว่า เลขโคออร์ ดิเนชัน (coordination
number)
ส าหรั บ สารประกอบธาตุ คู่ ส่ ว นใหญ่ แ ลตทิ ซ ผลึ ก ประกอบด้ว ยไอออนขนาดใหญ่
เรี ยงตัวเป็ นโครงสร้างแบบชิ ดที่สุด (hcp หรื อ ccp) และมีไอออนขนาดเล็กบรรจุอยู่ในช่องว่าง
ออกตะฮีดรอลหรื อเตตระฮีดรอล การบรรจุของไอออนขนาดเล็กลงในช่องว่า งสามารถบรรจุได้
2 แบบ คือ บรรจุแบบเต็มทุกช่ องว่าง หรื อไม่เต็มทุกช่องว่างของจานวนช่ องว่างทั้งหมด ซึ่ งจะ
ทาให้เกิดสารประกอบธาตุคู่ที่มีสูตรต่างๆ กัน เช่น โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) แคลเซี ยมฟลูออไรด์
(CaF2) ซิงค์ซลั ไฟด์ (ZnS) และซีเซียมคลอไรด์ (CsCl) ดังรู ป 5.9
เลขโคออร์ ดิเนชันของไอออนแต่ละชนิ ดของสารประกอบธาตุคู่ จะพิจารณาจากจานวน
ไอออนที่มีประจุตรงกันข้ามที่ลอ้ มรอบไอออนนั้นชิดที่สุด
ในการทดลองนี้จะใช้ลูกทรงกลมแทนอนุภาคที่อยูใ่ นแลตทิซผลึก เพื่อศึกษา
1. การจัดเรี ยงทรงกลมที่มีขนาดเท่ากันแบบชิดที่สุด
2. ลักษณะและจานวนช่องว่างที่เกิดขึ้นในแลตทิซผลึก
3. เซลล์ห น่ ว ยของแลตทิ ซ ผลึ ก แบบต่ า งๆ ได้แ ก่ simple cubic (sc) body-centered
cubic (bcc) และ face-centered cubic (fcc)
4. แลตทิ ซ ผลึ ก ของสารประกอบธาตุ คู่ ที่ ส าคัญ ได้แ ก่ โซเดี ย มคลอไรด์ แคลเซี ย ม
ฟลูออไรด์ ซิงค์ซลั ไฟด์ และซีเซียมคลอไรด์
6

ที่ขอบ ปริ มาตรเท่ากับ 1/4 อนุภาค


(ก)

(ข)

(ค)

(ง)
รู ป 5.9 (ก) แลตทิซผลึกโซเดียมคลอไรด์
(ข) แลตทิซผลึกแคลเซียมฟลูออไรด์
(ค) แลตทิซผลึกซิ งค์ ซัลไฟด์
(ง) แลตทิซผลึกซีเซียมคลอไรด์
7

อุปกรณ์
1. ตะแกรงโครงลวดตาข่ายรู ปหกเหลี่ยม
2. ทรงกลมพลาสติก 38 ลูก
3. แบบจาลองแลตทิซผลึกแบบ hcp และ ccp
4. แบบจาลองการจัดเรี ยงทรงกลมแสดงช่องว่างเตตระฮีดรอลและออกตะฮีดรอล
5. แบบจาลองเซลล์หน่วยของ sc bcc และ fcc
6. แบบจาลองแลตทิซผลึกของโซเดียมคลอไรด์ แคลเซียมฟลูออไรด์ ซิงค์ซัลไฟด์ และ
ซีเซียมคลอไรด์

การทดลอง
1. เรี ยงทรงกลมพลาสติก ให้ชิ ดที่สุ ดในตะแกรงโครงลวดตาข่ายรู ปหกเหลี่ยมจนเต็ม
ชั้นแรก
2. เรี ย งทรงกลมพลาสติ ก ในชั้น ที่ 2 โดยให้ท รงกลมแต่ ล ะลูก อยู่บ นหลุ มซึ่ ง เกิ ดจาก
ทรงกลม 3 ลูกของชั้นที่ 1 สังเกตว่าจะเกิดช่องว่างขึ้น 2 แบบ โดยเมื่อใช้ไม้ปลายแหลมจิ้มลงใน
ช่องว่างระหว่างทรงกลมในชั้นที่ 2 และ 1 แล้วพบว่า
2.1 ถ้าปลายไม้ชนทรงกลมในชั้นที่ 1 ช่องว่างนี้ จะมีทรงกลมล้อมทั้งหมดกี่ลูก (1)
เรี ยกช่องว่างแบบนี้วา่ อะไร (2)
2.2 ถ้าปลายไม้ไม่ชนทรงกลมในชั้นที่ 1 ช่องว่างนี้ จะมีทรงกลมล้อมทั้งหมดกี่ลูก 4
!ก
(3) เรี ยกช่องว่างแบบนี้วา่ อะไร (4)
3. เรี ยงทรงกลมพลาสติกในชั้นที่ 3 จะเรี ยงได้ 2 ลักษณะ คือ
3.1 วางทรงกลมบนช่ องว่า งแบบข้อ 2.1 สังเกตตาแหน่ งศูนย์ก ลางของทรงกลม
ชั้นที่ 3 ในแนวดิ่งว่าตรงกับชั้นที่ 1 หรื อไม่ (5) การเรี ยงชั้นแบบนี้เรี ยกว่าแบบใด
(6) เปรี ยบเทียบกับแบบจาลองแลตทิซผลึกว่าเหมือนแบบใด (7) เอาทรงกลม
ในชั้นที่ 3 ออก
3.2 วางทรงกลมบนช่ องว่า งแบบข้อ 2.2 สังเกตตาแหน่ งศูนย์กลางของทรงกลม
ชั้นที่ 3 ในแนวดิ่งว่าตรงกับชั้นที่ 1 หรื อไม่ (8) แล้วเรี ยงทรงกลมในชั้นที่ 4 บน
ช่องว่างแบบข้อ 2.2 ของชั้นที่ 3 สังเกตตาแหน่งศูนย์กลางของทรงกลมชั้นที่ 4
ในแนวดิ่งว่าตรงกับชั้นที่ 1 หรื อไม่ (9) การเรี ยงชั้นแบบนี้ เรี ยกว่าแบบใด (10)
เปรี ยบเทียบกับแบบจาลองแลตทิซผลึกว่าเหมือนแบบใด (11)
4. ศึกษาเลขโคออร์ดิเนชันจากแบบจาลองแลตทิซผลึก
4.1 แลตทิซผลึกแบบ sc มีเลขโคออร์ดิเนชันเท่าใด (12)
4.2 แลตทิซผลึกแบบ ccp มีเลขโคออร์ดิเนชันเท่าใด (13)
8

4.3 แลตทิซผลึกแบบ hcp มีเลขโคออร์ดิเนชันเท่าใด (14)


4.4 แลตทิซผลึกแบบ bcc มีเลขโคออร์ดิเนชันเท่าใด (15)
4.5 แลตทิซผลึกแบบใดมีการจัดเรี ยงแบบชิดที่สุด (16)
4.6 แลตทิซผลึกแบบใดมีการจัดเรี ยงแบบไม่ชิดที่สุด (17)
5. ศึกษาจานวนอนุภาคในเซลล์หน่วยจากแบบจาลองเซลล์หน่วย
5.1 เซลล์หน่วยแบบ sc มีจานวนอนุภาคเท่าใด (18) { ✗ 8
1 ะ

5.2 เซลล์หน่วยแบบ bcc มีจานวนอนุภาคเท่าใด (19) 11g 8 1 41 2



5.3 เซลล์หน่วยแบบ fcc มีจานวนอนุภาคเท่าใด (20)

ศึกษาตามลาดับขั้นดังนี้
1
6. ศึกษาจานวนช่องว่างเตตระฮีดรอล และออกตะฮีดรอลในแลตทิซผลึกแบบ ccp โดย
(ม
%๋ '
มุม
11 { 1 ✗
✗ เ

ห+า 3+1 ะ
4
ขอบ

6.1 ใช้ทรงกลม 2 ลูกปิ ดช่องว่างที่อยู่ที่ขอบใดขอบหนึ่งของแลตทิซผลึก ช่องว่างที่


เกิดขึ้นเป็ นแบบใด (21) ในแลตทิซผลึกมีจานวนช่องว่างตามขอบเท่าใด (22)
6.2 ถ้าทาแลตทิซผลึกนี้ ให้เป็ นเซลล์หน่ วย ช่องว่างแบบนี้ แต่ละช่องจะมีปริ มาตร
เป็ นเศษส่วนเท่าใดของปริ มาตรช่องว่างเดิม (23)
6.3 ในหนึ่ ง เซลล์ห น่ ว ย จ านวนช่ อ งว่า งที่ อ ยู่ต ามขอบจะมี ปริ ม าตรรวมเท่ากับ
กี่ช่อง (24)
6.4 สั ง เกตช่ อ งว่ า งที่ อ ยู่ ต รงกลางเซลล์ ห น่ ว ยว่ า เป็ นช่ อ งว่ า ง แบบใด (25) ใน
หนึ่งเซลล์หน่วยจะมีช่องว่างแบบนี้ท้ งั หมดกี่ช่อง (26)
6.5 สังเกตช่องว่างที่อยู่ตามมุมของแลตทิซผลึกว่าเป็ นช่องว่างแบบใด (27) ถ้าทา
แลตทิ ซผลึ กนี้ ให้เป็ นเซลล์หน่ วย ช่ องว่างแบบนี้ แต่ละช่ องจะมี ปริ มาตรเป็ น
เศษส่วนเท่าใดของปริ มาตรช่องว่างเดิม (28)
6.6 ในหนึ่งเซลล์หน่วย มีจานวนช่องว่างที่อยูต่ ามมุมรวมทั้งหมดกี่ช่อง (29)
7. ศึกษาแลตทิซผลึกของสารประกอบต่อไปนี้
7.1 โซเดียมคลอไรด์
การเรี ย งตัว ของคลอไรด์ไ อออนเป็ นการเรี ย งตัว แบบชิ ด ที่ สุ ด แบบใด (30)
โซเดียมไอออนอยู่ในช่องว่างแบบใด (31) และหนึ่ งเซลล์หน่ วยของแลตทิซ
ผลึ กนี้ ประกอบด้วยไอออนแต่ละชนิ ดกี่ ไ อออน (32) เลขโคออร์ ดิเนชันของ
โซเดี ย มไอออนต่อคลอไรด์ไ อออนเป็ นเท่าใด (33) เขีย นสู ตรอย่างง่ายของ
แลตทิซผลึกโซเดียมคลอไรด์ (34)
-ม . × 8 ! ✗ เ

114 ✗ 12
| +1
9 ca เ/ยว
7.2 แคลเซียมฟลูออไรด์
แคลเซี ยมไอออนมีการจัดเรี ยงตัวเป็ นแบบใด (35) ฟลูออไรด์ไอออนบรรจุใน
ช่องว่างแบบใด (36) และบรรจุเต็มทุกช่องว่างหรื อไม่ (37) และหนึ่งเซลล์หน่วย
ของแลตทิซผลึกนี้ ประกอบด้วยไอออนแต่ละชนิ ดกี่ไอออน (38) เลข
โคออร์ดิเนชันของแคลเซียมไอออนต่อฟลูออไรด์ไอออนเป็ นเท่าใด (39) เขียน
สูตรอย่างง่ายของแลตทิซผลึกแคลเซียมฟลูออไรด์ (40)
7.3 ซิงค์ซลั ไฟด์ 2ลไฟ6 เ/ยว 7ง9 เห:อง
การจัดเรี ยงตัวของซัลไฟด์ไอออนเป็ นแบบใด (41) ซิงค์ไอออนบรรจุในช่องว่าง
แบบใด (42) และหนึ่งเซลล์หน่วยของแลตทิซผลึกนี้ประกอบด้วยไอออนแต่ละ
ชนิ ดกี่ไอออน (43) เลขโคออร์ ดิเนชันของซิ งค์ไอออนต่อซัลไฟด์ไอออนเป็ น
เท่าใด (44) เขียนสูตรอย่างง่ายของแลตทิซผลึกซิงค์ซลั ไฟด์ (45)
7.4 ซีเซียมคลอไรด์
คลอไรด์ไอออนเรี ยงตัวเป็ นโครงสร้างแบบใด (46) ซีเซียมไอออนเรี ยงตัวเป็ น
โครงสร้างแบบใด (47) และหนึ่ งเซลล์หน่ วยของแลตทิซผลึกนี้ ประกอบด้วย
ไอออนแต่ ล ะชนิ ด กี่ ไ อออน (48) เลขโคออร์ ดิ เ นชัน ของซี เ ซี ย มไอออนต่ อ
คลอไรด์ไ อออนเป็ นเท่าใด (49) เขีย นสู ตรอย่างง่ายของแลตทิ ซ ผลึกซี เซี ยม
คลอไรด์ (50)

คาถามท้ ายการทดลอง
1. จงให้คาจากัดความของคาต่อไปนี้
ก. แลตทิซผลึก ข. จุดแลตทิซ ค. เซลล์หน่วย
2. จงเสนอสู ต รอย่ า งง่ า ยของสารประกอบธาตุ คู่ ถ้า ไอออน A มี ก ารเรี ยงตัว แบบ
face-centered cubic และไอออน B บรรจุในช่องว่างในลักษณะที่แตกต่างกันต่อไปนี้
ก. บรรจุในช่องว่างเตตระฮีดรอลทุกช่อง
ข. บรรจุในช่องว่างออกตะฮีดรอลทุกช่อง
ค. บรรจุในช่องว่างเตตระฮีดรอลเพียงครึ่ งหนึ่งของจานวนช่องว่างทั้งหมด
ง. บรรจุในช่องว่างออกตะฮีดรอลเพียงครึ่ งหนึ่งของจานวนช่องว่างทั้งหมด
10

ชื่อผูร้ ายงาน 1 ..................................................................... กลุ่มผูเ้ รี ยน .................. กลุ่มที่........


2 ..................................................................... กลุ่มผูเ้ รี ยน .................. กลุ่มที่........
3 .................................................................... กลุ่มผูเ้ รี ยน .................. กลุ่มที่........
วันที่ทาการทดลอง .................................................................

รายงานผลการทดลอง เรื่ อง โครงสร้ างของผลึก


จุดมุ่งหมาย
1....................................................................................................................................................
2....................................................................................................................................................
3....................................................................................................................................................
4....................................................................................................................................................

(1) …………………………………………..
4 (21) <อง =าง ออก ต ชะ@ด รอ ล
…………………………………………..
!ก
<อง =าง เตา ตระ @ด รอ ล
(2) ………………………………………….. (22) …………………………………………..
11 <อง
(3) …………………………………………..

!ก (23) …………………………………………..
I
<อง =าง ออก ตร ะCด รอ ล
(4) ………………………………………….. (24) …………………………………………..
{ 12 =3 ✗

(5) ……………………………………………
ตรง (25) <อง =าง ออก ตร ะ@ด รอ ล
…………………………………………..
(6) ……………………………………………
aba เฮก ซะ โก นวล (26) <อง
…………………………………………..
1

hcp
(7) ………………………………………….. (27) <อง =าง เตต ชะ@ด แล
…………………………………………..
ไI ตรง
(8) …………………………………………… (28) …………………………………………..
1

(9) ……………………………………………
ตรง (29) …………………………………………..
8

abca !กบาศL
(10) ………………………………………… (30) …………………………………………..
fco

(11) …………………………………………
ap (31) <อง =าง ออก ตร @ ครอง
………………………………………….. ร
.

(12) …………………………………………
6 (32) N Nะ 4
………………………………………….. CT 4 =

(13) …………………………………………
12 (33) …………………………………………..
6 :b

(14) …………………………………………
12 (34) ………………………………………..
Nacl

(15) …………………………………………
8 (35) …………………………………………..
fแ

(16) …………………………………………
hcp Clp , (36) <อง =าง เตา ตระ @ต รอ ล
…………………………………………..
(17) …………………………………………
sybcc (37) บรรO เPม
…………………………………………..
(18) …………………………………………
1
อQภาค (38) …………………………………………..
ca
"
F- 8
= 4

=

(19) ………………………………………… (49) …………………………………………..


3
4
อQภาค 8 ะ
2 µ

(20) …………………………………………
41
อQภาค (40) …………………………………………..
Ca Fg
11

(41) ………………………………………….
fแ (46) …………………………………………..
SC

<อง =าง เตา ตระ T ดร อด


(42) ………………………………………… (47) …………………………………………..
รอ

1g
8- า
-

2 U๋
(43) …………………………………………
=
4 V้
=
4 (48) …………………………………………..
lst 1
=
CT 1 i

(44) …………………………………………
ะ4 4 (49) …………………………………………..
8ะ
8

(45) …………………………………………
2ns (50) …………………………………………..
cscl

You might also like