You are on page 1of 19

การทดลอง เรือง

โครงสร้างผลึก (Crystal Structure)

วัต ถุป ระสงค์เ ชิงพฤติก รรม


1. ศึกษาการจัดเรียงอะตอมชันเดียวแบบ closest packing และแบบ simple cubic พร้อมทัง
คํานวณ packing efficiency และ เปอร์เซ็นต์ช่องว่าง
2. ศึกษาชนิดของช่องว่างในการจัดเรียงโครงสร้างผลึกแบบ closest packing และแบบ simple
cubic
3. ศึกษาการจัดเรียงอะตอมในโครงสร้างผลึกแบบ hexagonal closest packing (hcp) และแบบ
faced centred cubic (fcc) และจํานวนช่องว่างทีเกิดขึน
4. ศึกษาโครงสร้างและคํานวณ packing efficiency เปอร์เซ็นต์ช่องว่าง และความหนาแน่นของ
โลหะทีมียนู ิตเซลล์แบบ face-centred cubic และ body-centred cubic
5. ศึกษาโครงสร้างของสารประกอบทีมียนู ิตเซลล์แบบ Rock salt, Zinc blende, Fluorite และ
Cesium chloride
อุป กรณ์
 ลูกปิ งปองและแพปิ งปอง
 แบบจําลองโครงสร้างผลึกและยูนิตเซลล์รูปแบบต่างๆ

ทฤษฎี
ผลึกเป็ นของแข็งทีประกอบขึนจากการจัดเรียงตัวของอะตอม ไอออน โมเลกุล หรือกลุม่ ของ
โมเลกุลทีแทนด้วยจุดแลตทิซ (lattice point) อย่างเป็ นระเบียบซําๆ กันเป็ นโครงข่าย 3 มิติ เรียกว่า
แลตทิซ (lattice) ซึงสามารถแบ่งเป็ นหน่วยย่อย ๆ ได้เรียกว่า ยูนิตเซลล์ (unit cell)
ยูนิตเซลล์ เป็ นหน่วยย่อยทีเล็กทีสุดซึงมีรูปร่างลักษณะ และแบบแผนการจัดเรียงเชิงเรขาคณิต
ของอนุภาคเหมือนกับโครงสร้างของแลตทิซผลึก (crystal lattice) ทุกประการ หรือกล่าวว่า ยูนิตเซลล์
เป็ นตัวแทนของโครงสร้างผลึก (รูปที 1) ดังนันการศึกษายูนิตเซลล์จงึ เสมือนเป็ นการศึกษาโครงสร้าง
ผลึกทังหมด ตัวอย่างยูนิตเซลล์แบบลูกบาศก์ชนิดต่าง ๆ แสดงดังรูปที 2

รู ป ที 1 ยูนิตเซลล์ในโครงสร้างสามมิติของแลตทิซผลึก
2

(ก) face-centred cubic (ข) body-centred cubic (ค) simple cubic


รู ป ที 2 ยูนิตเซลล์แบบลูกบาศก์ชนิดต่าง ๆ

1. โครงสร้างผลึก ของโลหะ
โดยทัวไปผลึกของโลหะในธรรมชาติเกือบทังหมดมีการจัดอะตอมแบบ closest packing ซึง
สามารถจัดได้ 2 แบบคือ แบบ hexagonal closest packing (hcp) จะมีการบรรจุอะตอมในชันต่างๆ
เป็ นแบบ ABABAB… เช่น Mg, Zn และ Cd เป็ นต้น (รูปที 3(ก)) และแบบ cubic closest packing
(ccp) หรือ face-centred cubic packing (fcc) ทีมีการบรรจุอะตอมเป็ นแบบ ABCABCABC… เช่น
Ca, Sr, Ni และ Ag เป็ นต้น (รูปที 3(ข))
A
A
C
B
B
A
A

A BC A
B
A A
(ก) hcp (ข) fcc
รูป ที 3 การจัดเรียงแบบ closest packing (ก) hexagonal closest packing (hcp)
และ (ข) แบบ face-centred cubic packing (fcc)

ในการจัดเรียงแบบ closest packing พบว่าจํานวนอะตอมทีอยูช่ ิดกันทีสุดในโครงสร้างผลึกมี 12


อะตอม กล่าว คือมีอะตอมอืนล้อมรอบอะตอมกลาง ในชันเดียวกัน 6 อะตอม ชันบน 3 อะตอม และชัน
ล่างอีก 3 อะตอม ดังรูปที 4 จํานวนอะตอมทัง 12 ทีล้อมอะตอมกลางนีเรียกว่า เลขโคออร์ด ิเ นชัน
(coordination number)
3

A C

B B

A A
(ก) hcp (ข) fcc
รู ป ที 4 รูปขยายของการจัดเรียงอะตอมในโครงสร้างผลึก (ก) แบบ hcp และ (ข) แบบ fcc
ทรงกลมทีแรเงาคืออะตอมกลาง

การจัดเรียงอะตอมแบบ closest packing นีทําให้เกิดช่องว่างในโครงผลึกได้ 2 แบบ คือ


1. ช่อ งเททระฮีด รัล (Tetrahedral hole) เป็ นช่องว่างระหว่างอะตอมหรือทรงกลม 4 ลูก ดัง
รูปที 5

รู ป ที 5 การสร้างช่องเททระฮีดรัล

2. ช่อ งออกตะฮีด รัล (Octahedral hole) เป็ นช่องว่างระหว่างอะตอมหรือทรงกลม 6 ลูก ดัง


รูปที 6 ขนาดของช่องออกตะฮีดรัลจะใหญ่กว่าช่องเททระฮีดรัล

รู ป ที 6 การสร้างช่องออกตะฮีดรัล

ในแลตทิซผลึกของการจัดเรียงอะตอมแบบ closest packing แต่ละอะตอมถูกล้อมรอบด้วย


ช่องเททระฮีดรัล 8 ช่อง และช่องออกตะฮีดรัล 6 ช่อง
นอกจากการจัดเรียงอะตอมแบบ closest packing แล้ว โลหะบางชนิด ได้แก่ Li, Na, K, Ba
เป็ นต้น มีการจัดอะตอมในโครงสร้างผลึกเป็ นแบบ body-centred cubic (bcc) ดังรูปที 7 โครงสร้าง
4

ผลึกแบบนีอะตอมจะไม่อยู่ชิดสุด ทําให้มีเปอร์เซ็นต์ทีว่างมากขึน และความหนาแน่นจะน้อยกว่าการ


จัดแบบ closest packing โดยมีเลขโคออร์ดเิ นชันเท่ากับ 8

รูป ที 7 การจัดเรียงอะตอมในโครงสร้างผลึกแบบ body-centred cubic (bcc)

2. โครงสร้างผลึก ของสารประกอบ
โครงสร้างผลึกของสารประกอบไอออนิกมีหลายแบบ โดยทัวไปแบ่งได้ดงั ต่อไปนี
1. แบบ Rock salt เป็ นสารประกอบแบบ 1:1 หรือมีสตู ร AB โครงสร้างแบบนีไอออนลบซึงมี
ขนาดใหญ่กว่าไอออนบวกมีการจัดอนุภาคแบบ face-centred cubic และไอออนบวกจะบรรจุอยูใ่ น
ช่องออกตะฮีดรัลทุกช่อง (รูปที 8(ก)) ตัวอย่างเช่น โครงสร้างผลึก NaCl, KCl, CaO, AgCl, RbCl และ
NiO เป็ นต้น
2. แบบ Zinc blende เป็ นสารประกอบแบบ 1:1 หรือมีสตู ร AB เช่น ZnS ซึงไอออนลบ S2– จะ
มีการจัดอนุภาคแบบ face-centred cubic ส่วนไอออนบวก Zn2+ จะอยู่ในช่องเททระฮีดรัลช่องเว้นช่อง
ดังรูปที 8(ข) สารประกอบไอออนิกทีมีโครงสร้างแบบนี ได้แก่ CuF, CdS, AgI และ HgS เป็ นต้น แต่ถา้
S2– มีการจัดอนุภาคแบบ hexagonal closest packing และ Zn2+ บรรจุอยูใ่ นช่องเททระฮีดรัลช่องเว้น
ช่องเหมือนเดิม เรียกโครงสร้างแบบนีว่า Wurtzite (รูปที 8(ค)) ตัวอย่างเช่น โครงสร้างผลึก BeO, AlN
และ GaN เป็ นต้น
3. แบบ Cesium chloride เป็ นสารประกอบแบบ 1:1 หรือมีสตู ร AB เช่น CsCl, RbCl (ที
อุณหภูมิและความดันสูง), RbBr, NH4Cl โครงสร้างแบบนีไอออนบวกและไอออนลบมีขนาดใกล้เคียง
กัน การจัดแบบ closest packing จึงเป็ นไปไม่ได้ ยูนิตเซลล์จะคล้ายโครงสร้างแบบ body-centred
cubic ซึงแต่ละไอออนถูกล้อมรอบด้วยไอออนทีมีประจุตรงข้ามอีกแปดไอออน ดังรูปที 8(ง)
5

รูป ที 8 แลตทิซผลึกทีมีสตู ร AB

4. แบบ Fluorite เป็ นสารประกอบแบบ 1:2 หรือมีสตู ร AB2 เช่น CaF2 โครงสร้างแบบนีไอออน
บวกมีการจัดเรียงอนุภาคแบบ face-centred cubic และไอออนลบอยูใ่ นช่องเททระฮีดรัลทุกช่อง ดัง
รูปที 9 สารประกอบไอออนิกทีมีโครงสร้างแบบ Fluorite ได้แก่ SrF2, BaCl2, CdF2 และ ZrO2 เป็ นต้น
ในทางตรงกันข้าม ถ้าไอออนลบมีการจัดเรียงอนุภาคแบบ face-centred cubic และไอออนบวกอยูใ่ น
ช่องเททระฮีดรัลทุกช่อง จะได้สารประกอบแบบ 2:1 และมีสตู รเป็ น A2B เช่น Na2O สารประกอบ ไอ
ออนิกแบบนีจะมีโครงสร้างทีเรียกว่า Antifluorite
F
Ca2+

(ก) (ข)
รูป ที 9 แลตทิซผลึกทีมีสตู ร AB2แบบ Fluorite ของ CaF2 (ก) แสดง face centred
cubic ของ Ca2+ และ (ข) แสดงเลขโคออร์ดิเนชันของ Ca2+ ซึงมีคา่ เท่ากับแปด
6

หลัก การทดลอง
การทดลองนีใช้ลกู ปิ งปองแทนอนุภาค (อะตอมของโลหะหรือไอออน) และใช้แพปิ งปองเป็ น
ฐานสร้างในการจัดเรียงแบบclosest packing เพือศึกษาลักษณะของช่องว่างเปรียบเทียบขนาดของ
ช่องว่างและจํานวนช่องว่าง พร้อมทังศึกษาตัวอย่างโครงสร้างผลึกของโลหะและสารประกอบ

1. การนับ จํานวนอนุภ าคในยูน ิต เซลล์


ในแต่ละยูนิตเซลล์ มวลของแต่ละอนุภาคไม่ได้มีสว่ นทังหมดในการประกอบให้เป็ นมวลของ
ยูนิตเซลล์ ทังนีเพราะอนุภาคทีอยู่ตามขอบ ตามมุม และตามผิวหน้าจะเป็ นส่วนร่วมอยู่กบั ยูนิตเซลล์
ข้างเคียงด้วย ดังนันในการนับจํานวนอนุภาคในหนึงยูนิตเซลล์แบบลูกบาศก์ทาํ ได้ดงั นี
(1) อนุภาคซึงอยูท่ ีมุม ให้นบั 1/8 เพราะว่ามีการใช้รว่ มกันแปดยูนิตเซลล์
(2) อนุภาคซึงอยูพ่ ืนผิว ให้นบั 1/2 เพราะมีการใช้รว่ มกันสองยูนิตเซลล์
(3) อนุภาคซึงอยูต่ ามขอบ ให้นบั 1/4 เพราะมีการใช้รว่ มกันสียูนิตเซลล์
(4) อนุภาคซึงอยูต่ รงกลาง ให้นบั เต็มคือ 1 เพราะไม่มีการใช้รว่ มกันกับยูนิตเซลล์อืน
ตัวอย่างเช่น ในโครงสร้างแบบ body-centred cubic ดังรูปที 2(ข) และ 4.7 จะมีจาํ นวนอนุภาคเท่ากับ
1 + (8 x 1/8) = 2 พึงสังเกตว่าในกรณีของโลหะบริสทุ ธิ จํานวนอนุภาคเป็ นของอะตอมชนิดเดียวกัน
แต่ถา้ เป็ นสารไอออนิกเช่น CsCl มี Cs+ อยูต่ รงกลางเพียง 1 ไอออน และตามมุมเป็ นของ Cl– 8 x 1/8 =
1 ไอออนเท่านัน ดังในรูปที 8(ง) และในยูนิตเซลล์ของ NaCl ซึงมีโครงสร้างแบบ Rock salt จะมีจาํ นวน
Na+ และ Cl– อย่างละ 4 ไอออน ดังในรูปที 8(ก)

2. การหา packing efficiency และ เปอร์เ ซ็น ต์ช ่อ งว่างจากการจัด เรียงอนุภ าคชันเดียว

รู ป ที 10 (ก) การจัดเรียงอนุภาคชันเดียวแบบ closest packing และ


(ข) แบบจําลองเพือใช้ในการคํานวณ
7

จากรู ปสามเหลียม AED จะได้วา่


AD2 = DE2 + AE2
(2r)2 = DE2 + r2
DE = 3 r
ปริมาตรแท่งสีเหลียม ABCD = CD x DE x เส้นผ่านศูนย์กลางของอนุภาค
= 2r x 3 r x 2r
= 4 3 r3
จํานวนอนุภาคในแท่งสีเหลียม ABCD = 1 อนุภาค คิดเป็ นปริมาตรเท่ากับ 4 r3
3
ดังนัน
ปริมาตรของอนุภาคในแท่ งสี่ เหลีย่ ม ABCD
packing efficiency = x 100 %
ปริมาตรแท่ งสี่เหลีย่ ม ABCD
เปอร์เซ็นต์ช่องว่าง = 100  packing efficiency

3. การคํานวณหาความหนาแน่น
ถ้าให้  เป็ นความหนาแน่นของผลึกซึงเป็ นมวลต่อหน่วยปริมาตร (g/cm3) จะได้
 = m = มวลของอนุภาคในยูนิตเซลล์
V
ปริมาตรยูนิตเซลล์
ซึงมวลของอนุภาคในยูนิตเซลล์หรือ m นีจะหาได้จากสมการ
nM
m=
NA
เมือ n = จํานวนหน่วยสูตร(formula unit) ในหนึงยูนิตเซลล์
M = นําหนักตามสูตร(formula weight) ของธาตุหรือสารประกอบ (g/mol)
NA = เลขอาโวกาโดร (Avogadro’s number) = 6.022x1023 mol–1
ในการหาจํานวน n นัน
 ถ้าเป็ นผลึกของโลหะทีมีการจัดอนุภาคแบบ body-centred cubic ได้ n = 1+(8x 1 ) = 2
8
1
 ถ้าเป็ นผลึกของโลหะทีมีการจัดอนุภาคแบบ face-centred cubic ได้ n = (6x )+(8x 1 ) = 4
2 8
 ถ้าเป็ นผลึกของสารประกอบไอออนิก เช่น CsCl ซึงมีการจัดแบบ body-centred cubic
มีจาํ นวน Cs+ 1 ไอออน(ตรงกลางเซลล์)และ Cl– 1 ไอออน (มุมทังแปดของเซลล์) ได้ n = 1
 ถ้าเป็ น NaCl ทีมีการจัดอนุภาคแบบ Rock salt
มีจาํ นวน Na+ และ Cl– อย่างละ 4 ไอออน ได้ n = 4
8

ตัวอย่าง โลหะทังสเตนมียนู ิตเซลล์แบบ body-centred cubic ทีมีความยาวของยูนิตเซลล์เท่ากับ


3.16 Å (1 Å = 10–8 cm) จงคํานวณหาความหนาแน่นของโลหะนี (มวลอะตอมทังสเตน 183.85)
วิธีทาํ ในยูนิตเซลล์แบบ body-centred cubic มีจาํ นวนอะตอมโลหะหรือหน่วยสูตรเท่ากับ 2
nM
m=
NA
g 1 mol
= 2 atom x 183.85 x = 6.106 x 10–22 g
mol 23
6. 022  10 atom
V = a3 = (3.16 x 10–8 cm)3 = 3.156 x 10–23 cm3
m 6. 106 x10 22 g
ดังนัน  = = = 19.35 g/cm3
V 3. 156 x10 23 cm 3

4. การหาอัต ราส่วนรัศ มี
อัตราส่วนรัศมี (r/r) คืออัตราส่วนของรัศมีของไอออนบวกต่อรัศมีของไอออนลบ อัตราส่วน
นีสามารถบอกเลขโคออร์ดเิ นชัน หรือชนิดโครงสร้างของผลึกได้ ดังตารางที 4.1

ตารางที 1 Limiting radius ratio ของโครงสร้างทีมีสตู ร AB


เลขโคออร์ดเิ นชัน โครงสร้าง อัตราส่วนรัศมี (r/r)
2 Linear  0.154
3 Triangular 0.154–0.225
4 Zinc blende 0.225–0.414
4 Planar 0.414–0.732
6 Rock salt 0.414–0.732
8 Cesium chloride > 0.732

โดยทัวไปสามารถคํานวณหาขีดจํากัดของอัตราส่วนรัศมีจากรูปทรงเรขาคณิตทีได้จากโครง
สร้างของผลึก ตัวอย่างเช่น โครงสร้างผลึกแบบ Cesium chloride ซึงมียนู ิตเซลล์คล้ายแบบ body-
centred cubic นัน ไอออนลบจะมีการจัดเรียงอนุภาคแบบ simple cubic และไอออนบวกบรรจุอยูใ่ น
ช่องลูกบาศก์ (cubic hole) ถ้าให้ยนู ิตเซลล์มีความยาวด้านข้างเป็ น 2r ดังรูปที 11
9

รู ป ที 11 โครงสร้างแบบ CsCl (ก) ยูนิตเซลล์ และ (ข) แบบจําลองเพือใช้ในการคํานวณ

จากรู ปสามเหลียม BCD


BD2 = BC2 + CD2
ในการคํานวณหาขนาดของไอออนทีบรรจุในช่องลูกบาศก์พอดี
BC = CD = 2r_
BD2 = (2r_)2 + (2r_)2 = 8(r_)2
จากรู ปสามเหลียม ABD
AD2 = AB2 + BD2 = (2r_)2 + 8(r_)2 = 12(r_)2
AD = 2 3 r_
= 2r + 2r_
r/r = 3  1 = 0.732
แสดงว่าสารประกอบไอออนิกทีมีอตั ราส่วนรัศมีเกิน 0.732 จะมีโครงสร้างผลึกแบบ Cesium chloride
และมีเลขโคออร์ดิเนชันเท่ากับ 8 สําหรับโครงสร้างแบบ Rock salt เช่น NaCl (รูปที 12) Cl– มีการ
จัดเรียงไอออนในโครงสร้างแบบ face-centred cubic และ Na+ อยู่ในช่องออกตะฮีดรัล ถ้าให้ AB เป็ น
ระยะทางระหว่างสองไอออนลบ

รูป ที 12 โครงสร้างแบบ Rock salt (ก) ยูนิตเซลล์ของ NaCl และ (ข) แบบจําลองในการคํานวณ
10

ดังนัน AB = 2r_
AC = BC = X
ในสามเหลียม ABC
(2r_)2 = X2 + X2
X = 2 r_
X = r + r_
r/r = 2  1 = 0.414
แสดงว่าสารประกอบไอออนิกทีมีอตั ราส่วนรัศมีอยูร่ ะหว่าง 0.414 ถึง 0.732 จะมีโครงสร้างผลึกแบบ
Rock salt และมีเลขโคออร์ดิเนชันเท่ากับ 6 แต่ถา้ มีอตั ราส่วนตํากว่า 0.414 จะมีโครงสร้างแบบ Zinc
blende

วิธ ีท ดลอง
ตอนที 1 การจัด เรียงอะตอมในโครงสร้างผลึก
ก. เปรีย บเทีย บการจัด เรียงอะตอมหนึงและสองชัน
1. นําลูกปิ งปอง 15 ลูกมาเรียงบนฝากล่องพลาสติก โดยให้ปิงปองแถวแรกมีจาํ นวน 5 ลูกและ
เมือเรียงลูกปิ งปองในแถวที 2 พบว่าสามารถเรียงได้ 2 แบบ คือ
แบบที 1 การเรียงแบบ closest packing โดยเรียงลูกปิ งปองสับหว่างกับแถวแรกเรือยไป ทําให้เกิดช่อง
a และ ช่อง b ดังรูปที 13(ก)
แบบที 2 การเรียงแบบ simple cubic เป็ นการเรียงลูกปิ งปองในแถวต่อไปให้ตรงกับแถวแรก (4.13(ข))
จากการเรียงลูกปิ งปองทังสองแบบ หาเลขโคออร์ดเิ นชันโดยนับจํานวนอะตอมข้างเคียงซึงอยูล่ อ้ มรอบ
ลูกปิ งปองแต่ละลูก บันทึกผลในตาราง

รู ป ที 13 การจัดเรียงอะตอมชันเดียว (ก) แบบ closest packing และ (ข) แบบ simple cubic

2. คํานวณ packing efficiency และเปอร์เซ็นต์ช่องว่างทีเกิดขึนจากการจัดเรียงอนุภาคชัน


เดียว บันทึกผลลงในตาราง
11

3. เรียงลูกปิ งปองในชันที 2 บนแพปิ งปองทีมีการต่อกันแบบ closest packing ซึงในขันนี


สามารถใช้แพปิ งปองสามเหลียม 20 ลูกแทนแพปิ งปองชันแรกได้ โดยวางลูกปิ งปองปิ ดบนช่องของชัน
ที 1 ซึงเกิดจากฐาน 3 ลูก จะได้ช่องระหว่างลูกทังสี เรียกว่า ช่อ งเททระฮีด รัล ช่องนีจะอยูใ่ ต้และ
ด้านข้างลูกทีวางลงในชันที 2 ดังรูปที 14(ก) และ (ข) ในขณะเดียวกันทางด้านข้างของลูกนีจะเกิดช่องที
มีลกู ปิ งปองล้อมรอบอยู่ 6 ลูก เรียกว่า ช่อ งออกตะฮีด รัล ดังรูปที 14(ค) และ (ง) ซึงศูนย์กลางของลูก
ปิ งปองในชันนีจะไม่ตรงกับแถวแรก

รู ป ที 14 ช่องเททระฮีดรัลและออกตะฮีดรัลจากการเรียงลูกปิ งปองแบบ closest packing ในชันที 2


(ก) ภาพด้านบน และ (ข) ภาพด้านข้างของช่องเททระฮีดรัล
(ค) ภาพด้านบน และ (ง) ภาพด้านข้างของช่องออกตะฮีดรัล

4. เรียงแพปิ งปอง 4 ลูกบนชันที 2 ของแพปิ งปองทีมีการต่อกันแบบ simple cubic โดยให้


ศูนย์กลางลูกปิ งปองในชันที 2 นีตรงกับชันแรก ดังรูปที 15 ช่องว่างทีเกิดขึนนีเรียกว่าช่องลูกบาศก์
(cubic hole)

ช่องลูกบาศก์
รู ป ที 15 ภาพด้านข้างของช่องลูกบาศก์ทีเกิดจากการจัดเรียงลูกปิ งปองแบบ simple cubic
12

ข. เปรียบเทีย บโครงสร้างผลึก closest packing


1. นําแพปิ งปองสามเหลียม 20 ลูกทีต่อกันแบบ closest packing มาเรียงซ้อนบนปิ งปองในชัน
ที 2 จะสังเกตได้ว่าสามารถเรียงลูกปิ งปองได้ตา่ งกัน 2 แบบ คือ
แบบที 1 ศูนย์กลางของลูกปิ งปองในชันที 3 ตรงกับศูนย์กลางของลูกปิ งปองในชันที 1 เป็ นแบบ ABA…
(รูปที 16(ก))
แบบที 2 ศูนย์กลางของลูกปิ งปองในชันที 3 จะไม่ตรงกับชันที 1 เป็ นแบบ ABC… และเมือมองด้านข้าง
จะได้รูปที 16(ข)

A C
B B
A A
(ก) แบบที่ 1 ABA... (ข) แบบที่ 2 ABC...
รูป ที 16 การจัดเรียงอะตอม 3 ชันใน (ก) แบบ ABA… และ (ข) แบบ ABC…

2. นับจํานวนช่องเททระฮีดรัลและออกตะฮีดรัลรอบอะตอมกลาง
แบบที 1 ABAB… ใช้แพปิ งปองสามเหลียม 20 ลูกเป็ นฐาน (ชันที 1) หลังจากนันวางแพปิ งปองหก
เหลียม 7 ลูก และแพปิ งปองสามเหลียม 3 ลูกเป็ นชันที 2 และ 3 ตามลําดับ ดังรูปที 17(ก) สังเกตว่า ใน
แลตทิซผลึก อะตอมในชันที 1 อยู่ตรงกับชันที 3, 5, …
แบบที 2 ABCABC... ทําเช่นเดียวกับแบบที 1 โดยเปลียนการจัดเรียงอะตอมชันที 3 ให้แพปิ งปอง
สามเหลียม 3 ลูกหันมุมยอดไปด้านตรงกันข้าม ดังรูปที 17(ข) สังเกตว่า ในแลตทิซผลึก อะตอมในชัน
ที 1 อยู่ตรงกับชันที 4, 7, …

(ก) แบบที 1 ABAB… (ข) แบบที 2 ABCABC…


รูป ที 17 การจัดเรียงอะตอม (ก) แบบที 1 ABAB… และ (ข) แบบที 2 ABCABC… ซึงทัง 2 แบบ
ั 3 (สีดาํ ) จัดเรียงแตกต่างกัน
อะตอมชันที 1 (สีขาว) และชันที 2 (สีเทา) จัดเรียงเหมือนกัน แต่ชนที

พิจารณาปิ งปองลูกกึงกลางแพปิ งปองหกเหลียมในชันที 2 เป็ นตัวแทนอะตอมในโครงสร้างผลึก


นับจํานวนช่องเททระฮีดรัลและออกตะฮีดรัลทีล้อมรอบอะตอมกลาง
13

3. นับเลขโคออร์ดิเนชันสําหรับการจัดเรียงอะตอมในโครงสร้างผลึกแบบ ABAB… ในขันนีอาจ


ใช้แพปิ งปอง 7 ลูก และ 3 ลูก ช่วยประกอบในการพิจารณาดังรู ป 4.3(ก) บันทึกผล
4. นับเลขโคออร์ดิเนชันสําหรับการจัดเรียงอะตอมแบบ ABCABC... สามารถใช้แพปิ งปอง 7
ลูก 2 แพมาช่วยประกอบในการพิจารณาดังรูป 4.3(ข) บันทึกผล
. วาดภาพการจัดเรียงของช่องเททระฮีดรัลและช่องออกตะฮีดรัลรอบอะตอมกลาง
ใน 2 มิติเพือแสดงเปรียบเทียบช่องว่างทีเกิดขึนในโครงสร้างผลึกทังสองแบบ

ตอนที 2 โครงสร้างผลึก ของโลหะทีมียูน ิต เซลล์แ บบ face-centred cubic (fcc) และ


body-centred cubic (bcc)
1. ศึกษายูนิตเซลล์แบบ fcc จากแพปิ งปองสามเหลียม 7 ลูก 2 แพ ดังรูปที 3(ข)
2. นับเลขโคออร์ดิเนชันและจํานวนอนุภาคในหนึงยูนิตเซลล์
3. คํานวณหา packing efficiency และเปอร์เซ็นต์ช่องว่างทีเกิดขึนในหนึงยูนิตเซลล์
4. ศึกษายูนิตเซลล์แบบ bcc โดยใช้ลกู ปิ งปอง 9 ลูกจัดเรียงตามรูปที 7 และ
หาเลขโคออร์ดิเนชันและอืน ๆ เช่นเดียวกับโครงสร้างผลึกแบบ fcc ข้อ 2-3

ตอนที 3 โครงสร้างผลึก ของสารประกอบ


ก. โครงสร้างแบบ Rock salt
1. ศึกษายูนิตเซลล์ของ NaCl กับแบบจําลองโครงสร้าง Rock salt ทีให้ไว้ประจํากลุ่ม
2. หาเลขโคออร์ดิเนชันของ NaCl โดยนับจํานวน Cl– ทีล้อมรอบ Na+ และ
จํานวน Na+ ทีล้อมรอบ Cl–
3. นับจํานวน Na+ และ Cl– ในหนึงยูนิตเซลล์
4. ระบุสตู รอย่างง่ายของสารประกอบ และหาจํานวนหน่วยสูตร (n) ในหนึงยูนิตเซลล์
ข. โครงสร้างแบบ Zinc Blende
1. ศึกษายูนิตเซลล์ของ ZnS กับแบบจําลองโครงสร้าง Zinc blende ทีให้ไว้ประจํากลุม่
2. หาเลขโคออร์ดเิ นชันของไอออนบวกและลบ โดยนับจํานวน S2– ทีล้อมรอบ Zn2+
และจํานวน Zn2+ ทีล้อมรอบ S2–
3. นับจํานวนไอออนของ Zn2+ และ S2– ในหนึงยูนิตเซลล์
4. ระบุสตู รอย่างง่ายของสารประกอบ และหาจํานวนหน่วยสูตร (n) ในหนึงยูนิตเซลล์
ค. โครงสร้างแบบ Fluorite
1. ศึกษายูนิตเซลล์ของ CaF2 กับแบบจําลองโครงสร้าง Fluorite ทีให้ไว้ประจํากลุ่ม
2. หาเลขโคออร์ดิเนชันของไอออนบวกและลบ โดยนับจํานวน F– ทีล้อมรอบ Ca2+ และ
จํานวน Ca2+ ทีล้อมรอบ F–
14

3. นับจํานวนไอออนCa2+ และ F– ในหนึงยูนิตเซลล์


4. ระบุสตู รอย่างง่ายของสารประกอบและหาจํานวนหน่วยสูตร (n) ในหนึงยูนิตเซลล์
ง. โครงสร้างแบบ CsCl
1. ศึกษายูนิตเซลล์ของ CsCl กับแบบจําลองโครงสร้าง CsCl ทีให้ไว้ประจํากลุ่ม
2. หาเลขโคออร์ดเิ นชันของไอออนบวกและลบโดยนับจํานวน Cl– ทีล้อมรอบ Cs+ และ
จํานวน Cs+ ทีล้อมรอบ Cl–
3. นับจํานวนอะตอมของไอออน Cs+ และ Cl– ในหนึงยูนิตเซลล์
4. ระบุสตู รอย่างง่ายของสารประกอบ และหาจํานวนหน่วยสูตร (n) ในหนึงยูนิตเซลล์

คําถามท้ายการทดลอง
1. คํานวณความหนาแน่นผลึกของสารประกอบ NaCl และ CsCl ทีมียนู ิตเซลล์แบบลูกบาศก์ยาว
5.64 และ 4.11 Å ตามลําดับ (มวลอะตอม Na = 22.99, Cl = 35.45, Cs = 132.90)
คําถามข้อ 2–4 นิส ิต ควรใช้ก ารสืบ ค้น ข้อ มูล ทางอิน เทอร์เ น็ต ในการหาคําตอบ
2. โลหะมีตระกูลและมีคา่ (noble and precious metals) ชอบทีจะตกผลึกในแบบใด เพราะเหตุใด
3. นอกจากผลึกของโลหะและสารประกอบอินทรียอ์ ย่างง่ายทีศึกษาในการทดลองนี ให้ยกตัวอย่าง
ผลึกของสารประกอบอืนๆ อีก 2 ชนิดพร้อมระบุแรงยึดเหนียวระหว่างโมเลกุลในผลึก
4. เทคนิคการทดลองอะไรทีใช้ในการหาโครงสร้างผลึก อธิบายโดยย่อ
15

การทดลอง เรื่ อง
เรื่ อง โครงสร้ างผลึก

ทําการทดลอง วัน ………….ที………เดือ น……..………พ.ศ……….… เวลา เช้า / บ่าย


ชือ……………….………..…....เลขประจําตัว…………...….กลุ่ม ที……….ลําดับ ที............

ตอนที่ 1 การจัดเรียงอะตอมในโครงสร้ างผลึก


ก. การเปรียบเทียบการจัดเรียงอะตอม
Closest packing Simple cubic
 เลขโคออร์ดิเนชัน (รู ป 13, 18-19)
 Packing efficiency (รู ป 13, 18-19)
 เปอร์ เซ็นต์ช่องว่างของการจัดเรี ยง
อนุภาคชั้นเดียว (รู ป 13, 18-19)
 ชนิดของช่องว่างที่เกิดขึ้นจากการ
จัดเรี ยงอนุภาค 2 ชั้น (รู ป 14-15)

แสดงวิธีการคํานวณ packing efficiency และเปอร์เซ็นต์ช่องว่างของการจัดเรียงอนุภาคชันเดียว


 โครงสร้างแบบ closest packing
4 3
ปริ มาตรลูกปิ งปอง 1 ลูก (X) = r cm3
3
ปริ มาตรแท่งสี่ เหลี่ยม ABCD (Y) = …………………cm3
X 
Packing efficiency  100  = …………………%
Y 
เปอร์เซ็นต์ช่องว่าง = …………………
รู ป 18 วาดรู ปประกอบ

 โครงสร้างแบบ simple cubic


4 3
ปริ มาตรลูกปิ งปอง 1 ลูก (X) = r cm3
3
ปริ มาตรแท่งสี่ เหลี่ยม ABCD (Y) = …………………cm3
X 
Packing efficiency  100  = …………………%
Y 
รู ป 19 วาดรู ปประกอบ เปอร์เซ็นต์ช่องว่าง = …………………
16

ข. การเปรียบเทียบโครงสร้ างผลึกแบบ closest packing (รู ปที่ 16 และ 17 เว้ นแต่ ที่ระบุ)
Hexagonal closest Face-centred cubic
packing packing
 การเรี ยงลูกปิ งปองตามลําดับชั้นแบบ…
 ลูกปิ งปองในชั้นที่ 1 จะตรงกับชั้นที่...
 จํานวนช่องออกตะฮีดรัลต่ออะตอมกลาง
 จํานวนช่องเททระฮีดรัลต่ออะตอมกลาง
 เลขโคออร์ดิเนชัน
 วาดภาพการจัดเรี ยงของช่องเททระฮีดรัล คําอธิบาย รู ป 20 คําอธิบาย รู ป 21
และช่องออกตะฮีดรัลรอบอะตอมกลาง
ใน 2 มิติ แบบ Top view (ไม่ใช่ 3 มิติ)
(วาดรู ป 20 และ 21 เพิ่มเติม)

O ใหญ่เป็ น 2 เท่าของ T
17

ตอนที่ 2 โครงสร้ างผลึกของโลหะที่มยี ูนิตเซลล์ แบบ fcc และ bcc


Face-centred cubic Body-centred cubic

 วาดแผนภาพยูนิต
เซลล์และแสดง
ความสัมพันธ์
ระหว่างด้านของยูนิต
เซลล์ (a) กับรัศมีของ
อะตอม (r)

 เลขโคออร์ดิเนชัน
 จํานวนอะตอมใน
หนึ่งยูนิตเซลล์ (n)
 Packing efficiency
 เปอร์ เซ็นต์ช่องว่าง

การคํานวณหา packing efficiency ของโลหะที่มีโครงสร้างแบบ fcc


4 3
ปริ มาตรของอะตอมในหนึ่งยูนิตเซลล์ = n  r cm3
3
= …………………..cm3
ปริ มาตรของยูนิตเซลล์ (a3) = …………………..cm3
Packing efficiency = …………………..
เปอร์เซ็นต์ช่องว่าง = …………………..%

การคํานวณหา packing efficiency ของโลหะที่มีโครงสร้างแบบ bcc


ปริ มาตรของยูนิตเซลล์ = …………………..cm3
Packing efficiency = …………………..
เปอร์เซ็นต์ช่องว่าง = …………………..%
18

ตอนที่ 3 โครงสร้ างผลึกของสารประกอบ


Rock salt Zinc blende Fluorite Cesium chloride
NaCl ZnS CaF2 CsCl
 แบบโครงสร้างของ
ไอออนลบ
 แบบโครงสร้างของ
ไอออนบวก
 เลขโคออร์ดิเนชันของ
ไอออนบวก : ไอออนลบ
 จํานวนไอออนบวก :
ไอออนลบในหนึ่ง
ยูนิตเซลล์
 อัตราส่ วนอย่างง่ายของ
ไอออนบวก : ไอออนลบ
 จํานวนหน่วยสู ตรในหนึ่ง
ยูนิตเซลล์ (n)

ตอบคําถามท้ ายการทดลอง
1. คํานวณความหนาแน่นผลึกของสารประกอบ NaCl และ CsCl ที่มียนู ิตเซลล์แบบลูกบาศก์ยาว 5.64
และ 4.11 Å ตามลําดับ (มวลอะตอม Na = 22.99, Cl = 35.45, Cs = 132.90)
 NaCl

 CsCl

คําถามข้ อ 2–4 นิสิตควรใช้ การสื บค้นข้ อมูลทางอินเทอร์ เน็ตในการหาคําตอบ


19

2. โลหะมีตระกูลและมีค่า (noble and precious metals) ชอบที่จะมีโครงสร้างผลึกแบบใด เพราะเหตุใด


……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

3. นอกจากผลึกของโลหะและสารประกอบอนิ นทรี ยอ์ ย่างง่ายที่ศึกษาในการทดลองนี้ ให้ยกตัวอย่าง


ผลึกของสารประกอบอื่นๆ อีก 2 ชนิดพร้อมระบุแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลในผลึก
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

4. เทคนิคการทดลองอะไรที่ใช้ในการหาโครงสร้างผลึก อธิ บายโดยย่อ


……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

You might also like