You are on page 1of 212

ภาษาไทย

เอกสารประกอบคูมือครู
วิชา กลุมสาระการเร�ยนรู้ ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ม.3
ลักษณะเดน คูมือครู ฉบับนี้ สําหร
ับค รู

สวนเสริมด้านหน้า
การใชวฏั จักรการเรียนรู 5Es : กระบวนการพัฒนาศักยภาพการคิด
และการสรางองคความรู
การใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 5Es : กระบวนการพัฒนาศักยภาพการคิด
และการสร้างองค์ความรู้
รูปแบบการสอนที่สัมพันธ์กับกระบวนการคิดและการท�างานของสมองของผู้เรียนที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย
ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ คือ วัฏจักรการเรียนรู้ 5Es ซึ่งผู้จัดท�าคู่มือครูได้น�ามาใช้เป็นแนวทางออกแบบ
กิจกรรมการเรียนการสอนในคู่มือครูฉบับนี้ตามล�าดับขั้นตอนการเรียนรู้ ดังนี้

กระตุน้ ความสนใจ
Engage
• เป็นขั้นที่ผู้สอนน�ำเข้ำสู่
บทเรียน เพื่อกระตุ้น
ควำมสนใจของนักเรียน
ด้วยเรื่องรำว หรือ
ส�ารวจค้นหา
Explore
• เป็นขั้นที่ผู้สอนเปิด
โอกำสให้ผู้เรียนสังเกต
และร่วมมือกันส�ำรวจ
เพื่อให้เห็นปัญหำ
อธิบายความรู้
Explain
• เป็นขั้นที่ผู้สอนมี
ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน
เช่น ให้กำรแนะน�ำ
เทคนิควิธีกำรสอน
ขยายความเข้าใจ

• เป็นขั้นที่ผู้สอนได้ใช้

ทีช่ ่วยพัฒนำผู้เรียน
ตั้งค�ำถำมกระตุ้นให้คิด ให้น�ำควำมรู้ที่เกิดขึ้น
Expand
ตรวจสอบผล

• เป็นขั้นที่ผู้สอนประเมิน
มโนทัศน์ของผู้เรียน
โดยตรวจสอบจำก
ควำมคิดที่เปลี่ยนไป
Evaluate

ประกอบด้วย
1. กระตุ้นความสนใจ : Engage
เหตุกำรณ์ที่น่ำสนใจ รวมถึงวิธีกำรศึกษำ เพื่อให้ผู้เรียนได้ค้นหำ ไปคิดค้นต่อๆ ไป และควำมคิดรวบยอด
ค้นคว้ำข้อมูลควำมรู้ ค�ำตอบ เพือ่ พัฒนำทักษะ ที่เกิดขึ้นใหม่ ตรวจสอบ
• ใช้เทคนิควิธีกำรสอน
และค�ำถำมทบทวนควำมรู ้ ที่จะน�ำไปสู่ควำมเข้ำใจ • น�ำข้อมูลควำมรู้จำก กำรเรียนรู้และ ทักษะ กระบวนกำร
หรือประสบกำรณ์เดิม ประเด็นปัญหำนั้นๆ กำรศึกษำค้นคว้ำ กำรท�ำงำนร่วมกัน ปฏิบัติ กำรแก้ปัญหำ
เป็นกลุ่ม ระดมสมอง กำรตอบค�ำถำมรวบยอด
ของผู้เรียน เพื่อเชื่อมโยง • ให้นักเรียนท�ำควำม ในขัน้ ที ่ 2 มำวิเครำะห์
ผู้เรียนเข้ำสู่บทเรียนใหม่ เข้ำใจในประเด็นหัวข้อ แปลผล สรุปผล เพื่อคิดสร้ำงสรรค์ และกำรเคำรพควำมคิด
ร่วมกัน หรือยอมรับเหตุผล
• ช่วยให้นักเรียนสำมำรถ ที่จะศึกษำค้นคว้ำ • น�ำเสนอผลที่ได้ศึกษำ ของคนอื่นเพื่อกำร
สรุปประเด็นส�ำคัญที่เป็น อย่ำงถ่องแท้ • นักเรียนสำมำรถน�ำ

2. ส�ารวจค้นหา : Explore
ค้นคว้ำมำในรูปแบบ สร้ำงสรรค์ควำมรู้
หัวข้อกำรเรียนรู้ของ แล้วลงมือปฏิบตั ิ สำรสนเทศต่ำงๆ เช่น ควำมรู้ที่สร้ำงขึ้นใหม่
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ไปเชื่อมโยงกับ ร่วมกัน
บทเรียนได้ เขียนแผนภูมิ แผนผัง
ควำมรู้ แสดงมโนทัศน์ ประสบกำรณ์เดิม • นักเรียนสำมำรถ
• ส�ำรวจตรวจสอบ เขียนควำมเรียง โดยน�ำข้อสรุปที่ได้ไป ประเมินผลกำรเรียนรู้
อธิบำยในเหตุกำรณ์ ของตนเอง เพื่อสรุปผล
โดยวิธีกำรต่ำงๆ เช่น เขียนรำยงำน เป็นต้น
สัมภำษณ์ ทดลอง ต่ำงๆ หรือน�ำไปปฏิบัติ ว่ำนักเรียนมีควำมรู้
อ่ำนค้นคว้ำข้อมูล ในสถำนกำรณ์ใหม่ๆ อะไรเพิ่มขึ้นมำบ้ำง
ที่เกี่ยวข้องกับชีวิต มำกน้อยเพียงใด และ
จำกเอกสำร แหล่ง

3. อธิบายความรู้ : Explain
ข้อมูลต่ำงๆ จนได้ ประจ�ำวันของตนเอง จะน�ำควำมรู้เหล่ำนั้น
ข้อมูลควำมรู้ตำมที่ เพื่อขยำยควำมรู้ ไปประยุกต์ใช้ในกำร
ควำมเข้ำใจให้ เรียนรู้เรื่องอื่นๆ
ตั้งประเด็นศึกษำไว้
กว้ำงขวำงยิ่งขึ้น ได้อย่ำงไร
• นักเรียนจะเกิดเจตคติ
และเห็นคุณค่ำของ
ตนเองจำกผลกำร
เรียนรู้ที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็น

4. ขยายความเข้าใจ : Expand
กำรเรียนรู้ที่มีควำมสุข
อย่ำงแท้จริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามวัฏจักรการสร้างความรู้แบบ 5Es จึงเป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน


เป็นส�าคัญ สอดคล้องกับบันได 5 ขั้น ของ สพฐ. โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้กระบวนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
และฝึกฝนให้ใช้กระบวนการคิดและกระบวนการกลุ่มอย่างช�านาญ ก่อให้เกิดทักษะที่จ�าเป็นในศตวรรษที่ 21 คือ
ทักษะการท�างาน ทักษะชีวิต และการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพ ตามเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2556 - 2558) ทุกประการ

เสริม 2 5. ตรวจสอบผล : Evaluate

เนื้อหาในเลม กระบวนการจัดการเรียนรูแบบ 5Es


กระตุนความสนใจ

อธิบายความรู
Engage
สํารวจคนหา
Explore
อธิบายความรู
Explain ขยายความเขาใจ
Expand
ตรวจสอบผล
Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)
กระตุนความสนใจ
Engage
สํารวจคนหา
Explore
อธิบายความรู
Explain ขยายความเขาใจ
Expand
ตรวจสอบผล
Evaluate
กระบวนการจัดการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์
๒๔๕๐

1. ใหนักเรียนศึกษาเสนเวลา และ

ช่วยเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้

สุนทรภูไ ดรบั ความลําบากมาก
สันนิษฐานวาอยูในสมณเพศ
ถึงสองครั้ง กลาวคือ
มีชวงเวลาหนึ่งที่ละสมณเพศ
ออกมาทําการคาขายเล็กๆ
นอยๆ และขายฝปากเลี้ยงชีพ

อธิบายผลงานตางๆ ของสุนทรภู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%) อธิบายความรู


ชวงแผนดินรัชกาลที่

มหากวีสี่แผนดิน จากบทประพันธตอไปนี้
สุนทรภูสิ้นชีวิตขณะอายุได ๖๙ ป

2. ครูสุมนักเรียนมาอธิบาย
พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑

“ฝายเงือกนํ้าคํานับอภิวาท
เสภาเรื่องพระราชพงศาวดาร
แผนดินรัชกาลที่ ๔

หนาชั้นเรียน แมของเจาเขาเปนเชื้อผีเสื้อสมุทร ขึ้นไปฉุดฉวยบิดาลงมาได ขาพระบาททราบสิ้นทุกถิ่นฐาน


ในราวป พ.ศ. ๒๓๙๘

เหเรื่องพระอภัยมณี

จึงกําเนิดเกิดกายสายสุดใจ จนเจาไดแปดปเขานี่แลว อันนํ้านี้มีนามตามบุราณ


เหเรื่องโคบุตร
เจาอยูหัว ดังนั้นสุนทรภูไดรับ

ผลงานประพันธ
แตงตั้งเปนเจากรมอาลักษณ
พระบาทสมเด็จพระปนเกลา

เหเรื่องกากี
เหจับระบํา

ไปเปดประตูคูหาถาเขาเห็น ตายหรือเปนวาไมถูกเลยลูกแกว
เมื่อลาสิกขาบท สุนทรภูได

อภัยนุราช

อโนมานเคียงกันสีทันดร”
ขอมูลทั่วไป
ภายหลังไดสถาปนาเปน
กรมขุนอิศเรศรังสรรค

แมนสินสมุทรสุดสวาทพอคลาดแคลว ไมรอดแลวบิตุรงคก็คงตาย
เสนสัญลักษณ

สะทอนใหเห็นคุณคาดานสังคม
รับการอุปถัมภจาก

ฝายพระราชวังบวร

ขอสอบ ป 53
มีบรรดาศักดิ์เปน
ราว พ.ศ. ๒๓๙๔
พระสุนทรโวหาร

NET
พระโอรสรูแจงไมแคลงจิต รําคาญคิดเสียใจมิใครหาย และวิถีไทยอยางไร

เน�้อหาชวยครูเตรียมการสอน
ขอสอบออกเกี่ยวกับประวัติและ (แนวตอบ สะทอนใหเห็นความสําคัญ
ดวยแมกลับอัปลักษณเปนยักษราย ก็ฟูมฟายชลนาโศกาลัย
ผลงานของสุนทรภู โดยโจทยกําหนด ๒๓๙๔
ของการไหว เปนคุณคาทางวัฒนธรรม
ฝายเงือกนํ้านอนกลิ้งนิ่งสดับ กิตติศัพทสองแจงแถลงไข ของไทยและเปนมรดกของชาติ)
๒๔๐๐
พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔

การเขารับ ประวัติ
พระอักษรเจาฟาชายกลาง

รูภาษามนุษยแนในใจ จะกราบไหววอนวาใหปรานี
แผนดินรัชกาลที่ ๓

เปนพระอาจารยถวาย

๒๓๙๘
เพลงยาวถวายโอวาท

ราชการในสมัย ความเปนมา
ในราว พ.ศ. ๒๓๗๒
ในราว พ.ศ. ๒๓๖๙

พระโอรสในเจาฟา
และเจาฟาชายปว

คอยเขยื้อนเลื่อนลุกขึ้นทั้งเจ็บ ยังมึนเหน็บนอมประณตบทศรี
ไมปรากฏปที่แนชัด
สุนทรภูออกบวช

รัตนโกสินทร ในวัยเด็ก
กุณฑลทิพยวดี

ไมปรากฏปที่แนชัด

ตอนตน ๒๓๘๘-๒๓๙๒
พระผานเกลาเจาฟาในธาตรี ขาขอชีวิตไวอยาใหตาย
๒๓๘๓-๒๓๘๕
๒๓๘๔
๒๓๘๕
พระราชบุตรฉุดลากลําบากเหลือ ดังหนังเนื้อนี้จะแยกแตกสลาย เกร็ดแนะครู
สุนทรภู
๒๓๗๓
๒๓๗๒ ๒๓๘๐-๒๓๘๓ ทั้งลูกเตาเผาพงศก็พลัดพราย ยังแตกายเกือบจะดิ้นสิ้นชีวัน ครูเพิ่มเติมความรูความสําคัญของ
๒๓๖๙
๒๓๗๕ พระองคเลาเขาก็พาเอามาไว เศราพระทัยทุกขตรอมเหมือนหมอมฉัน การมี สั ม มาคารวะ การไหว ที่ มี
บทกลอน พระบาทสมเด็จ-

ทีท่ า ชาง เมือ่ พ.ศ. ๒๓๕๙


พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๓๖๗

จุดหักเห ผลงานสําคัญ ขอพระองคจงโปรดแกโทษทัณฑ ชวยผอนผันใหตลอดรอดชีวา เอกลักษณในลักษณะตางๆ เชน การ


ขุนชางขุนแผน

เกร็ดแนะครู
พระพุทธเลิศหลานภาลัย

ตําแหนงขุนสุนทรโวหาร

แทรกความรู้เสริม ข้อเสนอแนะ ข้อควรระวัง


พระราชทานบานพักให

ตอนกําเนิด
แผนดินรัชกาลที่ ๒

พลายงาม
ในกรมพระอาลักษณ

๒๓๗๑
ในชีวิต นิราศพระบาท
โปรดใหรับราชการ

ไหวญาติผูใหญ การไหวพระ เปนตน


นิราศภูเขาทอง

ซึ่งปากถํ้าทําลายลงเสียหมด ใหโอรสยกตั้งบังคูหา
นิราศวัดเจาฟา
นิราศอิเหนา

สุภาษิตสอนสตรี
พระไชยสุริยา

นิราศสุพรรณ

นิราศเมืองเพชร
มีชื่อเสียงทางดาน

รําพันพิลาป
นิราศพระประธม
ลักษณวงศ
สิงหไกรภพ
สวัสดิรักษา
เปนกวีที่ปรึกษา

พระอภัยมณี
ไมปรากฏปที่แนชัด
ขาเห็นอยางนางมารจะนานมา จะอาสาเกลี่ยทรายเสียใหดี โดยครูใหนักเรียนรวมกันสาธิตการ
แผนผังความคิดขางตน ควรเปน ๒๓๖๔ หนึ่งพวกพองของขาคณาญาติ ขอรองบาทบงกชบทศรี ไหวแบบตางๆ
ไมปรากฏปที่แนชัด
องคประกอบของเรื่องใด แมนประสงคสิ่งไรในนที ที่สิ่งมีจะเอามาสารพัน
๒๓๕๐

๒๓๕๙
สุนทรภู มหากวีสี่แผนดิน

1. ชีวประวัติของบุคคลสําคัญ
พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒

พระฟงเงือกพูดไดใหสงสาร จึงวาทานคิดนี้ดีขยัน
มีเหตุใหตองติดคุก
เพราะดื่มสุราและ
อาละวาด แตสุดทาย
ไดรับพระราชอภัยโทษ
เมื่อมีโอกาสไดถวาย
กลอนตองพระราชหฤทัย
พระอภัยมณี
แผนดินรัชกาลที่ ๑

ข้อสังเกต และแนวทางการจัดกิจกรรม
2. ชีวิตกวีเอก : สุนทรภู
อภัยโทษในป พ.ศ. ๒๓๔๙

นักเรียนควรรู
แตเมื่อกรมพระราชวังหลัง
นิราศเมืองแกลง

รูเจรจาสารพัดนาอัศจรรย อยูพูดกันอีกสักหนอยจึงคอยไป
สุนทรภูลอบรักกับแมจัน

เสด็จทิวงคตจึงไดรับการ
ทั้งสองจึงตองโทษจําคุก
นิราศพระบาท
เดือน ๘ ขึ้น ๑ คํ่า ปมะเมีย
ตรงกับวันที่ ๒๖ มิถุนายน
๒๓๒๙ ณ บริเวณดานเหนือ

3. บุคคลในประวัติศาสตรไทย
(สถานีรถไฟบางกอกนอย
รัชกาลที่ ๑ เมื่อวันจันทร

เราตรองตรึกนึกจะหนีนางผีเสื้อ แตใตเหนือไมรูแหงตําแหนงไหน
จุลศักราช ๑๑๔๘ หรือ

นางขาหลวงในวัง
โคบุตร

4. วรรณคดีชิ้นเอกของสุนทรภู ธาตรี เป น คํ า ที่ มี ค วามหมายว า


สุนทรภูเกิดในสมัย

ของพระราชวังหลัง

ทานเจนทางกลางทะเลคะเนใจ ทํากระไรจึงจะพนทนทรมาน
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อพิจารณาจาก แผนดิน เชน ธาษตรี ปฐพี ปฐวี ปถวี
ในปจจุบัน)

๒๓๕๐
แผนผั ง ความคิ ด ที่ โ จทย กํ า หนดจะ ๒๓๔๙ ฝายเงือกนํ้าคํานับอภิวาท ขาพระบาททราบสิ้นทุกถิ่นฐาน ปถพี ไผท พสุธา ภพ ภูวดล วสุธา
พบขอความที่ปรากฏในแผนผังเปน เมทินี เปนตน
เขาสูโลกของการประพันธ

อันนํ้านี้มีนามตามบุราณ อโนมานเคียงกันสีทันดร
มีความรูพอเปนเสมียน
แตภายหลังไดหันหนา
ชีปะขาว (ศรีสุดาราม)

๒๓๒๙
หนังสือกับพระที่วัด

เรื่องเกี่ยวกับชีวิตของสุนทรภู เพราะ
ชวงวัยเด็กไดเรียน

เปนเขตแควนแดนที่นางผีเสื้อ ขางฝายเหนือถึงมหิงษะสิงขร

นักเรียนควรรู ขยายความรู้เพิ�มเติมจากเน�้อหา เพื่อให้ครูน�าไปใช้


มีประวัติความเปนมาในวัยเด็ก การ ขางทิศใตไปจนเกาะแกวมังกร หนทางจรเจ็ดเดือนไมเคลื่อนคลา
เขารับราชการในสมัยรัตนโกสินทร ไปกลางยานบานเรือนหามีไม สมุทรไทซึ้งซึกลึกนักหนา
ตอนต น มี จุ ด หั ก เหในชี วิ ต ที่ ต  อ ง แตสําเภาชาวเกาะเมืองลังกา เขาแลนมามีบางอยูลางป
นักเรียนควรรู
๒๓๐๐

ติดคุกและตกอับในสมัยรัชกาลที่ 3 มี ถาเสียเรือเหลือคนแลวนางเงือก ขึ้นมาเลือกเอาไปชมประสมศรี ลางป เปนคําโบราณมักมีปรากฏใน


ผลงานกวีที่สําคัญ คือ นิราศพระบาท บทประพันธ ปจจุบันใชคําวา “บางป”
พระอภัยมณี ซึ่งเปนขอความที่บงชี้ ๓๙

อธิบายเพิ�มเติมให้นักเรียน
ว า เกี่ ย วกั บ ความเป น มาของชี วิ ต
กวีเอก : สุนทรภู ตอบขอ 2.) @
มุม IT
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติและผลงานของสุนทรภู ไดที่
http://www.rayong.go.th/redcross/data/history/history15.pdf
http://hilight.kapook.com/view/24209
32 คูมือครู

คูมือครู 39
@ มุม IT แนะน�าแหล่งค้นคว้าจากเว็บไซต์

สวนเสริมด้านท้าย
แบบทดสอบว�ชา
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


ภาคเร�ยนที่
ชุดที่ 1
1 ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
50 แบบทดสอบอิงมาตรฐาน โครงการบูรณาการ
การเร�ยนรูสูบันได 5 ขั้น
โครงการบูรณาการ
เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..

ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน


โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด
¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
เนนการคิด 1.

2.
ชื่อโครงการ วรรณกรรมพื้นบาน
หลักการและเหตุผล
วรรณกรรมพื้นบานเปนสวนหนึ่งของการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ในปจจุบันมีสื่อตางๆ มากมายในสังคม ทําใหสภาพสังคม
เปลี่ยนแปลงไป นักเรียนจึงสนใจวรรณกรรมพื้นบานนอยลง ดังนั้น เพื่อไมใหวรรณกรรมพื้นบานซึ่งเปนภูมิปญญาไทยที่มีคุณคาไดรับ
ความนิยมลดลง นักเรียนจึงควรศึกษาและรวบรวมวรรณกรรมพื้นบานเพื่อไมใหวรรณกรรมนี้สูญหายไปจากสังคมไทย
การเรียนรูสูบันได 5 ขั้น
วิเคราะห์มาตรฐานตัวชี้วัด เป็นตัวอย่างการจัดท�า
¤Ðá¹¹àµçÁ
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 40
3. วัตถุประสงคของโครงการ
1.
A
“งานประพันธที่มีรูปแบบเหมาะกับเนื้อหา มีศิลปะ
การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และ
4.
F
“วรรณคดีไทยคือกระจกเงาสะทอนสังคมในยุคนั้นๆ” ● 1.
2.
เพือ่ ใหนกั เรียนระบุปญ
 หาทีว่ รรณกรรมพืน้ บานหายไปจากสังคมไทยได และเพือ่ รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บานทีม่ ปี รากฏอยูใ นสังคมไทย
เพื่อใหนักเรียนมีการวางแผนปฏิบัติการในการจัดการศึกษา เพื่อรวบรวมวรรณกรรมพื้นบานไมใหสูญหายไปจากสังคมไทย
ขอใดสอดคลองกับคํากลาวนี้มากที่สุด 3. เพื่อใหนักเรียนตระหนักถึงคุณคาของวรรณกรรมพื้นบาน
แบบทดสอบ

จินตนาการของมนุษยเปนเรื่องราวที่นาสนใจได”
1. วรรณคดีไทยกลาวถึงประวัติของชนชาติไทย 4. เพื่อสงเสริมใหนักเรียนวางแผนการศึกษาวรรณกรรมพื้นบาน
แบบทดสอบ

ที่สัมพันธ์กับแบบทดสอบ โครงการ เพื่อเป็นแนวทาง


ขอความนี้เปนลักษณะของคําในขอใด 2. วรรณคดีไทยกลาวถึงประวัติของกวีแตละสมัย 5. เพื่อใหนักเรียนเผยแพรความรูเรื่องวรรณกรรมพื้นบานที่นักเรียนนํามาศึกษา
1. วรรณคดี 3. วรรณคดีไทยกลาวถึงความคิดเห็นของคนไทย
2. วรรณศิลป 4. วรรณคดีไทยกลาวถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรมในอดีต 4. เปาหมาย
3. วรรณกรรม 5. วรรณคดีใหคุณคาทางดานสังคมอยางไร ผูเขารวมโครงการหรือนักเรียนรูจักและเห็นคุณคาของวรรณกรรมพื้นบานมากขึ้น
โครงการบูรณาการ

โครงการบูรณาการ

4. ฉันทลักษณ F 1. ใหความเพลิดเพลิน
2. ใหความเขาใจในชีวิต 5. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
2. “งานประพันธที่มีเนื้อหาพรรณนาถึงการเดินทาง 3. ใหแนวคิดและกลวิธีในการนําเสนอ

วิเคราะห์ระดับพฤติกรรม ในการน�าความรู้ที่เรียน
B และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก 4. ใหประสบการณที่สามารถนําไปประยุกตใชได คําชีแ้ จง ใหนกั เรียนแบงกลุม เทาๆ กัน ใหแตละกลุม รวมกันประชาสัมพันธโครงการวรรณกรรมพืน้ บานในรูปแบบตางๆ โดยปฏิบตั ติ าม
ตลอดการเดินทาง” ขั้นตอน ดังนี้
6. ครืนครืนใชฟารอง เรียมครวญ ขั้นที่ 1 ตั้งประเด็นคําถาม
ขอความนี้เปนลักษณะของคําประพันธชนิดใด
1. ฉันท
E
บทประพันธในขอใดมีลักษณะการใชภาพพจน ตรงกับ
● นักเรียนแตละกลุม รวมกันวิเคราะหสาเหตุทวี่ รรณกรรมพืน้ บานสูญหายไปจากสังคมไทย เพือ่ กําหนดประเด็นในการศึกษา
คนควา และจัดทําขอมูลลงในหนังสือทํามือ วรรณกรรมพื้นบาน
2. ลิลิต บทประพันธขางตน
ขั้นที่ 2 สืบคนความรู
3. นิราศ 1. เสียงรํ่าไหสนั่นกอง กังวาน นักเรียนแตละกลุมศึกษาขอมูลความรูเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบาน จากแหลงขอมูล เพื่อรวบรวมขอมูลสําหรับเผยแพร

การคิดที่สัมพันธ์กับ ไปประยุกต์ใช้
4. กาพย 2. เรียมรํ่านํ้าเนตรถวม ถึงพรหม ในหนังสือทํามือ วรรณกรรมพื้นบาน
3. การแบงประเภทของวรรณคดีตามลักษณะของเนือ้ หา 3. วังเอยวังเวง หงางเหงงยํ่าคํ่าระฆังขาน
4. แมวเอยแมวเหมียว รูปรางปราดเปรียวเปนนักหนา ขั้นที่ 3 สรุปองคความรู
B ขอใดกลาวถูกตอง นักเรียนแตละกลุม นําเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษามารวมกันคิดวิเคราะห สังเคราะหปญ
 หาทีว่ รรณกรรมพืน้ บานสูญหายไป
1. โคลงโลกนิติจัดเปนวรรณคดีคําสอน 7. ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากขออื่น จากสังคมไทย และสรุปเปนองคความรู พรอมเขียนวรรณกรรมพื้นบานที่ไดจากแหลงขอมูลที่ศึกษาลงในหนังสือทํามือ
2. ลิลิตนารายณสิบปางจัดเปนวรรณคดีการละคร E 1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง วรรณกรรมพื้นบาน
3. ไตรภูมิพระรวงจัดเปนวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ 2. กระแหแหหางชาย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม
ขั้นที่ 4 การสื่อสารและนําเสนอ
4. เสภาพระราชพงศาวดารจัดเปนวรรณคดี 3. เพียนทองงามดั่งทอง ไมเหมือนนองหมตาดพราย

แบบทดสอบ
นักเรียนแตละกลุมตรวจสอบความถูกตองของการเขียนโครงการ วรรณกรรมพื้นบาน จากนั้นตัวแทนแตละกลุมนําเสนอ
ขนบธรรมเนียมประเพณี 4. ลูกผูชายลายมือนั้นคือยศ เจาจงอตสาหทาํ สมํา่ เสมียน ขอมูลหนาชั้นเรียน
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา ขั้นที่ 5 บริการสังคมและสาธารณะ
A B C D E F นักเรียนแตละกลุมดําเนินการนําหนังสือทํามือ วรรณกรรมพื้นบาน ที่ทําเสร็จแลวแจกจายใหกับเพื่อนนักเรียนหองอื่น
หรือบุคลากรในโรงเรียน เพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบาน จากนั้นนําผลงานมาจัดแสดงในชั้นเรียน
โครงการวัดและประเมินผล (2)
(46)

มีเฉลยละเอียด
โครงการวัดและประเมินผล

ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา


A B C D E F

เสริม 1
การใช้วัฏจักรการเรียนรู้ 5Es : กระบวนการพัฒนาศักยภาพการคิด
และการสร้างองค์ความรู้
รูปแบบการสอนที่สัมพันธ์กับกระบวนการคิดและการท�ำงานของสมองของผู้เรียนที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย
ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ คือ วัฏจักรการเรียนรู้ 5Es ซึ่งผู้จัดท�ำคู่มือครูได้น�ำมาใช้เป็นแนวทางออกแบบ
กิจกรรมการเรียนการสอนในคู่มือครูฉบับนี้ตามล�ำดับขั้นตอนการเรียนรู้ ดังนี้

กระตุน้ ความสนใจ ส�ำรวจค้นหา อธิบายความรู้ ขยายความเข้าใจ ตรวจสอบผล


Engage Explore Explain Expand Evaluate
• เป็นขั้นที่ผู้สอนน�ำเข้าสู่
• เป็นขั้นที่ผู้สอนเปิด • เป็นขั้นที่ผู้สอนมี • เป็นขั้นที่ผู้สอนได้ใช้ • เป็นขั้นที่ผู้สอนประเมิน
บทเรียน เพื่อกระตุ้น โอกาสให้ผู้เรียนสังเกต ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เทคนิควิธีการสอน มโนทัศน์ของผู้เรียน
ความสนใจของนักเรียน และร่วมมือกันส�ำรวจ เช่น ให้การแนะน�ำ ที่ช่วยพัฒนาผู้เรียน โดยตรวจสอบจาก
ด้วยเรื่องราว หรือ เพื่อให้เห็นปัญหา ตั้งค�ำถามกระตุ้นให้คิด ให้น�ำความรู้ที่เกิดขึ้น ความคิดที่เปลี่ยนไป
เหตุการณ์ที่น่าสนใจ รวมถึงวิธีการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนได้ค้นหา ไปคิดค้นต่อๆ ไป และความคิดรวบยอด
ค้นคว้าข้อมูลความรู้ ค�ำตอบ เพื่อพัฒนาทักษะ ที่เกิดขึ้นใหม่ ตรวจสอบ
• ใช้เทคนิควิธีการสอน
และค�ำถามทบทวนความรู ้ ที่จะน�ำไปสู่ความเข้าใจ การเรียนรู้และ ทักษะ กระบวนการ
• น�ำข้อมูลความรู้จาก
ประเด็นปัญหานั้นๆ การท�ำงานร่วมกัน ปฏิบัติ การแก้ปัญหา
หรือประสบการณ์เดิม การศึกษาค้นคว้า
ของผู้เรียน เพื่อเชื่อมโยง • ให้นักเรียนท�ำความ เป็นกลุ่ม ระดมสมอง การตอบค�ำถามรวบยอด
ในขัน้ ที่ 2 มาวิเคราะห์
เพื่อคิดสร้างสรรค์ และการเคารพความคิด
ผู้เรียนเข้าสู่บทเรียนใหม่ เข้าใจในประเด็นหัวข้อ แปลผล สรุปผล
ร่วมกัน หรือยอมรับเหตุผล
ที่จะศึกษาค้นคว้า
• ช่วยให้นักเรียนสามารถ • น�ำเสนอผลที่ได้ศึกษา ของคนอื่นเพื่อการ
สรุปประเด็นส�ำคัญที่เป็น อย่างถ่องแท้ • นักเรียนสามารถน�ำ
ค้นคว้ามาในรูปแบบ สร้างสรรค์ความรู้
แล้วลงมือปฏิบตั ิ ความรู้ที่สร้างขึ้นใหม่
หัวข้อการเรียนรู้ของ สารสนเทศต่างๆ เช่น ร่วมกัน
เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล ไปเชื่อมโยงกับ
บทเรียนได้ เขียนแผนภูมิ แผนผัง
ความรู้ ประสบการณ์เดิม • นักเรียนสามารถ
แสดงมโนทัศน์
โดยน�ำข้อสรุปที่ได้ไป ประเมินผลการเรียนรู้
• ส�ำรวจตรวจสอบ เขียนความเรียง
อธิบายในเหตุการณ์ ของตนเอง เพื่อสรุปผล
โดยวิธีการต่างๆ เช่น เขียนรายงาน เป็นต้น
ต่างๆ หรือน�ำไปปฏิบัติ ว่านักเรียนมีความรู้
สัมภาษณ์ ทดลอง
ในสถานการณ์ใหม่ๆ อะไรเพิ่มขึ้นมาบ้าง
อ่านค้นคว้าข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องกับชีวิต มากน้อยเพียงใด และ
จากเอกสาร แหล่ง
ข้อมูลต่างๆ จนได้ ประจ�ำวันของตนเอง จะน�ำความรู้เหล่านั้น
เพื่อขยายความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในการ
ข้อมูลความรู้ตามที่
ความเข้าใจให้ เรียนรู้เรื่องอื่นๆ
ตั้งประเด็นศึกษาไว้
กว้างขวางยิ่งขึ้น ได้อย่างไร
• นักเรียนจะเกิดเจตคติ
และเห็นคุณค่าของ
ตนเองจากผลการ
เรียนรู้ที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็น
การเรียนรู้ที่มีความสุข
อย่างแท้จริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามวัฏจักรการสร้างความรู้แบบ 5Es จึงเป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน


เป็นส�ำคัญ สอดคล้องกับบันได 5 ขั้น ของ สพฐ. โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้กระบวนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
และฝึกฝนให้ใช้กระบวนการคิดและกระบวนการกลุ่มอย่างช�ำนาญ ก่อให้เกิดทักษะที่จ�ำเป็นในศตวรรษที่ 21 คือ
ทักษะการท�ำงาน ทักษะชีวิต และการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพ ตามเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2556 - 2558) ทุกประการ

เสริม 2
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๓
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง
นางฟองจันทร สุขยิ่ง
นางกัลยา สหชาติโกสีย
นายภาสกร เกิดออน
นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ
นายศานติ ภักดีคํา
นายพอพล สุกใส

ผูตรวจ
นางจินตนา วีรเกียรติสุนทร
นางวรวรรณ คงมานุสรณ
นายศักดิ์ แวววิริยะ

บรรณาธิการ
นายเอกรินทร สี่มหาศาล
นางประนอม พงษเผือก

รหัสสินคา ๒๓๔๑๐๑๓

คณะผูจัดทําคูมือครู
¾ÔÁ¾¤ÃÑ駷Õè 11 • ประนอม พงษเผือก • พิมพรรณ เพ็ญศิริ
ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2341013 • สมปอง ประทีปชวง
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๓
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

หนังสือเลมนี้ไดรับการคุมครองตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ หามมิใหผูใด ทําซ้ํา คัดลอก เลียนแบบ ทําสําเนา จําลองงานจากตนฉบับหรือแปลงเปนรูปแบบอื่น


ตือน

ในวิธีตางๆ ทุกวิธี ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ถือเปนการละเมิด ผูกระทําจะตองรับผิดทั้งทางแพงและทางอาญา


คําเ

พิมพครั้งที่ ๑๘
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
ISBN :
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹
หนังสือเรียน วรรณคดีและวรรณกรรมเลมนี้ เปนสื่อสําหรับใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐาน
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓
เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียน
ตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียน
การสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําใหผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ
à¡ÃÔ¹è ¹íÒà¾×Íè ãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ
ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹
¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº ໚¹àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ
Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ â´ÂÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

๑ ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ หมอมเจาอิศรญาณนิพนธเ
พลงยาว ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº
างวา “เพลงยาวอิศรญาณ”
อิศรญาณภาษิต เรียกอีกอย ้น พรอมเสนอแนะแนวทางป
ฏิบัติตนแตไมถึง
คิดเห็นที่มีตอสังคมในยุคนั
ฉบับนี้ขึ้น เพื่อสะทอนความ คําสุภาษิต
ขั้นสอน คําสุภาษิต ซึง่ คนไทยสมยั เกาคิ
ดขึน้ ใช มีความหมายหลายปร
ตรงทีใ่ ชเขียน หรือพูดใหผฟ ู ง ผูอ า นคิดและรูค วามหมาย ะการแตกตางไปจากความหมาย
๒ »ÃÐÇѵԼٌᵋ§ นามเดิม)
เปรย ดูหมิ่น เปนถอยคําสามั
ญที่ใชป
สะกิดใจ ชวนคิด สุภาษิตไทยโบรา ระยคสั้นๆ แตความหมายลึกซึ้งคมคาย ไพเราะ เจ็บแสบ
เชน กลาวเขียนเพือ่ สอนใจ ชมเชย
เปรียบ
หมอมเจาอิศรญาณ (ไมทราบพระ ๓๐๐ - ๔๐๐ ปลงมาจนถึงสมัย
ณผูกขึ้นจากสิ่งแวดลอมความเป
ชาวตะวันตกเดินเรือสํารวจโลกม นอยูของผูคนตั้งแตชวงเวลา
ศเธอ กรมหลวง
เปนพระโอรสในพระเจาบรมวง พ.ศ. ๑๕๑๑ าถึงตะวันออกในสมัยอยุธยา
ราว
พระอง ค ท รงผนว ชที ่วัดบวร- ตัวอยางคําสุภาษิตของไทยสมั
มหิศวรินทรามเรศ สุภาษิตของไทยแทมาเกากอ
ยโบราณ ซึ่งเปน
 า อิ สฺ ส รญาโณ มี น ไดถูกเปลี่ยนแปลง
นิ เ วศฯ ได พ ระนาม ฉายาว นําเอาชื่อของสินคาอันเปนพื
สมัยพระบาทสมเด็จ- ชของฝรั
ชาวไทย คําสุภาษิตที่วา “ฆาควายอย ่งนําเขามาขาย
พระชนมชีพอยูในชวงรัช าเสียดายเกลือ”
“เกลือ” เครื่องปรุงที่ใชสําหรั
พระจอมเกลาเจาอยูหัว ตากแห ง ไว เ ป น เสบี ย งกรั ง เก็
บหมักเนื้อหรือปลาสด
วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร บ ไว กิ น ได น านไม บู ด
๓ ÅѡɳФӻÃоѹ¸ นธประเภทกลอนเพลงยาว ซึ่งมีลักษณะบังคับเหมือน
ไม เ สี ย สุ ภ าษิ ต ข อ นี้ ผู  รู  ส มั ย
กิ น สิ น
คําวา “เกลือ” เปน “พริก” ฆาควายอย ค า ฝรั่ ง เปลี่ ย น
าเสียดายพริก”
าประพั
อิศรญาณภาษิตแตงดวยคํ
พริกในที่นี้อาจจะมาจากคําวา
พริกไทย ซึ่งเปนสินคา
วา เอย ดังนี้

ò
ดวยวรรครับและจบดวยคํา ของพวกโปตุเกส สเปน ตัดชื
่อออกเหลือแค “พริก”
กลอนสุภาพ แตจะขึ้นบทแรก คงจะตองการใหคลองกับวรรคที
อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร หนึ่งวา“รักหยอกจะเกรงอะไร
่เพิ่มขึ้นใหมอีกวรรค
หนวยที่ โดยตํานานศุภอรรถสวัสดี ปฏิทรรศน (paradox) เปนคํ
กับหยิก”
ากล
เทศนาคําไทยใหเปนทาน ... จนไมนาเปนไปได แตหากพิจารณาให าวที่ขัดแยงกันเองในคํากลาวนั้นหรือในสถานการณน
................................................
พระอภัยมณี ตอ ........................ ............ ............ ... ความจริงอีกดวย การใชปฏิท ลึกแลว คํากลาวหรือสถานกา
รณนั้นกลับเปนไปไดและเปน
ั้น

ตัวชี้วัด นหนีนางผีเสื้อ แสนประเสริฐเลิศภพจบธ าตรี ยังจรลีเขาสูนิพพานเอยฯ


สุภาษิตไทยที่มีลักษณะเปนปฏิ
รรศนในคํ
สามารถในการใชความคิดและการใ าสุภาษิตไทยเปนการแสดงปฏิกิริยาไหวพริบ และความ
ชภาษาอยางรอบคอบลึกซึ้งทั
้งผูกลาวและผูตีความหมาย
สรุปเนื้อหาวรรณคดี ทรรศน เชน
รักยาวใหบั่น รักสั้นใหตอ

ขึ้น (ท ๕.๑ ม.๓/๑ วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ


■ วิเคราะหวิถีไทยและ
) งถิ่นในระดับที่ยากยิ
่ง นิ ท านคํ า กลอ
แพเปนพระ ชนะเปนมาร
(ท ๕.๑ ม.๓/๒) คุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมท
สรุปความรูและข ี่อาน เปนจินตนิยายท นเรื่ อ งพร ะอภั ย มณี
ี่ม ๔ àÃ×èÍ§Â‹Í นําเกี่ยวกับการประพฤติป
ฏิบัติตน ยิ่งรีบยิ่งชา เปนตน
ได ป ระส มปร ะสา ีแนวคิดแปลกใหม โดย งสั่งสอนแบบเตือนสติและแนะ

อคิ
(ท ๕.๑ ม.๓/๓) ดจากการอานเพื่อนําไปประยุกต งจะอยูใน
ใชในชีวิตจริง นเห ตุ ก ารณ อิศรญาณภาษิตมีเนื้อหาเชิ าควรจะปฏิบัติตนอยางไรจึ
และจินตนาการม  ใ นชี วิ ต จริ ง
าะผูที่มีอํานาจมากกวา สอนว นเนนเรื่องการเห็นคุณคา
สาระการเรียนรูแกนกล สนุกสนาน ใหข าเรียงรอยเปนเรื่องราวที่
อ คิ ใหเปนที่พอใจของผูอื่น โดยเฉพ มสํ า เร็ จ สมหวั ง บางตอ
าง นิทานคาํ กลอนเรื ดคติธรรมในการดําเนินชีวติ างไรจึงจะประสบควา ั้งอาจเปนการ
■ วรรณคดี วรรณก สังคมไดอยางสงบสุข ทําอย ื่น โดยทั้งนี้การสอนบางคร
สบประมาทหรือดูแคลนผูอ
อ่
อันยิ่งใหญที่ผูอ งพระอภยั มณีจงึ เปนผลงาน
รรมและวรรณกรรมท
ประเพณี พิธีกรรม องถิ่นเกี่ยวกับศาสนา
ในประวัติศาสตร สุภาษิต คําสอน เหตุการณ
เพื่อรับรูความง
านควรอานอย
างพิ และความสําคัญของผูอื่นโดยไม
ามทางภาษาและข นิจพิจารณา งประชดประชัน
บั
การวิเคราะหวิถีไ นเทิงคดี
กลาวตรงๆ หรือใชถอยคําเชิ

ทยและคุณคาจากวร นําไปประยุกตใ
รณคดีและวรรณกรรม
ชในชีวิตประจํา อคิดที่สามารถ ๙๓
วันของตนเอง
๑๑๐

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ẋ§à¹×éÍËÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÍ͡໚¹ËÑÇ¢ŒÍ


¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ à¾×èÍãËŒÊÃØ»ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞä´ŒÊдǡ

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ ¤íÒÈѾ·¤ÇÃÃÙŒ ¨Ò¡à¹×éÍËÒà¾×èÍà¾ÔèÁ¾Ù¹ áÅÐ ¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä


µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹Ò ¢ÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä» ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒÁդسÀÒ¾
µÒÁµÑǪÕéÇÑ´

คําศัพท
ทร
ตแปลงเปนพระอิน
ครั้งที่ ๓ อินทรชิ  ในครั้งนี้
เวหน ความหมาย
ารบกับพระลักษมณ ทองฟา
ขี่ชางเอราวัณออกม
 ถ ู ก ศรพ รหม าสต ร ส ลบไป พร
อม สมรภูมิ
สนามรบ
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
พระ ลั ก ษมณ วัณ หนุมาน สรอยสุมาลี
งเขาหักคอชางเอรา
พลวานร หนุมานตร เมือ่ หนุมาน
ดอกไม ๑. ช้างเอราวัณมีลักษณะอย่างไร ให้นักเรียนทดลองวาดภาพช้างเอราวัณตามจินตนาการของนักเรียน
นศรจนสลบไปและ สหัสนัยน
ถูกอินทรชิตตีดว ยคั บ
ั พระร าม พันตา หมายถึง ๒. โวหารที่มีความเด่นชัดที่สุดในวรรณคดีเรื่องนี้ คือ โวหารประเภทใด
งฟนขึ้น ประกอบก สัตภัณฑ พระอินทร ๓. เพราะเหตุใดอินทรชิตจึงต้องแปลงกายเป็นพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณเพื่อเป็นกลลวงฝ่ายพระราม
ตองกระแสลมพัดจึ านไปนํา
ูมิ พิเภกจึงใหหนุม ชื่อหมูเขา ๗ ชั้น ทั้งๆ ที่อินทรชิตมีความช�านาญในการรบอย่างยิ่ง
และพิเภกมายังสมรภ และไพรพลไดกลิ่น นะ เนมินธร วินัน
ที่ลอมรอบเขาพระสุ
เมรุ ไดแก ยุคนธร
พระล ก
ั ษมณ สุบรรณ ตกะ และอัสกัณ อิสินธร กรวิก สุท ๔. นักเรียนสรุปข้อคิดที่ได้รับจากเรื่องบทพากย์เอราวัณ
ยาที่เขาสรรพยา ภนิยาชุบศร ัส
๕. คุณค่าทางด้านใดของเรื่องบทพากย์เอราวัณที่มีความโดดเด่นมากที่สุด
จึงกลับไปตัง้ พิธกี มุ ครุฑ พาหนะของ
สนามรบ ยาจึงฟน อินทรชิต พระนารายณ
ถูกศรนาคบาศกลาง ษมณลางพิธีได
ภาพวาดพระลักษมณ ๓ เลม แตพระลัก
รํ่าลาลูกเมีย แลวออก
ครั้งที่ ๔ อินทรชิต นําพาน
ลงศรตัดคอ องคต
ไปรบ ก็ถูกพระรามแผ งแผลงศรไป
และพระรามจึงตอ
แวนฟาไปรองรับ ระสาท
ทั้งนี้เพราะพระพรหมป
ทําลายใหเปนจุณ องฤทธ ิ์ “ถา
อินทรชิตใหเรื
ศรนาคบาศและอวยพร วตก
งตาย ก็ ใ ห ต ายบน อากาศ ถาแมนหั อมรินทร
แมนตอ
ถึงดิน จงกลายเป น
 ไฟกั ล ป เ ผาผล าญโลก”
อัปสร
พระอินทร กายม
ีสีเขียว เปนเทพส
ูงสุดบนสวรรคชั้น
ดาวดึงส
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
นางฟา
รั้งที่ อารักษ ศกึ ษาบทพากย์โขนตอนอืน่ ๆ ทีน่ กั เรียนสนใจเปรียบเทียบกลวิธกี ารใช้ภาษาว่ามีความ
พของอินทรชิต ากกอนการออกรบในค กิจกรรมที่ ๑
ภาพวาดงานพระศ นเพียงบางสวนในฉ า และ
เทพารักษ เทวดาผู
สอดคล้องกับเนื้อหา ฉาก และอารมณ์ความรู้สึกของตัวละครในเรื่องอย่างไร
ัณตอนที่นํามาศึกษาเป อินทเภรี พิทักษ
กษแปลงเปนเทวด
สําหรับบทพากยเอราว พระอินทร เหลายั นักเรียนอ่านบทพากย์เอราวัณในแบบท�านองเสนาะ ฝึกพากย์โขนแล้วลองสังเกต
ระเว ทของ พระอ ิศวรแปลงกายเปน ใ
 ห ร ะวั ง ตั ว เพราะเห็นแปลก
กลองที่ใชตีใหสัญ
ญาณในกองทัพเวลา กิจกรรมที่ ๒
่ง ใช พ ือนพระลั ก ษมณ ออกศึกในสมัยโบรา
๓ ของอินทรชิต ซึ ินทร ถอย ใหหยุด เปน เปรียบเทียบว่าแบบใดเกิดรสความ รสค�าไพเราะกว่ากัน
าบนฟา หนุมานเต างเชื่อวาเปนพระอ อินทรชิต ตน ณ เชน ตีบอกให
นชางเอราวัณลอยม และไพรพลวานรต
การุณราชแปลงเป น แตพระลักษมณ ินทรชิตแผลงศร ยักษตนหนึ่งชื่อเดิ
ลวนมีอาวุธครบครั น เปนโอกาสใหอ มคือ รณพักตร เป
นโอรส
ามงามอยางเพลิดเพลิ
กับนางมณโฑ อิน
ที่บรรดาเทพเทวดา ทรชิต แปลวา รบชน ของทศกัณฐ
เทวด าเสด ็ จ มาจร ิงๆ จึงเผลอชมคว ะพระอินทร
และเหล า น ใหเห็นถึงความ
ไป นตภาพใหแกผูอา
พรหมาสตรจนสลบ นการใชคําสรางจิ
ี้มีความโดดเดนดา
เนื้อเรื่องในตอนน ามา
่งใหญของกองทัพทั
้งสองฝาย งไรก็ตามไดมีการนํ
สวยงามและความยิ รั บ อิ ท ธิ พ ลมาจ ากอินเดีย แตอยา สนใจและทรง
แมวาวรรณคดีเรื่อ
งรามเกียรติ์จะได ดีเรื่องนี้มีความนา เอราวัณ
ย จึงทําใหวรรณค
มและรสนิยมของคนไท
เปนเทพบุตรองค
กั บ วั ฒ นธรร หนึ่งจะเนรมิตเปน
ปรับปรุงให เ ข า ชางทรง เมื่อพระอ
ินทรเสด็จ
นถึงปจจุบัน
คุณคาสืบเนื่องมาจ
135
๑๑๖ ๑๒๕
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

สารบัญ
ตอนที่ ๕
วรรณคดีและวรรณกรรม
บทนํา (๑)
หนวยการเรียนรูที่ ๑ บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒ พระอภัยมณ� ตอนพระอภัยมณ�หน�นางผีเสื้อ ๓๐
หนวยการเรียนรูที่ ๓ พระบรมราโชวาท ๖๖
หนวยการเรียนรูที่ ๔ อิศรญาณภาษิต ๙๒
หนวยการเรียนรูที่ ๕ บทพากยเอราวัณ ๑๑๔
บทอาขยาน ๑๓๗
บรรณานุกรม ๑๔๐
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate

เปาหมายการเรียนรู
บทนÓ • บอกความหมายความสําคัญของ
วรรณคดีและวรรณกรรมได
• อธิบายคุณคาของวรรณคดี
วรรณคดีเป็นผลงานการประพันธ์ทสี่ ร้างสรรค์ขนึ้ อย่างมีศลิ ปะและสืบทอดกันมาเป็นเวลานาน
ซึง่ ศิลปะในวรรณคดีเกิดจากการเลือกใช้ถอ้ ยค�าส�านวนโวหารทีไ่ พเราะน่าฟัง อ่านแล้วเกิดอารมณ์สนุ ทรีย์ - ดานเนื้อหา
และให้แง่คิดจรรโลงใจ น�าไปใช้เป็นแบบอย่างในการด�ารงชีวิตประจ�าวัน ดังนั้น วรรณคดีจึงเป็นสิ่งที่ - ดานวรรณศิลป
อนุชนรุ่นหลังควรรักษาไว้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติและสมควรอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์เพื่อ
- ดานสังคมและวิถีไทย
• ขอคิดที่นําไปประยุกตใชในชีวิต
รับรู้ความงามของภาษาและข้อคิดต่างๆ
ประจําวัน
๑ ความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรม คืองานประพันธ์ทุกชนิดที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง เป็นงานเขียนทั่วไปโดย กระตุนความสนใจ
ไม่ ไ ด้ พิ จ ารณาประเมิ น ค่ า ว่ า เป็ น หนั ง สื อ ดี แต่ ง ดี ห รื อ ไม่ หรื อ เขี ย นขึ้ น เพื่ อ ความมุ ่ ง หมายใด
ครูนํานักเรียนสนทนาการเรียน
วรรณกรรมมักใช้กับงานเขียนร่วมสมัย รวมถึงบทเพลง บทภาพยนตร์ บทละครโทรทัศน์ สิ่งพิมพ์
วรรณคดีและวรรณกรรมครูถาม
ค�าปราศรัย เทศนาและโปรแกรมคอมพิวเตอร์
นักเรียนวา
วรรณคดี คืองานประพันธ์ที่มีคุณค่าและมีวรรณศิลป์ มีศิลปะทางการประพันธ์อย่างสูง
• วรรณคดีและวรรณกรรมคือ
สามารถถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดและจินตนาการของมนุษย์ รวมทั้งบันทึกเรื่องราวชีวิตและ
อะไร
สังคมแต่ละยุคแต่ละสมัยไว้ วรรณคดีให้ประโยชน์ในการจรรโลงใจ ให้ความรู้ ให้คุณค่าทางอารมณ์ • นักเรียนเคยอานวรรณคดีเรื่อง
และปัญญา เป็นงานประพันธ์ที่ถือเป็นมรดกทางภาษาและภูมิปัญญาที่ได้รับการยกย่องผ่านกาลเวลา ใดบาง และชอบเรื่องใดมาก
เป็นระยะเวลานาน ที่สุด พรอมบอกเหตุผลที่ชอบ
การวิเคราะห์ คือการแยกแยะรายละเอียดออกเป็นส่วนๆ เพือ่ ศึกษาให้ถอ่ งแท้กา� หนดขอบเขต • นักเรียนรูจักวรรณคดีและ
สิ่งที่จะวิเคราะห์ให้ชัดเจนว่า จะวิเคราะห์อะไร มีจุดมุ่งหมายอย่างไร วิเคราะห์เพื่ออะไร ควรพิจารณา วรรณกรรมไทยเรื่องใดบาง
หลักความรูว้ า่ จะใช้หลักใดเป็นเครือ่ งมือในการวิเคราะห์ และต้องรูว้ า่ จะวิเคราะห์อย่างไร แล้วรายงาน
การวิเคราะห์ให้ชัดเจน เช่น วิเคราะห์บทละครร�า เรื่องสังข์ทอง โดยพิจารณารูปแบบว่าเป็นการ
ประพันธ์ประเภทใด เนื้อเรื่องเป็นอย่างไร ลักษณะนิสัยตัวละครตัวใดส�าคัญแก่เรื่อง กลอนดีหรือไม่
อย่างไร
การวิจารณ์ คือการใช้เหตุผลอธิบายหรือแสดงความ คิดเห็นต่อกลวิธี การแต่ง การใช้ภาษา
รูปแบบค�าประพันธ์ เนื้อหา แนวคิด แล้วพิจารณางานเขียนนั้นทั้งที่น�าเสนอโดยตรงและที่แฝงไว้ให้
ตีความและศึกษาบริบทต่างๆ ของงานเขียนนั้นๆ

๒ ความสÓคัญของวรรณคดี
วรรณคดีเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษสร้างไว้และตกทอดเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
มีความนิยมฟัง อ่าน อ้างถึงหรือน�ามาเล่นเป็นมหรสพ วรรณคดีแทรกแนวคิดและปรัชญาชีวิตไว้ด้วย
กลวิธีอันแยบยล ท�าให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจและรู้สึกคล้อยตาม
(1)

คูมือครู (1)
สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Evaluate

สํารวจคนหา (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนคนหาประวัติความ
เปนมาของวรรณคดีไทย แลว
จําแนกวรรณคดี พรอมยกตัวอยาง การอ่านวรรณคดีเป็นการส่งเสริมจิตใจผู้อ่านให้เกิดสุนทรียะและได้รับความเพลิดเพลิน
ประกอบ ด้านเนื้อหา เข้าใจหลักความจริงในโลกยิ่งขึ้น การอ่านวรรณคดีควรอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์ ไม่ยึดถือ
2. สรุปเปนเรื่องยอบันทึกลงสมุด ความรู้สึกหรือประสบการณ์ส่วนตัวเป็นหลักในการตัดสินประเมินค่า เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อ่าน
มากที่สุด พร้อมทั้งได้เรียนรู้เรื่องราวประวัติความเป็นมา ความคิดและค่านิยมของคนในสังคม จึงนับ
ว่าวรรณคดีเป็นทรัพย์สินทางปัญญาและเป็นสมบัติของชาติ
อธิบายความรู
กล่าวได้ว่าวรรณคดีมีคุณค่าทั้งในทางประวัติศาสตร์ สังคม ตลอดจนมีคุณค่าทางด้านการให้
1. ใหนักเรียนจัดกลุม แลวทําสลาก ข้อคิด คติสอนใจและวรรณศิลป์ด้วย
แบงหัวขอวรรณคดีประเภทตางๆ
2. นักเรียนแตละกลุมอธิบายความรู ๓ à¹×éอหาวรรณคดีä·ย
เกี่ยวกับหัวขอที่จับสลากได
เนื้อหาในวรรณคดีไทยนั้นมีหลากหลาย อาจจ�าแนกได้ตามลักษณะเนื้อหาและเรื่องราว
ดังต่อไปนี้
ขยายความเขาใจ ๓.๑ วรรณคดีศาสนา
1. จากที่นักเรียนคนควาวรรณคดี มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างศรัทธาและสั่งสอนให้
ตางๆ ผู้อ่านเข้าใจสาระหลักธรรมของศาสนา เนื้อเรื่องมีทั้ง
• นักเรียนคิดวาวรรณคดีทนี่ กั เรียน ทีน่ า� มาจากคัมภีรศ์ าสนาโดยตรงและทีน่ า� เค้าโครงหรือ
ชอบที่สุดนั้น จําแนกอยูใน แนวคิดของศาสนามาผูกเป็นเรื่อง เช่น ร่ายยาวมหา-
ประเภทใด
เวสสันดรชาดก ไตรภูมิพระร่วง สามัคคีเภทค�าฉันท์
2. ใหนักเรียนยกตัวอยางคําประพันธ
ธรรมาธรรมะสงคราม ลิลิตนารายณ์สิบปาง เป็นต้น ตัวอย่างวรรณคดีศาสนา
ที่ชอบในวรรณคดีที่นักเรียนสนใจ
มาอยางนอย 2 บท ๓.๒ วรรณคดีสภุ าษิตค�าสอน
แต่งขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางให้ผู้อ่านน�าไปประพฤติปฏิบัติ โดยเนื้อเรื่องส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพล
จากหลักธรรมทางศาสนา เช่น สุภาษิตพระร่วง โคลงโลกนิติ สุภาษิตสอนหญิง สวัสดิรักษาค�ากลอน
@
มุม IT โคลงพาลีสอนน้อง เป็นต้น

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวรรณคดีไทย
๓.๓ วรรณคดีประวัตศิ าสตร์
ไดที่ http://www.st.ac.th/bhatips/ มีเนือ้ หาเกีย่ วกับการศึกสงคราม การ สดุดวี รี ชนทีก่ ล้าหาญและเล่าถึงเหตุการณ์สา� คัญทีเ่ กิดขึน้
tip_thaipoem_coner.html ในบ้านเมือง เช่น ศิลาจารึกพ่อขุนรามค�าแหงมหาราช ลิลิตยวนพ่าย ลิลิตตะเลงพ่าย เสภาพระราช-
พงศาวดาร โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ เป็นต้น

(2)

(2) คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนอธิบายเกี่ยวกับความรู
และประโยชนที่ไดรับจากการอาน
๓.๔ วรรณคดีขนบประเพณีและพิธกี รรม วรรณคดี
แบ่งเป็น ๒ ลักษณะ คือเป็นบทที่น�าไปใช้ในการประกอบพิธี มีเนื้อหาและการใช้ภาษาที่ (แนวตอบ วรรณคดีเปนหนังสือ
ไพเราะ สร้างอารมณ์ให้รสู้ กึ ถึงความศักดิส์ ทิ ธิข์ องพิธ ี เช่น กาพย์เห่เรือ ลิลติ โองการแช่งน�า้ ฉันท์ดษุ ฎี- ที่มีศิลปะในการนําเสนอ การอาน
สังเวยกล่อมช้าง มหาชาติกลอนเทศน์ หรืออีกลักษณะหนึ่ง คือเนื้อหาให้รายละเอียดเกี่ยวกับพิธีกรรม วรรณคดีจึงใหประโยชนหลายอยาง
และขนบธรรมเนียมประเพณีตา่ งๆ เช่น พระราชพิธสี บิ สองเดือน ลิลติ กระบวนแห่พระกฐินพยุหยาตรา เชน
โคลงพยุหยาตราเพชรพวง โคลงพระราชพิธีทวาทศมาส เป็นต้น • วรรณคดีเปนบันทึก
ประวัติศาสตร ในขณะที่อาน
๔ คุณค่าของวรรณคดี วรรณคดีผูอานจะไดความรู
ทางประวัติศาสตรดวย
หนังสือทีไ่ ด้รบั การยกย่องว่าเป็นวรรณคดีนนั้ ต้องเป็นหนังสือทีม่ ศี ลิ ปะในการน�าเสนอเรือ่ ง เลือก • วรรณคดีเปนแรงบันดาลใจ
ใช้ถอ้ ยค�าเพือ่ สือ่ จินตนาการ ความคิด ความเข้าใจ ความรูส้ กึ อารมณ์ได้อย่างงดงาม ท�าให้ผอู้ า่ นได้รบั ใหกับมนุษยในการสรางสรรค
ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน จรรโลงใจ สามารถยกระดับจิตใจ ไม่ชกั น�าให้ประพฤติในทางเสือ่ ม มีคณ ุ ค่า งานศิลปะแขนงอื่น เชน
ทั้งด้านเนื้อหา วรรณศิลป์ สังคมและข้อคิดต่างๆ ที่สามารถน�ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวัน สถาปตยกรรม จิตรกรรม
๔.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา ประติมากรรม เปนตน
• วรรณคดีทําใหผูอานไดรับความ
คุณค่าด้านเนือ้ หาช่วยให้เห็นความส�าคัญของการศึกษาวรรณคดีโดยอาศัยการด�าเนินเรือ่ งหรือ
สนุกสนานเพลิดเพลิน
แนวคิดเป็นเครือ่ งมือในการวิเคราะห์วรรณคดี เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจทีล่ กึ ซึง้ การด�าเนินเรือ่ งในเนือ้ หา • วรรณคดียกระดับจิตใจผูอาน
เป็นส่วนทีท่ า� ให้ผอู้ า่ นเข้าใจเรือ่ งทัง้ หมด บอกได้วา่ ใครท�าอะไรทีไ่ หนและอย่างไร ตลอดจนได้สอดแทรก ใหสูงขึ้น ไมประพฤติในทางที่
แนวคิดและกลวิธีในการด�าเนินเรื่องให้ผู้อ่านได้ใช้มุมมองความคิดพิจารณาเรื่องนั้นๆ โดยผู้อ่านอาจมี เสื่อม เปนตน)
ทัศนะต่อเรื่องแตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์และความสนใจของผู้อ่าน ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีที่จะ
ท�าให้เกิดการพัฒนาความคิดและเสริมสร้างจินตนาการ ช่วยยกระดับความคิดและจิตใจของผู้อ่านให้
สูงขึ้น ขยายความเขาใจ
วรรณคดีของไทยที่มีความโดดเด่นทางด้านเนื้อหามีหลายเรื่อง เช่น เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ใหนักเรียนนิยามความหมาย
เป็นเรื่องราวการช่วงชิงความรักระหว่างชายสองหญิงหนึ่ง เป็นความรักที่อยู่ในกรอบประเพณี ซึ่ง วรรณคดีตามความเขาใจ
บีบคั้นผู้หญิงในสมัยนั้นไม่ให้มีทางเลือก ปมปัญหานี้ท�าให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ ของตัวละครและการ • นักเรียนคิดวาวรรณคดีเกีย่ วของ
ด�าเนินเรื่อง เป็นการล�าดับเรื่องจากจุดเริ่มต้นของปมปัญหาไปสู่การคลี่คลายในตอนท้ายเรื่อง เมื่อ กับชีวิตนักเรียนอยางไรบาง
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน
นางวันทองถูกประหารชีวิต
วรรณคดีทาํ ใหเกิดการแลกเปลีย่ น
เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ท�าให้เกิดส�านวนว่า นางวันทองสองใจ ซึ่งผู้พูดจะพูดถึงหญิงสาวที่ มุมมองความคิดเห็น และเปน
หลายใจจนน�าความเดือดร้อนมาสู่ตน ดังบทประพันธ์ที่ว่า บอเกิดแหงปญญาที่เราใชเปน
หลักในการเรียนรู)
• นักเรียนสามารถนําเอาคุณคา
(3) ดานเนื้อหาจากวรรณคดีไปใช
อยางไร
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย
ตามความคิดและประสบการณ
ของนักเรียน)
เกร็ดแนะครู
ครูควรเนนใหนกั เรียนเห็นคุณคาวรรณคดีไทย โดยใหนกั เรียนบอกความสําคัญของวรรณคดีไทย
ตามความเขาใจของนักเรียน ครูเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับความหมายของวรรณคดีตามบริบท
ของไทยวาหมายถึงหนังสือชั้นยอดที่แตงดีมีคุณคา มีความประณีต งดงาม เปนมรดกทาง
วรรณศิลปและภูมิปญญาที่ไดรับการยกยองมาเปนเวลานาน
คูมือครู (3)
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


จากคํ า กล า วที่ ว  า วรรณคดี เ ป น
กลองสองความคิด นักเรียนเห็นดวย
หรือไม จงอธิบาย ความรักขุนแผนก็แสนรัก ด้วยร่วมยากมานักไม่เดียดฉันท์
(แนวตอบ เห็นดวย เพราะวรรณคดีจะ สู้ล�าบากบุกป่ามาด้วยกัน สารพันอดออมถนอมใจ
สะทอนคุณคาดานคานิยม วัฒนธรรม ขุนช้างแต่อยู่ด้วยกันมา ค�าหนักหาได้ว่าให้เคืองไม่
และการประพฤติปฏิบัติตน อันแทรก เงินทองกองไว้มิให้ใคร ข้าไทใช้สอยเหมือนของตัว
อยูใ นวรรณคดีและเปนแนวทางในการ จมื่นไวยเล่าก็เลือดที่ในอก ก็หยิบยกรักเท่ากันกับผัว
ดําเนินชีวิต ดังนั้นผูอานจึงไดเรียนรู ทูลพลางตัวนางเริ่มระรัว ความกลัวพระอาญาเป็นพ้นไป
ความคิ ด ทั ศ นะของผู  ค นในสั ง คม
สมัยนั้น ซึ่งบางครั้งจะสะทอนออกมา เมื่อพระพันวษาสั่งให้นางวันทองเลือกระหว่างขุนช้างกับขุนแผน นางวันทองกลัวพระอาญา
ในรูปแบบคําสอนตางๆ ตัวอยางเชน จึงเลือกทีจ่ ะตอบกลางๆ ไปตามความจริง แต่กลับท�าให้พระพันวษากริว้ ว่านางวันทองเป็นหญิงแพศยา
วรรณคดีเสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน เลือกชายคนเดียวไม่ได้ ทว่าเมื่อพิจารณาจากพฤติกรรมของนางวันทองจะเห็นว่า นางไม่สามารถ
ดังบทประพันธ
ตัดสินใจเลือกทางด�าเนินชีวิตของตนเองได้ มักถูกคนอื่นไม่ว่าจะเป็นมารดา สามีหรือลูกคอยชักน�าให้
จงอุตสาหสงบเสงี่ยมเจียมตน
ท�าตามตลอด จนถึงคราวที่นางต้องเลือกก็เลือกตอบตามจริง หากนางเลือกตอบตามใจผลที่ออกมา
อยาใหคนทั้งปวงลวงขมเหง
จงซื่อตรงตอผัวรักกลัวเกรง อาจไม่เป็นเช่นนี้
อยาครื้นเครงดาวากับขาไท การ อยู่ในภาวะบีบคั้นยิ่งส่งผลต่อการตัดสินใจ นางวันทองจึงเลือกได้ยาก เมื่อปมปัญหา
แสดงใหเห็นความคิดที่วาผูหญิง คลี่คลายอย่างเศร้าโศก ท�าให้ผู้อ่านได้ใคร่ครวญพิจารณาถึงสาเหตุการกระท�าของตัวละครและเข้าใจ
ตองรูจักการครองเรือนปรนนิบัติสามี เรือ่ งราวมากยิง่ ขึน้ หลังจากผูอ้ า่ นวิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านเนือ้ หาในแง่มมุ นี ้ ท�าให้เข้าใจสัจธรรมของชีวติ ว่า
และประพฤติตัวใหเหมาะสม) ทุกสิ่งทุกอย่างไม่ใช่จะสมหวังดังปรารถนา ต้องรู้จักยอมรับความจริง ดังนั้นวรรณคดีจึงเป็นการแสดง
ประสบการณ์ชีวิตของตัวละคร ให้ข้อคิดช่วยขัดเกลาและยกระดับจิตใจผู้อ่านได้เป็นอย่างดี
การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา สามารถวิเคราะห์ในประเด็นต่างๆ ได้ดังนี้
เกร็ดแนะครู ๑) ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องต่างๆ เช่น ขนบธรรมเนียม ประเพณี สภาพ
ครูชี้ใหเห็นความสําคัญของ สังคม การเมืองการปกครอง การด�ารงชีวิตของคนในสมัยนั้นๆ และความรู้อื่นๆ เช่น เรื่องพระบรม-
วรรณกรรม เปนตนวา ยกตัวอยาง ราโชวาทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท�าให้ผู้อ่านได้รับค�าสอนน�าไป
การนิยามวรรณกรรมของนักเขียน ปฏิบัติตามให้เป็นประโยชน์ ดังบทประพันธ์
กฤษณา อโศกสิน กลาววาภาษาและ
อักษร คือเครื่องประดับอันวิจิตรของ ...เงินทองที่จะใช้สอยค่ากินอยู่ นุ่งห่มหรือใช้สอยเบ็ดเสร็จทั้งปวงจงเขม็ดแขม่
โลก...ประกายวรรณกรรมอันเรืองรอง ใช้แต่เพียงพอที่อนุญาตให้ใช้...จงนึกไว้ให้เสมอว่าเงินทองที่แลเห็นมากๆ ไม่ได้เป็นของหา
ไดชัยชนะตอทุกสิ่งมาแลวไมถวน... มาได้โดยง่ายเหมือนเวลาที่จ่ายไปง่ายนั้นเลย...
วรรณกรรมจึงงามกวาเพชร คมกวา (พระบรมราโชวาท : พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว)
ดาบ เป น โอสถอั น ประเสริ ฐ ยิ่ ง ของ
ชาวโลก
(4)

นักเรียนควรรู
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเปนกวีเอกที่มีพระปรีชาสามารถทั้งดานรอยแกวและรอยกรอง ทรงเปน
ทั้งจินตกวี สุตกวีซึ่งพระราชนิพนธตามเรื่องที่ไดสดับฟงมา เชน นิทราชาคริต และยังทรงเปนอรรถกวีพระราชนิพนธงาน
ตามความเปนจริง เชน โคลงสุภาษิตตางๆ เปนตนวา โคลงทศนฤทุมนาการ กิจ 10 ประการที่ผูประพฤติยังไมเคยเสียใจ

(4) คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
1. ใหนักเรียนยกตัวอยางบทประพันธ
จากวรรณคดีเรื่องใดก็ไดที่ทําให
๒) ได้รบั ประสบการณ์ กวีถา่ ยทอดประสบการณ์ทเี่ กิดจากการมองโลกอย่าง กว้างขวาง เกิดจินตภาพอยางชัดเจน พรอมทัง้
และลุม่ ลึก วรรณคดีและวรรณกรรมได้กลายเป็นประสบการณ์รว่ มระหว่างผูอ้ า่ นกับกวี ดังบทประพันธ์ อธิบายความหมายของบทประพันธ
นั้นดวย
ลูกเอ๋ยยังไม่เคยรู้รสร้าย ที่ความรักกลับกลายแล้วหน่ายหนี
(แนวตอบ
อันเจ็บปวดยวดยิ่งทุกสิ่งมี ไม่เท่าที่เจ็บช�้าระก�ารัก “รถเอยรถนิมิต
จะว่าเขาอื่นไกลไปไยเล่า ถึงแม่เจ้าพ่อก็ช�้าระก�าหนัก ชวลิตดั่งรถสุริยฉาน
ต้องทุกข์ยากมากมายมาหลายพัก จักแหล่นเลือดตาจะกระเด็น กงกําลวนแลวแกวประพาฬ
(ขุนช้างขุนแผน : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) ดุมเพลาชัชวาลดวยเนาวรัตน”
(รามเกียรติ์)
จากบทประพันธ์ กวีถ่ายทอดประสบการณ์ว่าความเจ็บปวดทางกายใดๆ ที่ว่าทรมานก็ จากบทประพันธนี้จะเห็นภาพ
ยังไม่เท่าความเจ็บปวดจากความรักที่ไม่สมหวัง ดังประสบการณ์ที่พ่อแม่เคยพบและเจ็บปวดในหัวใจ ราชรถที่สวางเรืองรองเหมือน
แสนสาหัสประหนึ่งเลือดตาจะกระเด็น พระอาทิตย ลอเกวียนเปนสีแดง
ออนๆ แวววาว ดุมเพลาแพรวพราว
๓) เกิดจินตภาพ ผูอ้ า่ นเห็นคุณค่าความงดงามของวรรณคดีทา� ให้เกิดความประทับใจ
ไปดวยแกวทั้ง 9 ชนิด)
และรับรู้ความคิดที่แปลกใหม่ เป็นกระบวนการที่ให้รายละเอียดโดดเด่นและให้ผู้อ่านได้สร้างความคิด 2. ให นั ก เรี ย นแสดงความคิ ด เห็ น
ตาม ซึ่งขึ้นอยู่กับพื้นฐานของแต่ละคน โดยให้ผู้อ่านเกิดความคิดจินตนาการกว้างไกลและประเทือง เกี่ยวกับ บทประพันธที่ยกมาเปน
ปัญญา ดังบทประพันธ์ ตัวอยางแลกเปลี่ยนกันในหอง
ช้างนิรมิตฤทธิแรงแข็งขัน เผือกผ่องผิวพรรณ
สีสังข์สะอาดโอฬาร์
สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา เกร็ดแนะครู
ดังเพชรรัตน์รูจี ภาษาไทยเปนวรรณคดีทมี่ คี ติธรรม
(บทพากย์เอราวัณ : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย)  ซึ่งมุงหมายจะสอนธรรมเรื่องใดเรื่อง
หนึ่ ง โดยตรงและโดยอ อ ม ครู ย ก
จากบทประพันธ์ผู้อ่านเกิดกระบวนการจินตภาพถึงช้างเอราวัณซึ่งเป็นช้างที่มีสีขาวเหมือน ตัวอยางใหนักเรียนเห็นไดชัดเจนวา
สีของสังข์ และมีเศียรจ�านวนมากถึง ๓๓ เศียร ในแต่ละเศียรมีงา ๗ กิ่งสวยงามเหมือนเพชร เป็น วรรณกรรมไทยทีเ่ ปนคติธรรมคําสอน
ภาพในความนึกคิดที่ยิ่งใหญ่งดงามตระการตา และรูจักกันดี เชน ไตรภูมิพระรวง
๔) พัฒนาจิตใจผู้อ่าน วรรณคดีต่างๆ มีเนื้อหาสาระ เรื่องราวสนุก อ่านแล้วสบายใจ สุภาษิตพระรวง ทศรถสอนพระราม
สามารถกล่อมเกลาจิตใจให้อ่อนโยน ให้ข้อคิดคติธรรม อีกทั้งสอนให้ประพฤติดี ประพฤติชอบ พาลี ส อนน อ ง กฤษณาสอนน อ ง
คําฉันท เปนตน
สร้างสรรค์จรรโลงใจให้เกิดก�าลังใจยามที่ท้อแท้

(5)

คูมือครู (5)
สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Evaluate

สํารวจคนหา (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


แบงนักเรียนออกเปนกลุม 5 กลุม
ใหสืบคนการใชโวหารในการเขียน
กลุมละ 1 หัวขอ โคควายวายชีพได้ เขาหนัง
• บรรยายโวหาร เป็นสิ่งเป็นอันยัง อยู่ไซร้
• พรรณนาโวหาร คนเด็ดดับสูญสัง- ขารร่าง
• เทศนาโวหาร เป็นชื่อเป็นเสียงได้ แต่ร้ายกับดี
• อุปมาโวหาร (โคลงโลกนิติ : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร)
• สาธกโวหาร

จากบทประพันธ์ กวีได้ให้แนวคิดแก่ผู้อ่านในการใช้ชีวิตแต่ละวันว่าเมื่อตายไปสิ่งที่
อธิบายความรู ยังเหลืออยู่มีเพียงความดีกับความชั่ว จงเร่งท�าความดีตราบเท่าที่ยังมีชีวิตอยู่ เมื่อตายไปจะได้มีคน
สงตัวแทนแตละกลุมนําเสนอการ ระลึกถึงในสิ่งที่เคยท�าไว้
ใชโวหารในการเขียนหนาชั้นเรียน ๔.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
และยกตัวอยางประกอบ วรรณคดีที่ได้รับการยกย่องว่าดีเด่นต้องมีกลวิธี การประพันธ์ที่ดีเยี่ยมและใช้ค�าเหมาะสม
กับลักษณะหน้าที่ของค�า ถูกต้องตรงความหมาย เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและมีเสียงเสนาะ ซึ่งผู้อ่านจะ
ขยายความเขาใจ เกิดจินตนาการตามเนือ้ เรือ่ งได้จะต้องเข้าใจส�านวนโวหารและภาพพจน์ เสมือนได้ยนิ เสียง ได้เห็นภาพ
เกิดอารมณ์สะเทือนใจ มีความรู้สึกคล้อยตาม ดังนี้
1. ใหนักเรียนหาภาพที่นาสนใจมา
1 ภาพ ๑) การใช้โวหาร
2. ใหนักเรียนเขียนบรรยายภาพ โดย ๑.๑) บรรยายโวหาร เป็นการเล่าเรื่อง เล่าเหตุการณ์ที่มีเวลาและสถานที่ซึ่งแสดง
ใชโวหารตางๆ ในการบรรยายให ให้เห็นความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน การบรรยายมีจุดมุ่งหมายให้ผู้อ่านเข้าใจว่าเรื่องราวนั้นๆ เกิดขึ้นและ
เหมาะสมกับภาพ ด�าเนินไปอย่างไร เรื่องราวดังกล่าวอาจเกิดขึ้นจริงหรือเป็นเรื่องที่เกิดจากจินตนาการของกวีก็ได้ เช่น

กล่าวถึงขุนผูห้ า้ ว นามท่านท้าวแมนสรวง เป็นพระยาหลวงผ่านเผ้า เจ้าเมืองสรวง


มีศักดิ์ ธมีอัครเทพีพิลาส ชื่อนางนาฏบุญเหลือ ล้วนเครือท้าวเครือพระยา สาวโสภา
นักเรียนควรรู พระสนม ถ้วนทุกกรมก�านัล มนตรีคัลคับคั่ง ช้างม้ามั่งมหิมา...
โคลงโลกนิติ กรมพระยาเดชาดิศร (ลิลิตพระลอ : ฉบับหอสมุดแห่งชาติ)
ได ชํ า ระแก ไ ขซ อ มแซมโคลงต า งๆ
ที่นักปราชญรุนกอนแปลจากภาษา
บาลีสันสกฤตรวมไวเปนเลม ใน พ.ศ. ๑.๒) พรรณนาโวหาร เป็นการให้รายละเอียดของเรือ่ งราว เพือ่ ให้ผอู้ า่ นเห็นสภาพ
2377 หรือลักษณะทีล่ ะเอียดลออพรรณนาความรูส้ กึ ให้กระทบอารมณ์ความรูส้ กึ ของผูอ้ า่ น ทัง้ นีก้ ารพรรณนา
ท�าให้ผู้อ่านผู้ฟังมองเห็นภาพและเกิดความรู้สึกคล้อยตาม การพรรณนาจึงมักแทรกอยู่ในการเล่าเรื่อง
หรือการบรรยาย ดังบทประพันธ์

(6)

(6) คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
1. ใหนกั เรียนยกตัวอยางการใชสาธก-
โวหารจากวรรณคดี เ รื่ อ งใดเรื่ อ ง
เล่าปจ งึ พิเคราะห์ดภู มู ฐิ านบ้านเรือน เห็นสะอาดสะอ้านชอบมาพากล แม้เทศกาล หนึ่ง
ร้อนก็มิได้ร้อนเพราะลมพัดมาได้ เมื่อถึงฤดูฝนก็เป็นที่ร่มปดหยาดฝนมิได้ถูกต้อง หน้าฤดู (แนวตอบ ยกตัวอยางสาธกโวหาร
หนาวเล่า ก็มิได้เย็นด้วยละอองน�้าค้าง สมควรเป็นที่อยู่ผู้มีสติปัญญาจริง มาจากเรื่องสามกก ตอนกวนอูไป
(สามก๊ก : เจ้าพระยาพระคลัง (หน)) รับราชการกับโจโฉ “เตียวเลี้ยว
จึงวามหาอุปราชไมแจงหรือ
๑.๓) เทศนาโวหาร คือโวหารที่มุ่งในการสั่งสอน โน้มน้าวจิตใจผู้อ่านให้คล้อยตาม
ในนิทานอิเยียงที่มีมาแตกอน...”
เช่น
เปนตอนที่โจโฉไมอาจยอมรับ
คนเราต้องเอาอย่างมด อย่าไปเอาอย่างหนอน เพราะมดนัน้ ถึงมันจะตัวเล็กนิดเดียว คําขอของกวนอูได เตียวเลี้ยวจึง
แต่ก็ขยันขันแข็ง สามารถลากเหยื่อชิ้นใหญ่ๆ ได้สบาย แต่ถึงกระนั้นมันก็กลับกินอาหาร ยกนิทานเกี่ยวกับความกตัญูขึ้น
แต่น้อยจนเอวคอดกิ่ว ผิดกับหนอนซึ่งเกียจคร้าน เอาแต่กินทั้งวัน โดยไม่ท�างานท�าการ สนับสนุน)
อะไร จนตัวอ้วนอุ้ยอ้าย ผลสุดท้ายก็กลายเป็นเหยื่ออันโอชะของนกของปลา 2. การอานวรรณคดีทาํ ใหไดรบั คุณคา
(ลอดลายมังกร : ประภัสสร  เสวิกุล) ดานวรรณศิลปใหนักเรียนยก
ตัวอยางคําประพันธจากบทเรียนที่
๑.๔) สาธกโวหาร คือโวหารที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้วยการ ใหคณ ุ คาดานวรรณศิลป 1 ตัวอยาง
ยกตัวอย่างประกอบ เพื่ออธิบายสนับสนุนความ คิดเห็นให้น่าเชื่อถือ เรื่องที่ยกมานั้นอาจเป็นประวัติ พรอมอธิบายใหเขาใจ
บุคคล เหตุการณ์ส�าคัญหรือเรื่องนิทานต่างๆ ดังบทประพันธ์ (แนวตอบ
คดสิ่งอื่นหมื่นแสนแมนกําหนด
อ�านาจความสัตย์เป็นอ�านาจที่ศักดิ์สิทธิ์ ไม่เพียงแต่จับหัวใจคน แม้แต่สัตว์ก็ยังมี โกฏิลานคดซอนซับพอนับถวน
ความรูส้ กึ ในความสัตย์ซอื่ เมือ่ กวนอูตายแล้ว ม้าของกวนอูกไ็ ม่ยอมกินหญ้ากินน�า้ และตาย คดของคนลนลํ้าคดนํ้านวล
ตามเจ้าของไปในไม่ช้า ไม่ยอมให้หลังของมันสัมผัสกับผู้อื่นนอกจากนายของมัน เหลือกระบวนที่จะจับนับคดคอม
(สามก๊ก : เจ้าพระยาพระคลัง (หน)) (อิศรญาณภาษิต)
จากบทประพันธที่ยกมามีการ
๑.๕) อุปมาโวหาร คือโวหารเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจ เลนคํา คําวา “คด” ทุกวรรคมี
มากขึ้น มักมีค�าว่า เปรี
เปรียบ ประดุจ ดุจ ดั่ง เหมือน ราวกับ ราวกับว่า เพียง เพี้ยงง ดังบทประพันธ์ ความไพเราะสัมผัสคลองจอง)
ความรักและความไว้ใจทั้งสองประการนี้ เปรียบได้ด้วยเสียงเพลงอันไพเราะ
แห่งพิณ ซึง่ เราทัง้ สองเป็นผูด้ ดี แม้พณ
ิ จะขาดสายก็ขนึ้ สายใหม่ได้ ส่วนเสียงเพลงอันไพเราะ
ก็ยังคงไพเราะอยู่อย่างเดิม จริงอยู่เสียงเพลงแห่งพิณเครื่องหนึ่ง ย่อมจะไม่เหมือนกัน นักเรียนควรรู
กับเสียงของพิณอีกเครื่องหนึ่ง เช่นพิณอันใหม่ของฉัน ย่อมมีเสียงหวานเพราะยิ่งกว่าพิณ สามกก เปนวรรณกรรมจีนอิง
อันเก่า อย่างไรก็ด ี เราทัง้ สองก็เป็นเหมือนดัง่ พิณ ทีม่ เี ทพเป็นผูด้ ดี กระท�า ให้เกิดเสียงหวาน ประวัติศาสตร เปนมรดกทางปญญา
เพราะขึ้นด้วยพิณนั้น ของปราชญตะวันออก แตงขึน้ ในสมัย
 (กามนิต : เสฐียรโกเศศ-นาคะประทีป (แปล)) ราชวงศ ห ยวน แปลเรี ย บเรี ย งเป น
(๗) ภาษาไทยโดยเจ า พระยาพระคลั ง
(หน)

นักเรียนควรรู
กามนิต ผูแตงเปนชาวเดนมารก เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป (นามปากกา) เปนผูแปลเรื่อง
กามนิตเปนฉบับภาษาไทย และเปนหนังสือที่ไดรับการยกยองใหเปนหนังสือดี 100 เลมที่คนไทย
ควรอาน
คูมือครู (7)
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ครูยกตัวอยางคําประพันธ
5 ตัวอยางที่มีการใชภาษา
ภาพพจนหลายชนิด ครูสุม จูล่งขับม้าเข้ารบกับแฮหัวอิ๋นได้เพลงหนึ่งก็เอาทวนแทงถูกแฮหัวอิ๋นตกม้าตาย
นักเรียนออกมาเปนคูชวยกัน ทหารทั้งปวงก็แตกหนีไป แฮหัวอิ๋นคนนี้เป็นคนสนิทของโจโฉ มีก�าลังมาก โจโฉรักใคร่
อธิบายความรูเรื่องการใช ให้ถือกระบี่ชื่อกีเทนเกี้ยม ถ้าจะฟันเหล็กก็ดุจหนึ่งฟันหยวก
ภาพพจนอยางใดอยางหนึ่ง (สามก๊ก : เจ้าพระยาพระคลัง (หน))
1 ตัวอยาง
(แนวตอบ ๒) การใช้ภาพพจน์ เป็นการพลิกแพลงภาษาให้แปลกออกไปกว่าทีเ่ ป็นอยูป่ กติ ท�าให้
1. การใชภาพพจนอุปมา เชน เกิดรสกระทบความรู้สึกและอารมณ์ต่างกับภาษาที่ใช้อย่างตรงไปตรงมา ดังนี้
กลางไพรไกขันบรรเลง ๒.๑) อุ ป มา คื อ การเปรี ย บเที ย บสิ่ ง หนึ่ ง คล้ า ยหรื อ เหมื อ นกั บ อี ก สิ่ ง หนึ่ ง
ฟงเสียงเพียงเพลง ดังบทประพันธ์
ซอเจงจําเรียงเวียงวัง
(กาพยพระไชยสุริยา) สายสมรนอนเถิดพี่จะกล่อม เจ้างามจริงพริ้งพร้อมดังเลขา
2. การใชภาพพจนอุปลักษณ เชน นวลลอองผ่องพักตร์โสภา ดังจันทราทรงกลดหมดมลทิน
ชายขาวเปลือกหญิงขาวสาร งามเนตรดังเนตรมฤคมาศ งามขนงวงวาดดังคันศิลป์
โบราณวา อรชรอ้อนแอ้นดังกินริน หวังถวิลไม่เว้นวายเอย
นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปาอัชฌาสัย (อิเหนา : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย)
(อิศรญาณภาษิต)
3. การใชภาพพจนอติพจน จากบทประพันธ์ กวีได้แสดงความเปรียบโดยเปรียบความงามของผู้หญิงว่างดงาม
เสียงพลโหรองเอาชัย ดั่งมีผู้วาดเขียนขึ้นมา ใบหน้างดงามผ่องเหมือนดวงจันทร์ ดวงตางดงามเหมือนตากวาง คิ้วโก่ง
เลื่อนลั่นสนั่นใน เหมือนคันศร รูปร่างอรชรเหมือนนางกินรี
พิภพเพียงทําลาย
๒.๒) อุปลักษณ์ คือการเปรียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง ซึ่งแตกต่างจากการอุปมา
(บทพากยเอราวัณ)
โดยอุปลักษณ์มักใช้ค�าว่า เป็น คือ ดังบทประพันธ์
4. การใชภาพพจนบุคคลวัต
สัตภัณฑบรรพตทั้งหลาย ลูกผู้ชายลายมือนั้นคือยศ เจ้าจงอตส่าห์ท�าสม�่าเสมียน
ออนเอียงเพียงปลาย แล้วพาลูกออกมาข้างท่าเกวียน จะจากเจียนใจขาดอนาถใจ
ประนอมประนมชมชัย
(ขุนช้างขุนแผน : ฉบับหอสมุดแห่งชาติ)
(บทพากยเอราวัณ)
5. การใชภาพพจนสัทพจน จากบทประพันธ์ กวีแสดงความเปรียบโดยให้ลายมือเป็นยศศักดิข์ องบุคคล กล่าวคือ
เปรี้ยงเปรี้ยงเสียงฟารอง
ในสมัยอดีตผู้ที่เขียนหนังสือได้หรือมีลายมือดีแสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มีการศึกษา มีความรู้และจะได้รับ
กึกกองทั่วทศทิศา
(รามเกียรติ์))
ราชการ และเมื่อปฏิบัติราชการก็ย่อมที่จะมียศถาบรรดาศักดิ์ในสังคม
2. จดบันทึกการใชภาพพจนในแตละ ๒.๓) อติพจน์ คือการใช้ถ้อยค�าที่กล่าวผิดไปจากที่เป็นจริง โดยกล่าวถึงสิ่งหนึ่ง
ชนิด เปรียบเทียบกับสิ่งที่ดูเกินมาก กว่าความจริง ดังบทประพันธ์
(8)

ขยายความเขาใจ
ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน นักเรียน
เลือกภาพพจนอุปมาหรืออุปลักษณ
บรรยายทาทางและลักษณะนิสัยของ
เพื่อนใหเห็นภาพ

(8) คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
ใหนักเรียนยกตัวอยางบทประพันธ
ที่ใชภาพพจนอติพจนจากวรรณคดี
ถึงทัพจรกาล่าส�านั้น พี่ไม่พรั่นให้มาสักสิบแสน ไทยเรื่องใดก็ได พรอมถอดคํา
จะหักโหมโจมตีให้แตกแตน พักเดียวก็จะแล่นเข้าป่าไป ประพันธ
(อิเหนา : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย)
(แนวตอบ เชน
ท้าวกะหมังกุหนิงโอ้อวดกับอนุชาครั้งที่ท�าศึกชิงนางบุษบา ถึงความเก่งกาจของตน เรียมรํ่านํ้าเนตรถวม ถึงพรหม
อย่างเกินจริงว่าสามารถตีกองทัพศัตรูขนาดกองทัพสิบแสนคนหรือหนึ่งล้านคนได้โดยง่าย ปวงเทพเจาตกจม จอมมวย
พระสุเมรุเปอยเปนตม ทบทาว ลงนา
๒.๔) บุคคลวัต คือการกล่าวถึงสิ่งที่ไม่มีชีวิตจิตใจให้มีการกระท�าเหมือนมนุษย์
หากอกนิฏฐพรหมฉวย พี่ไวจึ่งคง
ดังบทประพันธ์
(ศรีปราชญ)
สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย จากบทประพันธ จะเห็นวากวีแสดง
ประนอมประนมชมชัย ความทุกขโศกแสนสาหัส การรองไห
(บทพากย์เอราวัณ : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย) มากจนนํ้าตาทวมถึงสวรรคชั้นพรหม
เขาพระสุเมรุกเ็ ปอ ยเปนตม ชาวสวรรค
จากบทประพันธ์ กวีได้สมมติให้ภูเขาสัตภัณฑ์ที่ล้อมรอบเขาพระสุเมรุทั้ง ๗ ชั้น ตองพากันหนี)
แสดงกิริยาของมนุษย์ คืออาการพนมมือ
๒.๕) สัทพจน์ คือการใช้ค�าเลียนเสียงธรรมชาติ ดังบทประพันธ์
ดูเงียบเชียบเลียบรอบริมขอบรั้ว ไม่เห็นตัวท่านย่าน่าสงสัย เกร็ดแนะครู
ประตูหับยับยั้งยืนฟังไป เสียงแต่ไนออดแอดแรดแรแร
(ขุนช้างขุนแผน : ฉบับหอสมุดแห่งชาติ) ครูเพิ่มเติมความรูใหนักเรียนเกี่ยว
กับการใชภาพพจนปฏิปุจฉา คือการ
จากบทประพันธ์เป็นตอนที่พลายงามไปหาย่าทองประศรี พอไปถึงบ้าน กลับไม่ ใชคําถามโดยไมตองการคําตอบ เชน
เห็นใครได้ยินแต่เสียงออดแอดแรดแรแร ซึ่งกวีใช้ค�าเลียนเสียงเครื่องปั่นด้าย ท�าให้ผู้อ่านจินตภาพถึง “เห็นแกวแวววับที่จับจิต
กระบวนการปั่นด้ายเป็นไจแล้วใส่เข้าหลอด ไยไมคิดอาจเอื้อมใหเต็มที่
๓) การเล่นเสียง คือการเลือกสรรค�าที่มีเสียงสัมผัสกัน ได้แก่ การเล่นเสียงอักษร เมื่อไมเอื้อมจะไดอยางไรมี
อันมณีหรือจะโลดไปถึงมือ”
เสียงสระและเสียงวรรณยุกต์ เพื่อเพิ่มความไพเราะและแสดงความสามารถของกวีที่แม้จะเล่นเสียง
(ทาวแสนปม: รัชกาลที่ 6)
ของค�าแต่ยังคงความหมายไว้ได้ ดังบทประพันธ์
เสนาสูสู่สู้ ศรแผลง
ยิงค่ายหลายเมืองแยง แย่งแย้ง
รุกร้นร่นรนแรง ฤทธิ์รีบ
ลวงล่วงล้วงวังแว้ง รวบเร้าเอามา
(โคลงอักษรสามหมู่ : พระศรีมโหสถ) 

(9)

คูมือครู (9)
สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Evaluate

สํารวจคนหา (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนศึกษาคนควา “การเลน
เสียง” ในบทประพันธตางๆ มา
อยางนอย 5 ตอน ๓.๑) การเล่นเสียงอักษร คือการใช้ค�าที่มีเสียงพยัญชนะเดียวกันหลายๆ พยางค์
ติดกัน เพื่อความไพเราะ จากบทประพันธ์โคลงอักษรสามหมู่ ปรากฏการเล่นเสียงอักษร ดังนี้
ในบาทแรก เส-สู-สู่-สู้-ศร เล่นเสียง /ส/
อธิบายความรู ในบาทที่ ๒ ยิง-แยง-แย่ง-แย้ง เล่นเสียง /ย/
นักเรียนนําเสนอการศึกษา “การ ในบาทที่ ๓ รุก-ร้น-ร่น-รน-แรง-ฤทธิ์-รีบ เล่นเสียง /ร/
เลนเสียง” มานําเสนอหนาชั้นเรียน ในบาทที่ ๔ ลวง-ล่วง-ล้วง เล่นเสียง /ล/
โดยมีตัวอยางประกอบการนําเสนอ วัง-แว้ง เล่นเสียง /ว/
(แนวตอบ และ รวบ-เร้า เล่นเสียง /ร/
• การเลนเสียงสระ
๓.๒) การเล่นเสียงสระ คือการใช้สมั ผัสสระทีม่ เี สียงตรงกัน ถ้ามีตวั สะกดก็ตอ้ งเป็น
ดูหนูสูรูงู งูสุดสูหนูสูงู
ตัวสะกดในมาตราเดียวกัน แม้จะใช้พยัญชนะและวรรณยุกต์ต่างกันก็ถือว่าสัมผัสกันได้ ในโคลงบทนี้
หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู
(กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง:
กวีจึงน�าค�าที่เล่นสัมผัสเสียงพยัญชนะมาใช้เล่นสัมผัสเสียงสระอีก ได้แก่ สู-สู่-สู้ ( - ู ), ค่าย-หลาย (-าย),
เจาฟาธรรมาธิเบศร) แยง-แย่ง-แย้ง (แ-ง), ร้น-ร่น-รน (-น), ลวง-ล่วง-ล้วง (-วง)
• การเลนเสียงพยัญชนะ ๓.๓) การเล่นเสียงวรรณยุกต์ คือการใช้ค�าที่ไล่ระดับเสียง ๒ หรือ ๓ ระดับ
ทัง้ กบเขียดเกรียดกรีดจังหรีดเรือ่ ย เป็นชุดๆ
พระพายเฉื่อยฉิวฉิววะหวิวหวาม จากตัวอย่างบทโคลงนี้ ได้แก่ สู-สู่-สู้ (เสียงจัตวา-เอก-โท) แยง-แย่ง-แย้ง (เสียง
วังเวงจิตคิดคะนึงรําพึงความ
สามัญ-โท-ตรี) ร้น-ร่น-รน (เสียงตรี-โท-สามัญ) ลวง-ล่วง-ล้วง (เสียงสามัญ-โท-ตรี)
ถึงเมื่อยามยังอุดมโสมนัส
(นิราศภูเขาทอง: สุนทรภู)) ๔.๓ คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถไี ทย
วรรณคดีเป็นวัฒนธรรมทางภาษาที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองในอดีต บอกเล่าเรื่อง
ราวด้านชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี สภาพสังคมหรือความรู้สึกนึกคิดของคนในสังคม
ขยายความเขาใจ ซึง่ เป็นลักษณะประจ�าชาติทแี่ สดงออกมาทางวรรณคดีดว้ ยภาษาทีง่ ดงามไพเราะ ท�าให้ผอู้ า่ นเกิดความ
ใหนักเรียนชวยกันแตงคําประพันธ รูส้ กึ ถึงความเป็นชาติรว่ มกัน เพราะต่างรูส้ กึ ว่าได้เป็นเจ้าของขนบธรรมเนียมประเพณีและภาษาเดียวกัน
เรื่องที่สนใจใหมีการเลนเสียง จํานวน แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดังนี้
2 บท
๑) วรรณคดีชนี้ า� สังคม เป็นการพิจารณาคุณค่าด้านสังคมว่าวรรณคดีมสี ว่ นทีเ่ กีย่ วข้อง
กับสังคม สะท้อนให้เห็นสภาพสังคม ทั้งด้านค่านิยม วัฒนธรรม ความประพฤติของคนในสังคม และ
แนวทาง การปฏิบัติตน หรือชี้ให้เห็นปัญหาที่สังคมขณะนั้นก�าลังเผชิญอยู่ ตัวอย่างเช่น นิราศภูเขาทอง
ของสุนทรภู่ได้กล่าวถึงชนกลุ่มน้อยชาวมอญที่มาอาศัย ณ เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ได้ปรับเปลี่ยน
วิถีชีวิตให้เหมือนกับคนไทย ดังจะเห็นได้จากบทประพันธ์

(10)

(10) คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
1. ครูสุมนักเรียนมานําเสนอวรรณคดี
ที่ ส ะท อ นคุ ณ ค า ทางด า นสั ง คม
ถึงเกร็ดย่านบ้านมอญแต่ก่อนเก่า ผู้หญิงเกล้ามวยงามตามภาษา คานิยมความเชื่อและแนวทางการ
เดี๋ยวนี้มอญถอนไรจุกเหมือนตุ๊กตา ทั้งผัดหน้าจับเขม่าเหมือนชาวไทย ปฏิบัติตน
(นิราศภูเขาทอง : สุนทรภู่) 2. นักเรียนจดบันทึกทีน่ กั เรียนและครู
ชวยกันสรุป
โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า-
เจ้าอยู่หัว มีลักษณะชี้น�าสังคมให้พัฒนาเป็นกิจ ๑๐ ประการ ที่จะน�าพาผู้ปฏิบัติให้พ้นจากความ
ขยายความเขาใจ
เศร้าโศกเสียใจ ได้แก่ การท�าความดี การไม่พูดร้ายผู้อื่น การคิดก่อนพูด การฟังให้ดีก่อนการตัดสินใจ
การไม่พูดเวลามีอารมณ์โกรธ การกรุณาต่อคนที่อับจน การขอโทษเมื่อกระท�าผิด การมีความอดกลั้น ครูสนทนากับนักเรียนเรือ่ งวรรณคดี
การไม่ฟังค�าพูดไร้สาระและการไม่หลงเชื่อข่าวร้ายโดยจะต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วน วาเปนวัฒนธรรมทางภาษาที่แสดง
ใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองในอดีต
๒) วรรณคดีสร้างส�านึกร่วมในความเป็นชาติ วรรณคดีเป็นสิง่ ผูกพันจิตใจของคนใน บอกเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตความเปน
ชาติให้ส�านึกว่าร่วมอยู่ในชาติเดียวกัน วรรณคดีจะเป็นสื่อกลางที่น�าไปสู่การรวมเป็นชาติ ซึ่งจะเป็น อยู  ข นบธรรมเนี ย มประเพณี นอก
เครื่องผูกจิตใจคนในชาติให้เป็นหนึ่งเดียวกัน ดังเช่นบทประพันธ์ เหนือจากบทเรียนแลว ใหนักเรียน
ยกตัวอยางคําประพันธในวรรณคดี
ผู้บังคับการ นี่แน่ะ เอ็งอยากรอดตายไหม
เรื่องอื่นๆ คนละ 1 เรื่อง
อ้ายสี ก็แน่สิ เป็น ธรรมดา (แนวตอบ “เมืองสุโขทัยนี้ดี
ผู้บังคับการ ดีละ ถ้าเช่นนั้นบอกข้าทีหรือ ว่าก�าลังเสือป่าที่รักษาสะพานอยู่โน่นมีเท่าไร ในนํ้ามีปลาในนามีขาว” กลาวถึง
อ้ายสี อุวะ เรื่องอะไรจะไปบอกแก พิลึกแฮะอ้ายหมอนี่ สภาพบานเมืองในสมัยสุโขทัยวามี
ผู้บังคับการ (โกรธ) อ้ายนี่ไม่กลัวตายหรือ ความอุดมสมบูรณเปนอูขาวอูนํ้า
อ้ายสี ก็ไม่กลัวน่ะสิวะ กลัวกูมิมุดหัวหนีไปเสียแล้วหรือ แกไม่ต้องดูถูกคนไทยน่ะ (ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง))
ผู้บังคับการ อ้ายนี่พูดจาอวดดีจริง
(บทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบ : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)

บทละครพูดเรื่องหัวใจนักรบนี้ เป็นตอนที่ผู้บังคับการฝ่ายศัตรูจับคนไทยคืออ้ายสีได้
แล้วพยายามคาดคั้นถามที่ตั้งกองทหารเสือป่าของไทย พระราชนิพนธ์เรื่องนี้ใช้ส�าหรับละครพูดและ
ตีพิมพ์เผยแพร่ส�าหรับอ่านด้วย ท�าให้ผู้อ่านได้คิดตระหนักในความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๔.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน
การอ่านวรรณคดีผู้อ่านจะได้รับข้อคิดต่างๆ ที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้
ไม่ว่าจะเป็นคติธรรม ค�าสอนต่างๆ โดยกวีน�าเสนอผ่านฉาก ตัวละครหรือบทสนทนา อันเป็นลักษณะ
เฉพาะของแต่ละเรื่อง เช่น

(11)

คูมือครู (11)
สํารวจคนหา อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Expand Evaluate

สํารวจคนหา (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนหาขอคิดจากการอาน
วรรณคดีที่สามารถนําไปประยุกตใช
ในชีวิตประจําวันเพิ่มเติมจากแหลง ๑) ด้านการศึกษา ในวรรณคดีหลายเรื่องจะให้ข้อคิดเกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียน
การเรียนรูอื่นๆ มีค�าสอนที่แสดงให้เห็นถึงคุณค่าและความส�าคัญของการศึกษา ดังบทประพันธ์
(แนวตอบ เชน การเสียสละ ความ
แล้วลูบหลังสั่งความพลายงามน้อย เจ้าจงค่อยร�่าเรียนเขียนคาถา
อดทน เปนตน)
รู้สิ่งใดก็ไม่สู้รู้วิชา ไปเบื้องหน้าเติบใหญ่จะให้คุณ
(ขุนช้างขุนแผน : ฉบับหอสมุดแห่งชาติ)
อธิบายความรู
ใหนักเรียนยกตัวอยางคําประพันธ ๒) ด้านการรู้จักใช้ชีวิตอย่างพอเพียง เป็นข้อคิดสอนใจสามารถใช้ได้ทุกยุค
ที่แสดงใหเห็นการนําขอคิดไปใชและ ทุกสมัย ดังบทประพันธ์
อธิบายใหชัดเจน
นกน้อยขนน้อยแต่ พอตัว
(แนวตอบ
ใบพอพันหอหุม กฤษณา รังแต่งจุเมียผัว อยู่ได้
หอมระรวยรสพา เพริศดวย มักใหญ่ย่อมคนหวัว ไพเพิด
คือคนเสพเสนหา นักปราชญ ท�าแต่พอตัวไซร้ อย่าให้คนหยัน
ความสุขซาบฤๅมวย ดุจไมกลิ่นหอม (โคลงโลกนิติ : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร)
คําประพันธในขางตนนํามาปรับใช
ในเรื่องการคบเพื่อนที่ดี ทําใหมีแต บทประพันธ์ข้างต้นสอนโดยการเปรียบเทียบความเป็นอยู่ของนกว่าอยู่แต่พอตัวก็จะไม่
ความสุขความเจริญ) ยุ่งยากล�าบากในการสร้างรัง ซึ่งสามารถน�ามาปรับใช้ในชีวิตของคนได้ คือการค�านึงถึงความพอเพียง
รูจ้ กั การใช้ชวี ติ ให้พอดี พอเหมาะกับฐานะของตนเองจะเป็นแนวทางทีจ่ ะไม่ทา� ให้เดือดร้อนในภายหน้า
๓) ด้านความสามัคคี วรรณคดีช่วยปลุกส�านึกให้มีความสามัคคีกลมเกลียวกัน
ดังบทประพันธ์

อันชาติใดไร้รักสมัครสมาน จะท�าการสิ่งใดก็ไร้ผล
แม้นชาติย่อยยับอับจน บุคคลจะสุขอย่างไร
(บทละครเรื่องพระร่วง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)

จากบทประพันธ์นี้ แสดงให้เห็นความส�าคัญของความสามัคคีของคนในชาติที่จะช่วย
ผลักดันให้เกิดประโยชน์สุขร่วมกัน หากความเป็นชาติดับสิ้นเพราะเสื่อมสามัคคีและความเห็นแก่ตัว
ก็ไม่มีผู้ใดจะอยู่เป็นสุขในชาติได้อีก

(12)

(12) คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนสรุปหลักการวิเคราะห
คุณคาวรรณคดีเปนแผนผังความคิด
อันสยามเปนบานเกิด เมืองนอน
ดุจบิดามารดร เปรียบได
เปนสุขสโมสร ทุกเมื่อ ขยายความเขาใจ
ยามศึกทุกขยากไร ปลาตเรนฤๅควร ใหนักเรียนนําวรรณคดีเรื่องที่
(ดุจบิดามารดร : สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี) นักเรียนสนใจมาเขียนแผนผังความคิด
โดยยึดตามหลักการวิเคราะหคุณคา
จากบทประพันธสะทอนวา ประเทศคือบานเกิดเมืองนอน เหมือนพอแมดูแลใหผูอาศัยไดสุข วรรณคดี
สบาย ดังนั้นเมื่อเกิดความทุกขยากขึ้นในสังคม คนในประเทศจึงตองรวมกันชวยเหลือ สามัคคีกัน ไม
หลบลี้หนีหายไป
๔) การปฏิบัติหนาที่ของตน ไมวาจะเปนหนาที่ใดก็ทําดวยความเต็มใจไมเกี่ยงงอน นักเรียนควรรู
เพื่อใหงานประสบความสําเร็จ ทั้งที่เปนหนาที่ตอตนเอง สังคมและประเทศชาติ ดังบทประพันธ
ปลาต อานวา ปะ - ลาด เปนคํากริยา
พลายแกวรับสั่งบังคมทูล ขอเดชะนเรนทรสูรโปรดเกศา แปลวา หนีไป
ชีวิตอยูใตพระบาทา ขออาสาพระองคผูทรงชัย
ตีทัพเชียงอินทรแลเชียงทอง ใหสมพระทัยปองใหจงได
ถาขาพุทธเจามิบรรลัย ก็มิไดยอทอตอณรงค
(ขุนชางขุนแผน : ฉบับหอสมุดแหงชาติ)

จากบทประพันธเมือ่ อยุธยาตองยกทัพไปรบกับเมืองเชียงทองและเชียงใหม พระพันวษา


หาผูอาสาไปทัพครั้งนี้ ขุนชางจึงทูลวาพลายแกวเกงกลาจะอาสาไปทัพ ซึ่งพลายแกวเองก็ไมปฏิเสธ
กลับอาสาไปทัพแตโดยดี แมวาตนจะเพิ่งแตงงานก็ตาม การกระทําของพลายแกวจึงแสดงใหเห็นวา
รับผิดชอบตอหนาที่ของตนเปนอยางดี

๕ ËÅÑ¡¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐˏ¤Ø³¤‹ÒÇÃó¤´Õ
การอานวรรณคดีนอกจากจะไดรับความรู ความเพลิดเพลินแลว ผูอานควรพยายามทําความ
เขาใจบทประพันธใหลึกซึ้ง รูจักวิเคราะหคุณคาของวรรณคดีทั้งคุณคาทางอารมณและคุณคาทาง
ความคิด ซึ่งมีหลักการวิเคราะห ดังนี้

(๑๓)

คูมือครู (13)
สํารวจคนหา อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Expand Evaluate

สํารวจคนหา (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนคนหาวาวรรณคดี
เรื่องใดที่มีความไพเราะจากรสคํา
และความไพเราะจากรสความ ๕.๑ การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านเนือ้ หา
การวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหา ผู้อ่านจะต้องท�าความเข้าใจบทประพันธ์ให้ตลอดทั้งเรื่องและ
จินตนาการขึ้นในใจเพื่อจะได้เข้าใจสารที่กวีต้องการสื่อ โดยศึกษาดังนี้
อธิบายความรู
๑) วิเคราะห์สาระของบทประพันธ์ สาระที่กวีสื่อออกมายังผู้อ่านอาจเป็นเรื่อง
1. นักเรียนอธิบายวรรณคดีที่มีความ เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความรู้ ความคิด (ทัศนะของกวี) หรือความรู้สึกก็ได้ เมื่ออ่านบทประพันธ์แล้ว
ไพเราะจากรสคํา และความไพเราะ ผู้ศึกษาควรจับสาระหรือแก่นของเรื่องให้ได้ว่า ผู้แต่งต้องการสื่ออะไรมายังผู้อ่านและควรพิจารณา
จากรสความ
ด้วยว่าสาระนั้นมีลักษณะแปลกใหม่น่าสนใจหรือไม่ มีลักษณะสร้างสรรค์จรรโลงจิตใจ หรือช่วยยก
2. นําเสนอหนาชั้นเรียน ครูและ
นักเรียนรวมกันจดบันทึกความรู ระดับจิตใจผู้อ่านให้สูงขึ้นได้หรือไม่ มีประโยชน์ต่อใครบ้าง เพราะเหตุใด
๒) วิเคราะห์การวางโครงเรื่องและการล�าดับความในเรื่อง คือการวิเคราะห์ว่า
กวีวางโครงเรื่องในลักษณะใด มองหาปมของเรื่อง เริ่มจากปัญหาที่ปรากฏจนกระทั่งถึงการคลี่คลาย
ปัญหา
เกร็ดแนะครู
๓) วิเคราะห์กลวิธก ี ารประพันธ์ คือการพิจารณาเรือ่ งกลวิธตี า่ งๆ ทีผ่ แู้ ต่งน�ามาใช้ใน
ความไพเราะอันเกิดจากรสคํา เปน การประพันธ์ เพื่อช่วยให้งานประพันธ์มีคุณค่าน่าสนใจ ชวนให้ผู้อ่านติดตามหรือเกิดความประทับใจ
ลักษณะสําคัญของคําประพันธไทย
ในการวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหานี้ผู้อ่านจะต้องเข้าใจกลวิธีในการน�าเสนอ
การเลือกใชถอยคําที่กอใหเกิดความ
วิเคราะห์กลวิธี การน�าเสนอ คือการพิจารณาว่ากวีใช้วิธีการใดที่ท�าให้บทประพันธ์มี
รูส กึ และมโนภาพตามจินตนาการของ
กวี ครูเพิม่ เติมวามีการใชเสียงหนักเบา ความน่าสนใจ น่าติดตามหรือน่าประทับใจ เช่น เสนออย่างตรงไปตรงมาท�าให้ผู้อ่านจับความง่าย
หรือสัน้ ยาว การซํา้ คํา หรือการเลือกใช เสนอด้วยวิธีการให้ผู้อ่านตีความ เสนอด้วยวิธีการใช้ภาพพจน์ สร้างความแปลกใหม่และดึงดูดความ
ระดับถอยคําที่เหมาะสมกับเนื้อความ สนใจของผู้อ่าน หรือเสนอด้วยวิธีการแสดงให้เห็นอาการเคลื่อนไหวทั้งการเคลื่อนไหวทางกายและ
เพื่อใหคําประพันธเกิดความไพเราะ ทางอารมณ์ คือความรู้สึกที่เปลี่ยนไปมาของตัวละคร เพราะธรรมชาติของมนุษย์นั้นย่อมมีอารมณ์
แปรปรวนเปลี่ยนไปมาตามความนึกคิดและสภาวะแวดล้อม
๕.๒ การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านวรรณศิลป์
การวิเคราะห์ความไพเราะของบทประพันธ์ คือการพิจารณาว่าบทประพันธ์นั้นๆ มีความ
ไพเราะอย่างไร ซึ่งความไพเราะของบทประพันธ์เกิดด้วยเหตุ ๒ ประการ คือความไพเราะอันเกิด
จากรสค�าและความไพเราะอันเกิดจากรสความ
๑) ความไพเราะอันเกิดจากรสค�า พิจารณาได้จากการเลือกสรรค�าและการเลือกค�า
ที่มีเสียงเสนาะไพเราะ ซึ่งเกิดจากวิธีการใช้ค�าเลียนเสียงธรรมชาติ ค�าที่มีเสียงสัมผัสคล้องจองกัน
การเล่นค�าและลีลาจังหวะของค�า

(14)

(14) คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
1. นักเรียนคิดวาวรรณคดีไทยเรื่อง
ที่นักเรียนชอบมากที่สุดมีคุณคา
๒) ความไพเราะอันเกิดจากรสความ พิจารณาได้จากการใช้ค�าที่มีความหมาย อยางไรบาง
กระชับ ชัดเจน และการใช้โวหารต่างๆ กวีถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างลึกซึ้ง กระแทกอารมณ์ 2. วรรณคดีไทยเรื่องที่ชอบที่สุดนําไป
กระเทือนจิตใจและกระทบความรู้สึก ประยุกตในชีวิตจริงอยางไรบาง
(แนวตอบ ตัวอยางเชน บทละครพูด
ไผ่ซออ้อเอียดเบียดออด ลมลอดไล่เลี้ยวเรียวไผ่ เรื่ อ งเห็ น แก ลู ก การเสี ย สละเพื่ อ
คนที่รักเปนการกระทําที่นายกยอง
ออดแอดแอดออดยอดไกว แพใบไล้น�้าล�าคลอง สามารถนํามาประยุกตใชในชีวติ ได
การรูจักเสียสละความสุขสวนตน
กระเพื่อมพลิ้วพลิ้วปลิวคว้าง เธอวางร่างปล่อยลอยล่อง
เพื่อผูอื่นจะไดอยูรวมกันไดอยางมี
บนแพใบไผ่ใยยอง แสงทองส่องทาบฉาบมา ความสุข)

(คําหยาด : เนาวรัตน์   พงษ์ไพบูลย์)

จากบทประพันธ์ดังกล่าวจะเห็นว่า รสของค�าคือการเลือกสรรค�ามาใช้ให้เกิดภาพและเสียง นักเรียนควรรู


เห็นภาพต้นไผ่ทขี่ นึ้ เบียดกันจนเกิดเสียงออด ดังค�าว่า “ไผ่ซออ้อเอียดเบียดออด” และได้ยนิ เสียงต้นไผ่ คําหยาด เปนบทกวีบทหนึ่งที่อยูใน
ทีข่ นึ้ เบียดกันยามลมพัดท�าให้ได้ยนิ เสียง “ออดแอดแอดออด” ซึง่ เรียกว่า ภาพพจน์สทั พจน์ นอกจากนี้ รวมบทกวี “เพียงความเคลื่อนไหว”
บทประพันธ์ยังไพเราะด้วยเสียงสัมผัส ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร เช่น ของเนาวรัตน พงษไพบูลย ซึ่งไดรับ
วรรคที่ ๑ สัมผัสสระ ซอ - อ้อ เอียด - เบียด รางวัลซีไรต ในป 2523
สัมผัสอักษร อ้อ - เอียด - ออด
วรรคที่ ๒ สัมผัสสระ เลี้ยว - เรียว ไล่ - ไผ่
สัมผัสอักษร ลม - ลอด - ไล่ - เลี้ยว เป็นต้น
๕.๓ การวิเคราะห์คณ
ุ ค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถไี ทย
วรรณคดีและวรรณกรรมทัว่ ไป ผูแ้ ต่งมักสอดแทรกความรู ้ ความคิดและอารมณ์ สะท้อนวิถชี วี ติ
ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชือ่ ค่านิยมของคนในสังคมสมัยนัน้ ๆ ผูอ้ า่ นจะต้องมีวจิ ารณญาณในการ
อ่าน คือเมื่ออ่านแล้วน�าไปคิดพิจารณาความรู้ ความคิด สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้
๑) คุณค่าที่มีต่อผู้อ่าน คือการวิเคราะห์ว่าบทประพันธ์นั้นๆ มีคุณค่าต่อจิตใจ สติ
ปัญญาและความประพฤติของผู้อ่านแต่ละคนอย่างไร
๒) คุณค่าที่มีต่อสังคม คือการวิเคราะห์ว่าบทประพันธ์นั้นๆ ช่วยสะท้อนภาพของ
สังคมได้ชัดเจนมากน้อยเพียงไร มีอิทธิพลต่อความเปลี่ยนแปลงของสังคมในระดับใด

(15)

คูมือครู (15)
ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Evaluate
Engage Explore Explain Expand

ตรวจสอบผล (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. นักเรียนรูจักวรรณคดีและ
วรรณกรรม
2. นักเรียนจําแนกประเภทวรรณคดีได ๕.๔ การวิเคราะห์ขอ้ คิดเพือ่ น�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน
3. เห็นคุณคาดานเนื้อหา วรรณคดีหรือวรรณกรรมทัว่ ไป เมือ่ ผูอ้ า่ นสามารถวิเคราะห์ได้วา่ เรือ่ งทีอ่ า่ นมีคณ
ุ ค่าด้านเนือ้ หา
ดานวรรณศิลป ดานสังคม ด้านวรรณศิลป์และด้านสังคมอย่างไรแล้ว ผูอ้ า่ นย่อมสามารถพิจารณาข้อคิดทีไ่ ด้จากการอ่านวรรณคดี
และสะทอนวิถีไทย หรือวรรณกรรมเรือ่ งนัน้ ๆ ทีส่ อดแทรกอยูแ่ ละเห็นแนวทาง ในการน�าข้อคิดไปใช้ในชีวติ ประจ�าวันได้โดย
4. นักเรียนประยุกตนาํ ขอคิดทีไ่ ดจาก มีแนวทาง ดังนี้
วรรณคดีไปประยุกตใชในชีวิต
๑) พิจารณาข้อคิด การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมทุกเรื่องผู้อ่านจะได้ข้อคิดที่
ประจําวัน
แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับวัย ประสบการณ์และพื้นฐานความรู้ของผู้อ่าน เช่น บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก
ผู้อ่านจะได้ข้อคิดเกี่ยวกับความรักของพ่อแม่ที่มีต่อลูก ยอมเสียสละให้ได้ทุกอย่างหรือเสภาเรื่อง
ขุนช้างขุนแผน ตอน พลายงามพบพ่อ ข้อคิดที่ได้ เช่น ความส�าคัญของการศึกษาเล่าเรียนไม่ว่ายุคใด
เกร็ดแนะครู สมัยใด การศึกษายังคงมีความจ�าเป็น แม้ว่าในสมัยนั้นโรงเรียนยังไม่มีก็ต้องศึกษาจากพ่อแม่ ปู่ย่า
ครูชใี้ หนกั เรียนเห็นความสําคัญของ ตายายหรือจากพระสงฆ์
การศึกษาผานวรรณคดี เปนความคิด ๒) การน�าไปใช้ พิจารณาข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณคดีแล้วสามารถน�าไปใช้ให้
ที่มีมาตั้งแตสมัยกอนใหความสําคัญ เกิดประโยชน์ได้ ทั้งความรู้หรือสาระจากการอ่านมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับชีวิตประจ�าวันได้อย่างมี
กับการศึกษาเลาเรียน อยางเชนใน ประสิทธิผล เช่น นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท ี่ ๓ อ่านเสภาเรือ่ งชุนช้างขุนแผน แล้วน�าข้อคิดมาประยุกต์
เรื่องพลายงามที่ถูกสั่งสอนใหตั้งใจ ใช้ในชีวิตประจ�าวัน เช่น การหมั่นศึกษาเล่าเรียนเหมือน อย่างพลายงาม เมื่อมีเวลาก็หมั่นทบทวน
ศึกษาเลาเรียนตั้งแตเด็ก และปจจุบัน
บทเรียนเช่นเดียวกันนักเรียนสามารถประสบความส�าเร็จในชีวิตการเรียนและการท�างาน สามารถ
ความคิดดังกลาวก็ยังคงอยูและเปน
จริงในทุกสังคม บ�าเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมและประเทศชาติได้ อ่านแล้วสามารถน�าสาระความรู้มา
พัฒนาจิตใจ พัฒนาปัญญาและจรรโลงสังคมได้
การอ่านวรรณคดีหรือวรรณกรรมจะเกิดประโยชน์สูงสุดเมื่อผู้อ่านได้กลั่นกรองคุณค่า
หลักฐาน ที่ได้จากวรรณคดี ทั้งคุณค่าด้านอารมณ์และคุณค่าทางความคิดน�าไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง
แสดงผลการเรียนรู สังคมและประเทศชาติ
1. บอกโวหารจากคําประพันธตางๆ
ไดถูกตอง
2. เขียนหลักการวิเคราะหคุณคา
ดานวรรณคดีเปนผังความคิด

(16)

(16) คูมือครู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

ตอนที่ õ วรรณคดีและวรรณกรรม

คูมือครู 1
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็กกวาฉบับนักเรียน 20%)
เปาหมายการเรียนรู
• สรุปเนื้อหาเรื่องเห็นแกลูก
• วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาดาน
สังคมเรื่องเห็นแกลูก
• สรุปความรูและขอคิดนําไป
ประยุกตใชในชีวิตจริง

กระตุนความสนใจ
ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นจาก
ภาพหนาหนวยการเรียนรู โดยครูตั้ง
คําถามกระตุนใหนักเรียนแสดงความ
คิดเห็น
• หญิงสาวที่นั่งอยูที่พื้นมีลักษณะ
อยางไร
• ชายคนที่นั่งบนเกาอี้นาจะเปน
ใคร สังเกตจากอะไร
• ชายที่ยืนอยูกําลังรูสึกอยางไร

ñ
• นักเรียนคิดวาตัวละครใด
ในภาพเปนเจาของบาน และ
ตัวละครตัวใดเปนแขก
หนวยที่
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก
ตัวชี้วัด
■ สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่นในระดับ
ที่ยากยิ่งขึ้น (ท ๕.๑ ม.๓/๑)
ล ะครพูดเปนบทละครที่แสดงโดย
■ วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
ให ตั ว ละครสนทนาโต ต อบกั น เป น การ
(ท ๕.๑ ม.๓/๒) แสดงทีไ่ ดรบั อิทธิพลจากตะวันตก พระบาท-
■ สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ
(ท ๕.๑ ม.๓/๓)
ให ตั้ ง โรงละครขึ้ น ทั้ ง ทรงพระราชนิ พ นธ
บทละครเปนจํานวนมาก เนื่องจากละครพูด
สาระการเรียนรูแกนกลาง
เปนการแสดงที่จําลองชีวิตจริง จึงสอดแทรก
■ วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่น เกี่ยวกับศาสนา
ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิตคําสอน เหตุการณในประวัติศาสตร แนวคิ ด คติเตือนใจไวดวย หากผูอานไดอานหรือ
บันเทิงคดี ชมอยางพินิจพิจารณาจะสามารถนําขอคิดมาปรับ
การวิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรม

ใชในชีวิตประจําวันได

2 คูมือครู
สํารวจคนหา อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Expand Evaluate

สํารวจคนหา
ใหนักเรียนสืบคนพระราชประวัติ
ของรัชกาลที่ 6 จากอินเทอรเน็ตหรือ
๑ ความเป็นมา แหลงเรียนรูอื่นๆ
ละครเป็นศิลปะการแสดงประเภทหนึ่งของไทย ซึ่งแบ่งได้หลายประเภท ได้แก่ ละครร�า • พระนามแฝงอื่นที่ทรงใชมีอะไร
ละครร้อง ละครพูด ฯลฯ ละครร�า เป็นการแสดงละครประกอบการร้องและร�า มีดนตรีประกอบ อีกบาง
ใช้ศิลปะการร้องและร�าตามแบบแผน ละครร้อง เป็นการแสดงที่ผู้แสดงต้องมีความสามารถในการ • พระนามแฝงแตละพระนามทรง
ขับร้องประกอบการแสดง ละครพูด เป็นการแสดงละครที่มีการจัดฉาก แสง สี เสียงให้เหมือน ใชในโอกาสใด ใหนักเรียนชวย
กันคนหาอยางนอย 5 พระนาม
ธรรมชาติ มีการพูดสนทนาโต้ตอบกัน ซึ่งในบทจะบอกด้วยว่าตัวละครต้องแสดงกิริยาอาการอย่างไร
( แนวตอบ อั ศ วพาหุ (บทความ
และพูดอย่างไร
ทางการเมื อ งและบทปลุ ก ใจ)
ละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รามจิ ต ติ (บทความเกี่ ย วกั บ
พระองค์ทรงใช้พระนามแฝงในบทพระราชนิพนธ์เรื่องนี้ว่า พระขรรค์เพชร โดยมีจุดประสงค์เพื่อใช้ ทหาร) พั น แหลม (บทความ
เป็นบทส�าหรับแสดงละครและใช้สา� หรับอ่านเพือ่ ความเพลิดเพลิน นอกจากนีย้ งั ทรงใช้การแสดงละคร เกี่ ย วกั บ ทหารเรื อ ) ศรี อ ยุ ธ ยา
เป็นสื่อช่วยกล่อมเกลาอบรมจิตใจของประชาชนและมีพระราชประสงค์เพื่อหาพระราชทรัพย์ส�าหรับ (บันเทิงคดีและสารคดีตางๆ ที่
สร้างสาธารณสมบัติของชาติ แปลจากตางประเทศ) นายแกว
ละครพูดนอกจากจะใช้เพื่อการแสดงแล้ว ยังสามารถใช้อ่านเพื่อความบันเทิง ซึ่งการอ่าน นายขวัญ (นิทานเรื่องเบ็ดเตล็ด
บทละครพูดต้องอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์และพิจารณาเพื่อให้เข้าใจความรู้สึกนึกคิดของตัวละครที่ ตางๆ) พระขรรคเพชร
ต้องแสดงพฤติกรรมในลักษณะต่างๆ สิ่งที่ส�าคัญที่สุดของละครพูดคือบทสนทนาของตัวละครทุกตัว (บทละคร))
ที่จะน�าไปสู่ความหมายของการด�าเนินเรื่อง
อธิบายความรู
๒ ประวัติผู้แต่ง 1. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจา
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นพระราชโอรส อยูห วั ทีท่ รงไดรบั พระสมัญญาภิไชย
ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้า- ว า “สมเด็ จ พระมหาธี ร ราชเจ า ”
เจ้าอยู่หัวกับสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ (สมเด็จ- หมายถึง ทรงเปนพระมหากษัตริย
พระนางเจ้ า เสาวภาผ่ อ งศรี ) ทรงพระราชสมภพเมื่ อ วั น ที่ ๑ นักปราชญผูยิ่งใหญ
มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ ตรงกับวันเสาร์ เดือนยี่ ขึ้น ๒ ค�่า ปีมะโรง • ใหนักเรียนอภิปรายแสดงความ
ทรงพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ คิดเห็นวาพระองคทรงพระปรีชา
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มศึกษา สามารถอยางไร
ในพระบรมมหาราชวัง ต่อมาได้เสด็จพระราชด�าเนินไปทรงศึกษาต่อ (แนวตอบ พระองคทรงพระปรีชา
สามารถดานภาษาและวรรณคดี
ณ ประเทศอังกฤษ โดยทรงเชี่ยวชาญวิชาทหาร วิชาพลเรือน
เป น พิ เ ศษ พระองค ท รงเป น
และภาษาฝรั่งเศส หลังจากนั้นได้เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียน
อั จ ฉริ ย ะในด า นกวี นิ พ นธ แ ละ
นายร้อยทหารบกแซนด์เฮิสต์ เมื่อทรงส�าเร็จการศึกษาแล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ดานการประพันธ ทรงพระราช
3 นิพนธบทประพันธตางๆ ทั้งรอย
แกวและรอยกรอง)
2. ใหนักเรียนยกตัวอยางบทประพันธ
ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา
(แนวตอบ นักเรียนยกตัวอยางไดหลากหลาย เชน เจาอยูห วั มา 1 ตัวอยาง พรอมทัง้ ให
“เห็นแกวแวววับที่จับจิต ใยไมคิดอาจเอื้อมใหถึงที่ เหตุผลที่ยกมา
เมื่อไมเอื้อมจะไดอยางไรมี อันมณีฤๅจะโลดไปถึงมือ
อันของสูงแมปองตองจิต ถาไมคิดปนปายจะไดฤๅ
มิใชของตลาดที่อาจซื้อ ฤๅแยงยื้อถือไดโดยไมยอม”
บทประพันธนี้ใชไดกับทุกคน แสดงแนวคิดวาของดีมีคา หรือสิ่งที่นักเรียนปรารถนาอาจเปนการศึกษา
เลาเรียนที่จะประสบความสําเร็จไดนั้น ตองมีความพยายามอยางมากจึงจะไดสิ่งเหลานั้นมา เปนตน) คูมือครู 3
@

4
ลงสมุด
Engage

มุม IT
อธิบายความรู

Ram6_1_History.htm
กระตุนความสนใจ

คูมือครู
พระราชกรณียกิจดานอักษร
2. ใหนักเรียนแสดงทรรศนะตอ
1. ใหนักเรียนจับคูเลือกพระราช

ศาสตร ของรัชกาลที่ 6 บันทึก


มาเลาใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระราช
นิพนธในรัชกาลที่ 6 เรื่องที่สนใจ

units/unit4/chapter4/chapter4-6/
sainampeung.ac.th/chalengsak/
ประวัติรัชกาลที่ 6 ไดที่ http//:www.
Explore
สํารวจคนหา

พระราชประวัติ ในรัชกาลที่ ๖ พระราชพิธีโสกันต รัชกาลที่ ๕ เสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช โปรดเกลาฯ ใหประกาศใชพระราชบัญญัตินามสกุล


เจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จขึ้น

๒๔๒๓
๒๔๓๕
เกิดสงครามโลกครั้งที่ ๑

๒๔๕๓
๒๔๕๖
ครองราชยเปนรัชกาลที่ ๖ ทรงยกฐานะโรงเรียนมหาดเล็กหลวงใหเปน

๒๔๕๗
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
๒๔๕๙จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นับเปนมหาวิทยาลัย
ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จเจาฟา แหงแรกของประเทศไทย

๒๔๓๖
Explain

ทรงพระราชสมภพเมื่อ ๑ มกราคม มหาวชิราวุธฯ เสด็จไปศึกษาตอทีป่ ระเทศอังกฤษ ทหารอาสาไทยรวมเดินสวนสนาม


ทรงเปนพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ ในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ณ กรุงปารีส
๒๔๖๒
อธิบายความรู

พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวและ
สมเด็จพระนางเจาเสาวภาผองศรี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา-
ทรงเริ่มวิชาทหารที่โรงเรียน เจาอยูห วั สวรรคต สมเด็จพระเจา-

๒๔๔๐
๒๔๖๘

นายรอยทหารบกแซนดเฮิสต นองยาเธอ เจาฟาประชาธิปกศักดิ-


เดชน กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา
ทรงไดรับการสถาปนาเปน ทรงอบรมวิชาปนใหญที่กรมทหารราบเบาเดอรัม เสด็จขึน้ ครองราชยเปนรัชกาลที่ ๗
(Royal Durham Light Infantry) ที่อัลเดอรชอต

๒๔๓๑
สมเด็จเจาฟามหาวชิราวุธ

๒๔๔๒
กรมขุนเทพทวาราวดี (Aldershot) และทรงเขาประจําการที่กรมทหารราบ
เบาเดอรัม จากนั้นทรงเขาศึกษาที่วิทยาลัยไครสตเชิรช
Expand

มหาวิทยาลัยออกซฟอรด โดยทรงศึกษาวิชา
ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตรและการปกครอง
ขยายความเขาใจ

๒๔๒๐ ๒๔๓๐ ๒๔๔๐ ๒๔๕๐ ๒๔๖๐ ๒๔๗๐


๒๔๖๑ ตั้งเมืองจําลองดุสิตธานี

๒๔๓๗
๒๔๕๕

สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิรุณหิศ โปรดเกลาฯ ใหใชพุทธศักราชแทนรัตนโกสินทรศก


๒๔๔๕

สยามมกุฎราชกุมาร รัชทายาทเสด็จสวรรคต รัชกาลที่ ๕ และจัดตั้งคลังออมสิน ปจจุบันคือธนาคารออมสิน


จึงโปรดเกลาฯ สถาปนากรมขุนเทพทวาราวดีเปน เสด็จพระราชดําเนินกลับประเทศไทยเมื่อวันที่ ๒๙
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธ มกราคม ทรงเขารับราชการในกรมทหารมหาดเล็ก
Evaluate

สยามมกุฎราชกุมาร สืบแทน จนทรงไดรับโปรดเกลาฯ เปนผูบังคับการกรม


ตรวจสอบผล

๒๔๔๗

ทรงผนวชตามพระราชประเพณี โปรดเกลาฯ ใหจดั ตัง้ กองเสือปาและตัง้ กองลูกเสือขึน้


ประทับจําพรรษาที่
๒๔๔๘

วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร ทรงเปนผูรักษาพระนคร เมื่อรัชกาลที่ ๕


๑ พรรษา เสด็จประพาสตนครั้งแรก
เกิดเหตุการณกบฏ ร.ศ. ๑๓๐ เพื่อเปลี่ยนแปลง
๒๔๕๐

ทรงเปนผูสําเร็จราชการ การปกครอง
๒๔๕๔

แผนดิน เมื่อรัชกาลที่ ๕
๒๔๕๒

เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่สอง รัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯ ใหสรางวังพญาไท


และโปรดเกลาฯ ใหสราง พระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมารฯ
พระราชวังสนามจันทร เสด็จพระราชดําเนินไปเมืองเหนือเพื่อ นายชารลส แวน เดอก บอรน นําเครือ่ งบินแบบ
ที่จังหวัดนครปฐม ศึกษาประวัติศาสตรและโบราณคดี ออรวลิ ไรทมาแสดงทีส่ นามมาปทุมวันเปนครัง้ แรก
เสนสัญลักษณ
(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขอมูลทั่วไป
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
1. ใหนักเรียนอธิบายขอความที่กลาว
วา
ทรงศึกษาวิชาประวัติศาสตร์และกฎหมายที่มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ดด้วย เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสา- • บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก
ขอมูลทั่วไป

ธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารสิ้นพระชนม์ พระองค์จึงทรงได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จ- เปนเรื่องสั้นๆ เพียงองกเดียว


พระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร และเสด็จพระราชด�าเนินกลับประเทศไทย หมายความวาอยางไร
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ เสด็จขึ้นครองราชสมบัติใน พ.ศ. ๒๔๕๓ (แนวตอบ องก หมายถึง ตอนหนึ่ง
พระราชกรณียกิจของพระองค์มีหลายด้าน เช่น การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ การศึกษา ในบทละคร จึ ง หมายความว า
ศิลปะ อักษรศาสตร์ ซึง่ พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เป็นจ�านวนมาก เช่น โคลนติดล้อ ยิวแห่งบูรพาทิศ บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก
บทเสภาสามัคคีเสวก ศกุนตลา มัทนะพาธา ซึง่ ได้รบั ยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของบทละคร- มีเพียงตอนเดียวหรือฉากเดียว)
พูดค�าฉันท์และเรื่องหัวใจนักรบได้รับยกย่องให้เป็นยอดของบทละครพูด โดยทรงใช้พระนามแฝงใน 2. ใหนักเรียนจัดกลุมอธิบาย
ความหมายและวิวัฒนาการของ
พระราชนิพนธ์ เช่น อัศวพาหุ รามจิตติ พระขรรค์เพชร Young Tommy และเนื่องในวาระฉลอง
บทละครพูด โดยใชแผนผังความคิด
วันพระบรมราชสมภพครบ ๑๐๐ ปี เมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๔ องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์
และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศยกย่องพระองค์ให้ทรงเป็นนักปราชญ์ของโลก
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงครองราชสมบัตเิ ป็นเวลา ๑๖ ปี ทรงมีพระราชธิดา
เพียงพระองค์เดียว คือ สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ซึ่งประสูติแต่พระนางเจ้า- เกร็ดแนะครู
สุวัทนา พระวรราชเทวี เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ หลังจากพระราชธิดาประสูติได้ ๒ วัน ครูเพิม่ เติมความรูเ รือ่ งบทละครพูด
พระองค์สวรรคตด้วยโรคพระโลหิตเป็นพิษในพระอุทร เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ใหนักเรียน การเขียนบทละครพูดแต
พระชนมพรรษา ๔๖ พรรษา ซึ่งพระราชประวัติของพระองค์สามารถแสดงเป็นเส้นเวลาไว้ในหน้า ๔ เดิมเขียนเพื่อการแสดงละครเปนสวน
ใหญ แตในสมัยรัชกาลที่ 6 บทละคร
๓ ลักษณะคÓประพันธ์ พูดไดเขียนขึ้นเพื่อใชเปนวรรณกรรม
ละครพูด คือละครที่แสดงโดยใช้บทสนทนาโต้ตอบกันของตัวละคร ผู้แต่งจะเป็นผู้ก�าหนด สําหรับอานดวย
ชื่อเรื่อง ตัวละครและฉากว่าควรมีลักษณะอย่างไร รวมไปถึงล�าดับการแสดงของตัวละครแต่ละตัว
นอกจากบทละครพูดจะแต่งขึ้นเพื่อใช้ในการแสดงแล้วยังใช้อ่านได้ด้วย ซึ่งการอ่านบทละครพูดให้
ได้รบั อรรถรสทางการประพันธ์และแง่คดิ เตือนใจ ผูอ้ า่ นจะต้องใช้วจิ ารณญาณและจินตนาการเพือ่ เข้าใจ นักเรียนควรรู
อารมณ์ความรูส้ กึ นึกคิด สาเหตุของพฤติกรรมต่างๆ ของตัวละครผ่านฉากและบทสนทนาของตัวละคร องก หมายถึง ตอนหนึ่งๆ ในบท
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดขนาดสั้นที่มีความยาวเพียงองก์เดียวและมีฉาก ละคร แตละตอนอาจมีเพียงฉากเดียว
เดียว ซึ่งหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล สันนิษฐานว่า บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกน่าจะเป็นละครพูด หรือหลายฉากก็ได
เรื่องแรกที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเองโดยมิได้แปลหรือดัดแปลงมาจากบทละครต่างประเทศ
โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า พระขรรค์เพชร
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก แม้จะเป็นเรื่องสั้นๆ เพียงองก์เดียวแต่นับว่าเป็นบทละครที่แสดง
คุณธรรมประการส�าคัญ คือ ความรักอันยิ่งใหญ่ของบิดามารดาที่มีต่อบุตรของตน ไม่ว่าจะต้องล�าบาก
เพียงใด จะยอมทนเพื่อให้ลูกได้มีความสุขกาย สบายใจ เป็นความรักที่ไม่มีสิ่งใดเสมอเหมือน
5

คูมือครู 5
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนศึกษาเรื่องยอบทละคร
พูดเรื่องเห็นแกลูกมาลวงหนา แลว
สรุปเรื่องยอเปนความเรียง บันทึกลง ด้วยเหตุนบี้ ทละครพูดเรือ่ งเห็นแก่ลกู จึงได้รบั คัดเลือกให้นกั เรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาได้ศกึ ษา
สมุด และยังได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาจีน ภาษาเกาหลี ภาษามาเลย์ เป็นต้น

๔ เรื่องย่อ
ขยายความเขาใจ
บทละครพูดเรือ่ งเห็นแก่ลกู เป็นเรือ่ งของชายสองคน คือ นายล�า้ (ทิพเดชะ) และพระยาภักดี-
ใหนักเรียนลําดับเหตุการณจาก นฤนาถ ทั้งสองคนเคยเป็นเพื่อนรักกันมาก่อน นายล�้าเคยรับราชการจนได้ต�าแหน่งทิพเดชะ ส่วน
เรื่องยอเปนแผนผังความคิด พระยาภักดีนฤนาถ มีต�าแหน่งหลวงก�าธร ทั้งสองคนหลงรักหญิงคนเดียวกันคือ แม่นวล ซึ่งนายล�้าได้
แต่งงานกับแม่นวลและมีบุตรสาวคนหนึ่งชื่อแม่ลออ แต่นายล�้าต้องโทษจ�าคุก ๑๐ ปี ฐานประพฤติ
ทุจริต ต่อมาแม่นวลเสียชีวิต ขณะนั้นแม่ลอออายุได้เพียง ๒ ปี พระยาภักดีนฤนาถจึงอุปการะแม่ลออ
นักเรียนควรรู โดยบอกเธอว่าบิดามารดาที่เสียชีวิตไปแล้วนั้นเป็นคนดี
บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก เมื่อนายล�้าออกมาจากคุก เขาหมดหนทางท�ามาหากิน และได้ทราบว่าแม่ลออก�าลังจะเข้าพิธี
เปนเรื่องที่รัชกาลที่ 6 ทรงคิดสราง แต่งงานกับบุตรพระยารณชิตผู้ร�่ารวยจึงคิดจะมาพึ่งพา ส่วนพระยาภักดีนฤนาถแม้จะเป็นเพียงบิดา
โครงเรื่องขึ้นเองและมีบทละครพูด บุญธรรมแต่กร็ กั แม่ลออเหมือนลูกแท้ๆ ของตนจึงพยายามไม่ให้นายล�า้ เข้ามายุง่ เกีย่ วกับแม่ลออ เพราะ
เรือ่ งอืน่ ๆ เชน จัดการรับเสด็จขนมสม เกรงว่าแม่ลออจะถูกคนในสังคมรังเกียจ แต่เมื่อนายล�้า ได้พูดคุยกับแม่ลออและพบว่าเธอชื่นชมบิดา
กับนํ้ายา ผูรายแผลง เปนตน ที่แท้จริงว่าเป็นบุรุษผู้แสนดี น่าเคารพเลื่อมใส ความรู้สึกจึงเปลี่ยนไป เขาไม่อาจลบภาพพ่อที่แสนดี
ในใจของแม่ลออลงได้ ความเห็นแก่ตัวของนายล�้าจึงหมดไปและแปรเปลี่ยนเป็นความรู้สึกที่เห็นแก่ลูก
อย่างจริงใจ นายล�า้ ไม่อาจแสดงตนเป็นพ่อทีแ่ ท้จริงของแม่ลออได้ เพราะปรารถนาให้แม่ลออมีความสุข
กับอนาคตวันข้างหน้า

๕ เนื้อเรื่อง
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก
ตัวละคร พระยาภักดีนฤนาถ นายล�้า (ทิพเดชะ) อ้ายค�า (บ่าวพระยาภักดีนฤนาถ) แม่ลออ
ฉากห้องหนังสือ ในบ้านพระยาภักดีนฤนาถ มีประตูข้างซ้ายเข้าไปในห้องนอน ข้างขวาออก
ไปเฉลียงทางขึ้นลง หลังมีหน้าต่าง เครื่องประดับประดาไม่เป็นของมีราคาแต่ใช้ได้ดีๆ
พอเปิดม่าน อ้ายค�าพานายล�้า (ทิพเดชะ) เข้ามาทางประตูขวา นายล�้านั้นเป็นคนอายุราว ๔๐
แต่หน้าตาแก่ ผมหงอกหน้าย่นมาก แลจมูกออกจะแดงๆ เห็นได้ว่าเป็นคนกินเหล้าจัด แต่งกาย
ค่อนข้างจะปอนๆ แต่ยังเห็นได้ว่าได้เคยเป็นผู้ดีมาครั้งหนึ่งแล้ว

6 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา
Engage Explore อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explain Expand Evaluate

กระตุนความสนใจ
ครูนําภาพการแสดงละครแตละ
ประเภทมาใหนักเรียนดู สนทนา
นายล�้า. : ก็แล้วเจ้าคุณเมื่อไหร่จะกลับ? ซักถาม
อ้ายค�า. : เห็นจะไม่ช้าแล้วครับ ท่านเคยกลับจากออฟฟิศราวบ่าย ๕ โมงทุกวัน. • ละครแตละประเภทแตกตางกัน
นายล�้า. : ถ้ายังงั้นฉันคอยอยู่ที่นี่ก็ได้. อยางไร (ละครรํา ละครรอง
อ้ายค�า. : ครับ. (ลงนั่งกับพื้นที่ริมประตูขวา.) ละครพูด)
• นักเรียนเคยดูละครพูดบางหรือ
นายล�้า. : (ดูอ้ายค�าแล้วจึงพูด.) แกไม่ต้องนั่งคอยอยู่กับฉันหรอก มีธุระอะไรก็ไปท�า
เสียเถอะ. ไม เรื่ อ งอะไร (ครู ใ ห นั ก เรี ย น
ที่เคยดูมาเลาประสบการณให
อ้ายค�า. : ครับ. (นั่งนิ่งไม่ลุกไป.) เพื่อนฟงหนาชั้นเรียน)
นายล�้า. : ฮือ! (มองดูอ้ายค�าครู่หนึ่งแล้วไปยืนมองดูอะไรเล่นที่หน้าต่างสักครู่หนึ่ง • ละครพูดมีลักษณะอยางไร
อ้ายค�าก็ยังนั่งนิ่งอยู่เฉยๆ จึงหันไปพูดอีก.) แกจะคอยอะไรอีกล่ะ? ( แนวตอบ เป น การแสดงที่ มี ก าร
อ้ายค�า. : เปล่าครับ. จั ด ฉาก แสง สี เสี ย ง ให เ หมื อ น
นายล�้า. : ถ้าจะต้องคอยอยู่เพราะฉันละก็ ฉันขอบอกว่าไม่จ�าเป็น แกจะไปก็ได้. ธรรมชาติ มีการพูดสนทนาโตตอบ
อ้ายค�า. : ครับ. (นั่งนิ่งไม่ลุกไป.)
กัน และครูแนะวาตัวละครแสดง
กิรยิ าอาการอยางไร และพูดอยางไร
นายล�้า. : (ดูอา้ ยค�าอีกครูห่ นึง่ แล้วก็หวั เราะ.) ฮะๆ ฮะๆ แกเห็นท่าทางฉันมันไม่ได้การ สิ่งสําคัญที่สุดของละครพูดคือบท
กระมัง แต่ที่จริงฉันน่ะเป็นผู้ดีเหมือนกัน มีตระกูลไม่ต�่าไม่เลวไปกว่าเจ้าคุณ สนทนาของตัวละครทุกตัว จะนํา
ภักดีเลย.
ไปสูการดําเนินเรื่อง)
อ้ายค�า. : (ออกไม่ใคร่เชื่อ.) ครับ.
นายล�้า. : ฮื่อ! แกไม่เชื่อ! ที่จริงแกก็ไม่น่าเชื่อ รูปร่างฉันมันโทรมเต็มที เครื่องแต่งตัว
หรือก็ปอนเต็มทียังงี้ แต่ฉันสาบานได้เทียวว่า ฉันจะไม่แตะต้องสิ่งของอะไร สํารวจคนหา
ของเจ้าคุณภักดีก่อนที่จะได้รับอนุญาต เข้าใจไหม? ใหนักเรียนสืบคนเนื้อหาบทละคร
อ้ายค�า. : ครับ. (นายล�้ามองดูอ้ายค�า เห็นจะไม่ไปแน่แล้วก็ถอนใจใหญ่ แล้วไปหยิบ เรือ่ งเห็นแกลกู จากแหลงเรียนรูต า งๆ
หนังสือเล่มหนึ่งมานั่งอ่านที่เก้าอี้ เงียบอยู่ครู่หนึ่ง.)
(พระยาภักดีนฤนาถเข้ามาทางประตูขวา พระยาภักดีอายุราวนายล�้าหรือจะ
แก่กว่านิดหน่อย กิริยาท่าทางเป็นขุนนางผู้ใหญ่ ฝ่ายอ้ายค�า พอนายเข้ามา
ก็ยกมือไหว้ แล้วตั้งท่าจะพูด.)
พระยาภักดี. : อะไรวะ?
อ้ายค�า. : รับประทานโทษขอรับ! (บุ้ยปากไปทางนายล�้า.)
พระยาภักดี. : ใครวะ?
อ้ายค�า. : อ้างว่าเป็นเกลอเก่าของใต้เท้า ผมบอกว่าใต้เท้ายังไม่กลับจากออฟฟิศ ก็ไม่
ยอมไป เดินเรื่อยขึ้นมาที่นี่ว่าจะมาคอยพบใต้เท้า.
7

คูมือครู 7
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนกั เรียนแบงกลุม แลวสรุปเนือ้ หา
บทละครพูด เรือ่ งเห็นแกลกู เปนภาษา
ของนักเรียนเอง จากนัน้ นักเรียนแตละ พระยาภักดี. : แล้วยังไงล่ะ?
กลุ  ม ส ง ตั ว แทนมาหน า ชั้ น เรี ย นนํ า อ้ายค�า. : เกล้าผมก็ตามขึ้นมาด้วย มานั่งคุมอยู่นี่.
เสนอการสรุปเรื่องยอ พระยาภักดี. : เออ! ดีละวะ! เอ็งออกไปนั่งคอยอยู่ข้างนอกก็ได้.
(แนวตอบ นายลํ้ า กั บ พระยาภัก ดี- อ้ายค�า. : ขอรับผม.
นฤนาถเปนเพื่อนกัน ทั้งสองรักผูหญิง
พระยาภักดี. : คอยอยู่ใกล้ๆ เผื่อข้าจะเรียก แล้วก็ถ้าคุณลออมา บอกข้าด้วยนะ.
คนเดี ย วกั น นายลํ้ า เป น คนกล า ได
กลาเสียแอบเลนการพนันและดื่มสุรา อ้ายค�า. : ขอรับผม. (ออกไปทางประตูขวา.)
นายลํ้าไดแตงงานกับแมนวลมีบุตร พระยาภักดี. : (แลดูนายล�้าอยู่ครู่หนึ่ง แล้วกระแอม.) ฮะแอม!
สาว 1 คน ชื่อลออ นายลํ้าตองโทษ นายล�้า. : (เหลียวมาเห็น.) อ้อใต้เท้ากรุณา ผมไหว้ (ยกมือไหว้แล้วลุกขึ้นยืน.) ใต้เท้า
จําคุก 10 ป เพราะประพฤติทุจริต เห็นจะจ�าผมไม่ได้.
พระยาภั ก ดี น ฤนาถเป น คนซื่ อ สั ต ย พระยาภักดี. : (มองดู.) ฉันไม่สู้แน่ใจ ดูเหมือนจะจ�าได้คลับคล้ายคลับคลา.
สุจริต ขยันหมั่นเพียร จึงกาวหนาใน
นายล�้า. : ก็ยังงั้นซิครับ ใต้เท้ามีบุญขึ้นแล้วจะมาจดมาจ�าคนเช่นผมยังไงได้.
ราชการ เมื่อแมนวลเสียชีวิต บุตรสาว
อายุได 2 ป พระยาภักดีนฤนาถได พระยาภักดี. : ฮือ! พิศๆ ไปก็ออกจะจ�าได้ นายล�้าใช่ไหม?
อุ ป การะแม ล ออเป น บุ ต รบุ ญ ธรรม นายล�้า. : ขอรับ นายล�้า ทิพเดชะ.
เลี้ ย งดู จ นเป น สาว และกํ า ลั ง จะ พระยาภักดี. : อ้อๆ นั่งเสียก่อนซิ, (นั่งทั้งสองคนด้วยกัน.) เป็นยังไง สบายดีอยู่ดอกหรือ?
แต ง งาน พระยาภั ก ดี น ฤนาถบอก นายล�้า. : ขอรับ ผมก็ไม่เจ็บไข้มีอาการถึงจะล้มจะตายอะไร.
แม ล ออว า พ อ แม เ สี ย ชี วิ ต และเป น
พระยาภักดี. : แกแปลกไปมาก ดูแก่ไป.
คนดีมาก รวมทั้งแมลออก็รักเคารพ
พระยาภักดีนฤนาถมาก นายลํ้าออก นายล�้า. : ขอรับ ผมก็รู้สึกตัวว่าผมแก่ไปมาก.
จากคุกตองการจะมาอยูกับลูก แต พระยาภักดี. : ฉันยังไม่ได้พบแกเลยตั้งแต่...
พระยาภักดีนฤนาถกีดกันทุกทางเกรง นายล�้า. : จริงขอรับ หลายปีมาแล้ว สิบห้าปีได้แล้ว.
วาแมลออจะถูกดูหมิ่นเหยียดหยาม พระยาภักดี. : แหม! ยังงั้นเทียวหรือ?
แมลออไดพบกับนายลํ้า เธอชื่นชม
พอทีเ่ ปนคนดีนา เคารพเลือ่ มใส ทําให นายล�้า. : แน่ละซีครับ เมือ่ ... เมือ่ เกิดความขึน้ น่ะ ใต้เท้ากับผมยังหนุม่ อยูด่ ว้ ยกันนีค่ รับ
นายลํ้าไมอาจลบภาพพอที่ดีได ผมเป็นทิพเดชะ ใต้เท้ายังเป็นหลวงก�าธรอยู่ยังไงล่ะ.
ความเห็นแกลูกจึงเสียสละไมแสดง พระยาภักดี. : ถูกล่ะๆ.
ตนเปนพอ) นายล�้า. : แล้วก็ผมยังต้องไป...เอ้อ... ไปเป็นโทษเสียสิบปียังไงล่ะครับ.
พระยาภักดี. : อือๆ! สูบบุหรี่ไหมล่ะ?
นายล�้า. : ขอบพระเดชพระคุณ. (รับบุหรี่ไปจุดสูบ.)
นักเรียนควรรู พระยาภักดี. : แล้วแกไปท�าอะไร เห็นหายไป.
ขอรับ เปนคําลงทายและคําตอบรับ 8
ซึ่งผูชายที่เปนผูนอยใชพูดกับผูใหญ
กวา ปจจุบันไมนิยมใช “ขอรับ” แต
ผูชายทุกคนจะใชคําวา “ครับ” โดย
ทั่วไป

8 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษารู ป แบบการ
เขียน และอธิบายการใชเครื่องหมาย
นายล�้า. : ผมขึ้นไปอยู่พิษณุโลกครับ พอพ้นโทษแล้ว ผมก็เลยเปิดไปให้พ้นบางกอก วรรคตอนตางๆ ในบทละครพูด เรื่อง
จะอยู่ดูหน้าพวกพ้องยังไงได้.
เห็นแกลูก วามีลักษณะเดนอยางไร
พระยาภักดี. : ถูกแล้ว, ถูกแล้ว, ท�ามาหากินยังไงที่พิษณุโลก? ( แนวตอบ เป น การเขี ย นแบบบท
นายล�้า. : แต่แรก ผมพยายามหางานท�าทางเสมียนบาญชี ก็ไม่ส�าเร็จ. (หัวเราะ.) ละคร มี ว งเล็ บ แสดงอาการของตั ว
พระยาภักดี. : ฮือๆ! ในชั้นต้นๆ เห็นจะล�าบากจริง แล้วยังไงล่ะ? ละคร เขียนบทพูดสือ่ สารโดยไมมกี าร
บรรยาย และใชเครือ่ งหมายวรรคตอน
นายล�้า. : แล้วผมก็เข้าหุ้นค้าขายกับเจ๊กสองสามคนด้วยกัน.
แบบภาษาอังกฤษ)
พระยาภักดี. : แล้วเป็นยังไง?
นายล�้า. : ก็ดีหรอกครับ พอไถๆ ไปได้ ไม่สู้ฝืดเคืองนักแต่ภายหลังอ้ายผีโลภมันก็เข้า
ดลใจผมอีก.
พระยาภักดี. : เอ๊ะ! อะไร เล่นอย่างเก่าอีกหรือ?
เกร็ดแนะครู
นายล�้า. : เปล่าขอรับ อ้ายอย่างเก่าผมเข็ด, แต่ถึงจะไม่เข็ดมันก็ท�าอย่างเก่าอีกไม่ได้ การยื ม คํ า ภาษาอั ง กฤษมาใช ใ น
เพราะผมไม่ได้เป็นข้าราชการแล้วอย่างทีท่ า� ครัง้ ก่อน มันก็ไม่มโี อกาสอยูเ่ อง ภาษาไทย มักมีสาเหตุมาจากวิทยาการ
ถูกไหมล่ะครับ? ตางๆ ที่ไทยรับมา โดยนํามาทับศัพท
กรณีทคี่ าํ นัน้ ๆ เปนคําใหม และยังไมมี
พระยาภักดี. : ถูกแล้ว เป็นเคราะห์ดีของแกที่ไม่มีโอกาส.
คําศัพทบัญญัติใชในภาษาไทย เชน
นายล�้า. : ที่จริงถึงมีโอกาสผมก็ไม่เล่นอีก ผมก็แก่จนหัวหงอกแล้วต้องมีความคิดดีขึ้น offfiice = ออฟฟศ หมายถึง
กว่าแต่ก่อนสักหน่อย, การที่ผมท�าอย่างครั้งก่อนน่ะ ผลที่ได้มันไม่มีน�้าหนัก สํานักงาน ที่ทําการ
เท่าผลทีเ่ สียเลย, เพราะฉะนัน้ ผมจึงได้คดิ หาหนทางทีจ่ ะท�าการให้ได้ผลมากๆ soda = โซดา หมายถึง นํา้ ทีเ่ จือดวย
และให้มีทางล�าบากน้อยๆ.
โซเดียมไฮโดรเจนคารบอเนต นํ้าที่มี
พระยาภักดี. : ฮือ! แล้วก็ท�ายังไงล่ะ ฉันหวังใจว่าการที่ท�านั้นไม่เป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย, แกสคารบอนไดออกไซดละลายและ
แต่ที่จริงนี่ก็ไม่ต้องกล่าวเพราะถ้าผิดกฎหมายแกคงไม่มาเล่าให้ฉันฟัง. อัดไวในขวด
นายล�้า. : อ้อ! เจ้าคุณนีก่ ย็ งั ช่างพูดอยูเ่ หมือนหนุม่ ๆ น่ะเอง การทีผ่ มท�าน่ะ เป็นการค้าขาย clinic = คลินิก หมายถึง
ครับ. สถานพยาบาล
พระยาภักดี. : ค้าอะไร? night club = ไนตคลับ หมายถึง
นายล�้า. : ฝิ่น. สถานเริ ง รมย ที่ เ ป ด เวลากลางคื น
ขายอาหาร เครื่องดื่ม มีดนตรี และ
พระยาภักดี. : อือ! ได้ก�าไรดีหรือ? มักจัดใหมีการแสดงดวย
นายล�้า. : ฉิบหายหมดตัว.
พระยาภักดี. : อ้าว! ท�าไมยังงั้น?
นายล�้า. : เขาจับได้เสียน่ะซิ เคราะห์ดีที่ไม่ติดคุกเข้าไปด้วย. นักเรียนควรรู
9 ฝดเคือง เปนคําซอนเพือ่ ความหมาย
มีความหมายวาติดขัด มีไมสจู ะพรอม
ใชสอย

คูมือครู 9
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนจับคูหาคําอุทาน
จากบทละครพูด เรื่องเห็นแกลูก
โดยยกตัวอยางคําอุทานในเรื่อง พระยาภักดี. : จริง เคราะห์ดี.
และชวยกันอธิบายวาคําอุทานนั้น นายล�้า. : รอดตัวที่หมอความของผมดี แก้ว่าผมไม่รู้ไม่เห็นด้วย, จีนกิมจีนเง็กมากู้เงิน
ใชในสถานการณใด ผมไปว่าจะไปท�าทุนในการค้าขายล่องเรือข้าวหรืออะไรอันหนึง่ , ผมก็จา� ไม่ได้
(แนวตอบ เชน ฮืม! ก็จีนกิมจีนเง็ก ถนัดเสียแล้ว และจีนกิมจีนเง็กเอาเงินนั้นไปลงทุนซื้อฝิ่น ผมไม่รู้ไม่เห็นด้วย,
เลา? “ฮืม” เปนคําอุทานดวยความ ทีจ่ ริงผมระวังตัวมาก คอยเลีย่ งไม่ออกหน้าออกตาเลย เพราะยังงัน้ ถึงได้หา
สงสัย เปนตน) พยานมายันผมยากนัก.
พระยาภักดี. : ฮือ! ก็จีนกิมจีนเง็กเล่า?
นายล�้า. : ติดตะรางอยู่ที่พิษณุโลก.
ขยายความเขาใจ
พระยาภักดี. : อ้อ!
ใหนักเรียนพิจารณาการใชคําอุทาน
นายล�้า. : แหม! วันนี้ร้อนจริง ท�าให้ระหายน�้าพิลึก.
• ในปจจุบน ั ใชคาํ อุทานเหมือนกับใน
เรื่องหรือไม หากใชไดแกคําใดบาง พระยาภักดี. : (เรียก.) อ้ายค�า! ไปหาโซดามาถ้วยเถอะ.
และใชในสถานการณใด นายล�้า. : โซดาเปล่าหรือครับ?
(แนวตอบ ยังใชอยู ไดแกคําวา ฮือ! พระยาภักดี. : จะเอาครีมโซดาก็ได้ หรือน�้าแดง.
ฮือ! เออ! ดีละวะ! แหม! อือๆ! เอะ! นายล�้า. : น�้าเหลืองๆ งๆ ไม่มีหรือครับ มันค่อยชื่นอกชื่นใจหน่อยหนึ่ง?
ออ! อื่อ! อาว! ออ! พุธโธ! ออ! เอา!
อะ! ปจจุบันยังมีการใชคําอุทาน พระยาภักดี. : ไม่มี ถึงจะมีฉันก็ไม่เห็นควรจะกินเวลาร้อนๆ ยังงี้. (อ้ายค�ายกโซดาเข้ามา
เหลานี้อยู และคําวา พุท โธ! มักใช ทางขวา วางโซดาบนโต๊ะแล้วกลับออกไป นายล�า้ ยกโซดาขึน้ ดืม่ ท�าหน้าเหย
แล้ววาง.)
ในหมูผูสูงอายุ)
นายล�้า. : ที่พิษณุโลกก็พอหาอะไรดื่มได้พอใช้เทียวครับ.
พระยาภักดี. : (แลดูหน้านายล�า้ .) ฉันเชือ่ , เชือ่ ทีเดียว เออ! นีแ่ น่ะ ฉันขอถามอะไรสักหน่อย
เถอะ แกมาหาฉันวันนีน้ ะ่ มีธรุ ะอะไร อย่าเกรงใจเลย เสียแรงเป็นเกลอกันมา
นักเรียนควรรู แต่เก่าแต่แก่.
หมอความ หมายถึง ทนายความ นายล�้า. : ผมมาก็ตงั้ ใจมาเยีย่ มเจ้าคุณ นัน่ แหละอย่างหนึง่ อีกอย่างหนึง่ ผมนึกว่า ถ้ามี
คือผูที่ไดรับใบอนุญาตใหวาตาง โอกาสจะได้พบแม่ลออบ้าง.
แกตางคูความในคดีความ พระยาภักดี. : (หน้าตึง.) อ้อ!
นายล�้า. : เขาว่าเป็นสาวใหญ่แล้วไม่ใช่หรือครับ?
พระยาภักดี. : ก็สาวอายุ ๑๗ แล้ว.
นักเรียนควรรู นายล�้า. : อ้อ! ถูกครับ แล้วเขาว่าเหมือนแม่เขาไม่ใช่หรือครับ?
นํา้ เหลืองๆ ในทีน่ หี้ มายถึง สุราฝรัง่ พระยาภักดี. : ก็เหมือน.
คือ บรั่นดีหรือวิสกี้ซึ่งมีนํ้าสีเหลือง
10

10 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
จากบทประพันธในหนา 11 นี้
ใหนักเรียนอภิปรายรวมกัน ดังนี้
นายล�้า. : ผมจะพบสักทีได้ไหมครับ? • นักเรียนคิดวานายลํ้ามีลักษณะ
พระยาภักดี. : ฉันบอกไม่ได้ว่าเมื่อไหร่จะมีโอกาสที่จะพบแม่ลออ. นิสัยอยางไร
นายล�้า. : นัยว่าน่ะ เจ้าคุณไม่เต็มใจให้ผมพบยังงั้นหรือ? (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย
พระยาภักดี. : ถ้าจะให้ฉันตอบตามใจจริงก็ต้องตอบว่า ถ้าไม่พบได้ดีกว่า. เชน เปนคนโลภเห็นแกเงิน
เปนตน)
นายล�้า. : (ออกโกรธ.) ท�าไม? • บทพูดของพระยาภักดีเหมาะสม
พระยาภักดี. : จะให้ต้องอธิบายไปท�าไม แกควรจะเข้าใจได้เองดีเทียว. กับสถานการณหรือไม อยางไร
นายล�้า. : เข้าใจยังไง? (แนวตอบ เหมาะสม เพราะใน
พระยาภักดี. : จะให้ฉันพูดตามตรงอีกหรือ? สถานการณที่นายลํ้ากําลังโมโห
พระยาภักดีก็พูดโดยใชเหตุผล)
นายล�้า. : เชิญ.
พระยาภักดี. : ถ้าอย่างงั้นก็เอาซิ ที่ฉันไม่เต็มใจให้แกพบกับแม่ลออก็เพราะแม่ลออเป็นผู้ที่
ได้รบั การอบรมอันดี สมควรแก่ผมู้ ตี ระกูล, ควรหรือทีห่ ล่อนจะคบค้าสมาคม ขยายความเขาใจ
กับคน...เอ้อ... ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
นายล�้า. : คนขี้คุกขี้ตะรางอย่างผม ยังงั้นหรือ? • หากนักเรียนเปนคนที่อยูในสังคม
พระยาภักดี. : ฉันเสียใจ ที่แกมาบังคับให้ฉันต้องพูดให้ระคายหูแกเช่นนี้. สมัยรัชกาลที่ 6 นักเรียนจะใหอภัย
นายล�้า. : ท�าไมในโลกนี้มีผมคนเดียวหรือ ที่เคยติดคุก, คนอื่นที่เคยติดคุกแล้วมาเที่ยว และยอมรับคนที่เคยติดคุก
ลอยหน้าสมาคมอยู่ในหมู่ผู้ลากมากดี มีถมไปไม่ใช่หรือ? ติดตะรางอยางนายลํ้าหรือไม
เพราะเหตุใด
พระยาภักดี. : ทางทีจ่ ะต้องรับพระราชอาญามีหลายทาง บางคนก็พลาดอย่างโน้น บางคน (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับทัศนคติ
ก็พลาดอย่างนี้, ความผิดที่คนกระท�าก็มีหลายชั้น. ของนักเรียน แตครูควรแนะนําวา
นายล�้า. : ยังงั้นซิ ถึงการฉ้อโกงก็มีหลายชนิดหลายชั้นเหมือนกัน ถ้าไม่ยังงั้นคุณเอง การใหอภัยเปนสิ่งที่ควรทํา เพราะ
จะได้มาลอยหน้าเป็นพระยาอยู่หรือ? หากไมใหอภัยเขาก็จะไมมีโอกาส
พระยาภักดี. : ที่แกพูดเช่นนี้ ถ้าเป็นคนอื่นเขาคงหาว่าแกหมิ่นประมาทเขา แต่ฉันน่ะเป็นคน แกตัว และจะทําผิดซํ้าอีก)
ที่รู้จักแกมาช้านานแล้ว เพราะฉะนั้นพอจะให้อภัยได้.
นายล�้า. : ขอบพระเดชพระคุณ ผมเข้าใจดีแล้ว ถ้าฉ้อโกงเล็กน้อยจึง่ จะมีโทษ โกงให้เป็น
การใหญ่ไม่เป็นไร. นักเรียนควรรู
พระยาภักดี. : แกยังเข้าใจผิดอยู่มาก การที่คนได้รับพระราชอาญาคราวหนึ่งแล้ว ไม่ใช่ว่า
ลอยหนา เปนคําประสม คําวา
ใครๆ เขาจะพากันคอยตัดรอนไม่ให้มีการผงกหัวได้อีก ไม่ใช่เช่นนั้น ถ้าใคร
ลอย + หนา หมายความวา ทําหนาตา
ส�าแดงให้ปรากฏว่า รูส้ กึ เข็ดหลาบเกรงพระราชอาญา ละความประพฤติทชี่ วั่
ยักเยื้องกลอกไปกลอกมา
ประพฤติทางที่ดีแล้ว ก็คงจะต้องมีผู้รู้สึกสงสารสักคราวหนึ่ง.

11

คูมือครู 11
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


“นายลํา้ พายแพตอ “ภาพ” ทีแ่ มลออ
วาดไว”
• “ภาพ” ที่กลาวถึงนี้คืออะไรและ
นายล�้า. : เจ้าคุณจะพูดอย่างไรก็พดู ได้ เจ้าคุณไม่เคยติดคุกจะมารูย้ งั ไงได้ ว่าอ้ายคนที่
มีอิทธิพลตอมนุษยเราจริงหรือ ติดคุกออกมาแล้วน่ะ มันจะได้รับความล�าบากยังไง.
ไมอยางไร พระยาภักดี. : ฉันขอถามหน่อยเถอะ ว่าตั้งแต่แกพ้นโทษมาแล้วแกได้พยายามที่จะส�าแดง
(แนวตอบ “ภาพ” ในที่นี้คือ ภาพ ให้ปรากฏอย่างไรบ้าง ว่าแกน่ะตั้งใจจะประพฤติแต่ในทางที่ดีที่ควร?
ลักษณ เปนภาพที่เกิดจากความ นายล�้า. : ผมจะพยายามหรือมิพยายามก็ไม่มีใครปรารถนาอินัง.
นึกคิดที่คิดวาควรจะเปนเชนนั้น พระยาภักดี. : อ้อ เพราะฉะนั้น แกก็เลยปล่อยตัวไปตามใจของแกยังงั้นซิ.
มีอิทธิพลตอมนุษยเราจริง คน
นายล�้า. : (หัวเราะ.) เจ้าคุณต้องเข้าใจว่าผมก็รกั ชีวติ ของผมเหมือนกัน ทีจ่ ะให้ผมอดตาย
เราโดยทั่วไปจะรักษาภาพของ
นั้นเหลือเกินนัก ผมหาได้ทางไหนผมก็เอาทางนั้น.
ตนเองซึ่ ง เป น ภาพที่ ดีอยูเ สมอ
ภาพที่แมลออวาดไวคือ หนาตา พระยาภักดี. : ฮือ! แกอยากจะพบแม่ลออท�าไม?
เปนคนซื่อ ใจคอกวางขวาง เปน นายล�้า. : ผมไม่ได้เห็นหล่อน ตั้งแต่หล่อนอายุได้ ๒ ปีเศษเท่านั้น ผมก็อยากจะดูว่า
คนดี) เดี๋ยวนี้หล่อนจะเป็นยังไง.
พระยาภักดี. : อ้อ? นั่นแน่รูปแม่ลออ ฉายเมื่อเร็วๆ นี้เอง, (ลุกไปหยิบรูปมาส่งให้นายล�้า.)
ดูรูปนี่ก็เท่ากับดูตัวเหมือนกัน.
ขยายความเขาใจ
นายล�้า. : (รับรูปไปดูแล้วพูด.) ฮือ! เหมือนแม่จริงขอรับ ผมได้ทราบข่าวว่าจะแต่งงาน
นายลํ้าเคยติดคุกและไมไดเปนคน กับนายทองค�าลูกเจ้าคุณรณชิตไม่ใช่หรือครับ?
ซื่อสัตยอยางที่แมลออคิด ใหนักเรียน
พระยาภักดี. : ยังงั้น.
ชวยกันวิเคราะหวา
• คนที่เคยตองโทษจําคุก เมื่อพน นายล�้า. : จะแต่งเมื่อไรครับ?
โทษแลวจะใชชีวิตอยูในสังคม พระยาภักดี. : ยังไม่แน่ เห็นจะในเร็วๆ นี้.
อยางไรบาง นายล�้า. : ถ้าก�าหนดวันแน่เมื่อไหร่ ใต้เท้าโปรดบอกให้ผมทราบด้วยนะครับ.
(แนวตอบ หางานทํายาก เพราะ
พระยาภักดี. : จ�าเป็นหรือ?
ไม มี ใ ครอยากจ า งงานคนที่ มี
ประวัติติดคุก เพื่อนฝูงรังเกียจ นายล�้า. : ผมจะได้มาช่วยงาน.
ไมคบคาสมาคมดวย) พระยาภักดี. : อะไรแกจะมาด้วยหรือ ตริตรองเสียให้ตลอดหน่อยเถอะ.
นายล�้า. : ผมเห็นควรตัวผมจะมารดน�้าด้วยนะครับ.
พระยาภักดี. : นี่แกเอาอะไรมานึก!
นักเรียนควรรู นายล�้า. : เอ๊ะ! เจ้าคุณนี่ชอบกลจริงๆ ก็แม่ลออน่ะลูกผมแท้ๆ ไม่ใช่หรือ?
ใตเทา เปนคําสรรพนามบุรุษที่ 2 พระยาภักดี. : อ้อ? นี่แกพึ่งรู้สึกตัวแหละหรือว่าแม่ลออเป็นลูกแก ที่จริงฉันเองก็เกือบจะ
ทีผ่ พู ดู พูดกับเจานายชัน้ สูง ปจจุบนั ไม ลืมเสียแล้วว่าแกน่ะเป็นพ่อแม่ลออ.
นิยมใชคํานี้ จะใชคําวา “ทาน” แทน
เจานายชั้นสูงที่พูดดวย 12

12 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
1. ใหนักเรียนยกสํานวนที่ปรากฏ
ในเรื่อง แลวอธิบายความหมาย
นายล�้า. : จริง, ผมมีความผิดที่ทิ้งแม่ลออไปเสียนาน นี่แม่ลออคงไม่รู้เลยละซิว่าผม (แนวตอบ เชน มีเหยามีเรือน
เป็นพ่อ เห็นจะนึกว่าเจ้าคุณเป็นพ่อกระมัง.
หมายถึง แตงงานแลว
พระยาภักดี. : เขารู้ว่าฉันเป็นแต่พ่อเลี้ยงเขา ฉันบอกว่าพ่อเขาตายเสียตั้งแต่เขายังเล็กๆ เจาบุญนายคุณ หมายถึง ผูม บี ญ
ุ คุณ
เขาก็เลยนับถือฉันเป็นพ่อ. หมาหัวเนา หมายถึง คนซึ่งเปนที่
นายล�้า. : ก็แม่เขาไม่บอกไม่เล่าอะไรให้ลูกเขารู้มั่งเลยหรือ? รังเกียจของคนอื่นจนไมสามารถ
พระยาภักดี. : เขาไม่ได้บอก. เขากับใครได คนที่ไมมีใครรักหรือ
นายล�้า. : ท�าไม? คบหา เปนตน)
2. ใหนักเรียนนําสํานวนที่พบในเรื่อง
พระยาภักดี. : แกไม่ควรจะต้องถามเลย แกรูอ้ ยูด่ ีแล้วว่า ตัง้ แต่แรกได้แม่นวลมาแล้ว แกไม่ เห็นแกลกู เขียนใสกระดาษเล็กๆ ครู
ได้ท�าให้เขาเป็นที่พอใจเลยสักขณะจิตเดียว. รวบรวมสํานวนของนักเรียนมาให
นายล�้า. : จริงซิ! นี่เจ้าคุณคงนึกละซิว่า ถ้าแม่นวลน่ะได้กะเจ้าคุณเสียจะดีกว่า. นักเรียนจับสลาก ถาจับไดสํานวน
พระยาภักดี. : ก็หรือมันไม่จริงเช่นนัน้ ล่ะ แม่นวลเลือกผัวผิดแท้ทเี ดียว เมือ่ จะตายหล่อนก็รสู้ กึ ใดใหอานและอธิบายความหมาย
จึงได้มอบแม่ลออไว้ให้เป็นลูกฉัน ขอให้ฉนั เลีย้ งดูให้เสมอลูกในไส้ฉนั เอง ฉัน ของสํานวนนั้นๆ
ก็ได้ตงั้ ใจทะนุถนอมแม่ลออเหมือนลูกในอกฉัน ฉันได้กระท�าหน้าทีพ่ อ่ ตลอดมา
โดยความเต็มใจจริงๆ, แม่ลออเองคงจะเป็นพยานว่าฉันไม่ได้กระท�าให้เสีย
วาจาที่ฉันให้ไว้แก่แม่นวลเลย. ขยายความเขาใจ
นายล�้า. : จริง ผมน่ะได้ประพฤติไม่ดี บกพร่องในหน้าที่บิดามาก, แต่ต่อไปผมจะตั้งใจ ครูและนักเรียนรวมกันยกตัวอยาง
ประพฤติให้สมควร. สํ า นวนที่ เ ปรี ย บเที ย บความรั ก ของ
พระยาภักดี. : ดูเกินเวลาเสียแล้ว แม่ลออก็จะมีเหย้ามีเรือนอยู่แล้ว. พอแมที่มีตอลูกในลักษณะเดียวกับ
ขอความทีว่ า “ขอใหฉนั เลีย้ งดูใหเสมอ
นายล�้า. : ผมไม่เห็นจะเกินเวลาไปเลย.
ลูกในไส ฉันเองก็ตั้งใจทะนุถนอม
พระยาภักดี. : แกคิดจะท�าอะไร? แมลออเหมือนลูกในอกฉัน”
นายล�้า. : ผมคิดว่า เป็นหน้าทีจ่ ะต้องมาอยูใ่ กล้ชดิ ลูกสาวผม เพือ่ จะได้ชว่ ยเหลือเจือจาน (แนวตอบ เชน รักลูกดังแกวตา
ในธุระต่างๆ ตามเวลาอันสมควร. ดวงใจ เปนตน)
พระยาภักดี. : ฉันบอกแล้วว่า เขาจะมีเหย้ามีเรือนอยู่แล้ว.
นายล�้า. : ทราบแล้ว, เมื่อยังอยู่ในบ้านเจ้าคุณผมก็วางใจได้ นี่จะแยกไปมีเหย้ามีเรือน
ของตัวเองแล้ว ผมจะต้องเข้ามาอยู่กับเขาเพื่อจะได้เป็นก�าลังแก่เขาบ้าง.
พระยาภักดี. : เอ๊ะ! แกนี่จะเป็นบ้าเสียแล้วกระมัง?
นายล�้า. : ท�าไม?
พระยาภักดี. : แกจะคิดไปอยู่กับลูกสาวยังงั้นยังไงได้.

13

คูมือครู 13
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนคนหาคําบอกปฏิเสธ
คําวา “ไม” ในหนา 13-14 มีทั้งหมด
นายล�้า. : ท�าไมครับ ก็ผทู้ จี่ ะมาเป็นลูกเขยผมน่ะ เขาก็มงั่ มีพออยูไ่ ม่ใช่หรือ เขาจะเลีย้ ง
กี่คํา และใชประกอบกับคําใดบาง
ผมไว้อีกสักคนไม่ได้เทียวหรือ?
(แนวตอบ เชน ไมมี ไมรู เปนตน)
2. นักเรียนอธิบายการใชคําปฏิเสธ พระยาภักดี. : แกจะไปเป็นเจ้าบุญนายคุณอะไรเขา เขาจะได้เลี้ยงแก?
“ไม” ที่ปรากฏในบทละครพูดเรื่อง นายล�้า. : ผมเป็นพ่อแม่ลออ ดูก็มีบุญคุณพอแล้ว.
เห็นแกลูก พระยาภักดี. : เอ๊ะ! นี่แกจะขยายขึ้นว่า แกเป็นพ่อแม่ลออยังงั้นหรือ?
(แนวตอบ คําวา “ไม” จะวางอยู นายล�้า. : ก็ยังงั้นซิขอรับ.
ขางหนาตําแหนงคํากริยา และ
อยูขางหนาหรือขางหลังคําชวย พระยาภักดี. : พุทโธ่! นี่แกน่ะไม่มีความเมตตาลูกแกบ้างเลยเทียวหรือ ถึงได้คิดร้ายแก่เขา
ได้ยังงั้น?
หนากริยาบางคํา ตัวอยางการใช
คําวา “ไม” ขางหนาคําชวยหนา นายล�้า. : คิดร้ายยังไง?
กริยา “ฉันไมคอยโกรธใครงายๆ”) พระยาภักดี. : นายทองค�าเขาจะมาแต่งกับลูกสาวคนเช่นแกได้อยู่หรือ?
นายล�้า. : ถ้าเขารักแม่ลออจริงละก็ ถึงผมจะเป็นคนเลวกว่าที่ผมเป็นอยู่นี่ เขาคงไม่
รังเกียจ.
ขยายความเขาใจ
พระยาภักดี. : ถึงนายทองค�าจะไม่รังเกียจ คนอื่นๆ ก็คงต้องรังเกียจ, ใครเขาจะมาคบค้า
จากการสนทนาในชีวิตประจําวัน สมาคมได้อีกต่อไป ไปข้างไหนเขาก็จะแลดูพูดซุบซิบกัน ถ้าใครเขาเลี่ยงได้
• นักเรียนพบการใชคําปฏิเสธ เขาก็คงเลี่ยง แกจะมาท�าให้แม่ลออเป็นหมาหัวเน่าหรือ?
ดวยคําวา “ไม” อยางไรบาง นายล�้า. : เจ้าคุณ! ผมจะต้องพูดตามตรง ผมน่ะมันหมดทางหากินแล้ว ไม่แลเห็นทาง
(แนวตอบ พบดังนี้ ใชคําวา “ไม” อื่นนอกจากที่จะอาศัยลูกสาวให้เขาเลี้ยง.
เพื่อใหคําเบาลง เชน เลว - ไมดี
พระยาภักดี. : อ๋อ! นี่น่ะ แกต้องการเงินยังงั้นหรือ?
ขี้เหร - ไมคอยสวย หรือไมสวย
เปนตน ใชคําวา “ไม” หนาคํากริยา นายล�้า. : ก็แน่ละ ไม่มีเงินก็อดตายเท่านั้นเอง.
2 คํา เชน ไมเดินกิน ไมนอนรองไห พระยาภักดี. : ก็จะพูดกันเสียตรงๆ เท่านัน้ ก็จะแล้วกัน เอาเถอะฉันให้แกเดีย๋ วนีก้ ไ็ ด้ เท่าไหร่
เปนตน) ถึงจะพอ เอาไปสิบชั่งก่อนพอไหม?
นายล�้า. : ไม่รับประทาน.
พระยาภักดี. : ยี่สิบชั่ง!
เกร็ดแนะครู นายล�้า. : ไม่รับประทาน.
มาตราเงินไทยโบราณมีอัตรา ดังนี้ พระยาภักดี. : ห้าสิบชั่ง!
1 ไพ = 1 เฟอง นายล�้า. : พุทโธ่! เจ้าคุณ! แต่ทผี่ มฉิบหายไปในเรือ่ งค้าฝิน่ นัน้ ก็เกือบร้อยชัง่ เข้าไปแล้ว.
2 เฟอง = 1 สลึง พระยาภักดี. : เอา! ร้อยชั่งก็เอา!
4 สลึง = 1 บาท นายล�้า. : ผมไม่อยากให้เจ้าคุณฉิบหายหรอก.
4 บาท = 1 ตําลึง
20 ตําลึง = 1 ชั่ง 14
ชั่ง
ตําลึง บาท
เฟอง สลึง 6
7 3
ไพ 1 2 อานวา เงิน 6 ชั่ง 7 ตําลึง 3 บาท 2 สลึง 1 เฟอง 3 ไพ

14 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
1. ใหนักเรียนศึกษาวิเคราะหและ
วิจารณลักษณะนิสัยของตัวละคร
พระยาภักดี. : ช่างฉันเถอะ ขอแต่ให้แกรับเงินร้อยชั่งแล้วก็ไปเสียให้พ้นเถอะ. ตอไปนี้
นายล�้า. : ถ้าหมดผมจะไปเอาที่ไหนอีกล่ะ? ผมไม่โง่นะเจ้าคุณ ถ้าให้ผมไปอยู่เสียกับ • พระยาภักดี
ลูกสาวผม เงินก็จะไม่เสียมาก. • นายลํ้า
พระยาภักดี. : เงินน่ะฉันไม่เสียดายหรอก ฉันเสียดายชื่อและเสียดายความสุขของแม่ลออ • แมลออ
มากกว่า. • อายคํา
นายล�้า. : คุณจะให้ผมขายลูกผมยังงั้นหรือ? แลวบันทึกความรูลงสมุด
พระยาภักดี. : จะเรียกว่ากระไรก็ตามใจเถอะ แต่ที่จริงฉันตั้งใจซื้อความสุขให้แก่แม่ลออ 2. ครูตรวจผลงานของนักเรียนแลว
เท่านั้น. คัดเลือกผลงานที่วิเคราะหวิจารณ
ไดดี มาเปนตัวอยาง 3 ชิ้น โดย
นายล�้า. : ที่คุณจะมาพรากพ่อกับลูกเสียเช่นนี้น่ะ คุณเห็นสมควรแล้วหรือ?
ใหนักเรียนเจาของชิ้นงานนําเสนอ
พระยาภักดี. : ฉันเห็นสมควรแล้ว ฉันจึงได้ประสงค์ที่จะท�า แม่ลออน่ะดีเกินที่จะเป็นลูกคน หนาชั้นเรียน
เช่นแก ยังไง! จะต้องการเงินเท่าไร ว่ามา! (ลุกขึ้นยืนจ้องนายล�้า.)
นายล�้า. : ผมไม่ต้องการเงินของคุณ ผมจะพบกับลูกผม.
พระยาภักดี. : ฉันไม่ยอมให้แกพบ จะเอาเงินเท่าไรจะให้. ขยายความเขาใจ
นายล�้า. : ผมไม่เอาเงินของคุณ. นักเรียนคิดวาตัวละครใดในเรื่อง
พระยาภักดี. : ถ้ายังงั้นก็ไปให้พ้นบ้านฉัน, ไป! ที่ ค วรนํ า เรื่ อ งการปฏิ บั ติ ต นมาเป น
ต น แบบในการดํ า เนิ น ชี วิ ต และตั ว
นายล�้า. : ผมไม่ไป, จะท�าไมผม? ละครตัวใดที่เราไมควรเอาแบบอยาง
พระยาภักดี. : นี่แน่, แกอย่ามาท�าอวดดีกับฉัน ไป! ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
นายล�้า. : ผมไม่ไป. (นั่งไขว่ห้างกระดิกขาเฉย.)
พระยาภักดี. : อย่าท�าให้เกิดเคืองมากขึ้นหน่อยเลย ประเดี
ประเดี๋ยวฉันจะเหนี่ยวใจไว้ไม่อยู่.
นายล�้า. : คุณจะท�าไมผม? นักเรียนควรรู
พระยาภักดี. : ฉันไม่อยากท�าอะไรแก แต่ถ้าแกไม่ไปล่ะก็... จะเหนี่ยวใจไวไมอยู หมายถึง
นายล�้า. : จะท�าไมผม แหม! ท�าเก่งจริงนะ เจ้าคุณน่ะแก่แล้วนะครับ จะประพฤติเป็น รั้งไว ดึงไวไมอยู
เด็กไปได้.
พระยาภักดี. : จริง, ฉันแก่จริง แต่ขอให้เข้าใจว่าแกสูฉ้ นั ไม่ได้นะ ฉันได้เปรียบแกมาก ก�าลัง
ฉันยังมีพอตัว ก�าลังแกน่ะมันอ่อนเสียแล้ว ฤทธิเ์ หล้ามันเข้าไปฆ่าก�าลังแกเสีย
หมดแล้ว.
นายล�้า. : (หัวเราะเยาะ.) ฮะๆ! ช่างพูดจริง ยังไม่เบาบางลงกว่าเมื่อหนุ่มๆ เลย.
พระยาภักดี. : (โกรธ.) ยังไง จะเอาเงินหรือจะเอาแส้ม้า?

15

คูมือครู 15
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


นักเรียนอานบทประพันธหนา 16 นี้
นักเรียนชวยกันพิจารณา
• บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก
นายล�้า. : ผมไม่เอาทั้งสองอย่าง.
สะทอนสังคมในสมัยนั้นอยางไร พระยาภักดี. : ถ้าอย่างงั้นก็ได้.
บาง นายล�้า. : คุณพูดซ�้าซากผมเบื่อเต็มทีแล้ว.
(แนวตอบ ผูหญิงในสมัยนั้นจะ พระยาภักดี. : ก็ถา้ เมือ่ พูดกันดีๆ ไม่ชอบ ก็ตอ้ งพูดกันอย่างเดียรฉาน! (ไปหยิบแส้มา้ ทีแ่ ขวน
ไดรับการเลี้ยงดูใหเปนกุลสตรี ไว้ที่ผนังลงมา.) เอาเถอะ! เป็นไรก็เป็นไป จะต้องเล่นงานเสียให้ลายไป
เคารพเชื่อฟงคําสั่งสอนของ ทั้งตัวละ.(เงื้อแส้ม้าจะตีนายล�้า.)
ผูใหญ มีสัมมาคารวะ)
นายล�้า. : (ตกใจลุกขึ้นยืน.) อ๊ะ! อ๊ะ! เจ้าคุณ! (ยกแขนขึ้นป้อง.)
(อ้ายค�าเข้ามาทางขวา พระยาภักดีหย่อนมือลง.)
ขยายความเขาใจ อ้ายค�า. : ใต้เท้าขอรับ คุณลออขึ้นกระไดมานี่แล้ว. (ออกไปตามทางเดิม.)
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น (พระยาภักดีรีบเอาแส้ม้าไปแขวนไว้ตามที่เดิม.)
วา นายล�้า. : (หัวเราะ.) ฮะๆ! เคราะห์ดีจริง ตกรกซิ.
• บทบาทสถานะของผูหญิงใน (แม่ลออเข้ามาทางขวา แม่ลอออายุประมาณ ๑๗ ปี แต่งกายอย่างไปเที่ยว
บทละครพูด เรื่องเห็นแกลูก นอกบ้าน พึ่งกลับมา.)
แตกตางจากผูหญิงในสังคม แม่ลออ. : แหม! คุณพ่อ อะไรวั อะไรวันนีก้ ลับบ้านวันจริง ฉันหมายจะกลับมาให้ทนั คุณพ่อกลับ
ปจจุบันอยางไร ทีเดียว.
(แนวตอบ คําตอบหลากหลาย ครู พระยาภักดี. : (ยิ้ม.) พ่อได้เลิกงานเร็วหน่อยก็รีบกลับมา.
ควรชี้แนะวาสภาพสังคมในอดีต
แม่ลออ. : (มองดูนายล�้า แล้วหันไปพูดกับพระยาภักดี.) นั่นใครคะ?
กับปจจุบันแตกตางกัน บทบาท
ของผูหญิงยอมปรับเปลี่ยนตาม พระยาภักดี. : คนเขามาหาพ่อ.
สภาวะเหตุการณ) นายล�้า. : ฉันเป็นเกลอเก่าของเจ้าคุณ ท่านนับถือฉันเหมือนน้องยังไงขอรับ?
(พระยาภักดีพยักหน้า.)
แม่ลออ. : อ้อ! (ลงนั่งไหว้.) ถ้ายังงั้นดิฉันก็ต้องนับถือคุณเหมือนอาดิฉันเหมือนกัน
ท�าไมดิฉันยังไม่รู้จักคุณอาเลย.
นักเรียนควรรู
นายล�้า. : ฉันอยู่หัวเมือง พึ่งเข้ามา แต่ฉันเคยเห็นหล่อนแล้ว.
กลับบานวันจริง หมายถึง มาเร็ว
แม่ลออ. : เมื่อไหร่คะ? ท�าไมดิฉันจ�าไม่ได้ ดิฉันเป็นคนที่จ�าคนแน่นัก.
กลับบานตั้งแตหัววัน กลับบานใน
ชวงที่ยังไมคํ่า คําวา “วัน” หมายถึง นายล�้า. : (ยิ้ม.) หล่อนเห็นจะจ�าฉันไม่ได้เลย เมื่อฉันได้เห็นหล่อนครั้งก่อนนี้น่ะ อายุ
ชวงเวลากลางวัน เรียกสั้นๆ วา วัน หล่อนได้สองปีเท่านั้น.
แม่ลออ. : แหม! ถ้ายังงั้น คุณคงรู้จักคุณแม่ดิฉันละซิคะ.
นายล�้า. : (แลดูตาพระยาภักดีแล้วจึงพูด เสียงออกเครือๆ.) ฉันรู้จักคุณแม่หล่อนดี.
นักเรียนควรรู 16
เกลอ หมายถึง เพื่อนเกา

16 คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
“(ไหว) ดิฉันรับพรลวงหนาไวกอน.
คุณพอคะ ชวยพูดจาชวนคุณอาให
แม่ลออ. : ถ้ายังงัน้ ดิฉนั ก็ยงิ่ ดีใจมากขึน้ ทีไ่ ด้พบคุณ ก็คณ
ุ พ่อดิฉนั ทีต่ ายล่ะคะ รูจ้ กั ไหม?
อยู  ร ดนํ้ า ดิ ฉั น หน อ ยนะคะ ดิ ฉั น จะ
(นายล�า้ พยักหน้า.) ถ้ายังงัน้ คุณก็ดกี ว่าดิฉนั ดิฉนั ไม่รจู้ กั เลย, เคยเห็นแต่รปู ที่
ในห้องคุณแม่ รูปร่างสูงๆ หน้าอกกว้าง ดิฉนั ช่างชอบหน้าเสียจริงๆ หน้าตาเป็น เขาในเรือนเสียทีละ คุณพอกับคุณอา
คนซื่อ ใจคอกว้างขวาง, ถ้าใครบอกดิฉันว่าเป็นคนไม่ดี ดิฉันไม่ยอมเชื่อเป็น คงอยากคุยกันอยางผูช ายๆ สนุกกวา.
อันขาดเทียว แต่ท่านก็เป็นคนดีจริงๆ อย่างที่ดิฉันนึกเดาเอาในใจ คุณพ่อนี่ (ออกไปทางประตูซาย)”
ก็ได้บอกดิฉันว่างั้น จริงไหมคะคุณพ่อ? (พระยาภักดีพยักหน้า.) • จากขอความขางตนสะทอน
คานิยมใด และมีขอคิดใดที่
นายล�้า. : ถ้าใครบอกหล่อนว่า พ่อหล่อนทีต่ ายน่ะเป็นคนไม่ดลี ะก็หล่อนเป็นไม่ยอมเชือ่
เลยเทียวหรือ? นักเรียนนําไปใชในชีวิตได
(แนวตอบ คานิยมการมี
แม่ลออ. : ดิฉันจะเชื่อยังไง ดูในรูปก็เห็นว่าเป็นคนดี. เออ! นี่คุณพ่อบอกแล้วหรือยัง สัมมาคารวะกับบุคคลทั่วไป
เรื่องดิฉันจะแต่งงาน?
และขอคิดที่นักเรียนนําไปใช
นายล�้า. : บอกแล้ว, ฉันยินดีด้วย. ในชีวิตประจําวัน คือ การมี
แม่ลออ. : คุณอาต้องมารดน�้าดิฉันนะคะ. สัมมาคารวะยอมเปนที่รักใคร
นายล�้า. : ฉัน- เอ้อ- ฉันจะต้องรีบกลับไปหัวเมือง. ของบุคคลทั่วไปและการรูจัก
แม่ลออ. : โธ่! จะอยู่รดน�้าดิฉันหน่อยไม่ได้เทียวหรือคะ? กาลเทศะ เมื่อมีผูใหญสนทนา
กันอยู ผูนอยควรหาโอกาส
นายล�้า. : ฉันจะขอตริตรองดูก่อน แต่ยังไงๆ ก็ดี ถึงฉันจะอยู่รดน�้าหล่อนไม่ได้ ฉันก็คง ปลีกตัวออกมาใหผูใหญได
ตั้งใจอวยพรให้หล่อนมีความสุข.
สนทนากันอยางอิสระ)
แม่ลออ. : (ไหว้.) ดิฉันรับพรล่วงหน้าไว้ก่อน. คุณพ่อคะ ช่วยพูดจาชวนคุณอาให้อยู่
รดน�้าดิฉันหน่อยนะคะ ดิฉันจะเข้าไปในเรือนเสียทีละ คุณพ่อกับคุณอาคง
อยากคุยกันอย่างผู้ชายๆ สนุกกว่า. (ออกไปทางประตูซ้าย.)
นายล�้า. : (นิง่ อยูค่ รูห่ นึง่ แล้วพูด เสียงออกเครือๆ.) เจ้าคุณขอรับ ใต้เท้าพูดถูก, เด็กคนนี้
ดี เ กิ น ที่ จ ะเป็ น ลู ก ผม ผมมั น เลวทรามเกิ น ที่ จ ะเป็ น พ่ อ เขา ผมพึ่ ง รู ้ สึ ก
ความจริงเดี๋ยวนี้เอง.
พระยาภักดี. : (ตบบ่านายล�้า.) พ่อล�้า!
นายล�้า. : หล่อนได้เขียนรูปพ่อของหล่อนขึ้นไว้ในใจเป็นคนดีไม่มีที่ติ ผมไม่ต้องการ
จะลบรูปนัน้ เสียเลย. (ถอดแหวนวงหนึง่ จากนิว้ .) นีแ่ น่ะครับ แหวนนีเ้ ป็นของ
แม่นวล ผมได้ติดไปด้วยสิ่งเดียวเท่านี้แหละ เจ้าคุณได้โปรดเมตตาผมสักที
พอถึงวันแต่งงานแม่ลออ เจ้าคุณได้โปรดให้แหวนนี้แก่เขา บอกว่าเป็นของ
รับไหว้ของผม ส่งมาแทนตัว.
พระยาภักดี. : (รับแหวน.) ได้ซิเพื่อนเอ๋ย ฉันจะจัดการตามแกสั่ง อย่าวิตกเลย.
นายล�้า. : แล้วผมขออะไรอีกอย่าง.

17

คูมือครู 17
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนบอกโครงเรื่องของบท
ละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แลวชวยกัน
พระยาภักดี. : อะไร? ว่ามาเถอะ ฉันไม่ขัดเลย.
เขียนบทละครพูดขึ้นใหม โดยยึด
โครงเรื่องนี้เปนตัวอยาง นายล�้า. : อย่าได้บอกความจริงแก่แม่ลออเลย ให้เขาคงนับถือรูปผมอันเก่านั้น ว่าเป็น
( แนวตอบ โครงเรื่ อ งความรั ก ของ พ่อเขา และให้นับถือตัวผมเป็นเหมือนอา.
พอสองแบบ คือ พอที่แทจริงกับพอ พระยาภักดี. : เอาเถอะ, ฉันจะท�าตามแกประสงค์.
บุญธรรม หากไดเลี้ยงดูมาก็ยอมรัก นายล�้า. : ผมลาที พรุ่งนี้เช้าผมจะกลับไปพิษณุโลก.
ทําทุกอยางเพราะเห็นแกลูกมากกวา พระยาภักดี. : เอาเงินไปใช้มั่งซิ. (ไปไขกุญแจ เปิดลิ้นชักโต๊ะหยิบธนบัตรออกมาปั้นหนึ่ง.)
เห็ น แก ตั ว สํ า หรั บ พ อ ที่ แ ท จ ริ ง แม เอ้า! นีแ่ น่ะ มีสกั สามสีร่ อ้ ยบาทได้อยู ่ เอาไปใช้กอ่ นเถอะ ต้องการอีกถึงค่อย
เคยทําผิดมากอนเมื่อพบความรักที่ บอกมาให้ฉันทราบ.
บริสุทธิ์ใจของลูกก็ทําใหลด ละ เลิก นายล�้า. : (เสียงเครือ.) เจ้าคุณ! ผม...ผม... (เช็ดน�้าตา.)
ความเห็นแกตัว)
พระยาภักดี. : อ๊าย! ไม่รับไม่ได้ ไม่รับโกรธกันเทียว. (ยัดเยียดธนบัตรให้นายล�้า.)
นายล�้า. : (รับธนบัตร.) ผมจะไม่ลืมพระเดชพระคุณใต้เท้าจนตายทีเดียว ขอให้เชื่อผม
เถอะ.
เกร็ดแนะครู พระยาภักดี. : อย่าพูดให้มากนักเลย เงินใส่กระเป๋าเสียเถอะ แล้วก็คิดอ่านหาทางท�ามา
ครู ชี้ แ นะแนวทางการเขี ย นโครง หากินต่อไปนะ.
เรื่องบทละครพูด (Plot) วาโครงเรื่อง นายล�้า. : ขอรับ ผมจะตั้งใจท�ามาหากินในทางอันชอบธรรมจริงๆ ทีเดียว ถ้าผมน่ะคิด
ที่ดีจะตองมีความสมบูรณในตัวเอง โยกโย้ไปอย่างใดอย่างหนึ่งอีก ขออย่าให้ผมแคล้วอาญาจักรเลย.
ประกอบดวยตอนตนเรื่อง ตอนกลาง พระยาภักดี. : เออๆ ตั้งใจไว้ให้ดีเถอะ นึกถึงแม่ลออบ้างน่ะ.
และตอนจบ เหตุการณทกุ ตอนมีความ
นายล�้า. : ผมจะลืมหล่อนไม่ได้เลย จะเห็นหน้าหล่อนติดตาไปจนวันตายทีเดียว. ผมลาที
สั ม พั น ธ กั น อย า งสมเหตุ ส มผลและ ผมไม่จ�าเป็นที่จะต้องฝากแม่ลออแก่เจ้าคุณ เพราะเจ้าคุณได้เป็นพ่อหล่อนดี
รับกันโดยตลอด ยิ่งไปกว่าผมร้อยเท่าพันทวี. (เช็ดน�้าตา.)
พระยาภักดี. : เอาเถอะ อย่าวิตกเลย แม่ลออน่ะฉันคงจะรักถนอมเหมือนอย่างเดิม.
นายล�้า. : ผมเชื่อ, เชื่อแน่นอน!
(ยกมือขึ้นไหว้.) ผมลาเจ้าคุณที.
(พระยาภักดีเข้าไปจับมือนายล�า้ ต่างคนต่างแลดูตากันอยูค่ รูห่ นึง่ แล้วพระยา-
ภักดีนึกอะไรขึ้นมาออกเดินไปที่โต๊ะเขียนหนังสือ หยิบรูปแม่ลออทั้งกรอบ
ด้วยส่งให้นายล�้า นายล�้ารับรูปไปดูอยู่ครู่หนึ่ง ไหว้พระยาภักดีอีกแล้วก็รีบ
เดินออกไปทางประตูขวา พระยาภักดียืนมองไปทางประตูครู่หนึ่ง แล้วก็
เดินออกไปทีห่ น้าต่างทางด้านหลัง ยืนพิงกรอบหน้าต่าง ตามองออกไปนอก
หน้าต่างนิ่งอยู่จนปิดม่าน.)
จบเรื่อง
18

18 คูมือครู
สํารวจคนหา อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Expand Evaluate

สํารวจคนหา
ให นั ก เรี ย นรวบรวมคํ า ยื ม ภาษา
ตางประเทศที่เปนภาษาอังกฤษ เชน
๖ คÓศัพท์ คําวา “ออฟฟศ” มาอยางนอย 10 คํา
นักเรียนสามารถรวบรวมคําจากเรื่อง
ค�ำศัพท์ ควำมหมำย
และสืบคนจากแหลงเรียนรูอื่นๆ
กระแอม ท�าเสียงดัง ให้ผู้ฟังรู้สึกตัวว่ามีคนมา (แนวตอบ เชน คลินกิ ออฟฟศ แฟชัน่
เกล้ำผม มาจากค�าว่า เกล้ากระผม ค�าใช้แทนตัวผู้พูดที่เป็นเพศชาย พูดกับผู้ที่สูงกว่า เคานเตอร แท็กซี่ โซดา เปนตน)
ด้วยวัยและวุฒิหรือฐานะ
เกลอ เพื่อน
อธิบายความรู
ขยำย เปิดเผย
ใหนักเรียนอธิบายความหมายของ
ขอบพระเดชพระคุณ ขอบคุณ ใช้พูดกับข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ ผู้ที่อาวุโสกว่าทั้งด้านฐานะ ความรู้ คํายืมภาษาตางประเทศที่เปนภาษา
ยศศักดิ์ อังกฤษ จากที่รวบรวมมาอยางนอย
ขอรับผม มาจากค�าว่า ขอรับกระผม ปัจจุบันใช้ว่า ครับผม เป็นค�าตอบรับของเพศชาย คนละ 10 คํา ตามความเขาใจของ
เพศหญิงใช้ว่า เจ้าค่ะ นักเรียน
ครีมโซดำ น�้าหวานผสมโซดา (แนวตอบ ตัวอยางเชน
คลินิก หมายถึง สถานพยาบาล
ฉำย ถ่ายภาพ
ออฟฟศ หมายถึง สํานักงาน
ชั่ง มาตราเงินสมัยโบราณ ๑ ชั่งมีค่าเท่ากับ ๘๐ บาท แท็กซี่ หมายถึง รถโดยสารสวน
ช่ำงพูด พูดเก่ง มีคารมคมคาย บุคคล เปนตน)
เดียรฉำน สัตว์ชั้นต�่า
ตกรก อ่านว่า ตก - กะ - รก หมายถึง ตกนรก
@
ใต้เท้ำกรุณำ หรือค�าว่า ใต้เท้า เป็นสรรพนามบุรษุ ทีส่ อง แทนผูท้ เี่ ราพูดด้วยซึง่ สูงด้วยยศศักดิ์ มุม IT
โทรม ย�่าแย่ ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับคําศัพท
ในบทละครเรื่องเห็นแกลูกไดที่
บำงกอก ชื่อเดิมของกรุงเทพมหานคร
http://www.kruthai40.com/สื่อนํา
บำญชี บัญชี เรื่องออนไลน-วิจัยและพัฒนา
ปอนๆ ซอมซ่อ อัตคัด ขัดสน
ปั้นหนึ่ง ปึกหนึ่ง
เป็นโทษ ได้รับโทษ ติดคุก
ระหำย กระหาย

19

คูมือครู 19
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับบทสนทนา
ค�ำศัพท์ ควำมหมำย
• บทสนทนาเหมาะสมกับ
แนวเรื่องและตัวละครหรือไม รับประทำนโทษขอรับ ปัจจุบันใช้ค�ำว่ำ ประทำนโทษหรือขอโทษ
ยกตัวอยางประกอบ แล และ
(แนวตอบ เหมาะสม ตัวอยางเชน ส�ำแดง แสดง
พระยาภักดี : เปนยังไง สบายดีอยู
ดอกหรือ ? หมอควำม ทนำยควำม
นายลํ้า : ขอรับ ผมก็ไมเจ็บไมไข หมำหัวเน่ำ คนที่เป็นที่รังเกียจของคนอื่นจนไม่สำมำรถเข้ำกับใครได้ คนที่ไม่มีใครรักหรือ
มีอาการถึงจะลมตาย คบหำ
อะไร หล่อน สรรพนำมบุรุษที่ ๒ ใช้แทนตัวหญิงที่พูดด้วย
เมื่อพบหนากันก็ควรถามสารทุกข
ออฟฟิศ ที่ท�ำงำน มำจำกค�ำว่ำ office
สุกดิบกันดังบทสนทนานี้)
2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปราย อำญำจักร กำรลงโทษตำมกฎหมำย
• การตั้งชื่อเรื่องมีความสัมพันธ อินัง เอำใจใส่ เอำใจช่วย ดูแล เหลียวแล หรืออินังขังขอบ ใช้ในเชิงปฏิเสธ
กับเนื้อเรื่องอยางไร
(แนวตอบ ชื่อเรื่องมีความสัมพันธ
กับเนื้อเรื่องเปนอยางดี เพราะ ๗ บทวิเคราะห์
ตอนจบจะเห็นไดวานายลํ้าเสีย บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก มีคุณค่ำที่สะท้อนออกมำในด้ำนต่ำงๆ ดังนี้
สละความสุขสวนตนเพราะเห็น
แกความสุขของลูกจึงสัมพันธกบั ๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
ชื่อเรื่องวาเห็นแกลูก) บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกที่มีตัวละคร ดังนี้ คือ พระยำภักดีนฤนำถ นำยล�้ำ แม่ลออ และ
อ้ำยค�ำ แม้ตัวละครในเรื่องจะมีน้อยแต่ลักษณะของโครงเรื่องมีควำมโดดเด่น กำรผูกเรื่องมีควำม
ต่อเนื่องรำบรื่น ผู้ประพันธ์มีควำมประณีตในกำรด�ำเนินเรื่อง ลักษณะเด่นของเนื้อหำแสดงให้เห็นถึง
ควำมเสียสละและควำมรักของผู้เป็นพ่อทั้งสอง คือ นำยล�้ำ พ่อผู้ให้ก�ำเนิดและพระยำภักดีนฤนำถผู้ซึ่ง
นักเรียนควรรู
เป็นพ่อบุญธรรม ด้วยควำมเห็นแก่ลูกของนำยล�้ำจึงไม่เปิดเผยตน และพระยำภักดีนฤนำถยอมสละ
อินัง เปนคําลงทายที่ไมปรากฏ เงินทองเป็นจ�ำนวนมำกเพื่อควำมสุขของแม่ลออ
ใชในปจจุบัน แตจะปรากฏวา
“อินังขังขอบ” ซึ่งจะใชในเชิงปฏิเสธ แม่ลออ : ถ ้ายังงั้นดิฉันก็ยิ่งดีใจมากขึ้นที่ได้พบคุณ ก็คุณพ่อของดิฉันที่ตายไปล่ะคะ รู้จัก
วา ไมอินังขังขอบ คือ ไมเอาใจใส ไหม? (นายล�า้ พยักหน้า.) ถ้ายังงัน้ คุณก็ดกี ว่าดิฉนั ดิฉนั ไม่รจู้ กั เลย, เคยเห็นแต่
รูปทีใ่ นห้องคุณแม่ รูปร่างสูงๆ หน้าอกกว้าง ดิฉนั ช่างชอบหน้าเสียจริงๆ หน้าตา
เป็นคนซือ่ ใจคอกว้างขวาง, ถ้าใครบอกดิฉนั ว่าเป็นคนไม่ด ี ดิฉนั ไม่ยอมเชือ่ เป็น
อันขาดเทียว แต่ทา่ นก็เป็นคนดีจริงๆ อย่างทีด่ ฉิ นั นึกเอาในใจ คุณพ่อนีก่ ไ็ ด้บอก
นักเรียนควรรู ดิฉันว่างั้น จริงไหมคะคุณพ่อ? (พระยาภักดีพยักหน้า.)
บทละครพูด ในชวงหลังรัชกาลที่ 6 20
การเขียนบทละครพูดมักเขียนเพื่อใช
แสดงละครอยางเดียว จนกระทั่งใน
สมัยรัชกาลที่ 9 เปนยุคสมัยที่มีการ
พัฒนาเครื่องมือสื่อสารมวลชน เชน
วิทยุ โทรทัศน จึงเกิดการแสดงละคร
พูดในรูปของ “ละครวิทยุ” และ “ละคร
โทรทัศน”

20 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนนําเสนอกลวิธีการ
ประพันธ การสรางปมปญหาให
จากเนื้อหาตอนนี้เป็นจุดคลี่คลายของเรื่อง ปมปัญหาและความขัดแย้งระหว่างพระยาภักดี- ตัวละคร และจุดสูงสุดของเรื่องนี้
นฤนาถและนายล�า้ เข้มข้นมากขึน้ เรือ่ ยๆ และคลีค่ ลายลงเมือ่ นายล�า้ ได้รบั รูว้ า่ ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา (climax) วามีลักษณะอยางไร
พ่อทีแ่ ท้จริงในความทรงจ�าของแม่ลออนัน้ เป็นคนดี น่าเคารพนับถือ โดยเธอเชือ่ จากการฟังค�าบอกเล่า บันทึกความรูลงสมุด
ของพระยาภักดีนฤนาถและจินตนาการจากรูปถ่ายที่อยู่ภายในห้องของแม่ที่เสียชีวิตไปแล้ว ความเห็น (แนวตอบ คําตอบหลากหลายตาม
แก่ตนเองของนายล�้าจึงได้แปรเปลี่ยนเป็นความเห็นแก่ลูก พื้นฐานความรูของนักเรียน ครูควร
การด�าเนินเรือ่ ง เริม่ เรือ่ งด้วยปมปัญหาของนายล�า้ เมือ่ นายล�า้ ออกจากคุกได้ไปประกอบอาชีพ ชีแ้ นะแนวทางและหลักการ ปมปญหา
ของเรื่องนี้อยูที่นายลํ้าเดือดรอนเรื่อง
ต่างๆ ที่ไม่สุจริตและไม่ประสบความส�าเร็จ จึงคิดมาพึ่งพาลูกสาวที่ก�าลังจะแต่งงานกับชายผู้มีฐานะดี
เงิ น จึ ง หวั ง พึ่ ง พาลู ก สาวที่ เ ป น ลู ก
ในขณะที่พระยาภักดีนฤนาถไม่ต้องการให้นายล�้าพบกับแม่ลออและแสดงตนว่าเป็นพ่อที่แท้จริง ด้วย บุญธรรมของผูมีฐานะ จุดสูงสุดของ
ความรักที่มีต่อลูกและเกรงว่าแม่ลออจะอับอายขายหน้าที่มีพ่อเป็นคนทุจริต เป็นคนคดโกง เป็นคน เรื่ อ งคื อ ตอนที่ น ายลํ้ า โต เ ถี ย งกั บ
ติดคุก ปมปัญหาท�าให้การด�าเนินเรื่องเข้มข้นมากยิ่งขึ้นเมื่อนายล�้าดึงดันที่จะพบแม่ลออให้ได้ แต่ท้าย พระยาภักดีเรื่องแมลอออยางรุนแรง
ที่สุดแล้วกวีได้ค่อยๆ คลายปมปัญหานั้นลง โดยใช้วิธีให้ผู้อ่านเข้าใจเองจากบทสนทนาของตัวละคร พอมาถึงตอนที่แมลออเลาถึงพอที่แท
และจบลงด้วยดีโดยพ่อที่แท้จริงเห็นแก่ลูกมากกว่าเห็นแก่ตัว ซึ่งตามธรรมชาติของมนุษย์ส่วนใหญ่ จริงวาเปนคนดี ก็นาํ ไปสูก ารคลีค่ ลาย
มักเห็นแก่ตัว เพราะมีสัญชาตญาณของการเอาตัวรอด แต่เมื่อได้พบกับความรักอันบริสุทธิ์ ความ ปมป ญ หา จุ ด จบของเรื่ อ งนายลํ้ า
จริงใจของลูก ท�าให้พ่อที่ไม่เคยท�าดีเลยเกิดความละอายแก่ใจ เกิดความส�านึกผิดชอบชั่วดี เขาไม่อาจ ปดบังวาคนเปนพอที่แทจริงเพื่อเห็น
แกลูก)
ลบภาพพ่อทีแ่ สนดีไปจากใจของลูกได้ ในทีส่ ดุ จึงยอมมีชวี ติ ทีล่ า� บากต่อไปเพราะเห็นแก่ลกู ให้ลกู มีชวี ติ
ที่สุขสบาย ไม่เป็นที่รังเกียจของคนในสังคมดีกว่าที่จะให้ลูกรับรู้ความจริงอันปวดร้าว บทละครพูด
เรื่องนี้แสดงให้เห็นถึงความรักของพ่อสองรูปแบบ คือ พ่อที่แท้จริงกับพ่อบุญธรรมแม้ไม่ใช่พ่อที่แท้จริง
หากได้เลี้ยงดูมาก็ย่อมรัก หวังดีต่อลูกและท�าทุกอย่างเพราะเห็นแก่ลูกมากกว่าเห็นแก่ตัว ส�าหรับ เกร็ดแนะครู
พ่อที่แท้จริงแม้จะเคยท�าตนไม่ดีมาก่อน แต่เมื่อพบความรักที่บริสุทธิ์จริงใจของลูกท�าให้ส�านึกและ ครู แ นะนํ า ว า ปมขั ด แย ง หรื อ ปม
เสียสละเพื่อลูก ปญหาคือการสรางความขัดแยงเพื่อ
ใหการดําเนินเรื่องไปถึงการคลี่คลาย
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ปม และจบเรื่องในที่สุด ปมขัดแยงมี
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว แม้ ไดหลายอยาง เชน ปมขัดแยงภายใน
เป็นเพียงบทละครสั้นๆ มีตัวละครเพียง ๔ ตัว แต่สามารถด�าเนินเรื่องได้ราบรื่น กระตุ้นความรู้สึกของ ใจของตั ว ละคร ปมขั ด แย ง ของตั ว
ผู้อ่านให้ติดตามเรื่องต่อไปจนกระทั่งเรื่องจบลงด้วยความสุขสมหวังของตัวละคร จากบทสนทนา ละครตั้งแตสองตัวขึ้นไป ปมขัดแยง
ของตัวละครภายในเรื่อง นอกจากจะท�าให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของกวีแล้ว ยัง ของตัวละครกับสังคมหรือสิง่ แวดลอม
ปรากฏคุณค่าในด้านวรรณศิลป์ ดังนี้ เปนตน จุดสูงสุดของเรื่องเปนสวนที่
๑) กำรใช้บทสนทนำที่เหมำะสมกับสถำนภำพของตัวละคร กวีสามารถสร้าง ปญหาของเรื่องถูกขมวดปมถึงขีดสุด
เปนสวนที่กระตุกใจผูอานถึงขีดสุด
บทสนทนาที่เหมาะสมกับสถานภาพของตัวละครที่กล่าวบทสนทนานั้น สถานภาพนี้ประกอบด้วย
กอ นเขา สูสวนคลายปมปญหาของ
21 เรื่อง และจบเรื่องในที่สุด

คูมือครู 21
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนวิเคราะหการใชภาษา
• ภาษาที่ปรากฏในบทละครพูดเรื่อง
เห็นแกลูกมีลักษณะเดนอยางไร ต�าแหน่งทางสังคม ยศถาบรรดาศักดิ์ รวมไปถึงอายุของตัวละคร ตัวอย่างเช่น นายล�้าเมื่อสนทนากับ
( แนวตอบ ใช คํ า สั้ น เรี ย บง า ย มี อ้ายค�าซึ่งมีสถานะเป็นบ่าวจะใช้สรรพนามแทนตัวว่า “ฉัน” และเรียกอ้ายค�าว่า “แก” แต่เมื่อสนทนา
ถอยคําแสดงระดับภาษา สะทอน กับพระยาภักดีนฤนาถซึง่ มีบรรดาศักดิแ์ ละต�าแหน่งทางสังคมสูงกว่าจะใช้คา� ว่า “ผม” และเรียกพระยา-
ให เ ห็ น ฐานะที่ แ ตกต า ง เช น แก ภักดีนฤนาถว่า “ใต้เท้า” ซึ่งแสดงถึงบรรดาศักดิ์การเป็นขุนนาง อีกตัวอย่างคือเมื่อนายล�้าสนทนากับ
หลอน ผม ฉัน ทําใหเรื่องดูสมจริง แม่ลออซึ่งเป็นลูกสาวก็จะใช้ค�าแทนตัวว่า “ฉัน” และเรียกแม่ลออว่า “หล่อน” เป็นต้น ลักษณะเช่นนี้
การดําเนินเรื่องเร็ว ไมยืดเยื้อ) ท�าให้บทละครมีความสมจริงมากยิ่งขึ้น ดังตัวอย่าง
นายล�้า. : ถ้าจะต้องคอยอยู่เพราะฉันละก็ ฉันขอบอกว่าไม่จ�าเป็น แกจะไปก็ได้.
ขยายความเขาใจ อ้ายค�า. : ครับ. (นั่งนิ่งไม่ลุกไป.)
1. นักเรียนจับคูย กตัวอยางบทสนทนา นายล�้า. : (ดูอา้ ยค�าอีกครูห่ นึง่ แล้วก็หวั เราะ.) ฮะๆ ฮะๆ แกเห็นท่าทางฉันมันไม่ได้การ
จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกที่ กระมัง แต่ที่จริงฉันน่ะเป็นผู้ดีเหมือนกัน มีตระกูลไม่ต�่าไม่เลวไปกว่าเจ้าคุณ
ตัวละครมีการใชภาษาโดดเดน และ ภักดีเลย.
ใชบทสนทนาสอดคลองกับลักษณะ ...
นิ สั ย และอารมณ ค วามรู  สึ ก ของ พระยาภักดี. : นี่แกเอาอะไรมานึก!
ตัวละครนั้นๆ คูละ 1 ตัวอยาง นายล�้า. : เอ๊ะ! เจ้าคุณนี่ชอบกลจริงๆ ก็แม่ลออน่ะลูกผมแท้ๆ ไม่ใช่หรือ?
(แนวตอบ ตัวอยางบทสนทนาใน
หนา 7-8 ๒) กำรใช้บทสนทนำที่สอดคล้องกับลักษณะนิสัยและอำรมณ์ควำมรู้สึกของ
พระยาภักดี. : อะไรวะ?
ตัวละคร บทละครพูดด�าเนินเรือ่ งผ่านบทสนทนาเป็นหลัก ท�าให้การสือ่ สารเรือ่ งราวรวมไปถึงลักษณะ
อายคํา. : รับประทานโทษ
ของตัวละครต้องสื่อผ่านบทสนทนานั้น โดยกวีสร้างบทสนทนาที่ช่วยสื่อถึงนิสัยและอารมณ์ความรู้สึก
ขอรับ! (บุยปากไป
ทางนายลํ้า.) ของตัวละครได้เป็นอย่างดี ดังตัวอย่าง
พระยาภักดี. : ใครวะ? นายล�้า. : น�้าเหลืองๆ ไม่มีหรือครับ มันค่อยชื่นอกชื่นใจหน่อยหนึ่ง?
อายคํา. : อางวาเปนเกลอเกา
ของใตเทา ผมบอกวา บทสนทนาดังกล่าวแสดงให้เห็นลักษณะนิสัยของนายล�้าว่าเป็นคนที่ติดสุรา
ใตเทายังไมกลับจาก
ออฟฟศ ก็ไมยอมไป นายล�้า. : ผมเห็นควรตัวผมจะมารดน�้าด้วยนะครับ.
เดินเรื่อยขึ้นมาที่นี่วา พระยาภักดี. : นี่แกเอาอะไรมานึก!
จะมาคอยพบใตเทา.
พระยาภักดี. : แลวยังไงละ? บทสนทนาดังกล่าวแสดงให้เห็นอารมณ์ความรูส้ กึ ของพระยาภักดีนฤนาถ มีอารมณ์โกรธ
อายคํา. : เกลาผมก็ตามขึ้นมา ที่นายล�้าจะมางานแต่งงานของแม่ลออด้วย
ดวย มานั่งคุมอยูนี่.
พระยาภักดี. : เออ! ดีละวะ! เอ็งออก
ไปนั่งคอยอยูขางนอก 22
ก็ได.
อายคํา. : ขอรับผม.)
2. ใหนักเรียนแตละคูแสดงบทบาท
สมมติ โดยใชบทสนทนาที่นักเรียน
ยกมาเปนตัวอยางในการแสดง

22 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิด
เห็นในประเด็นตอไปนี้
นอกจากนั้นแล้วบทสนทนาของตัวละครยังช่วยแสดงให้เห็นความรู้สึกของตัวละคร • การใชถอยคําที่สื่อความหมาย
ที่เปลี่ยนแปลงไปตามเนื้อเรื่องได้อีกด้วย ดังเช่นเมื่อนายล�้ามีปากเสียงกับพระยาภักดีนฤนาถ นายล�้า ลึกซึ้ง สงผลตอผูอานอยางไร
จะใช้สรรพนามเรียกพระยาภักดีนฤนาถว่า “คุณ” ส่วนพระยาภักดีนฤนาถจะเรียกนายล�้าว่า “แก” (แนวตอบ การใชถอยคําที่สื่อ
แต่เมื่อเรื่องราวคลี่คลายลงโดยนายล�้าเปลี่ยนใจไม่มางานแต่งงานแล้ว บทสนทนาจึงใช้ค�าสรรพนาม ความหมายลึกซึ้ง จะทําให
เปลี่ยนแปลงไป ดังตัวอย่าง ผูอานเขาใจเรื่องราวและ
นายล�้า. : (นิง่ อยูค่ รูห่ นึง่ แล้วพูด เสียงออกเครือๆ.) เจ้าคุณขอรับ ใต้เท้าพูดถูก, เด็กคนนี้ พฤติกรรมของตัวละครไดดี
ดีเกินทีจ่ ะเป็นลูกผม ผมมันเลวทรามเกินทีจ่ ะเป็นพ่อเขา ผมพึง่ รูส้ กึ ความจริง ยิ่งขึ้น เชน คําวา “เหนี่ยวใจ”
เดี๋ยวนี้เอง. สื่อใหเห็นอารมณของตัวละคร
พระยาภักดี. : (ตบบ่านายล�้า.) พ่อล�้า! วาพยายามยับยั้งใจ ไมทํา
ความรุนแรงทั้งที่โกรธมาก)
จะเห็นได้ว่านายล�้ากลับมาเรียกพระยาภักดีนฤนาถอย่างยกย่องด้วยค�าว่า “เจ้าคุณ”
หรือ “ใต้เท้า” อีกครัง้ แสดงให้เห็นความรูส้ กึ ของนายล�า้ ว่าส�านึกผิดในความเห็นแก่ตวั ทีม่ อี ยูก่ อ่ นหน้านี้ ขยายความเขาใจ
ขณะที่พระยาภักดีนฤนาถก็เข้าใจความเปลี่ยนแปลงนั้น จึงเรียกนายล�้าด้วยค�าที่แสดงความเห็นใจ
และยกย่องว่า “พ่อล�้า”
1. ใหนักเรียนนําถอยคําที่สื่อ
ความหมายลึกซึ้งจากเนื้อเรื่อง
จากตัวอย่างที่ได้ยกมาแสดงให้เห็นว่าบทละครเรื่องนี้ใช้บทสนทนาที่สมจริงและช่วยสื่อ
มาแตงประโยคคนละ 1 ประโยค
ถึงลักษณะนิสัยซึ่งเป็นภูมิหลังของตัวละคร รวมถึงแสดงอารมณ์ความรู้สึกของตัวละคร ท�าให้ผู้อ่าน
• (หนาตึง) ออ!
เข้าใจในเนื้อเรื่องได้อย่างแจ่มแจ้ง • ผงกหัว
๓) กำรใช้ถ้อยค�ำที่สื่อควำมหมำยลึกซึ้ง ในบทละครนี้มีการใช้ถ้อยค�าที่สั้นกระชับ • เหนี่ยวใจ
แต่กินความมาก สามารถสื่อความหมายได้ลึกซึ้ง ท�าให้ผู้อ่านหรือผู้ชมเข้าใจเรื่องราวได้ดียิ่งขึ้น ดัง ฯลฯ
ตัวอย่าง 2. จากนั้นใหนักเรียนมานําเสนอ
หนาชั้นเรียน แลวบันทึกประโยค
พระยาภักดี. : (หน้าตึง.) อ้อ!
ที่นักเรียนสนใจลงสมุดอยางนอย
บทบรรยายนี้ท�าให้ผู้อ่านเห็นลักษณะสีหน้าของพระยาภักดีนฤนาถว่าเป็นเช่นไร และ 5 ประโยค
ยังท�าให้เข้าใจความรู้สึกของตัวละครในขณะนั้นว่ามีความไม่พอใจอีกด้วย แม้ว่าจะใช้ถ้อยค�าในการ
บรรยายเพียงสั้นๆ ก็ตาม
การใช้ถ้อยค�าในบทสนทนา ดังตัวอย่าง
พระยาภักดี. : แกยังเข้าใจผิดอยู่มาก การที่คนได้รับพระราชอาญาคราวหนึ่งแล้ว ไม่ใช่ว่า
ใครๆ เขาจะพากันคอยตัดรอนไม่ให้มีการผงกหัวได้อีก...

ค�าว่า “ผงกหัว” ในที่นี้หมายถึง มีโอกาสในการกลับตัวกลับใจท�ามาหากินอย่างสุจริต


23

คูมือครู 23
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น
การใชสํานวนภาษาในบทละครพูด
เรื่องเห็นแกลูกที่แตกตางจากปจจุบัน พระยาภักดี. : อย่าท�าให้เกิดเคืองมากขึ้นหน่อยเลย ประเดี๋ยวฉันจะเหนี่ยวใจไว้ไม่อยู่.
• นักเรียนเขาใจเนื้อความโดยรวม
ของเรื่องไดอยางไร ค�ำว่ำ “เหนีย่ วใจ” ในทีน่ หี้ มำยถึง ระงับจิตใจไม่ให้ลงมือกระท�ำกำรรุนแรงลงไป จะเห็น
( แนวตอบ พิ จ ารณาจากบริ บ ท ได้ว่ำกวีสำมำรถเลือกใช้ถ้อยค�ำที่สั้นกระชับแต่สื่อควำมได้กว้ำงขวำง
แวดล อ มเชื่ อ มโยงกั บ คํ า ที่ เ คย ๔) การสือ่ ความหมายโดยนัย หมำยถึงกำรสือ่ ควำมหมำยออกมำโดยไม่แสดงออกมำ
พบหรือคําใกลเคียง เชน รดนํ้า ตรงๆ แต่สื่อผ่ำนค�ำพูดที่สื่อเป็นนัยให้ทรำบ ดังตัวอย่ำง
คือ รดนํ้าสังข รับประทานโทษ
ปจจุบนั มักใชวา ขอประทานโทษ นายล�้า. : ที่พิษณุโลกก็พอหาอะไรดื่มได้พอใช้เทียวครับ.
เปนตน) พระยาภักดี. : (แลดูหน้านายล�้า.) ฉันเชื่อ, เชื่อทีเดียว...

บทสนทนำข้ำงต้นเป็นตอนที่พระยำภักดีนฤนำถสั่งให้อ้ำยค�ำน�ำโซดำมำให้นำยล�้ำดื่ม
ขยายความเขาใจ ค�ำพูดของนำยล�้ำสื่อเป็นนัยให้ทรำบว่ำ สิ่งที่นำยล�้ำชอบดื่มก็คือสุรำ แต่ก็ไม่ได้พูดออกมำโดยตรง
ให นั ก เรี ย นยกตั ว อย า งสํ า นวน ขณะทีบ่ ทสนทนำของพระยำภักดีนฤนำถก็สอื่ ให้ทรำบว่ำพระยำภักดีนฤนำถเข้ำใจสิง่ ทีน่ ำยล�ำ้ กล่ำวถึง
สุภาษิตไทยที่สะทอนคานิยมของคน แม้ไม่ได้กล่ำวอย่ำงตรงไปตรงมำ เพรำะพระยำภักดีนฤนำถเห็นหน้ำนำยล�้ำซึ่งแสดงถึงอำกำรของ
ไทย คนติดสุรำ
(แนวตอบ การตอนรับแขกของสังคม
๕) การใช้ส�านวน ในบทละครพูดเรื่องนี้พบส�ำนวนหลำยส�ำนวน ดังตัวอย่ำง
ไทย “อันธรรมเนียมไทยแทแตโบราณ
ใครมาถึงเรือนชานตองตอนรับ”) มีเหย้ำมีเรือน หมำยถึง แต่งงำน มีครอบครัว
เจ้ำบุญนำยคุณ หมำยถึง เคยท�ำบุญคุณแก่เขำไว้มำก
หมำหัวเน่ำ หมำยถึง คนที่ไม่มีใครคบค้ำสมำคมด้วย

กำรใช้สำ� นวนท�ำให้บทสนทนำสำมำรถสือ่ ควำมหมำยได้อย่ำงกินควำมกว้ำงขวำงมำกขึน้


และยังช่วยน�ำเสนอควำมคิดบำงอย่ำงของตัวละครได้อีกด้วย ดังตัวอย่ำง

พระยาภักดี. : ถึงนายทองค�าจะไม่รังเกียจ คนอื่นๆ ก็คงต้องรังเกียจ, ใครเขาจะมาคบค้า


สมาคมได้อีกต่อไป ไปข้างไหนเขาก็จะแลดูพูดซุบซิบกัน ถ้าใครเขาเลี่ยงได้
เขาก็คงเลี่ยง แกจะมาท�าให้แม่ลออเป็นหมาหัวเน่าหรือ?

จำกบทสนทนำข้ำงต้นพระยำภักดีนฤนำถใช้ส�ำนวนว่ำ “หมาหัวเน่า” เป็นกำรใช้ภำษำ


ทีก่ นิ ควำมเพือ่ สือ่ ให้นำยล�ำ้ เข้ำใจอย่ำงชัดเจนถึงสภำพทีจ่ ะเกิดขึน้ กับแม่ลออ คือไม่มใี ครคบค้ำสมำคม
ด้วย นอกจำกนั้นแล้วยังเป็นกำรใช้ภำษำแบบตรงไปตรงมำ เพื่อตักเตือนให้นำยล�้ำฉุกคิด

24

24 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา
• ขนบธรรมเนียม และคานิยมที่
๗.๓ คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถไี ทย ปรากฏในเรื่องยังคงมีใหเห็นใน
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ เป็นวรรณคดีที่เกิดขึ้นในช่วงเวลา ปจจุบันหรือไม ใหนักเรียนรวมกัน
ที่สังคมไทยรับกระแสวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามาปรับใช้มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามบทละครพูดเรื่อง ยกตัวอยาง
เห็นแก่ลูก ก็มิได้มุ่งสะท้อนสภาพสังคมเฉพาะด้าน แต่ได้สะท้อนให้เห็นถึงความหลากหลายทาง (แนวตอบ ขนบธรรมเนียมทีย่ งั ปรากฏ
วัฒนธรรมทีไ่ ด้มกี ารน�ามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับธรรมเนียมไทย นอกจากนีย้ งั สะท้อนสภาพความเป็นจริง ในปจจุบัน เชน การตอนรับแขก
ของสังคมว่าไม่วา่ ยุคสมัยใดสังคมย่อมมีทงั้ ด้านมืดและด้านสว่าง คนดีและคนไม่ดยี อ่ มปะปนกัน สะท้อน อยางดี การพูดคุยสอบถามสารทุกข
ให้เห็นสภาพชีวิต ความคิด ความเชื่อ ความรู้ในสังคม ณ ช่วงเวลานั้น ดังนี้ สุกดิบ การใหโอกาสคนทีเ่ คยทําผิด
๑) ธรรมเนียมกำรต้อนรับแขก ทุกครอบครัวในสังคมไทยย่อมได้รับการปลูกฝัง แตกลับตัวเปนคนดี เปนตน และ
คานิยมที่คนไทยยังมีอยู คือ การ
จากคนรุ่นพ่อรุ่นแม่เสมอว่า “เป็นธรรมเนียมไทยแท้แต่โบราณ ใครมาถึงเรือนชานต้องต้อนรับ” การ
อบรมเลี้ยงดูบุตรหลานใหมีกิริยา
ต้อนรับแขกด้วยความเต็มใจและเลี้ยงรับรองอย่างดีที่สุดถือเป็นมารยาททางสังคมประการหนึ่ง และผู้
มารยาทดีและเชื่อฟงผูใหญ)
ที่ได้รับการต้อนรับย่อมประทับใจและกล่าวถึงในความมีน�้าใจของเจ้าบ้าน บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก • นักเรียนคิดวาธรรมเนียมและ
ได้สะท้อนให้เห็นธรรมเนียมดังกล่าวข้างต้นไว้ ดังตัวอย่าง คานิยมนั้นมีขอดีขอดอยอยางไร
นายล�้า. : แหม! วันนี้ร้อนจริง ท�าให้ระหายน�้าพิลึก. (แนวตอบ มีขอดี คือ ทําใหคงความ
พระยาภักดี. : (เรียก.) อ้ายค�า! ไปหาโซดามาถ้วยเถอะ. เปนไทยและวิถีชีวิตของคนไทยที่มี
นํ้าใจเอื้อเฟอเผื่อแผกัน)
นายล�้า. : โซดาเปล่าหรือครับ?
พระยาภักดี. : จะเอาครีมโซดาก็ได้ หรือน�้าแดง.
ขยายความเขาใจ
จากบทสนทนาได้สะท้อนให้เห็นธรรมเนียมในการต้อนรับแขกและในขณะเดียวกัน
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
ยังได้สะท้อนให้เห็นว่าเครื่องดื่มที่ใช้รับรองแขกของคนไทยได้เปลี่ยนแปลงไป แต่เดิมเครื่องดื่มส�าหรับ เกี่ยวกับคานิยมในสังคมไทย
รับรองแขก คือ น�า้ ฝน น�า้ สะอาด แต่จากเรือ่ งได้เปลีย่ นเครือ่ งดืม่ โดยใช้นา�้ ครีมโซดาคือน�า้ หวานสีเขียว • นั ก เรี ย นคิ ด ว า ค า นิ ย มที่ นั บ ถื อ
ผสมน�้าโซดา สะท้อนให้เห็นการรับวัฒนธรรมการดื่มน�้าหวานซึ่งเป็นเครื่องดื่มจากตะวันตก คนมีฐานะจากอดีตมาถึงปจจุบนั
๒) กำรก�ำหนดค่ำและรูปแบบของเงิน ในสมัยอดีตเงินตราไม่ใช่ตัวแปรส�าคัญใน นั้นเปลี่ยนแปลงหรือไมอยางไร
สังคม ในระบบเศรษฐกิจไทยจะใช้ระบบแลกเปลี่ยนสินค้าซึ่งกันและกัน ต่อมาเมื่อสังคมมีโครงสร้างที่ ( แนวตอบ ป จ จุ บั น ยั ง มี ค นบาง
ซับซ้อน มีระบบเศรษฐกิจทีช่ ดั เจนมากขึน้ ระบบเงินตราจึงเข้ามาเป็นสือ่ กลางในการซือ้ ขายแลกเปลีย่ น กลุมนิยมและนับถือคนมีฐานะ
บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ได้สะท้อนระบบเศรษฐกิจที่มีการก� าหนดค่าของเงิน โดยมีมาตราการ อยู แตคนสวนใหญเปลี่ยนแปลง
แลกเปลีย่ นว่า ๑๐๐ สตางค์มคี า่ เท่ากับ ๑ บาท ๔ บาทเป็นหนึง่ ต�าลึง ๒๐ ต�าลึงเป็นหนึง่ ชัง่ ดังตัวอย่าง ทั ศ นคติ ม านิ ย มนั บ ถื อ และ
ยกย อ งคนที่ มี ค วามรู  ความ
พระยาภักดี. : ก็จะพูดกันเสียตรงๆ เท่านัน้ ก็จะแล้วกัน เอาเถอะฉันให้แกเดีย๋ วนีก้ ไ็ ด้ เท่าไหร่ สามารถ มีความดี ความซื่อสัตย
ถึงจะพอ เอาไปสิบชั่งก่อนพอไหม? มากกวา)
นายล�้า. : ไม่รับประทาน.
25

B
B พื้นฐานอาชีพ
ครูควรเสนอแนะแนวทางการพัฒนาความรูท างภาษาจากการอานวรรณคดี และวรรณกรรมไทย
โดยเฉพาะความรูทางดานคําศัพทตางๆ ที่กวีเลือกใชหรือการสรางศัพทใหม นักเรียนจะมี
คลังศัพทกวางขึ้น และจะเปนประโยชนในการสรรคําเพื่อใชในการประพันธงานประเภทตางๆ
อยางสรางสรรค ฝกฝนสูเสนทางการเปนนักประพันธ
คูมือครู 25
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนเปรียบเทียบมาตราเงิน
ของไทย แลวบันทึกลงสมุด
มาตราเงินไทยโบราณเปนดังนี้ พระยาภักดี. : ยี่สิบชั่ง!
2 เฟอง = 1 สลึง นายล�้า. : ไม่รับประทาน.
4 สลึง = 1 บาท
4 บาท = 1 ตําลึง จากตัวอย่างสะท้อนให้เห็นการก�าหนดค่าเงินในสมัยรัชกาลที่ ๖ นอกจากนีใ้ นบทละคร-
20 ตําลึง = 1 ชั่ง พูดเรื่องเห็นแก่ลูกยังสะท้อนรูปแบบของเงินไว้ดังนี้
จากบทประพันธตอนที่พระยาภักดี
พระยาภักดี. : เอาเงินไปใช้มั่งซิ. (ไปไขกุญแจ เปิดลิ้นชักโต๊ะหยิบธนบัตรออกมาปั้นหนึ่ง.)
เสนอเงินใหนายลํ้าเพื่อเปนการแลก-
เปลี่ ย นไม ใ ห น ายลํ้ า มายุ  ง เกี่ ย วกั บ จากตัวอย่างแสดงให้เห็นว่า ในสมัยรัชกาลที่ ๖ มีการใช้เงินตราในรูปแบบธนบัตรแล้ว
แม ล ออ พระยาภั ก ดี เ สนอเงิ น ให
และสะท้อนให้เห็นการรับเอาวิทยาการจากต่างประเทศเข้ามาพัฒนาชาติไทย
นายลํ้าจํานวน 10 ชั่ง 20 ชั่ง และ 50
ชั่ง ใหนักเรียนแปลงคาเงินจากชั่งให ๓) ค่ำนิยมกำรนับถือบุคคลทีเ่ พียบพร้อมทัง้ รูปสมบัตแิ ละทรัพย์สมบัต ิ บทละคร-
เปนบาท ตามจํานวนเงินนั้น พูดเรื่องเห็นแก่ลูก ได้สะท้อนให้เห็นค่านิยมของคนไทยที่นับถือบุคคลจากรูปลักษณ์ภายนอกโดยมิได้
(แนวตอบ 10 ชั่ง = 800 บาท มองถึงคุณธรรมความดีของบุคคลผู้นั้น บุคคลใดมีความประพฤติด่างพร้อย ท�าให้เสียชื่อเสียง
20 ชั่ง = 1,600 บาท เกียรติยศ ไม่ว่าจะเคยเป็นคนดีหรือเป็นคนเลวมาก่อนก็ตาม เมื่อชีวิตมีมลทินก็ท�าให้เป็นที่รังเกียจของ
50 ชั่ง = 4,000 บาท) สังคม ดังนั้นพระยาภักดีนฤนาถจึงกลัวที่จะให้แม่ลออพบกับนายล�้าซึ่งเป็นพ่อที่แท้จริง ดังตัวอย่าง
นายล�้า. : ก็ยังงั้นซิขอรับ.
ขยายความเขาใจ พระยาภักดี. : พุทโธ่! นี่แกน่ะไม่มีความเมตตาลูกแกบ้างเลยเทียวหรือ ถึงได้คิดร้ายแก่เขา
นักเรียนเปรียบเทียบคาเงินโบราณ ได้ยังงั้น?
ใหชัดเจน โดยเปรียบเทียบคาเงินกับ นายล�้า. : คิดร้ายยังไง?
สินคาหรือคาจางในปจจุบัน พระยาภักดี. : นายทองค�าเขาจะมาแต่งกับลูกสาวคนเช่นแกได้อยู่หรือ?
(แนวตอบ เงินเดือนของขาราชการ นายล�้า. : ถ้าเขารักแม่ลออจริงละก็ ถึงผมจะเป็นคนเลวกว่าที่ผมเป็นอยู่นี่ เขาคงไม่
ไดรับเพียงเดือนละ 20 บาท ซึ่งเทากับ รังเกียจ.
เงินเดือนของขาราชการในปจจุบัน
พระยาภักดี. : ถึงนายทองค�าจะไม่รังเกียจ คนอื่นๆ ก็คงต้องรังเกียจ, ใครเขาจะมาคบค้า
ประมาณเดือนละ 10,000 บาท แสดง
สมาคมได้อีกต่อไป ไปข้างไหนเขาก็จะแลดูพูดซุบซิบกัน ถ้าใครเขาเลี่ยงได้
วาเงินจํานวน 20 บาท ในสมัยกอน
เขาก็คงเลี่ยง แกจะมาท�าให้แม่ลออเป็นหมาหัวเน่าหรือ?
สามารถใชจา ยไดเพียงพอใน 1 เดือน)
จากบทสนทนาจะเห็นว่าพระยาภักดีนฤนาถไม่ต้องการให้นายล�้าซึ่งเป็นพ่อแท้ๆ ได้พบ
กับแม่ลออ โดยผู้อ่านจะทราบได้จากบทสนทนาของตัวละคร ถึงสาเหตุส�าคัญที่พระยาภักดีนฤนาถ
ไม่ตอ้ งการให้แม่ลออรูค้ วามจริง เพราะไม่ตอ้ งการให้เป็นทีร่ งั เกียจของสังคมทีม่ พี อ่ แท้ๆ เป็นคนประพฤติ
ไม่ถูกท�านองคลองธรรมและเคยติดคุกมาก่อน

26

26 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับคุณคาดานสังคมจาก
นอกจากนี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมการนับถือคนมีฐานะ บางคนเห็นคนอื่นมีฐานะ บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก
มี เ งิ น ทอง มี ท รั พ ย์ สิ น มากมาย จึ ง อยากมี บ ้ า ง โดยการหาวิ ธี ร วยทางลั ด เช่ น เล่ น การพนั น • ในขอที่วา “แสดงใหเห็นถึง
ค้ายาเสพติด คดโกง ขโมย จี้ปล้นหรือใช้อ�านาจหน้าที่แสวงหาประโยชน์ส่วนตน ผู้ที่หาวิธีรวยทางลัด สัจธรรมของมนุษย” นักเรียน
เช่นนี้มักล้มเหลวในชีวิต ดังเช่นชีวิตของนายล�้า หากต้องการมีชีวิตที่เป็นสุข ควรขยันหมั่นเพียร ตั้งใจ เห็นดวยหรือไมอยางไร
ปฏิบัติหน้าที่ รู้จักความพอดี พอเพียง ไม่ฟุ้งเฟ้อ หมั่นเก็บออม ก็จะพอมีพอกินและเจริญก้าวหน้าใน (แนวตอบ เห็นดวย เพราะเรื่องนี้
หน้าที่การงานตามอัตภาพ หากเรารู้จักพอเพียงก็จะสามารถใช้ชีวิตได้อย่างไม่ล�าบาก มีความสุขกาย แสดงให เ ห็ น ถึ ง ความเสี ย สละ
สบายใจ ไม่ต้องดิ้นรนฟุ้งเฟ้อท�าให้ติดหนี้สิน เป็นปัญหาที่กระทบต่อการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน ของพอแมเพื่อลูกอยางเดนชัด
๔) แสดงให้เห็นถึงสัจธรรมของมนุษย์ มนุษย์ทุกคนย่อมเห็นแก่ตัวเป็นธรรมดา ซึ่ ง เป น สั จ ธรรมที่ ดี ง าม ลู ก จะ
แต่พ่อแม่ย่อมเห็นแก่ลูกมากกว่าตนเอง ต้องเสียสละทุกอย่างเพื่อลูก แม้กระทั่งนายล�้าเองที่จากลูก ระลึกถึงบุญคุณของพอแมเสมอ
เมื่อมีโอกาสก็ควรจะตอบแทน
ไปตั้งแต่แม่ลอออายุได้ ๒ ปี ยังต้องต่อสู้กับความรู้สึกเห็นแก่ตัวหรือเห็นแก่ลูกของตนเองและในที่สุด
พระคุณทาน)
อ�านาจฝ่ายสูงก็ชนะ นายล�้ายอมจากไปผจญกับความยากล�าบากเพราะเห็นแก่ลูกมากกว่า จึงเป็น
เรื่องที่น่ายกย่องที่เขาเคยท�าผิดแต่ก็ส�านึกตัวได้ ดังบทสนทนา
ขยายความเขาใจ
นายล�้า. : หล่อนได้เขียนรูปพ่อของหล่อนขึน้ ไว้ในใจเป็นคนดีไม่มที ตี่ ิ ผมไม่ตอ้ งการจะลบ
รูปนัน้ เสียเลย. (ถอดแหวนวงหนึง่ จากนิว้ .) นีแ่ น่ะครับ แหวนนีเ้ ป็นของแม่นวล ใหนักเรียนยกตัวอยางการเสียสละ
ผมได้ติดไปด้วยสิ่งเดียวเท่านี้แหละ เจ้าคุณได้โปรดเมตตาผมสักที พอถึงวัน ของคนในครอบครัว บรรยายลงใน
สมุดสงครู ความยาวอยางนอย
แต่งงานแม่ลออ เจ้าคุณได้โปรดให้แหวนนีแ้ ก่เขา บอกว่าเป็นของรับไหว้ของ
15 บรรทัด
ผม ส่งมาแทนตัว.
พระยาภักดี. : (รับแหวน.) ได้ซิเพื่อนเอ๋ย ฉันจะจัดการตามแกสั่ง อย่าวิตกเลย.
นายล�้า. : แล้วผมขออะไรอีกอย่าง. บูรณาการ
พระยาภักดี. : อะไร? ว่ามาเถอะ ฉันไม่ขัดเลย. เศรษฐกิจพอเพียง
นายล�้า. : อย่าได้บอกความจริงแก่แม่ลออเลย ให้เขาคงนับถือรูปผมอันเก่านั้น ว่าเป็น ให นั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป รายใน
พ่อเขา และให้นับถือตัวผมเป็นเหมือนอา. ประเด็นตอไปนี้ หากนักเรียนมีเพื่อน
หรื อ คนใกล ชิ ด ที่ มี อุ ป นิ สั ย หรื อ การ
พระยาภักดี. : เอาเถอะ, ฉันจะท�าตามแกประสงค์.
ดํ า รงชี วิ ต เช น เดี ย วกั บ “นายลํ้ า ”
นายล�้า. : ผมลาที พรุ่งนี้เช้าผมจะกลับพิษณุโลก. นั ก เรี ย นจะมี วิ ธีชี้ แ นะหรื อ ตั ก เตื อ น
อยางไร ใหผูนั้นสามารถดํารงตนอยู
จากบทสนทนา นายล�า้ ไม่สามารถจะเห็นแก่ประโยชน์สว่ นตนมากกว่าความรักอันบริสทุ ธิ์ ในสังคมโดยพึง่ พาตนเองไดอยางปกติ
ความเทิดทูนทีแ่ ม่ลออมีตอ่ เขาได้เลย พลังแห่งความดีและความรักท�าให้พอ่ คนหนึง่ ทีใ่ นครัง้ หนึง่ ไม่เคย และไมสรางความเดือดรอนใหผูอื่น
ได้ดูแลใกล้ชิดลูก กลับตัวกลับใจ สละความสุขสบายและผลประโยชน์ส่วนตนเพื่อความสุขของลูก จากนัน้ ใหนกั เรียนรวมกันสรุปและครู
ชี้แนะเพิ่มเติม
27

คูมือครู 27
ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand Evaluate
Engage Explore Explain

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนแตละคนบอกขอคิดที่
ไดจากเรื่อง อยางนอยคนละ 2 ขอ
(แนวตอบ นักเรียนอาจตอบซํ้ากันได ๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน
แตครูควรกระตุนใหตอบอยาง บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครที่มีขนาดสั้น ปมปัญหาไม่ซับซ้อนมากนัก แต่กวี
หลากหลายตามความเขาใจ ท�าให้เรื่องมีความน่าติดตามด้วยการด�าเนินเรื่องและการใช้ภาษาที่ประณีตงดงาม สื่อความได้ชัดเจน
ของนักเรียน) ตรงไปตรงมา กระทบอารมณ์ความรูส้ กึ ของผูอ้ า่ น ท�าให้มองเห็นข้อคิดหลายประการทีก่ วีสอดแทรกไว้
2. ใหนักเรียนนําขอคิดที่ไดจากเรื่อง และสามารถน�ามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้ ดังนี้
แตงเปนคําขวัญ แสดงไวที่ปาย ๑) สถำบันครอบครัวมีควำมส�ำคัญต่อโครงสร้ำงสังคมไทย ผู้ที่เป็นพ่อแม่มี
นิเทศหนาชั้นเรียน หน้าที่ต้องอุปถัมภ์ เลี้ยงดู สั่งสอนอบรมบุตรให้เป็นคนดีของสังคมโดยไม่เรียกร้องผลประโยชน์ ถ้า
(แนวตอบ ตัวอยางเชน การพนัน พ่อแม่หรือหัวหน้าครอบครัวดี บุตรหลานก็จะให้ความเคารพ เชื่อฟัง รักและศรัทธา บุตรหลานจะ
เปนยาพิษ ทําลายชีวิต ทําลาย
ยึดถือพ่อแม่เป็นแบบอย่างและประพฤติปฏิบตั ติ าม ถ้าครอบครัวดีสงั คมก็จะดี ดังนัน้ พ่อแม่ควรอบรม
ครอบครัว)
เลี้ยงดูลูกอย่างดี เป็นคนดีให้ลูกเห็น เป็นแบบอย่างเพื่อเป็นรากฐานของสังคมที่ดีและมีความสุข
๒) คนดีย่อมมีผู้นับถือ หากเราต้องการให้คนเคารพนับถือ เราต้องท�าตนให้เป็นคน
ตรวจสอบผล มีเกียรติ เชื่อถือได้ คือเป็นคนที่ประพฤติดี ซื่อตรง จริงใจ ทั้งต่อหน้าและลับหลัง ให้สมกับที่ผู้อื่นรัก
1. นักเรียนสรุปเรื่องยอบทละครพูด นับถือและชื่นชม หากต่อหน้าท�าอย่างหนึ่ง ลับหลังท�าอีกอย่างหนึ่งจะไม่ได้รับการเคารพนับถือจาก
เรื่องเห็นแกลูก และเรียงลําดับ บุคคลอื่นๆ อีกต่อไป
เรื่องเปนแผนผังความคิดได ๓) อย่ำท�ำตนเองให้ตกต�่ำเพรำะกำรกระท�ำของตนเอง ความคิดและการกระท�า
2. นักเรียนบอกโครงเรือ่ งของบทละคร เป็นเครื่องก�ากับคุณภาพและเป็นเครื่องตัดสินคุณค่าของความเป็นคน สอดคล้องกับหลักธรรม
พูดเรื่องเห็นแกลูก และเขียนบท ในพระพุทธศาสนาทีก่ ล่าวไว้วา่ บุคคลย่อมได้รบั ผลจากการกระท�าของตนเอง หากบุคคลผูน้ นั้ ประกอบ
ละครพูดโดยยึดโครงเรื่องเดิมได
กรรมดีย่อมได้รับสิ่งดีตอบแทน ผู้คนสรรเสริญในคุณงามความดีที่ได้สร้างไว้ แต่ถ้าหากประพฤติ
3. นักเรียนวิเคราะหลักษณะเดนของ
ไม่ถูกต้อง ทุจริตหรือไม่ใฝ่ในทางดี ใฝ่ในอบายมุขก็จะน�าไปสู่หนทางแห่งความหายนะ ท�าให้ชีวิต
การใชภาษาจากบทสนทนาของ
ตัวละครในบทละครพูดเรื่องเห็น- ล้มเหลวทัง้ ชีวติ ส่วนตัวและครอบครัว ต�าแหน่งหน้าทีก่ ารงาน และคนในสังคมไม่ให้ความเคารพนับถือ
แกลูกได ชีวิตพบกับความเดือดร้อนเหมือนดังเช่นนายล�้าที่ต้องติดคุกเพราะการกระท�าที่ผิดกฎหมายของตนเอง
4. นักเรียนยกตัวอยางสํานวนสุภาษิต บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ เป็นบทละครที่มี
ไทยจากบทละครพูดเรือ่ งเห็นแกลกู
โครงเรื่องไม่ซับซ้อน เน้นการสื่อสารอย่างตรงไปตรงมาด้วยบทสนทนาของตัวละคร
ทีส่ ะทอนเรือ่ งคานิยมของคนไทยได
ผู้อ่านจะทราบภูมิหลังของตัวละครแต่ละตัว อันเป็นสาเหตุที่ผลักดันให้ตัวละครคิดและ
แสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมา ผู้อ่านจะเข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของนายล้Ó พระยาภักดี-
นฤนาถ แม่ลออและอ้ายคÓ ผ่านการใช้ภาษาทีก่ ระชับ ใช้คÓน้อยแต่กน ิ ความมาก แนวคิด
เกร็ดแนะครู สÓคัญของเรือ่ งได้สะท้อนให้เห็นความรักทีย่ งิ่ ใหญ่ของบิดามารดาทีม่ ตี อ่ บุตร นอกจากนี้
ครูแนะความรูเพิ่มเติมใหนักเรียน เมือ่ ผูอ้ า่ นได้อา่ นอย่างพินจิ ใคร่ครวญจะได้ขอ้ คิดต่างๆ ทีส่ ามารถนÓไปประยุกต์ใช้ในชีวติ
เกี่ ย วกั บ บทละครพู ด แรกเริ่ ม นั้ น ประจÓวันได้
บทละครพู ด จะเป น บทละครที่ ใ ช
ศิลปะการพูดเปนหลักในการดําเนิน 28
เรื่องไมมีการรํา มีแตการพูด นั่ง ยืน
เดิน เมื่อผูแตงตองการใหตัวละคร
แสดงสีหนาทาทางอยางไร ก็จะใช
วิ ธีอ ธิ บ ายไว ใ นวงเล็ บ นอกจากนี้
หากผูแตงตองการใหตัวละครบอก
ความคิดแกคนดูกจ็ ะใชวธิ ใี หตวั ละคร
ปองปากพูดดังๆ กับคนดู สมมติวา
ตัวละครอื่นๆ บนเวทีไมไดยิน
28 คูมือครู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

เกร็ดแนะครู
(แนวตอบ คําถามประจําหนวย
การเรียนรู
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้ 1. ระหวางนายลํ้ากับพระยาภักดี-
นฤนาถ ผูที่เห็นแกลูกมากกวา คือ
๑. นักเรียนอ่านบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก แล้วพิจารณาว่าระหว่างนายล�้ากับพระยาภักดีนฤนาถ นายลํ้า เพราะยอมมีชีวิตที่ลําบาก
ใครเห็นแก่ลูกมากกว่ากัน มีข้อความใดที่สนับสนุนความคิดเห็นของนักเรียน ให ลู ก มี ชี วิ ต ที่ สุ ข สบายไม เ ป น ที่
๒. เหตุใดนายล�้าจึงตัดสินใจลดละความเห็นแก่ตัว รังเกียจของคนในสังคม ดีกวาที่จะ
๓. บุคคลใดในบทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูกที่เป็นคนฉลาดรอบคอบ มีวิจารณญาณรู้จักไตร่ตรอง ไม่เชื่อ ใหลูกรับรูความจริงอันปวดราว มี
คนง่ายๆ จงให้เหตุผลประกอบ ขอความที่สนับสนุนความคิดเห็น
๔. แม่ลออได้รบั การเลีย้ งดูจากพระยาภักดีนฤนาถอย่างไร เพราะเหตุใดพระยาภักดีนฤนาถจึงไม่ตอ้ งการ เปนคําพูดของนายลํ้า “เด็กคนนี้ดี
ให้นายล�้าแสดงตนว่าเป็นพ่อที่แท้จริงของแม่ลออ เกินทีจ่ ะเปนลูกผม ผมมันเลวทราม
๕. บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก ให้ข้อคิดและคติธรรมอย่างไร เกินทีจ่ ะเปนพอเขา ผมพึง่ รูส กึ ความ
จริงเดีย๋ วนีเ้ อง หลอนไดเขียนรูปพอ
ของหลอนขึ้นไวในใจเปนคนดีไมมี
ที่ติ ผมไมตองการจะลบรูปนั้นเสีย
เลย”
2. เหตุผลที่นายลํ้าตัดสินใจลดความ
เห็นแกตัว เพราะดวยความรักลูก
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้ ต อ งการให ลู ก มี ชี วิ ต ที่ ดี สุ ข สบาย
เปนทีย่ อมรับของสังคมทีเ่ ปนอยู ไม
กิจกรรมที่ ๑ พ่อแม่คู่หนึ่งล�าบากยากจนมากจ�าเป็นต้องยกลูกให้ผู้อื่น ต่อมาพ่อแม่ท�ามาหากิน
ตองการลบภาพที่อยูในใจแมลออ
ร�า่ รวยขึน้ ส่วนพ่อแม่บญุ ธรรมทีเ่ คยร�า่ รวยกลับยากจนลง พ่อแม่ทแี่ ท้จริงจึงมาขอรับ
ลูกกลับคืน ถ้านักเรียนเป็นเด็กคนนั้นจะตัดสินใจอย่างไร เพราะเหตุใด 3. บุคคลที่เปนคนฉลาดรอบคอบ มี
กิจกรรมที่ ๒ จากการแข่งขันกีฬาฟุตบอลโลก พบว่ามีการพนันบอลกันเป็นจ�านวนมาก ให้นกั เรียน วิจารณญาณ รูจักไตรตรองไมเชื่อ
แสดงความคิดเห็นต่อเรื่องนี้ว่า เหตุใดคนบางจ�าพวกจึงชอบเล่นการพนัน การพนัน คนงายๆ คือ อายคํา บาวของพระยา
ให้โทษอย่างไร ถ้าเพื่อนติดการพนันจะมีค�าแนะน�าเพื่อนอย่างไร ภักดีนฤนาถ เห็นนายลํ้าเขามามี
กิจกรรมที่ ๓ นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายในประเด็นต่อไปนี้ และ บุคลิกลักษณะไมนาไวใจจึงนั่งเฝา
บันทึกสรุปผลการอภิปรายส่งครู ไม ย อมลุ ก ออกไปไหนเลยจน
• อบายมุขคืออะไร ท�าไมจึงกล่าวว่าอบายมุขคือหนทางแห่งความหายนะ พระยาภักดีนฤนาถกลับมา
4. แมลออไดรับการเลี้ยงดูจากพระยา
ภักดีนฤนาถอยางดี อบรมใหเปน
คนดีมีกิริยาวาจาสุภาพเรียบรอย มี
มารยาทดีงาม เฉลียวฉลาด มีสมั มา-
คารวะ เป น ที่ ย อมรั บ ของสั ง คม
29 พระยาภักดีนฤนาถไมตองการให
นายลํ้ า แสดงตนว า เป น พ อ ที่ แ ท
จริงของแมลออ เพราะเกรงวานาย
ทองคําที่จะแตงงานกับแมลออจะ
หลักฐาน รังเกียจ ถาไมรังเกียจก็กลัววาคนอื่นจะรังเกียจไมมีใครจะมาคบคาสมาคมดวย
แสดงผลการเรียนรู 5. บทละครพู ดเรื่องเห็นแกลูกใหขอคิดคติธรรม คือ
• การใฝในอบายมุขนํามาซึ่งความเดือดรอน ครอบครัวมักแตกแยก
1. การเขียนเรื่องยอ • ครอบครัวมีความสําคัญตอโครงสรางของสังคมไทย ถาครอบครัวดีสังคมก็ดีดวย
2. การเขียนบทละครพูดโดยใชโครงเรื่องเดิม ผูเปนพอแมมีหนาที่ตองอุปถัมภเลี้ยงดู สั่งสอนอบรมบุตรใหเปนคนดีของสังคม)
3. การแตงคําขวัญจากขอคิดในเรื่อง
คูมือครู 29
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)
เปาหมายการเรียนรู
• สรุปเนื้อเรื่องยอ พระอภัยมณี
ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
• วิเคราะหคุณคาดานสังคมและ
วิถีไทยในสมัยรัตนโกสินทร
ตอนตน
• บอกคุณคาดานวรรณศิลป
• สรุปความรูและขอคิดจากเรื่อง
ที่สามารถนําไปปรับใชในชีวิต
ประจําวันได
• ทองจําคําประพันธที่ไพเราะ
จากเรื่องได

กระตุนความสนใจ
ครูใหนักเรียนดูภาพหนาหนวย
โดยใชคําถามกระตุนใหนักเรียน
รวมกันแสดงความคิดเห็น

ò
• ในภาพหนาหนวยนี้มีตัวละคร
ใดบาง
• ภาพนี้สื่ออารมณและความรูสึก
อยางไร หนวยที่
• ทําไมพระอภัยมณีจึงตองหนี
นางผีเสื้อสมุทร พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนำงผีเสื้อ
• ถานักเรียนเปนนางเงือก จะชวย ตัวชี้วัด
พระอภัยมณีหรือไม เพราะเหตุใด ■ สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่นในระดับที่ยากยิ่ง
ขึ้น (ท ๕.๑ ม.๓/๑)
นิ ท านคํ า กลอนเรื่ อ งพระอภั ย มณี
■ วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
เปนจินตนิยายที่มีแนวคิดแปลกใหม โดย
(ท ๕.๑ ม.๓/๒) ได ป ระสมประสานเหตุ ก ารณ ใ นชี วิ ต จริ ง
■ สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง และจินตนาการมาเรียงรอยเปนเรื่องราวที่
(ท ๕.๑ ม.๓/๓)
■ ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยานตามที่กําหนด (ท ๕.๑ ม.๓/๔) สนุกสนาน ใหขอ คิดคติธรรมในการดําเนินชีวติ
นิทานคํากลอนเรือ่ งพระอภัยมณีจงึ เปนผลงาน
สาระการเรียนรูแกนกลาง
อันยิ่งใหญที่ผูอานควรอานอยางพินิจพิจารณา
■ วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่นเกี่ยวกับศาสนา
ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คําสอน เหตุการณ เพื่อรับรูความงามทางภาษาและขอคิดที่สามารถ
ในประวัติศาสตร บันเทิงคดี นําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันของตนเอง
■ การวิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรม
■ บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา

30 คูมือครู
สํารวจคนหา อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Expand Evaluate

สํารวจคนหา
1. ครูสนทนากับนักเรียน “ใครมี
ความรูเรื่องพระอภัยมณีบาง”
๑ ความเป็นมา ขออาสาสมัครมาเลาหนาชั้นเรียน
นิ ท านค� า กลอนเรื่ อ งพระอภั ย มณี เ ป็ น วรรณคดี ที่ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ งว่ า เป็ น ผลงานที่ ดี เ ด่ น 2. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลความเปน
เรื่องหนึ่งของสุนทรภู่ ด้วยเหตุที่วรรณคดีเรื่องนี้มีความแตกต่างจากวรรณคดีเรื่องอื่นๆ แม้ว่าเนื้อหา มาเรื่องพระอภัยมณี เหตุใดเรื่อง
ตอนต้นของเรื่องจะยังคงรูปแบบตามขนบการแต่งวรรณกรรมจักรๆ วงศ์ๆ ทั่วไป กล่าวคือเรื่องจักรๆ พระอภัยมณีจึงไดรับการยกยอง
วงศ์ ๆ มั ก กล่ า วถึ ง ตั ว ละครเอกเป็ น โอรสกษั ต ริ ย ์ ต้ อ งไปเรี ย นศิ ล ปวิ ท ยากั บ ฤๅษี ห รื อ พราหมณ์ ใหเปนผลงานชิ้นเอกของสุนทรภู
ทิศาปาโมกข์แล้วจึงกลับบ้านเมือง ระหว่างนั้นตัวละครเอกหรือชายามักถูกยักษ์หรือโจรลักพาให้ 3. จัดทํารายงาน
พลัดพรากกัน ภายหลังจึงตามหากันจนพบ แต่นทิ านค�ากลอนเรือ่ งพระอภัยมณีของสุนทรภูต่ า่ งออกไป
คือเป็นเรื่องที่แสดงให้เห็นแนวคิดแปลกใหม่เกี่ยวกับตัวละคร ฉาก สถานที่และให้ความรู้ในเรื่อง
คติธรรมสอนใจในการด�าเนินชีวิตได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้พระอภัยมณียังถือว่าเป็น ตัวแทนโลกทัศน์ของ อธิบายความรู
สุนทรภูท่ มี่ ตี อ่ ชาวต่างชาติ โดยชาวสยามในสมัยนัน้ ส่วนใหญ่มมี มุ มองด้านลบต่อชาวต่างชาติ ด้วยมอง ใหนักเรียนนําเสนอการศึกษา
สาเหตุการเข้ามาว่าเพื่อแสวงหาและกอบโกยผลประโยชน์ทางทรัพยากร แต่สุนทรภู่มองในมุมกลับว่า คนควาเรือ่ ง พระอภัยมณี และเพือ่ นๆ
สยามก็น่าจะได้รับประโยชน์จากชาวต่างชาติเป็นต้นว่า วิทยาการด้านต่างๆ ในหองรวมกันอภิปรายการศึกษานั้น
ที่ส�าคัญคือสุนทรภู่ยังแสดงโลกทัศน์เกี่ยวกับสตรีที่แตกต่างจากโลกทัศน์ของคนในสังคม
ร่วมสมัยเดียวกัน เช่น ยกย่องสตรีที่มีปัญญาความรู้หรือสตรีที่มีภาวะผู้น�า โดยน�าเสนอผ่านพฤติกรรม
ของตัวละครสตรี
นักเรียนควรรู
๒ ประวัติผู้แต่ง สุนทรภู มีชวี ติ อยูใ นชวงสมัยรัชกาล
พระสุนทรโวหาร (ภู่) หรือสุนทรภู่เกิดเมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ ตรงกับวันจันทร์ ที่ 1-4 แหงกรุงรัตนโกสินทร และแตง
ขึน้ ๑ ค�า่ เดือน ๘ ปีมะเมีย จุลศักราช ๑๑๔๘ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ นิทานคํากลอนเรื่อง พระอภัยมณีขึ้น
ทรงสันนิษฐานว่าบิดาเป็นชาวเมืองแกลง จังหวัดระยอง ส่วนมารดาเป็นชาวเมืองอืน่ ตัง้ แต่สนุ ทรภูเ่ กิด ในสมัยรัชกาลที่ 2 ขณะตองโทษจําคุก
บิดามารดาหย่ากัน บิดาออกบวชและไปจ�าพรรษา ณ วัดบ้านกร�า่ เมืองแกลง ส่วนมารดาได้เข้าถวายตัว เพราะถูกอุทธรณวา เมาสุราทํารายญาติ
เป็นข้าหลวงท�าหน้าทีเ่ ป็นนางนมพระธิดาในกรมพระราชวังหลัง สุนทรภูอ่ าศัยอยูใ่ นเรือนแพกับมารดา ผูใหญ จึงแตงนิทานคํากลอนเรื่องนี้
และได้ถวายตัวเป็นข้าในกรมพระราชวังหลังตั้งแต่เด็ก เพื่อขายฝปากเลี้ยงชีพเพียงไมกี่ตอน
อาจกล่าวได้ว่าสุนทรภู่ได้จารึกชื่อของท่านไว้แก่บุคคลรุ่นหลังด้วยผลงาน จนมีผู้กล่าวว่า “ถ้า แลวมาแตงตอในสมัยรัชกาลที่ 3
และจะลองให้เลือกกวีไทยบรรดาที่มีชื่อเสียงปรากฏมาในพงศาวดารคัดเอาแต่ที่วิเศษสุดเพียง ๕ คน
ใครๆ เลือกก็เห็นจะเอาชื่อสุนทรภู่ไว้ในกวี ๕ คนนั้นด้วย” หรือแม้กระทั่งองค์การยูเนสโกก็ยกย่องให้
สุนทรภู่เป็นกวีเอกของโลกในฐานะผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวรรณกรรม
สุนทรภูค่ อื ผูท้ ใี่ ช้ชวี ติ อย่างแท้จริง ชีวติ ของสุนทรภูไ่ ด้สะท้อนให้เห็นสัจธรรมทีว่ า่ “ไม่มสี งิ่ ใดจีรงั
ยั่งยืน ยศอ�านาจวาสนาได้มาแล้วเสื่อมสูญไป” เมื่อแบ่งเวลาออกเป็น ๔ ช่วงรัชสมัย จะพบว่าจังหวะ
ชีวิตของสุนทรภู่มีสูงสุดและต�่าสุด ถึงแม้ชีวิตจะพบกับอุปสรรคแต่ท่าน กลับไม่เคยท้อถอย ยังคงสร้าง
ผลงานที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมตกทอดมาให้อนุชนรุ่นหลังได้เรียนรู้ และน�าข้อคิดที่แฝงอยู่ในผลงาน
ไปปรับใช้ในชีวิตประจ�าวัน ซึ่งชีวประวัติและผลงานของสุนทรภู่สามารถเขียนเป็นเส้นเวลาได้ ดังนี้
31

คูมือครู 31
ในชีวิต
จุดหักเห

32
ตอนตน
การเขารับ

รัตนโกสินทร
หนาชั้นเรียน

ราชการในสมัย
Engage

มหากวีสี่แผนดิน
อธิบายความรู

สุนทรภู
กระตุนความสนใจ

คูมือครู
องคประกอบของเรื่องใด

2. ชีวิตกวีเอก : สุนทรภู
2. ครูสุมนักเรียนมาอธิบาย

NET ขอสอบ ป 53

กวีเอก : สุนทรภู ตอบขอ 2.)


1. ชีวประวัติของบุคคลสําคัญ

3. บุคคลในประวัติศาสตรไทย
4. วรรณคดีชิ้นเอกของสุนทรภู
ประวัติ
1. ใหนักเรียนศึกษาเสนเวลา และ

ในวัยเด็ก
ขอสอบออกเกี่ยวกับประวัติและ

แผนผังความคิดขางตน ควรเปน
พระอภัยมณี
อธิบายผลงานตางๆ ของสุนทรภู

ความเปนมา

ผลงานสําคัญ
นิราศพระบาท
ผลงานของสุนทรภู โดยโจทยกําหนด

แผนผั ง ความคิ ด ที่ โ จทย กํ า หนดจะ

ว า เกี่ ย วกั บ ความเป น มาของชี วิ ต


พบขอความที่ปรากฏในแผนผังเปน
(วิเคราะหคําตอบ เมื่อพิจารณาจาก

ตอนต น มี จุ ด หั ก เหในชี วิ ต ที่ ต  อ ง

ผลงานกวีที่สําคัญ คือ นิราศพระบาท


ติดคุกและตกอับในสมัยรัชกาลที่ 3 มี
เรื่องเกี่ยวกับชีวิตของสุนทรภู เพราะ
มีประวัติความเปนมาในวัยเด็ก การ

พระอภัยมณี ซึ่งเปนขอความที่บงชี้
เขารับราชการในสมัยรัตนโกสินทร
Explore
สํารวจคนหา

สุนทรภู มหากวีสี่แผนดิน พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒ พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๓๖๗ พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔ พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑
แผนดินรัชกาลที่ ๑ แผนดินรัชกาลที่ ๒ แผนดินรัชกาลที่ ๓ แผนดินรัชกาลที่ ๔

@
สุนทรภูเกิดในสมัย มีชื่อเสียงทางดาน สุนทรภูออกบวช เมื่อลาสิกขาบท สุนทรภูได
รัชกาลที่ ๑ เมื่อวันจันทร บทกลอน พระบาทสมเด็จ- ในราว พ.ศ. ๒๓๖๙ รับการอุปถัมภจาก

๒๓๙๔

๒๓๒๙
๒๓๖๙

๒๓๕๙
เดือน ๘ ขึ้น ๑ คํ่า ปมะเมีย พระพุทธเลิศหลานภาลัย กรมขุนอิศเรศรังสรรค
Explain

จุลศักราช ๑๑๔๘ หรือ โปรดใหรับราชการ ภายหลังไดสถาปนาเปน


ตรงกับวันที่ ๒๖ มิถุนายน ในกรมพระอาลักษณ เปนพระอาจารยถวาย พระบาทสมเด็จพระปนเกลา
๒๓๒๙ ณ บริเวณดานเหนือ ตําแหนงขุนสุนทรโวหาร พระอักษรเจาฟาชายกลาง เจาอยูหัว ดังนั้นสุนทรภูไดรับ

๒๓๗๒
อธิบายความรู

มุม IT
ของพระราชวังหลัง เปนกวีที่ปรึกษา และเจาฟาชายปว แตงตั้งเปนเจากรมอาลักษณ
(สถานีรถไฟบางกอกนอย พระราชทานบานพักให พระโอรสในเจาฟา ฝายพระราชวังบวร
ในปจจุบัน) ทีท่ า ชาง เมือ่ พ.ศ. ๒๓๕๙ กุณฑลทิพยวดี มีบรรดาศักดิ์เปน
ในราว พ.ศ. ๒๓๗๒ พระสุนทรโวหาร
นิราศพระบาท ขุนชางขุนแผน ราว พ.ศ. ๒๓๙๔
นิราศเมืองแกลง ตอนกําเนิด เพลงยาวถวายโอวาท

๒๓๕๐
๒๓๗๓
โคบุตร พลายงาม

ไมปรากฏปที่แนชัด
Expand

http://hilight.kapook.com/view/24209
ขยายความเขาใจ

๒๓๐๐ ๒๓๕๐ ๒๔๐๐ ๒๔๕๐

๒๓๖๔
สวัสดิรักษา
๒๓๗๑
๒๓๙๘

๒๓๔๙
ชวงวัยเด็กไดเรียน สุนทรภูลอบรักกับแมจัน นิราศภูเขาทอง สุนทรภูสิ้นชีวิตขณะอายุได ๖๙ ป
หนังสือกับพระที่วัด นางขาหลวงในวัง ในราวป พ.ศ. ๒๓๙๘
๒๓๗๕

นิราศวัดเจาฟา

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติและผลงานของสุนทรภู ไดที่
ชีปะขาว (ศรีสุดาราม) ทั้งสองจึงตองโทษจําคุก
มีความรูพอเปนเสมียน แตเมื่อกรมพระราชวังหลัง นิราศอิเหนา เหเรื่องโคบุตร
Evaluate

แตภายหลังไดหันหนา เสด็จทิวงคตจึงไดรับการ
๒๓๘๐-๒๓๘๓

เหเรื่องกากี
สุภาษิตสอนสตรี

http://www.rayong.go.th/redcross/data/history/history15.pdf
เขาสูโลกของการประพันธ อภัยโทษในป พ.ศ. ๒๓๔๙
ตรวจสอบผล

เหจับระบํา
๒๓๘๓-๒๓๘๕

พระไชยสุริยา
ไมปรากฏปที่แนชัด

เหเรื่องพระอภัยมณี
๒๓๘๔

นิราศสุพรรณ เสภาเรื่องพระราชพงศาวดาร
มีเหตุใหตองติดคุก
ไมปรากฏปที่แนชัด

๒๓๘๕

เพราะดื่มสุราและ อภัยนุราช
อาละวาด แตสุดทาย รําพันพิลาป ชวงแผนดินรัชกาลที่ ๓
ไดรับพระราชอภัยโทษ นิราศพระประธม สุนทรภูไ ดรบั ความลําบากมาก
เมื่อมีโอกาสไดถวาย สันนิษฐานวาอยูในสมณเพศ
กลอนตองพระราชหฤทัย ลักษณวงศ ถึงสองครั้ง กลาวคือ
ไมปรากฏปที่แนชัด

สิงหไกรภพ
เสนสัญลักษณ มีชวงเวลาหนึ่งที่ละสมณเพศ
พระอภัยมณี ผลงานประพันธ ออกมาทําการคาขายเล็กๆ
๒๓๘๘-๒๓๙๒

นิราศเมืองเพชร ขอมูลทั่วไป นอยๆ และขายฝปากเลี้ยงชีพ


(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
จากที่ นั ก เรี ย นได สื บ ค น ข อ มู ล
ประวั ติ แ ละผลงานของสุ น ทรภู  ม า
ผลงานของสุนทรภู่สามารถแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ได้ ดังนี้ แลว ใหนักเรียนยกตัวอยางผลงาน
ประเภทนิรำศ บทประพันธของสุนทรภูป ระเภทนิราศ

นิราศเมืองแกลง ที่นาสนใจ มา 1 บท พรอมบอกที่มา

นิราศพระบาท และลั ก ษณะเด น ของบทประพั น ธ

นิราศภูเขาทอง ประกอบดวย เขียนบทประพันธทเี่ ลือก

นิราศวัดเจ้าฟ้า ลงในสมุด

นิราศอิเหนา (แนวตอบ ตัวอยางเชน

นิราศสุพรรณ “เจาของตาลรักหวานขึ้นปนตน
ระวังตนตีนมือระมัดมั่น

นิราศพระประธม
เหมือนคบคนคําหวานรําคาญครัน

นิราศเมืองเพชร
ถาพลั้งพลันเจ็บอกเหมือนตกตาล”
ประเภทนิทำน (นิราศพระบาท)

โคบุตร “ถึงบางพูดพูดดีเปนศรีศักดิ์

ลักษณวงศ์ มีคนรักรสถอยอรอยจิต

สิงหไกรภพ แมนพูดชั่วตัวตายทําลายมิตร

กาพย์พระไชยสุริยา จะชอบผิดในมนุษยเพราะพูดจา”

พระอภัยมณี ตัวอย่างผลงานของสุนทรภู่ (นิราศภูเขาทอง)
“กระแสชลวนเชี่ยวเรือเลี้ยวลด

บทละครเรื่องอภัยนุราช
ดูคอมคดขอบคุงคงคาไหล
ประเภทเบ็ดเตล็ด แตสาชลเจียวยังวนเปนวงไป

สวัสดิรักษา นี่หรือใจที่จะตรงอยาสงกา”

เพลงยาวถวายโอวาท (นิราศเมืองแกลง)

ร�าพันพิลาป (นักวิชาการบางท่านจัดไว้ในนิราศ) ลักษณะเดนของบทประพันธที่

เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนก�าเนิดพลายงาม ยกตัวอยางนี้ สามารถสื่อความและ

เสภาเรื่องพระราชพงศาวดาร ถายทอดความหมายไดอยางลึกซึ้ง

บทเห่กล่อมพระบรรทม นําไปใชในชีวิตประจําวันไดและมี
ความไพเราะในการเลนคํา)
ในบรรดาผลงานของสุนทรภู่ ผลงานประเภทนิราศเป็นผลงานที่แสดงตัวตนของสุนทรภู่ได้
อย่างแจ่มชัด วรรณคดีประเภทนิราศสะท้อนให้เห็นลักษณะนิสัยส่วนตัวของสุนทรภู่ที่ละเอียดอ่อน
เมื่อพบเห็นสถานที่ต่างๆ จะเกิดแรงบันดาลใจถ่ายทอดออกมาเป็นผลงาน เมื่อผู้อ่านได้อ่านนิราศของ
สุนทรภู่แล้วอาจรู้สึกได้ว่า “นิราศคือชีวิตของสุนทรภู่” ชีวิตที่ต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก น�ามา นักเรียนควรรู
ซึ่งความทุกข์ระทม การเดินทางของสุนทรภู่ที่ท�าให้เกิดผลงานสามารถสรุปเป็นแผนภาพได้ ดังนี้ กาพยพระไชยสุริยา เปนแบบเรียน
33 ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 3 จนถึงรัชกาล
ที่ 5 ปจจุบนั เปนบทสวดโอเอวหิ ารราย
อยูที่ศาลารายรอบพระอุโบสถ
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในชวง
เขาพรรษา
@
มุม IT
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวรรณคดีสโมสร ไดที่
http://www.identity.opm.go.th/doc/nis04441.PDF

คูมือครู 33
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

ผลงกาน เดินทาง
อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)
1. ใหนักเรียนจัดกลุม แตละกลุม
เลือกผลงานของสุนทรภูมากลุมละ นิ ร าศสุ พ รรณ จา การ
1 เรื่อง ‘ใครที่มีชูชู ชวยคํ้าคําโคลง’
2. สงตัวแทนกลุมมาอธิบายผลงาน นิราศเรื่องนี้เกิดขึ้นเมื่อครั้งสุนทรภู
เดินทางไปเมืองสุพรรณบุรี ซึ่งใน
นิราศพระบาท
ของสุนทรภู พรอมยกตัวอยาง ชวงเวลานั้นรกรางและเปลี่ยว ‘โออาลัยใจหายไมวายหวง...ตามเสด็จ
บทประพันธที่เดนนําเสนอ มาก โดยออกเดินทางโดยเรือ โดยแดนแสนกันดาร นมัสการ
จากวั ด เทพธิ ด ารามไปตามคลอง รอยบาทพระศาสดา’
หนาชั้นเรียน มหานาค โดยมีนายพัดและนายตาบ สุนทรภูเดินทางไปสระบุรี เพราะ
3. นักเรียนและครูรวมกันคัดเลือก ซึง่ เปนบุตรชาย และผูต ดิ ตามรวมเดินทาง ตามเสด็จพระองคเจาปฐมวงศ
ไปดวย นิราศเรือ่ งนีเ้ ปนนิราศเรือ่ งเดียวของ ไปนมั ส การพระพุ ท ธบาทเมื่ อ
ผลงานมาจัดปายนิเทศ สุนทรภูที่แตงดวยโคลงสี่สุภาพ พ.ศ. 2350 ในฐานะมหาดเล็ก

นักเรียนควรรู นิ ร าศพระประธม สุพรรณบุรี


สระบุรี

นิราศเมืองแกลง เปนนิราศเรือ่ งแรก ‘แมนเปนไมใหพี่นี้เปนนก นครปฐม


อยุธยา
นิราศเมืองแกลง
ใหไดกกกิ่งไมอยูไพรสัณฑ ’ ‘ชนนีอยูศ รีอยุธยา บิดามาอางวางอยูก ลางไพร’
ของสุนทรภูสันนิษฐานวาแตงในสมัย สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงอธิบายวา
ระยอง สุนทรภูเดินทางไปเมืองแกลง จังหวัดระยอง เพื่อไปเยี่ยม
เพชรบุรี
รัชกาลที่ 1 ประมาณ พ.ศ. 2350 สุนทรภูแ ตงขณะอยูใ นอุปการะของพระบาทสมเด็จ-
พระปนเกลาเจาอยูหัว
บิดา และอีกสาเหตุเพือ่ ไปทํากิจธุระใหเจานาย โดยเดินทาง
ไปพรอมกับบริวาร คือนายนอยและนายพุม โดยมีนายแสง
เมือ่ ครัง้ ทีส่ นุ ทรภูเ ดินทางไปเยีย่ มบิดา เปนคนนําทาง เดินทางโดยเรือแจวแบบมีประทุนใชเวลา
ที่เมืองแกลง จังหวัดระยอง ไปกลับ 3 เดือน

นิราศเมืองเพชร
บูรณาการ ‘สํานวนนอกนํา้ เพชรแลวเข็ดเขา’ นิราศภูเขาทอง
เศรษฐกิจพอเพียง สุนทรภูแตงนิราศเรื่องนี้เพื่อไปทําธุระให
เจานายพระองคหนึ่ง และเปนนิราศเรื่อง ‘รับกฐินภิญโญโมทนา ชุลีลาลงเรือเหลืออาลัย’
สุดทายของสุนทรภู สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานวา สุนทรภูแตงขณะบวชเปนภิกษุอยูที่
นักเรียนคิดวาหากนักเรียนตอง วัดราชบูรณะ และไดเดินทางไปอยุธยา

เดินทางไปจังหวัดระยองเชนเดียวกับ นิราศวัดเจาฟา
สุนทรภู นักเรียนจะเลือกเดินทาง ‘อันอินทรียวิบัติอนัตตา ที่ปาชานี่แหละเหมือนกับเรือนตาย ’
สุนทรภูแตงนิราศเรื่องนี้ขณะบวชเปนภิกษุและเดินทางไปวัดเจาฟาที่อยุธยา
โดยใชเสนทางใด จึงจะประหยัด
คาใชจายมากที่สุด ใหนักเรียน
เขียนวางแผนเสนทางการเดินทาง
ที่นักเรียนเลือก พรอมใหเหตุผล
‘ นิราศอิเหนา
และรําพันพิลาป
ประกอบใหชัดเจน ໚¹ÇÃó¤´Õ·íҹͧ¹ÔÃÒÈ นิราศอิเหนา รําพันพิลาป
·Õèᵡµ‹Ò§¨Ò¡¹ÔÃÒÈàÃ×èͧÍ×è¹æ ¢Í§Êع·ÃÀÙ‹

à¾ÃÒÐÊع·ÃÀÙ‹ äÁ‹ ä´Œà´Ô¹·Ò§ä»Âѧʶҹ·Õèã´ จะสวดมนตตนถูกถึงผูกปลาย ‘เมื่อยามฝนนั้นวานึกนั่งตรึกตรอง
ᵋ 䴌㪌»ÃÐʺ¡Òó¡ÒÃà´Ô¹·Ò§ ก็กลับกลายเรือ่ งราวเปนกลาวกลอน ’ เดือนหงายสองแสงสวางดังกลางวัน ’
㹤ÃÑ駷Õ輋ҹÁҢͧµ¹ÁÒ㪌㹡Òà แตงขึ้นในสมัย ร.3 ซึ่งสุนทรภูเปนฆราวาส เรือ่ งนีเ้ ปนนิราศทีต่ งั้ ชือ่ ตางจากนิราศเรือ่ งอืน่ ๆ นิราศ
´íÒà¹Ô¹àÃ×èͧµÒÁẺ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงสันนิษฐาน เรื่องนี้สุนทรภูไดแตงขึ้นตามความฝนของทาน ขณะครองเพศ
©ºÑº¹ÔÃÒÈ
’ วา คงจะแตงถวายพระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจา-
ลักขณานุคุณ ซึ่งสุนทรภูพึ่งพระบารมีอยู สุนทรภูนําเรื่อง
เปนสมณะจําพรรษา ณ วัดเทพธิดาราม ซึ่งทําใหผูอานได
ทราบถึงความเปนไปในชีวิตของสุนทรภู
อิเหนาตอนติดตามนางบุษบาเมื่อถูกลมหอบหายไปมาแตงเปนนิราศอิเหนา

34 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
1. ใหนักเรียนดูแผนผังลักษณะ
คําประพันธกลอนสุภาพ ครูและ
ส�าหรับกลอนนิทานเรื่องพระอภัยมณีนอกจากจะได้รับการแปลเป็นภาษาต่างๆ ไปทั่วโลกแล้ว นักเรียนรวมกันอธิบายลักษณะ
ยังน�าไปสร้างเป็นละครพันทาง ภาพยนตร์และภาพยนตร์การ์ตูน เนื่องจากมีลีลากลอนที่ไพเราะ ฉันทลักษณของกลอนสุภาพ
เนื้อหาสนุกสนานและให้ข้อคิดคติธรรม สุนทรภู่ได้รับการยกย่องว่าเป็นกวีที่มีความสามารถในการ ครูเสริมเพิ่มเติมและใหนักเรียน
แต่งกลอน เพราะกลอนของท่านมีเอกลักษณ์เด่นด้วยสัมผัส ท่านจึงเป็นกวีเอกของไทยที่ได้รับการ จดบันทึกแผนผังลักษณะ
ยกย่องว่าเป็นกวีเอกของโลกจากองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United คําประพันธลงในสมุด
Nations Educational, Scientific and Cultural Organization) หรือองค์การยูเนสโก (UNESCO) แผนผังกลอนสุภาพ
ให้เป็นบุคคลส�าคัญของโลกด้านงานวรรณกรรม เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๙ ในโอกาสครบรอบ ๒๐๐ ปี ชาตกาล

๓ ลักษณะคÓประพันธ์
2. ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น
เรื่องพระอภัยมณีเป็นกลอนนิทานที่ประพันธ์ด้วยกลอนสุภาพที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่เรื่องพระอภัยมณีแตงดวย
ของสุนทรภู่ คือแต่ละวรรคจะมีสัมผัสใน ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร ท�าให้ค�ากลอนมีความไพเราะ กลอนสุภาพ
ดังบทประพันธ์ (แนวตอบ คําตอบไมมีถูกหรือผิด
ครูควรแนะนําวา เห็นดวยเพราะ
พวกผีพรายสายสมุทรผุดขึ้นสิ้น บ้างแลบลิ้นเหลือกตาถลาถลัน การใชกลอนนิทานหรือกลอนสุภาพ
ในการเลาเรือ่ งจะชวยใหการดําเนิน
เสียงโครมครามตามคลื่นเป็นหมื่นพัน ทะเลลั่นดังจะล่มถล่มทลาย เรื่องมีความกระชับ ใชคํานอยแต
กิ น ความหมายมาก และมี ค วาม
สัมผัสสระในวรรคแรก (วรรคสดับ) คือ พราย-สาย สมุทร-ผุด สัมผัสอักษร คือ พวก-ผี-ผุด ไพเราะดวยสัมผัสสระและสัมผัส
สาย-สมุทร อักษร)
สัมผัสสระในวรรคสอง (วรรครับ) คือ ตา-ถลา สัมผัสอักษร คือ แลบ-ลิ้น-เหลือก ถลา-ถลัน
สัมผัสสระในวรรคสาม (วรรครอง) คือ คราม-ตาม คลื่น-หมื่น สัมผัสอักษร คือ โครม-คราม ขยายความเขาใจ
สัมผัสสระในวรรคสี่ (วรรคส่ง) คือ ล่ม-ถล่ม สัมผัสอักษร คือ เล-ลั่น-ล่ม ทะเล-ถล่ม-ทลาย
ใหนกั เรียนแตงกลอนสุภาพเกีย่ วกับ
จะเห็นว่ากลอนนิทานของสุนทรภู่แพรวพราวด้วยสัมผัสในทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร
โรงเรียนของเรา หรือครอบครัวของฉัน
จึงท�าให้กลอนมีความไพเราะจับใจผู้อ่าน และมีผู้กล่าวไว้ว่า “ในกระบวนแต่งกลอนสุภาพนั้น แต่ก่อน
จํานวน 2 บท สงครูผูสอน
มาไม่ได้ถอื เอาสัมผัสในเป็นส�าคัญ สุนทรภูเ่ ป็นผูเ้ ริม่ เล่นสัมผัสในขึน้ เป็นส�าคัญในกระบวนกลอน เลยถือ
เป็นแบบอย่างกันมาจนทุกวันนี้ นับว่าสุนทรภูเ่ ป็นผูช้ กั น�าให้กลอนสุภาพเพราะพริง้ ยิง่ ขึน้ อีกอย่างหนึง่ ...
ในบรรดาหนังสือบทกลอนทีส่ นุ ทรภูไ่ ด้แต่งไว้ ถ้าจะลองให้ชขี้ าดว่าเรือ่ งไหนเป็นดีกว่าเพือ่ น ก็นา่ จะยุติ
ต้องกันโดยมากว่า เรือ่ งพระอภัยมณีเป็นดีทสี่ ดุ เพราะเป็นหนังสือเรือ่ งยาว แต่งดีทงั้ กลอน ทัง้ ความคิด
ที่ผูกเรื่อง”

35

คูมือครู 35
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องยอ
มาลวงหนา
2. นักเรียนเลาเรื่องยอตอกันเปน ๔ เรื่องย่อ
ชวงๆ โดยครูเลาขึ้นตนกอน ท้าวสุทัศน์กษัตริย์แห่งเมืองรัตนา โปรดให้โอรสทั้งสองพระองค์ พระองค์โต คือ พระอภัยมณี
ครูพิจารณาวา นักเรียนคนใด พระองค์เล็ก คือ ศรีสุวรรณไปเรียนวิชาเพื่อกลับมาปกครองบ้านเมือง แต่พระอภัยมณีกลับเลือก
ไดเตรียมพรอมอานมาบาง เรียนวิชาเป่าปี่ ส่วนศรีสุวรรณเรียนวิชากระบี่กระบอง เมื่อกลับมาถึงบ้านเมือง พระบิดาทรงกริ้ว
ครูใหเลาสั้นๆ ตอเนื่องกัน เพราะเห็นว่าวิชาที่เรียนไม่สามารถใช้ประโยชน์ในการปกครองบ้านเมืองได้ พระโอรสทั้งสองพระองค์
3. เมื่อเลาจบเรื่องแลว ครูจัดกลุม จึงทรงถูกขับไล่ออกจากเมือง ทรงถอดเครื่องทรงออกแล้วแต่งพระองค์เยี่ยงสามัญชน เสด็จไปพบ
สรุปเรื่องยอใหชัดเจนมากขึ้น พราหมณ์สามคนคือ วิเชียร โมราและสานน พราหมณ์ทั้งสามไม่เชื่อในอิทธิพลของเพลงปี่ จึงทูลขอ
โดยเขียนเปนแผนผังความคิด ให้พระอภัยมณีเป่าปี่ให้ฟัง พระอภัยมณีทรงเป่าปี่พรรณนาประโยชน์ของดนตรีให้พราหมณ์ทั้งสามคน
ฟัง เสียงเพลงปี่ไพเราะจับใจมาก พราหมณ์ทั้งสามคนและศรีสุวรรณจึงเคลิ้มหลับไป
ขยายความเขาใจ เสียงเพลงปี่ลอยตามลมไปไกลท�าให้นางผีเสื้อสมุทรซึ่งหากินอยู่กลางทะเลได้ยิน และตาม
จากเรือ่ งยอทีน่ กั เรียนอานและสรุป เสียงเพลงมาจึงเห็นเจ้าชายหนุม่ รูปงามทรงนัง่ เป่าปีอ่ ยู ่ นางผีเสือ้ สมุทรหลงรักพระอภัยมณีทนั ที จึงจูโ่ จม
เปนแผนผังความคิด จับตัวพระอภัยมณีแล้วพาไปอยูใ่ นถ�า้ ทีเ่ กาะกลางทะเลอันเป็นทีอ่ ยูข่ องนาง พระอภัยมณีตกพระทัยสลบ
• นักเรียนคิดวาสุนทรภูไดรับ ไป เมือ่ ทรงฟืน้ ขึน้ มาก็ทรงรูพ้ ระองค์วา่ อยูใ่ นถ�า้ พระอนุชาและพระสหายทัง้ สามก็หายไป นางผีเสือ้ สมุทร
อิทธิพลใดบางที่สงผลตอ แปลงกายเป็นหญิงสาวสวยงามมาพูดจาเกีย้ วพระอภัยมณี ซึง่ พระอภัยมณีทรงรูไ้ ด้ทนั ทีวา่ นางเป็นยักษ์
การประพันธเรื่องพระอภัยมณี แปลงกายมาเพราะดวงตาไม่มแี ววและทรงรูว้ า่ หากขัดขืนอาจสิน้ พระชนม์ จึงต้องจ�าพระทัยอยูก่ บั นาง
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน จนกระทั่งนางผีเสื้อสมุทรมีบุตรกับพระอภัยมณีพระองค์หนึ่งชื่อสินสมุทร มีหน้าตาคล้ายพระอภัยมณี
1. จากประวัติศาสตรไทยและ แต่มีเขี้ยว ตาแดงฉานและมีก�าลังมากเหมือนนางผีเสื้อสมุทร แต่รูปร่างเป็นมนุษย์ ร่างกายแข็งแรง
ตางประเทศ ว่ายน�า้ เก่ง พระอภัยมณีทรงดูแลเอาพระทัยใส่อบรมและสัง่ สอนเพลงอาวุธต่างๆ และสอนวิชาเป่าปีใ่ ห้
2. จากจินตนาการของกวีที่มัก วันหนึ่งเมื่อนางผีเสื้อสมุทรออกไปหากิน นางน�าหินก้อนใหญ่ปิดปากประตูถ�้าไว้ เมื่อนาง
คาดการณเรื่องตางๆ ไปแล้วสินสมุทรเห็นพระบิดาหลับจึงผลักก้อนหินออกแล้วไปว่ายน�้าเล่น จับเงือกได้จึงน�ามาถวาย
ในอนาคต พระอภัยมณีทอดพระเนตร เงือกน�้าอ้อนวอนขอชีวิตและขอรับใช้ ถ้าต้องการสิ่งใดในน�้าจะน�ามาถวาย
3. กวีบันทึกความคิด ความเชื่อ พระอภัยมณีทรงขอให้เงือกพาหนีจากนางผีเสื้อสมุทร พ่อแม่เงือกและลูกสาวนัดหมายจะพาพระ-
ระเบียบ ประเพณีและ อภัยมณีหนีไปอยู่ที่เกาะแก้วพิสดาร โดยให้พระอภัยมณีทรงวางแผนลวงนางผีเสื้อสมุทร
วัฒนธรรมไทยไวมากมาย
คืนนั้นนางผีเสื้อสมุทรฝันว่าเทวดาที่รักษาเกาะมาท�าลายถ�้าของนาง เอาพะเนินมาทุบตีนาง
4. เรื่องราวชีวิตจริงของกวีเอง)
แล้วควักดวงตาของนางไป ครั้นตื่นขึ้นนางจึงเล่าความฝันให้พระอภัยมณีฟัง พระอภัยมณีทรงเห็นว่า
เป็นโอกาสทีจ่ ะหนี จึงบอกว่านางมีเคราะห์ตอ้ งไปถือศีลอดอาหารอยูค่ นเดียวทีต่ นี เขาเป็นเวลาสามวัน
จึงจะพ้นเคราะห์ นางผีเสื้อสมุทรเชื่อและปฏิบัติตาม จากนั้นครอบครัวเงือกก็พาพระอภัยมณีและ
สินสมุทรหนีไปเกาะแก้วพิสดาร เมื่อนางผีเสื้อสมุทรกลับมาไม่พบสามีและบุตรจึงแน่ใจว่าทั้งสองหนี
ไปแล้ว จึงติดตามไปด้วยความคั่งแค้น

36

36 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate

กระตุนความสนใจ
ครูกระตุนความสนใจโดยให
นักเรียนจินตนาการตามบทประพันธ
พระอภัยมณีทรงแน่พระทัยรู้ว่านางผีเสื้อสมุทรตามมา ทรงเกรงว่าผู้อื่นจะได้รับอันตราย ตอไปนี้
จึงบอกเงือกให้ปล่อยพระองค์สิ้นพระชนม์เพียงผู้เดียว แต่สินสมุทรบอกให้เงือกพาพระบิดาล่วงหน้า ...ไมคลาดเคลือ่ นเหมือนองคพระทรงเดช
ไปก่อน แล้วจึงหลอกล่อนางผีเสื้อสมุทรให้ตามไปอีกทิศหนึ่ง จากนั้นสินสมุทรจึงแอบว่ายน�้าตาม แตดวงเนตรแดงดูดังสุริยฉาย
พระบิดาไป ครั้นนางผีเสื้อสมุทรรู้ตัวจึงติดตามไปอย่างไม่ลดละ พ่อแม่เงือกเห็นว่านางผีเสื้อสมุทรจะ ทรงกําลังดังพระยาคชาพลาย
ตามมาทันจึงให้ลูกสาวพาพระอภัยมณีรีบหนีไปโดยเร็ว ส่วนพ่อแม่เงือกยอมสละชีวิตโดยท�าทีอ่อนล้า มีเขี้ยวคลายชนนีมีศักดา
ยอมให้นางผีเสื้อสมุทรจับและหลอกลวงให้นางผีเสื้อสมุทรไปอีกทางหนึ่ง นางผีเสื้อสมุทรโกรธมากจึง ครูถามนักเรียนวา
ฆ่าพ่อแม่เงือกแล้วติดตามไปอีก จนกระทัง่ เงือกสาวพาพระอภัยมณีและสินสมุทรมาถึงเกาะแก้วพิสดาร • บทประพันธนกี้ อ ใหเกิดจินตภาพ
พระฤๅษีรไู้ ด้ดว้ ยฌานว่าจะมีผหู้ นีนางผีเสือ้ สมุทรมาพึง่ พา ท่านจึงคอยรับและร่ายมนตร์ปอ้ งกัน อะไรบาง
• จากจินตภาพนักเรียนคิดวา
ไม่ให้นางผีเสือ้ สมุทรเข้าใกล้เกาะ นางจึงอ้อนวอนให้พระอภัยมณีกลับมาอยูก่ บั นาง และด่าว่าเงือกสาว
เปนตัวละครใดในเรื่อง
ด้วยความหึงหวง พระฤๅษีเตือนให้นางกลับไปอยูท่ ถี่ า�้ ตามเดิม ด้วยความโกรธนางผีเสือ้ สมุทรจึงก้าวร้าว
กล่าวร้ายพระฤๅษี พระฤๅษีจึงเสกทรายขว้างไปท�าให้นางเจ็บปวดจ�าต้องหลบไป แต่ก็ยังวนเวียนอยู่
ไม่ห่างจากเกาะ สํารวจคนหา
เนือ้ หาทีผ่ เู้ รียนจะได้เรียนต่อไปนีเ้ ป็นรายละเอียดของเนือ้ เรือ่ งพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณี ใหนักเรียนศึกษาดูวามีตัวละคร
หนีนางผีเสื้อ เนื้อเรื่องมีความตื่นเต้น มีบทโศกเศร้าคร�่าครวญ บทโกรธ บทพรรณนา บทหึงหวง ใดบางในเรื่องพระอภัยมณี
บทเกรี้ยวกราด ครบทุกรส เป็นเรื่องราวที่สนุกสนานน่าติดตามจากหนังสือพระอภัยมณีฉบับสมบูรณ์ ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
ส่วนที่ตัดตอนมาให้เรียนเป็นเนื้อหาตอนที่ ๙ ดังต่อไปนี้

๕ เนื้อเรื่อง อธิบายความรู
1. แบงนักเรียนเปนกลุม แตละกลุม
จะกล่าวกลับจับความไปตามเรื่อง ถึงบาทเบื้องปรเมศพระเชษฐา รวมกันคัดเลือกตัวละครสําคัญ
องค์อภัยมณีศรีโสภา ตกยากอยู่คูหามาช้านาน จากเรื่องพระอภัยมณี ไดแก
กับด้วยนางอสุรีนีรมิต เป็นคู่ชิดเชยชมสมสมาน • พระอภัยมณี
ต้องรักใคร่ไปตามยามกันดาร จนนางมารมีบุตรบุรุษชาย • นางผีเสื้อสมุทร
ไม่คลาดเคลื่อนเหมือนองค์พระทรงเดช แต่ดวงเนตรแดงดูดังสุริย์ฉาย • นางเงือก
ทรงก�าลังดังพระยาคชาพลาย มีเขี้ยวคล้ายชนนีมีศักดา • สินสมุทร
• พระฤๅษี
พระบิตุรงค์ทรงศักดิ์ก็รักใคร่ ด้วยเนื้อไขมิได้คิดริษยา
จากนัน้ สงตัวแทนจับสลากตัวละคร
เฝ้าเลี้ยงลูกผูกเปลแล้วเห่ช้า จนใหญ่กล้าอายุได้แปดปี
2. พิจารณารูปลักษณของตัวละครที่
จึงให้นามตามอย่างข้างมนุษย์ ชื่อสินสมุทรกุมารชาญชัยศรี
จับสลากได สงตัวแทนมานําเสนอ
ธ�ามรงค์ทรงมาค่าบุรี พระภูมีถอดผูกให้ลูกยา
เจียระบาดคาดองค์ก็ทรงเปลื้อง ให้เป็นเครื่องนุ่งห่มโอรสา
37 นักเรียนควรรู
สุริย มีความหมายวา พระอาทิตย
เชน ตะวัน ภากร ภาสกร ภาณุ ไถง รวิ
รวี รพิ รพี รังสิมา สุระ สุรยิ ะ สุรยี  สุรยิ ง
นักเรียนควรรู สุริยา สุริยน สุริโย อังศุมาลี เปนตน
บุรี เปนคําในบทประพันธทมี่ คี วามหมายวา เมือง
เชน คําวา ธานี ธานิน ธานินทร นคร นคเรศ นครา
นัครา บุรินทร บุระ บุรี พารา สรุก เปนตน
คูมือครู 37
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ให นั ก เรี ย นแบ ง กลุ  ม แต ล ะกลุ  ม
อานบทประพันธที่สนใจตั้งแตหนา
38-40 และรวมกันทําความเขาใจ สอนให้เจ้าเป่าปี่มีวิชา เพลงศาสตราสารพัดหัดช�านาญ
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันใน วันหนึ่งนางอสุรีผีเสื้อน�้า ออกจากถ�้าเที่ยวหาภักษาหาร
กลุม จับกระโห้โลมากุมภาพาล กินส�าราญรื่นเริงบันเทิงใจ
2. สงตัวแทนแตละกลุมออกมารวม ฝ่ายกุมารสินสมุทรสุดสวาท ไม่ห่างบาทบิดาอัชฌาสัย
อภิปรายบทประพันธที่อาน สรุป ความรักพ่อยิ่งกว่าแม่มาแต่ไร ด้วยมิได้ขู่เข็ญเช่นมารดา
เปนเรื่องยอนําเสนอหนาชั้นเรียน เห็นทรงธรรม์บรรทมสนิทนิ่ง หนีไปวิ่งเล่นอยู่ในคูหา
โลดล�าพองลองเชิงละเลิงมา เห็นแผ่นผาพิงผนิดปิดหนทาง
หนักหรือเบาเยาว์อยู่ไม่รู้จัก เข้าลองผลักด้วยก�าลังก็พังผาง
เกร็ดแนะครู เห็นหาดทรายพรายงามเป็นเงินราง ทะเลกว้างข้างขวาล้วนป่าดง
คําไวพจนเปนคําที่เขียนตางกัน ไม่เคยเห็นเป็นน่าสนุกสนาน พระกุมารเพลินจิตพิศวง
แตมคี วามหมายเหมือนกัน คําไวพจน ออกวิ่งเต้นเล่นทรายสบายองค์ แล้วโดดลงเล่นมหาชลาลัย
เปนภูมิปญญาทางภาษา เพื่อใหมีคํา ด้วยหน่อนาถชาติเชื้อผีเสื้อสมุทร ด�าไม่ผุดเลยทั้งวันก็กลั้นได้
ใชมากขึน้ ในการแตงคําประพันธ โดย ยิ่งถูกน�้าก�าลังยิ่งเกรียงไกร เที่ยวเลี้ยวไล่ขี่ปลาในสาชล
ใหคําลงสัมผัสและสื่อความหมายได ระลอกซัดพลัดเข้าในปากฉลาม ลอดออกตามซีกเหงือกเสือกสลน
ตามที่ตองการ เห็นฝูงเงือกเกลือกกลิ้งมากลางชล คิดว่าคนมีหางเหมือนอย่างปลา
ครั้นถามไถ่ไม่พูดก็โผนจับ ดูกลอกกลับกลางน�้าปล�้ามัจฉา
ครั้นจับได้ให้ระแวงแคลงวิญญาณ์ เช่นนี้ปลาหรืออะไรจะใคร่รู้
ฉุดกระชากลากหางขึ้นกลางหาด แลประหลาดลักษณามีตาหู
นักเรียนควรรู จะเอาไปให้พระบิดาดู แล้วลากลู่เข้าในถ�้าด้วยก�าลัง
ภักษาหาร มาจาก ภักษ + อาหาร ถึงหุบห้องร้องบอกบิตุเรศ พระลืมเนตรเหลียวหาทั้งหน้าหลัง
เปนการสรางคําสมาสอยางมีสนธิ เห็นลูกลากเงือกน�้าแต่ล�าพัง จากบัลลังก์มาห้ามแล้วถามไป
เมื่อกี้เห็นเล่นอยู่ในคูหา เงือกนี้เจ้าเอามาแต่ข้างไหน
พระลูกเล่าตามจริงทุกสิ่งไป พระตกใจจึงว่าด้วยปรานี
นักเรียนควรรู แม้นแม่เจ้าเขารู้ว่าแรงนัก กลัวจะลักลอบพาบิดาหนี
จะโกรธเกรี้ยวเคี้ยวเล่นเป็นธุลี ไม่พอที่ชีวันจะบรรลัย
ชลาลัย เปนคําที่มีความหมายวา
แมนํ้า เชน คงคา ชล ชลาศัย ชลธาร สินสมุทรกุมารชาญฉลาด ฟังพระบาทบิตุรงค์ให้สงสัย
ชลธี ชลธิศ ชโลทร ชลัมพุ ธาร ธารา จึงทูลถามความจริงด้วยกริ่งใจ เหตุไฉนจึงจะเป็นไปเช่นนั้น
นที วารี สาชล สาคร สินธุ นีร ทก เนียร
พระฟังค�าน�้าเนตรลงพรากพราก คิดถึงยากยามวิโยคยิ่งโศกศัลย์
เปนตน
แถลงเล่าลูกยาสารพัน จนพากันมาบรรทมที่ร่มไทร

38

38 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
จากบทประพันธตอไปนี้
“ฝายเงือกนํ้าคํานับอภิวาท
แม่ของเจ้าเขาเป็นเชื้อผีเสื้อสมุทร ขึ้นไปฉุดฉวยบิดาลงมาได้ ขาพระบาททราบสิ้นทุกถิ่นฐาน
จึงก�าเนิดเกิดกายสายสุดใจ จนเจ้าได้แปดปีเข้านี่แล้ว อันนํ้านี้มีนามตามบุราณ
ไปเปิดประตูคูหาถ้าเขาเห็น ตายหรือเป็นว่าไม่ถูกเลยลูกแก้ว อโนมานเคียงกันสีทันดร”
แม้นสินสมุทรสุดสวาทพ่อคลาดแคล้ว ไม่รอดแล้วบิตุรงค์ก็คงตาย สะทอนใหเห็นคุณคาดานสังคม
พระโอรสรู้แจ้งไม่แคลงจิต ร�าคาญคิดเสียใจมิใคร่หาย และวิถีไทยอยางไร
ด้วยแม่กลับอัปลักษณ์เป็นยักษ์ร้าย ก็ฟูมฟายชลนาโศกาลัย (แนวตอบ สะทอนใหเห็นความสําคัญ
ของการไหว เปนคุณคาทางวัฒนธรรม
ฝ่ายเงือกน�้านอนกลิ้งนิ่งสดับ กิตติศัพท์สองแจ้งแถลงไข ของไทยและเปนมรดกของชาติ)
รู้ภาษามนุษย์แน่ในใจ จะกราบไหว้วอนว่าให้ปรานี
ค่อยเขยื้อนเลื่อนลุกขึ้นทั้งเจ็บ ยังมึนเหน็บน้อมประณตบทศรี
พระผ่านเกล้าเจ้าฟ้าในธาตรี ข้าขอชีวิตไว้อย่าให้ตาย
พระราชบุตรฉุดลากล�าบากเหลือ ดังหนังเนื้อนี้จะแยกแตกสลาย เกร็ดแนะครู
ทั้งลูกเต้าเผ่าพงศ์ก็พลัดพราย ยังแต่กายเกือบจะดิ้นสิ้นชีวัน ครูเพิ่มเติมความรูความสําคัญของ
พระองค์เล่าเขาก็พาเอามาไว้ เศร้าพระทัยทุกข์ตรอมเหมือนหม่อมฉัน การมี สั ม มาคารวะ การไหว ที่ มี
ขอพระองค์จงโปรดแก้โทษทัณฑ์ ช่วยผ่อนผันให้ตลอดรอดชีวา เอกลักษณในลักษณะตางๆ เชน การ
ซึ่งปากถ�้าท�าลายลงเสียหมด ให้โอรสยกตั้งบังคูหา ไหวญาติผูใหญ การไหวพระ เปนตน
ข้าเห็นอย่างนางมารจะนานมา จะอาสาเกลี่ยทรายเสียให้ดี โดยครูใหนักเรียนรวมกันสาธิตการ
หนึ่งพวกพ้องของข้าคณาญาติ ขอรองบาทบงกชบทศรี ไหวแบบตางๆ
แม้นประสงค์สิ่งไรในนที ที่สิ่งมีจะเอามาสารพัน
พระฟังเงือกพูดได้ให้สงสาร จึงว่าท่านคิดนี้ดีขยัน
รู้เจรจาสารพัดน่าอัศจรรย์ อยู่พูดกันอีกสักหน่อยจึงค่อยไป นักเรียนควรรู
เราตรองตรึกนึกจะหนีนางผีเสื้อ แต่ใต้เหนือไม่รู้แห่งต�าแหน่งไหน
ธาตรี เป น คํ า ที่ มี ค วามหมายว า
ท่านเจนทางกลางทะเลคะเนใจ ท�ากระไรจึงจะพ้นทนทรมาน
แผนดิน เชน ธาษตรี ปฐพี ปฐวี ปถวี
ฝ่ายเงือกน�้าค�านับอภิวาท ข้าพระบาททราบสิ้นทุกถิ่นฐาน ปถพี ไผท พสุธา ภพ ภูวดล วสุธา
อันน�้านี้มีนามตามบุราณ อโนมานเคียงกันสีทันดร เมทินี เปนตน
เป็นเขตแคว้นแดนที่นางผีเสื้อ ข้างฝ่ายเหนือถึงมหิงษะสิงขร
ข้างทิศใต้ไปจนเกาะแก้วมังกร หนทางจรเจ็ดเดือนไม่เคลื่อนคลา
ไปกลางย่านบ้านเรือนหามีไม่ สมุทรไทซึ้งซึกลึกนักหนา
แต่ส�าเภาชาวเกาะเมืองลังกา เขาแล่นมามีบ้างอยู่ลางปี
นักเรียนควรรู
ถ้าเสียเรือเหลือคนแล้วนางเงือก ขึ้นมาเลือกเอาไปชมประสมศรี ลางป เปนคําโบราณมักมีปรากฏใน
บทประพันธ ปจจุบันใชคําวา “บางป”
39

คูมือครู 39
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ครูและนักเรียนอภิปรายความหมาย
ของคําราชาศัพท จากเรื่องพระอภัย-
มณี ต อนพระอภั ย มณี ห นี น างผี เ สื้ อ เหมือนพวกพ้องของข้ารู้พาที ด้วยเดิมทีปู่ย่าเป็นมานุษย์
เชน บิตุรงค บรรทม ตักษัย อาสัญ อายุข้าห้าร้อยแปดสิบเศษ จึงแจ้งเหตุแถวทางกลางสมุทร
พระโอรส นัดดา ภัสดา ชนก เนตร แม้นจะหนีผีเสื้อด้วยแรงรุทร เห็นไม่สุดสิ้นแดนด้วยแสนไกล
เปนตน และใหนักเรียนเขียนความ แต่โยคีมีมนตร์อยู่ตนหนึ่ง อายุถึงพันเศษถือเพทไสย
หมายของคําราชาศัพทลงในสมุด อยู่เกาะแก้วพิสดารส�าราญใจ กินลูกไม้เผือกมันเป็นพรรณผลา
พวกเรือแตกแขกฝรั่งแลอังกฤษ ขึ้นเป็นศิษย์อยู่ส�านักนั้นหนักหนา
ด้วยโยคีมีมนตร์ดลวิชา ปราบบรรดาภูตพรายไม่กรายไป
แม้นพระองค์ทรงฤทธิ์จะคิดหนี ถึงโยคีเข้าส�านักไม่ตักษัย
นักเรียนควรรู เผื่อส�าเภาเขาซัดพลัดเข้าไป ก็จะได้โดยสารไปบ้านเมือง
พฤกษาหาร มาจากคําวา แต่ทางไกลไม่น้อยถึงร้อยโยชน์ ล้วนเขาโขดคิรีรัตน์ขนัดเนื่อง
พฤกษ + อาหาร เปนการสรางคําสมาส กลางคงคาสารพัดจะขัดเคือง จงทราบเบื้องบงกชบทมาลย์
อยางมีสนธิ แม้นก�าลังดังข้าจะพาหนี เจ็ดราตรีเจียวจึงจะถึงสถาน
อสุรีมีก�าลังดังปลาวาฬ ตามประมาณสามวันจะทันตัว
ถ้าแก้ไขให้นางไปค้างป่า ได้ล่วงหน้าไปเสียบ้างจะยังชั่ว
จะอาสาพาไปมิได้กลัว ชีวิตตัวบรรลัยไม่เสียดาย
แต่พระองค์ทรงคิดให้รอบคอบ ถ้าเห็นชอบท่วงทีจะหนีหาย
จึงโปรดใช้ให้องค์พระลูกชาย ไปหาดทรายหาข้าจะมาฟัง
พระแจ้งความตามค�าเงือกน�้าเล่า ค่อยบรรเทาทุกข์สมอารมณ์หวัง
จึงว่าพี่มีคุณน้องสักครั้ง ให้ได้ดังถ้อยค�าที่ร�าพัน
ซึ่งลูกรักหักหาญให้ท่านโกรธ จงงดโทษท�าคุณอย่าหุนหัน
ช่วยไปปิดปากถ�้าที่ส�าคัญ จวนสายัณห์ยักษ์มาจะว่าเรา
จึงบัญชาว่าเจ้าสินสมุทร ไปช่วยฉุดศิลาใหญ่ขึ้นให้เขา
ขอสมาตาปู่อย่าดูเบา ช่วยอุ้มเอาแกออกไปให้สบาย
กับลูกน้อยค่อยพยุงจูงเงือกน�้า มาปากถ�้าแลเห็นวนชลสาย
หวนร�าลึกตรึกตรองถึงน้องชาย พระฟูมฟายชลนาด้วยอาลัย
แล้วให้ลูกเลิกศิลาเข้ามาปิด เห็นมิดชิดมั่นคงไม่สงสัย
พระกลับมาตาเงือกเสือกลงไป ลงที่ในวังวนชลธาร
ฝ่ายผีเสื้อเมื่อขึ้นจากฝั่งน�้า จะมาถ�้าเที่ยวหาพฤกษาหาร
เก็บลูกไม้ใส่ห่อเห็นพอการ ทั้งเปรี้ยวหวานสารพัดแล้วลัดมา

40

40 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา
• ทําไมพระอภัยมณีตอ งหนีนางผีเสือ้
เห็นหินปิดเปิดประตูคูหากว้าง นิมิตอย่างนางมนุษย์เสนหา สมุ ท ร โดยศึ ก ษาตั้ ง แต ห น า 37
วรพักตร์นารีศรีโสภา ลีลามาเข้าในห้องเห็นสององค์ จนถึงหนา 41
วางลูกไม้ในห่อให้ลูกผัว ท้องของตัวเต็มท้องไม่ต้องประสงค์ ( แนวตอบ แสดงความคิ ด เห็ น ได
พระทรงเลือกลูกมะซางปรางมะยง ประทานองค์โอรสสู้อดออม หลากหลาย เชน นางผีเสื้อสมุทร
ครั้นพลบค�่าท�ารักนางยักษ์ร้าย ประคองกายกอดแอบแนบถนอม ลั ก พาตั ว พระอภั ย มณี ม าอยู  ด  ว ย
ชื่นแต่หน้าอารมณ์นั้นกรมกรอม แต่คิดอ่านหว่านล้อมจะล่อลวง กั ก ขั ง ไว ใ นถํ้ า และพระอภั ย มณี
ไม่เห็นช่องตรองตรึกนึกวิตก ทุกข์ในอกนั้นสักเท่าภูเขาหลวง ก็รูวานางผีเสื้อสมุทรเปนยักษจึง
พระกอดลูกน้อยประทับไว้กับทรวง ให้เหงาง่วงงีบหลับระงับไป อยากหนีไป ทั้งนี้ความแตกตางใน
ดานเชื้อพันธุและสิ่งแวดลอม การ
ฝ่ายผีเสื้อเมื่อจะจากพรากลูกผัว แต่พลิกตัวกลิ้งกลับไม่หลับใหล ดํารงชีวิตก็มีสวนใหพระอภัยมณี
ให้หมกมุ่นขุ่นคล�้าในน�้าใจ จนเสียงไก่แก้วขันสนั่นเนิน ตองการหนีไปจากนางผีเสือ้ สมุทร)
พอม่อยหลับกลับจิตนิมิตฝัน ว่าเทวัญอยู่ที่เกาะนั้นเหาะเหิน
มาสังหารผลาญถ�้าระย�าเยิน แกว่งพะเนินทุบนางแทบวางวาย
แล้วอารักษ์ควักล้วงเอาดวงเนตร ส�าแดงเดชเหาะกลับไปลับหาย
เกร็ดแนะครู
ทั้งกายสั่นพรั่นตัวด้วยกลัวตาย พอฟื้นกายก็พอแจ้งแสงตะวัน
จึงก้มกราบบาทบงสุ์พระทรงศักดิ์ แล้วนางยักษ์เล่าตามเนื้อความฝัน ครูชี้ใหนักเรียนเห็นคุณคาดาน
สังคมและสะทอนวิถีไทยเกี่ยวกับ
ไม่เคยเห็นเป็นวิบัติอัศจรรย์ เชิญทรงธรรม์ช่วยท�านายร้ายหรือดี
ความเชื่อเรื่องความฝนและโชคลาง
พระฟังนางพลางนึกคะนึงหมาย ซึ่งฝันร้ายก็เพราะจิตเราคิดหนี โดยเชื่อวา ความฝนเปนนิมิตที่อาจ
เห็นจะไปได้ตลอดรอดชีวี แต่นางผีเสื้อนั้นจะอันตราย จะบอกเหตุลวงหนาได จากนิทาน
พอได้ช่องลองลวงดูตามเล่ห์ สมคะเนจะได้ไปดังใจหมาย คํากลอนเรื่องพระอภัยมณี
จึงกล่าวแกล้งแสร้งเสเพทุบาย เจ้าฝันร้ายนักน้องต้องต�ารา ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
อันเทวัญนั้นคือมัจจุราช จะหมายมาดเอาชีวิตริษยา
แล้วเสแสร้งแกล้งท�าบีบน�้าตา อนิจจาใจหายเจียวสายใจ
แม้นสิ้นสูญบุญนางในปางนี้ ไม่มีที่พึ่งพาจะอาศัย นักเรียนควรรู
จะกอดศพซบหน้าโศกาลัย ระก�าใจกว่าจะม้วยไปด้วยกัน
โสภา เปนคําที่มีความหมายวา
นึกจะใคร่สะเดาะพระเคราะห์เจ้า พอบรรเทาโทษาที่อาสัญ งาม เชน โสภณ วิไล ไฉไล ลาวัณย
เหมือนงอนง้อขอชีวิตแก่เทวัญ กลัวแต่ขวัญเนตรพี่จะมิท�า พะงา อะเคื้อ สิงคลิ้ง กลองแกลง
นางผีเสื้อเชื่อถือรื้อประณต พระทรงยศจงช่วยชุบอุปถัมภ์ แนงนอย
ตามต�าราสารพัดไม่ขัดค�า ช่วยแนะน�าอนุกูลอย่าสูญใจ

41

คูมือครู 41
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนยกคําประพันธจาก
หนา 42 ที่สะทอนความเชื่อเรื่อง
ลางบอกเหตุ พระฟังค�าส�าราญส�าเร็จคิด จึงว่าผิดสายสมรหาสอนไม่
(แนวตอบ เชน “ตํารานั้นแตครั้งตั้ง ต�ารานั้นแต่ครั้งตั้งเมรุไกร ว่าถ้าใครฝันร้ายจะวายปราณ
เมรุ ไ กร ว า ถ า ใครฝ น รายจะวาย ให้ไปอยู่ผู้เดียวที่ตีนเขา แล้วอดข้าวอดปลากระยาหาร
ปราณ” จากบทประพั น ธที่ย กมา ถ้วนสามคืนสามวันจะบันดาล ให้ส�าราญรอดตายสบายใจ
เปนบทพูดของพระอภัยมณีที่กลาว ฝ่ายว่านางผีเสื้อก็เชื่อถือ คิดว่าซื่อสุจริตพิสมัย
กั บ นางผี เ สื้ อ สมุ ท ร ซึ่ ง นางผี เ สื้ อ จึงตอบว่าถ้ากระนั้นฉันจะไป อยู่เขาใหญ่ในป่าพนาวัน
สมุทรมีความเชื่อในเรื่องความฝน พระโฉมยงจงอยู่ในคูหา เลี้ยงรักษาลูกน้อยคอยหม่อมฉัน
ลางบอกเหตุมาก จนยอมทําตาม จะอดใจให้เหมือนค�าที่ร�าพัน ถ้วนสามวันก็จะมาอย่าอาวรณ์
คําแนะนําของพระอภัยมณี) แล้ววันทาลาองค์พระทรงโฉม ปลอบประโลมลูกแก้วแล้วสั่งสอน
2. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง อย่าแข็งนักรักตัวกลัวบิดร แม้นไม่นอนมารดามาจะตี
ความเชื่อลางบอกเหตุ
• นักเรียนมีประสบการณที่ สินสมุทรสุดแสนสงสารแม่ ด้วยรู้แน่ว่าบิดาจะพาหนี
เกี่ยวของกับเรื่องลางบอกเหตุ ให้ห่วงหลังกังวลด้วยชนนี เจ้าโศกีกราบก้มบังคมคัล
หรือไม อยางไร บิดาดูรู้แจ้งจึงแกล้งห้าม จะวอนตามเขาไปไยในไพรสัณฑ์
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย อยู่เป่าปี่ตีเกราะเสนาะครัน แล้วรับขวัญลูกน้อยกลอยฤทัย
ขึ้นอยูกับประสบการณของ
นางผีเสื้อเมื่อแรกก็แปลกจิต ครั้นทรงฤทธิ์ปลอบลูกชายหายสงสัย
นักเรียน)
จึงรีบออกนอกคูหาแล้วคลาไคล ไปเขาใหญ่ในป่าพนาวัน
ฝ่ายองค์พระอภัยวิไลโฉม ปลอบประโลมลูกชายจะผายผัน
จึงหยิบปี่ที่เป่าเมื่อคราวนั้น เอาผ้าพันผูกดีแล้วลีลา
นักเรียนควรรู ให้ลูกรักผลักแผ่นศิลาล้ม สมอารมณ์รีบออกนอกคูหา
บิดร เปนคําในภาษาไทยมีคําที่มี เลียบลีลาศหาดทรายชายคงคา แลชลาล้วนคลื่นเสียงครื้นโครม
ความหมายวา พอ หลายคํา เชน ชนก
ชนิก บิดา ปตุ บิตุรงค บิตุเรศ เปนตน ฝ่ายเงือกน�้าส�าหรับทะเลลึก ไม่วายนึกถึงองค์พระทรงโฉม
พอแจ่มแจ้งแสงทองผ่องโพยม ปลอบประโลมลูกเมียเข้าเคลียคลอ
จะไปลอยคอยองค์ทรงสวัสดิ์ ให้สมนัดซึ่งสัญญาเธอมาหนอ
แล้วออกจากวนวังไม่รั้งรอ ค่อยเคลื่อนคลายว่ายคลอกันไคลคลา
นักเรียนควรรู พอเห็นองค์ทรงยศโอรสราช อยู่ชายหาดพร้อมกันก็หรรษา
ชนนี คําวา แม มีคําที่มีความหมาย จึงชวนลูกสาวนั้นกับภรรยา คลานขึ้นมาชายฝั่งแล้วบังคม
เหมือนกันหลายคํา เชน ชนนี ชนิกา พงศ์กษัตริย์ทัศนานางเงือกน้อย ดูแช่มช้อยโฉมเฉลาทั้งเผ้าผม
มาตา มาตุ มาตุเรศ มาดา เปนตน ประไพพักตร์ลักษณ์ล�้าล้วนข�าคม ทั้งเนื้อนมนวลเปล่งออกเต่งทรวง

42

42 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
ครูใหนักเรียนแบงกลุมวิเคราะห
บทประพันธหนา 43 โดยวิเคราะห
ขนงเนตรเกศกรอ่อนสะอาด ดังสุรางค์นางนาฏในวังหลวง คุ ณ ค า บทประพั น ธ ด  า นสั ง คมและ
พระเพลินพิศคิดหมายเสียดายดวง แล้วหนักหน่วงนึกที่จะหนีไป วรรณศิ ล ป จากเรื่ อ งพระอภั ย มณี
จึงตรัสว่าตาเงือกมาคอยรับ ช่างสมกับวาจาจะหาไหน ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ พรอม
เราล่อลวงนางผีเสื้อก็เชื่อใจ เดี๋ยวนี้ไปแรมทางกลางอรัญ ยกตัวอยางบทประพันธ
ช่วยเมตตาพาตรงไปส่งที่ พระโยคีมีเวทวิเศษขยัน (แนวตอบ
กลางคงคาปลาร้ายก็หลายพรรณ จะป้องกันภัยพาลประการใด • คุณคาดานสังคม เชน คานิยม
ความมีสัมมาคารวะ คานิยม
เงือกผู้เฒ่าเคารพอภิวาท ขอรองบาทบริรักษ์จนตักษัย ความกตัญูรูคุณและการ
เสด็จขึ้นทรงบ่าจะพาไป พระหน่อไทให้ขี่ภริยา ตอบแทนพระคุณ ดังปรากฏ
อันอ�านาจชาติเชื้อผีเสื้อน�้า ปลาไม่กล�้ากรายกลัวทั่วทิศา ในบทประพันธ
ด้วยกลิ่นอายคล้ายท่านผู้มารดา เมื่อจับข้าข้าจึงอ่อนหย่อนก�าลัง “เงือกผูเฒาเคารพอภิวาท
สัตว์ในน�้าจ�าแพ้แก่ผีเสื้อ เปรียบเหมือนเนื้อเห็นพยัคฆ์ให้ชักหลัง ขอรองบาทบริรักษจนตักษัย
อย่าเกรงภัยในชลที่วนวัง ขึ้นนั่งยังบ่าข้าจะพาไป เสด็จขึ้นทรงบาจะพาไป
พระหนอไทใหขี่ภริยา”
พงศ์กษัตริย์ตรัสชวนสินสมุทร สอนให้บุตรขอสมาอัชฌาสัย • คุณคาดานวรรณศิลป เชน การ
พระทรงบ่าเงือกน�้างามวิไล พระหน่อไทขอสมาขึ้นบ่านาง เลือกใชคําประพันธไดเหมาะสม
เงือกประคองสององค์ลงจากฝั่ง มีก�าลังลีลาศค่อยวาดหาง กับเรื่องเลา การเลนคํา ทําให
ค่อยฟูฟ่องล่องน�้าไปท่ามกลาง ลูกสาวนางเงือกงามตามลีลา เกิดความไพเราะ เปนตน
พระโฉมยงองค์อภัยมณีนาถ เพลินประพาสพิศดูหมู่มัจฉา ดังปรากฏในบทประพันธ
“ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู
เหล่าฉลามล้วนฉลามตามกันมา ค่อยเคลื่อนคลาคล้ายคล้ายในสายชล
ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน
ฉนากอยู่คู่ฉนากไม่จากคู่ ขึ้นฟ่องฟูพ่นฟองละอองฝน ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน
ฝูงพิมพาพาฝูงเข้าแฝงวน บ้างผุดพ่นฟองน�้าบ้างด�าจร บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร”)
กระโห้เรียงเคียงกระโห้ขึ้นโบกหาง ลอยสล้างกลางกระแสแลสลอน
มังกรเกี่ยวเลี้ยวลอดกอดมังกร ประชุมซ่อนแฝงชลขึ้นวนเวียน
ฝูงม้าน�้าท�าท่าเหมือนม้าเผ่น ขึ้นลอยเล่นเลี้ยวลัดฉวัดเฉวียน
ตะเพียนทองท่องน�้าน�าตะเพียน ดาษเดียรดูเพลินจนเกินมา เกร็ดแนะครู
เห็นละเมาะเกาะเขาเขียวชอุ่ม โขดตะคุ่มเคียงเคียงเรียงรุกขา ครูควรเสริมความรูในเรื่องคําพอง
จะเหลียวซ้ายสายสมุทรสุดสายตา จะแลขวาควันคลุ้มกลุ้มโพยม เสียง โดยยกตัวอยาง คําวา “ประพาส”
จะเหลียวดูสุริย์แสงเข้าแฝงเมฆ ให้วิเวกหวาดองค์พระทรงโฉม “ประภาษ” “ประพาต” ซึ่งทั้ง 3 คํา
ฟังส�าเนียงเสียงคลื่นดังครื้นโครม ยิ่งทุกข์โทมนัสในฤทัยทวี อ า นออกเสี ย งเหมื อ นกั น แต ค วาม
หมายตางกัน คือ ประพาส มีความ
43 หมายวา เที่ยวไป ประภาษ มีความ
หมายวา พูด ประพาต มีความหมาย
วา พัด กระพือ

คูมือครู 43
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนทําความเขาใจจาก
บทประพันธหนา 44
• นางผีเสื้อสมุทรมีลักษณะนิสัย พอเย็นย�่าค�่าพลบลงโพล้เพล้ ท้องทะเลมืดมัวทั่ววิถี
อยางไร พระห้ามเงือกสองราด้วยปรานี ประเดี๋ยวนี้ลมกล้าสลาตัน
(แนวตอบ นางผีเสื้อสมุทรมีนิสัย เห็นละเมาะเกาะใหญ่ที่ไหนกว้าง หยุดเสียบ้างให้สบายจึงผายผัน
โหดราย รักสามีมากกวาลูกของ เราหนีนางมาได้ก็ไกลครัน ต่อกลางวันจึงค่อยไปให้ส�าราญ
ตนเอง)
ตาเงือกน�้าซ�้าสอนพระทรงศักดิ์ ยังใกล้นักอย่าประมาทท�าอาจหาญ
นางรู้ความตามมาไม่ช้านาน จะพบพานพากันตายวายชีวัน
อันตาข้าถ้าค�่าเห็นสว่าง ทั้งเดินทางเรี่ยวแรงแข็งขยัน
เกร็ดแนะครู ถ้าแดดกล้าตามัวเป็นหมอกควัน จะผายผันล่วงทางไปกลางคืน
ครูควรอธิบายใหนกั เรียนเห็นความ แล้วว่ายแหวกแบกองค์พงศ์กษัตริย์ พลางสะบัดโบกหางไปกลางคลื่น
สามารถของกวีในการเลือกใชคําเพื่อ สลาตันลั่นพิลึกเสียงครึกครื้น จนดึกดื่นรีบรุดไม่หยุดเลย
สรางสรรค เพื่อสื่อความคิด ความ ครั้นรุ่งเช้าเข้าเกาะเสาะลูกไม้ พระลูกให้บิตุรงค์ทรงเสวย
เข า ใจ ความรู  สึ ก อารมณ ไ ด อ ย า ง เงือกก็หาอาหารกินตามเคย แล้วรีบเลยล่วงไปในคงคา
งดงาม เลือกคําโดยคํานึงถึงเสียง ใช
คําเลียนเสียงธรรมชาติ ดังปรากฏใน ฝ่ายนางผีเสื้อสมุทรที่สุดโง่ ไปนั่งโซเซาอยู่ริมภูผา
ขอความ ขอชีวิตพิษฐานตามต�ารา ต้องอดปลาอดนอนอ่อนก�าลัง
“เสียนํ้าใจในอารมณไมสมประดี ได้สามวันรันทดสลดจิต เจียนชีวิตจะเด็ดดับไม่กลับหลัง
สองมือตีอกตูมฟูมนํ้าตา อุตส่าห์ยืนฝืนใจให้ประทัง ค่อยเซซังซวนทรงไม่ตรงตัว
ลงกลิ้งเกลือกเสือกกายรองไหโร เห็นลูกไม้ในป่าคว้าเข้าปาก ก�าลังอยากยืนขยอกจนกลอกหัว
เสียงโฮโฮดังกองหองคูหา” ที่มืดหน้าตาลายค่อยหายมัว คิดถึงผัวเหยาะย่างมากลางไพร
ครู อ าจจะให นั ก เรี ย นค น คว า บท ถึงประตูคูหาเห็นเปิดอยู่ เอ๊ะอกกูเกิดเข็ญเป็นไฉน
ประพันธจากเรื่องอื่นเพิ่มเติม เชน
เข้าในห้องมองเขม้นไม่เห็นใคร ยิ่งตกใจเพียงจะดิ้นสิ้นชีวี
“เปรี้ยงเปรี้ยงดั่งเสียงฟารอง
กึกกองทั่วทศทิศา” (รามเกียรติ์) แลดูปี่ที่เป่าเล่าก็หาย นางยักษ์ร้ายรู้ว่าพากันหนี
เปนตน เสียน�้าใจในอารมณ์ไม่สมประดี สองมือตีอกตูมฟูมน�้าตา
ลงกลิ้งเกลือกเสือกกายร้องไห้โร่ เสียงโฮโฮดังก้องห้องคูหา
พระรูปหล่อพ่อคุณของเมียอา ควรหรือมาทิ้งขว้างหมองหมางเมีย
ทั้งลูกน้อยกลอยใจไปด้วยเล่า เหมือนควักเอาดวงใจน้องไปเสีย
นักเรียนควรรู น้องร้อนรุ่มกลุ้มใจดังไฟเลีย ทูนหัวเมียช่างไม่ไว้อาลัยเลย
ไพร เปนคําที่มีความหมายวา ปา ถึงแปดปีนี่แล้วไม่แคล้วคลาด เคยร่วมอาสน์อกอุ่นพ่อคุณเอ๋ย
เชน วน วนา พน พนา พนาดร พนาศรี ตั้งแต่นี้น้องจะได้ผู้ใดเชย เหมือนพระเคยคู่เคียงเมื่อเที่ยงคืน
วนาดร พง พงพี ไพรวัน ไพรสณฑ
อรัญ พงไพร เปนตน 44

44 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
จากบทประพันธในหนา 45 นี้
ใหนักเรียนอภิปรายรวมกันวา
เสียแรงรักหนักหนาอุตส่าห์ถนอม สู้อดออมสารพัดไม่ขัดขืน • เหตุใดนางผีเสื้อสมุทร
ช่างกระไรใจจืดไม่ยืดยืน นางสะอื้นอ้าปากจนรากเรอ จึงคลุมคลั่ง
ด้วยแรงน้อยถอยทบสลบหลับ แล้วก็กลับพลิกฟื้นตื่นเผยอ (แนวตอบ เพราะนางผีเสื้อสมุทร
ร้องเรียกลูกผัวเฟือนเหมือนละเมอ ไม่เห็นเธอทอดกายดังวายปราณ จํ า ศี ล อดอาหารหลายวั น ทั้ ง
ระก�าอกหมกมุ่นหุนพิโรธ ก�าลังโกรธกลับแรงก�าแหงหาญ เหนื่อยทั้งหิวโซ พอกลับไปถํ้าก็
ประหลาดใจใครหนอมาก่อการ ช่างคิดอ่านเอาคู่ของกูไป พบวาสามีหนีไป จึงโกรธโมโห
ศิลานี้ที่มนุษย์จะเปิดนั้น สักหมื่นพันก็ไม่อาจจะหวาดไหว คลุมคลั่งดุรายอาละวาดไปทั่ว)
ยักขินีผีสางหรืออย่างไร มาพาไปไม่เกรงข่มเหงกู
พลางร�าพึงถึงจะไปไม่ไกลนัก จะตามหักคอกินเหมือนชิ้นหมู
โมโหหุนผลุนออกนอกประตู เที่ยวตามดูรอยลงในคงคา เกร็ดแนะครู
กระโดดโครมโถมว่ายสายสมุทร อุตลุดด�าด้นเที่ยวค้นหา ครูควรชี้แนะความรูเรื่อง “การ
ไม่เห็นผัวคว้าไปได้แต่ปลา ควักลูกตาสูบเลือดด้วยเดือดดาล สรางคําซอน” คําซอนประกอบดวย
ค่อยมีแรงแผลงฤทธิ์ค�ารนร้อง ตะโกนก้องเรียกหาโยธาหาญ คํามูลตั้งแตสองคําที่มีความหมาย
ฝ่ายปีศาจราชทูตภูตพรายพาล อลหม่านขึ้นมาหาในสาชล เหมือนกันหรือทํานองเดียวกัน
อสุรีผีเสื้อจึงซักถาม มึงอยู่ตามเขตแขวงทุกแห่งหน คําซอนสามารถแบงได 2 ชนิด คือ
เห็นมนุษย์นวลละอองทั้งสองคน มาในวนวังบ้างหรืออย่างไร • คําซอนเพื่อเสียง เชน เกะกะ
เดือดดาล แหงหน เงอะงะ
ฝ่ายพวกผีที่อยู่ทิศทักษิณ ครั้นได้ยินจึงแจ้งแถลงไข เปนตน
เห็นเงือกพามนุษย์รีบรุดไป ข้างทิศใต้แต่เมื่อคืนวานซืนนี้ • คําซอนเพื่อความหมาย เชน
ข้านึกร้ายหมายจะตามก็ขามเด็ก ด้วยลูกเล็กเหลือตัวไม่กลัวผี หนาตา ปากคอ ทองเที่ยว
เห็นจะไปได้ครันจนวันนี้ ด้วยท่วงทีรีบร้อนไม่นอนใจ เปนตน
นางผีเสื้อเหลือโกรธโลดทะลึ่ง โตดังหนึ่งยุคุนธร์ขุนไศล
ลุยทะเลโครมครามออกตามไป สมุทรไทแทบจะล่มถล่มทลาย
เหล่าละเมาะเกาะขวางหนทางยักษ์ ภูเขาหักหินหลุดทรุดสลาย
เสียงครึกครื้นคลื่นคลุ้มขึ้นกลุ้มกาย ผีเสื้อร้ายรีบรุดไม่หยุดยืน
ฝ่ายพระอภัยมณีซึ่งหนียักษ์ กับลูกรักเงือกน�้าไปตามคลื่น
บรรลุทางกลางชลาได้ห้าคืน เห็นทะมื่นมาข้างหลังดังสะเทือน
จึงถามเงือกว่าไฉนจึงไหวหวั่น สลาตันลมใหญ่ก็ไม่เหมือน
ไม่เห็นแสงสุริยันตะวันเดือน เป็นคลื่นเคลื่อนคลอนลั่นสนั่นดัง

45

คูมือครู 45
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ครูสนทนากับนักเรียนโดยถามวา
จากเรื่องคานิยมที่เรียนมาแลวนั้น
• นักเรียนคิดวาบทประพันธ ฝ่ายเงือกน�้าส�าเหนียกแน่ในจิต คือว่าฤทธิ์ยักษ์ร้ายมาภายหลัง
ในหนา 46 มีคานิยมใดบาง ด้วยเดชนางยักษ์ขินีมีก�าลัง ชีวิตครั้งนี้เห็นไม่เป็นตน
ยกตัวอยางบทประพันธประกอบ จึงทูลองค์พระอภัยว่าใช่อื่น เสียงครึกครื้นมารนางมากลางหน
(แนวตอบ ยังมีเรื่องความเชื่อ คงทันกันวันนี้หนีไม่พ้น เห็นสุดจนจ�าม้วยลงด้วยกัน
ในเรื่องเวรกรรม ดังตัวอยาง พระอภัยใจหายไม่วายเหลียว ให้เปล่าเปลี่ยวนัยนาเพียงอาสัญ
บทประพันธ แต่มานะกษัตริย์สู้กัดฟัน อุตส่าห์กลั้นกลืนน�้าตาแล้วพาที
“จะไปไหนไมพนผีเสื้อนํ้า
จะไปไหนไม่พ้นผีเสื้อน�้า วิบากกรรมจะสู้อยู่เป็นผี
วิบากกรรมจะสูอยูเปนผี”)
ท่านส่งเราเข้าที่เกาะละเมาะนี้ แล้วรีบหนีไปในน�้าแต่ล�าพัง
• นักเรียนมีความเชื่อเรื่อง
เวรกรรมหรือไม เพราะเหตุใด แล้วว่าแก่สินสมุทรสุดที่รัก แม้นนางยักษ์จะมารับจงกลับหลัง
(แนวตอบ ไมมีคําตอบผิดถูก ครู อันตัวพ่อขอตายวายชีวัง กันแสงสั่งลูกยาด้วยอาลัย
ควรชี้แนะวา “ในเรื่องความเชื่อ สินสมุทรมิได้กลัวกลับหัวร่อ ลูกไม่ขอจากพระองค์อย่าสงสัย
เรื่องเวรกรรมสงผลอยางไรบาง” แม้มารดามาตามจะห้ามไว้ พระรีบไปก่อนข้าอย่าปรารมภ์
ผู  ที่ เ ชื่ อ เรื่ อ งเวรกรรมจะเป น ผู  ลูกจะค่อยลอยตามแต่ห่างห่าง อยู่ต้นทางจะได้พบประสบสม
เกรงกลั ว ต อ บาป จะทํ า ให ไ ม แล้วเผ่นโผนโจนลงทะเลลม พระปรารมภ์เรียกไว้ก็ไม่ฟัง
เบียดเบียนทําลายผูอื่น สวนผูที่ เที่ยวด�าด้นค้นหามัจฉาใหญ่ พอจับได้ปลาอินทรีขึ้นขี่หลัง
ไมเชื่อเรื่องเวรกรรมอาจจะกอ
เสียงโผงผางกลางน�้าแต่ล�าพัง ค่อยลอยรั้งรอมาในวาริน
ความวุน วาย ทําลาย ทํารายผูอ นื่
จนเกิดการสูญเสียและเดือดรอน ฝ่ายผีเสื้อสมุทรไม่หยุดหย่อน ครั้นลุยอ่อนอุตส่าห์ว่ายสายกระสินธุ์
ได) ก�าลังน้อยถอยถดด้วยอดกิน เจียนจะสิ้นชีวาในสาคร
ได้สามวันทันผัวกับลูกน้อย เห็นเลื่อนลอยลิบลิบยิ่งถีบถอน
กระโจมโจนโผนโผชโลทร คลื่นกระฉ่อนฉาดฉานสะท้านมา
นักเรียนควรรู ฝ่ายเงือกน�้าก�าลังก็สิ้นสุด ครั้นจะหยุดยักษ์ไล่ใกล้นักหนา
พาที เปนคําที่มีความหมายวา พูด เรียกลูกสาวคราวนี้พ่อจะมรณา เจ้าช่วยพาภูวไนยไปให้พ้น
เชน ตรัส ดํารัส ประภาษ วาที วทะ นางเงือกน้อยสร้อยเศร้าเข้ามาผลัด แบกกษัตริย์ว่ายเสือกเสลือกสลน
เป น ต น คํ า แต ล ะคํ า มี ร ะดั บ การใช ก�าลังสาวคราวด่วนด้วยจวนจน ออกกลางชลโบกหางผางผางไป
แตกตางกัน เชน คําวา “ตรัส” ใชกับ สินสมุทรหยุดอยู่ดูนางยักษ์ เห็นผิดพักตร์มารดาน่าสงสัย
พระมหากษัตริย สวนคําวา “พูด” ใช
ด้วยเห็นแม่แต่รูปนิมิตไว้ สงสัยใจออกขวางกลางคงคา
กับคนทั่วไป เปนตน
แล้วร้องถามตามประสาเป็นทารก นี่สัตว์บกหรือสัตว์น�้าด�านักหนา
โจนกระโจมโครมครามตามเรามา จะเล่นข้าท่าไรจะใคร่รู้

46

46 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนอานบทประพันธหนา
47 และรวมกันแสดงความคิดเห็นใน
ฝ่ายนางอสุรีผีเสื้อน�้า ได้ยินค�าโอรสนึกอดสู พฤติกรรมของตัวละคร “สินสมุทร”
เป็นห่วงผัวมัวแลชะแง้ดู ไม่เห็นอยู่ด้วยกันนี่ฉันใด (แนวตอบ สินสมุทรเปนตัวละครที่
หรือจวนตัวกลัวเมียไปเสียก่อน หรือซุ่มซ่อนอยู่เกาะละเมาะไหน ฉลาดมากแมอายุจะยังนอย ในขณะ
จ�าจะปลอบโดยดีแม้นมิไป จึงจะได้จับกุมตะลุมบอน เดียวกันก็เปนตัวละครทีน่ า เห็นใจมาก
จึงตอบโต้โป้ปดโอรสราช มิใช่ชาติยักษ์มารชาญสมร ที่ตองลวงแม เพื่อชวยพอใหหนีได
เจ้าแปลกหรือคือนี่แลมารดร เมื่อนั่งนอนอยู่ในถ�้าไม่จ�าแลง สําเร็จ)
ออกเดินทางอย่างนี้ต้องนิมิต รูปจึงผิดไปกว่าเก่าเจ้าจึงแหนง
ไม่ปิดง�าอ�าพรางอย่าคลางแคลง แม่แกล้งแปลงตัวตามเจ้างามมา
ไหนพ่อเจ้าเล่าแม่ไม่แลเห็น อย่าหลงเล่นจงไปอยู่ในคูหา
แต่จากอกหกวันแล้วขวัญตา ขอมารดาอุ้มหน่อยเถิดกลอยใจ นักเรียนควรรู
ฤทัย คําที่มีความหมายวา ใจ เชน
สินสมุทรฟังเสียงส�าเนียงแน่ รู้ว่าแม่มั่นคงไม่สงสัย
กมล โกมล มน มาน มนัส มานัส มโน
ดูรูปร่างอย่างเปรตสมเพชใจ ช่างกระไรราศีไม่มีงาม
หทัย หฤทัย ฤดี ดวงใจ เปนตน
กระนี้หรือพระบิดามิน่าหนี ทั้งท่วงทีไม่สุภาพท�าหยาบหยาม
จ�าจะบอกหลอกลวงหน่วงเนื้อความ อย่าให้ตามเข้าไปชิดพระบิดา
จึงเสแสร้งแกล้งว่าข้าไม่เชื่อ จะฉีกเนื้อกินเล่นเป็นภักษา
ถ้าเป็นแม่แน่กระนั้นจงกรุณา อย่าตามมามุ่งหมายให้วายปราณ
ด้วยองค์พระชนนีเป็นผีเสื้อ อันชาติเชื้ออยู่ถ�้าล�าละหาน
พระบิดรร้อนรนทนทรมาน เคยอยู่บ้านเมืองมนุษย์สุดสบาย
คิดถึงวงศ์พงศาคณาญาติ จึงสามารถมานี่ไม่หนีหาย
เห็นมารดาซ่อนตัวด้วยกลัวตาย ลูกจึงว่ายน�้าอยู่แต่ผู้เดียว
ประทานโทษโปรดปล่อยไปหน่อยเถิด ที่ละเมิดแม่คุณอย่าฉุนเฉียว
ลูกขอลาฝ่าธุลีสักปีเดียว ไปท่องเที่ยวหาประเทศเขตนคร
แม้นพบอาย่าปู่อยู่เป็นสุข บรรเทาทุกข์ภิญโญสโมสร
จึงจะชวนบิตุเรศเสด็จจร มาสถานมารดรไม่นอนใจ
อสุรีผีเสื้อไม่เชื่อถ้อย นึกว่าน้อยหรือตอแหลมาแก้ไข
แกล้งดับเดือดเงือดงดอดฤทัย ท�าปราศรัยเสียงหวานด้วยมารยา
ถ้าแม้นแม่แต่แรกรู้กระนี้ ชนนีก็จะได้ไม่เที่ยวหา
นี่นึกแหนงแคลงความจึงตามมา ไม่โกรธาทูนหัวอย่ากลัวเลย
จะไปไหนไม่ห้ามจะตามส่ง ไหนทรงฤทธิ์บิตุรงค์เล่าลูกเอ๋ย
แม่ขอพบพูดจาประสาเคย แล้วทรามเชยจึงค่อยพาบิดาไป

47

คูมือครู 47
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนอธิบายการใชโวหาร
อติพจน ในบทประพันธที่วา
“อสุรีผีเสื้อเหลือจะอด สินสมุทรสุดฉลาดไม่อาจบอก ยังซ�้าหลอกลวงแม่พูดแก้ไข
แคนโอรสราวกับไฟไหมมังสา” มิใช่การมารดาจะคลาไคล ขอเชิญไปอยู่ถ�้าให้ส�าราญ
• ทําไมกวีจึงใชโวหารอติพจน ซึ่งจะให้ไปบอกออกมาหา พระบิดาข้าขี้ขลาดไม่อาจหาญ
ในการแตงบทประพันธขางตน พระแม่อย่าทารกรรมให้ร�าคาญ ไม่ช้านานบิตุรงค์คงจะมา
(แนวตอบ เพราะจะทําใหผูอาน อสุรีผีเสื้อเหลือจะอด แค้นโอรสราวกับไฟไหม้มังสา
เขาถึงอารมณของตัวละครไดดี ช่างหลอกหลอนผ่อนผันจ�านรรจา แม้นจะว่าโดยดีเห็นมิฟัง
และจินตภาพไดชัดเจนยิ่งขึ้น) จะจับไว้ให้พาไปหาพ่อ แล้วหักคอเสียให้ตายเมื่อภายหลัง
โกรธตวาดผาดเสียงส�าเนียงดัง น้อยหรือยังโหยกเหยกเด็กเกเร
ช่างว่ากล่าวราวกับกูไม่รู้เท่า มาพูดเอาเปรียบผู้ใหญ่ท�าไพล่เผล
เกร็ดแนะครู เอาบิดรซ่อนไว้ในทะเล ท�าโว้เว้ว่ากล่าวให้ยาวความ
ยิ่งปลอบโยนโอนอ่อนยิ่งหลอนหลอก แม้นไม่บอกโดยดีจะตีถาม
ครู แ นะเรื่ อ งคํ า เสริ ม บทหรื อ คํ า
พลางโผโผนโจนโจมเสียงโครมคราม เข้าไล่ตามคลุกคลีตีไปพลาง
อุทานเสริมบท เปนคําที่มีความหมาย
สินสมุทรผลุดออกนอกรักแร้ แล้วล่อแม่ตบหัตถ์ผัดผางผาง
หรือไมมีความหมายก็ได เพื่อใชเพิ่ม
เติ ม ถ อ ยคํ า หรื อ เสริ ม คํ า ไม ใ ห ฟ  ง แกล้งหลบลี้หนีวนไปต้นทาง หมายให้ห่างพระบิดาได้คลาไคล
แล ว ห ว น เช น ชิ ม เชิ ม ชแรชรา นางผีเสื้อเหลือแค้นแสนสาหัส แต่ฉวยพลัดแพลงคลื่นลื่นไถล
ทะมึนทึนเทิ่ง เปนตน คําอุทานเสริม อุตลุดผุดด�าปล�้ากันไป เหมือนเล่นไล่ตามละเมาะทุกเกาะเกียน
บทนี้ปรากฏอยูในเรื่องพระอภัยมณี ถึงเขาใหญ่ในน�้าง�้าชะเงื้อม พระหลบเลื่อมเลี้ยวลัดฉวัดเฉวียน
ตอนหนีนางผีเสื้อดวยเชนกัน เข้าหาดทรายชายตื้นขึ้นบนเตียน เที่ยววิ่งเวียนวนรอบขอบคิรี
เห็นมารดาล่าลับแล้วยับยั้ง แกล้งถอยหลังลงน�้าแล้วด�าหนี
ไม่พ่นผุดรุดไปในนที ตั้งภักดีตามติดพระบิดร
ฝ่ายผีเสื้อเมื่อลูกลอบลงน�้า พอจวนค�่าคิดว่าวิ่งขึ้นสิงขร
ด้วยใจนางคิดว่าพาบิดร มาซุ่มซ่อนอยู่ที่นี่จึงหนีมา
เที่ยวแลรอบขอบเขาเงาชะงุ้ม ยิ่งมืดคลุ้มก็ยิ่งคลั่งตั้งแต่หา
เสียงคลื่นโครมโถมตะครุบก้อนศิลา จนหน้าตาแตกยับลงสับเงา
แล้วลุกขึ้นยืนชะโงกโยกสิงขร จนโคลงคลอนเคลื่อนดังทั้งภูเขา
ยิ่งมืดค�่าส�าเหนียกร้องเรียกเดา ไม่พ้นเราเร่งมาหาโดยดี
เห็นไม่ขานมารร้ายทลายซ�้า เขาระย�าย่อยยับดังสับสี
ไม่พบเห็นเป็นเพลาเข้าราตรี อสุรีเหลือแค้นแน่นอุรา
ช่างชาติชั่วหัวกระดูกลูกตอแหล ลวงให้แม่หลงกลเที่ยวค้นหา
เออกระนั้นมันจึงทบตลบมา ให้บิดาเลยไปเสียไกลแล้ว

48

48 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
1. ครูใหนักเรียนศึกษาบทประพันธ
จากหนา 49-50 อธิบายลักษณะของ
ด�าริพลางนางมารอ่านพระเวท ให้สองเนตรโชติช่วงดังดวงแก้ว เกาะแกวพิสดารตามบทประพันธ
แลเขม้นเห็นไปไวแววแวว อยู่โน่นแล้วลุยตามโครมครามไป วามีลักษณะอยางไร
หน่อนรินทร์สินสมุทรไม่หยุดยั้ง รีบมาทั้งคืนค�่าในน�้าไหล 2. ครู ข ออาสาสมั ค ร 2-3 คนมานํ า
จนแจ่มแจ้งสุริโยอโณทัย เห็นเงือกใหญ่ยายตายังล้านัก เสนอหนาชั้นเรียน
จึงว่ารีบถีบถอนไปก่อนท่าน โน่นนางมารหมุนไล่มาใกล้หนัก
แล้วว่ายรอคลอไปพอได้พัก พอนางยักษ์ทันโถมกระโจมมา
พระลูกหลบพบเงือกจะเสือกหนี เหยียบขยี้สองแขนแน่นหนักหนา เกร็ดแนะครู
ตะคอกถามตามโมโหที่โกรธา ไยมึงพาผัวพรากมาจากกู ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง
เดี๋ยวนี้องค์พระอภัยอยู่ไหนเล่า ไม่บอกเราหรือกระไรท�าไขหู “คําพอง” ที่มีในบทประพันธ คําพอง
จะควักเอานัยนาออกมาดู ตะคอกขู่คุกถามค�ารามรน มี 2 ชนิด คือ คําพองรูปและคําพอง
ทั้งสองเงือกเสือกกายหมายไม่รอด ถึงม้วยมอดมิให้แจ้งแห่งนุสนธิ์ เสียง
จึงกล่าวแกล้งแสร้งเสด้วยเล่ห์กล เธออยู่บนเขาขวางริมทางมา คําพองรูป คือคําที่มีรูปเหมือนกัน
ข้าจะพาไปจับจงกลับหลัง ให้ได้ดังมุ่งมาดปรารถนา แตอานตางกัน เชน
• คําวา “เพลา”
ไม่เหมือนค�าร�าพันที่สัญญา จงเข่นฆ่าให้เราม้วยไปด้วยกัน
เพลา อานวา เพ-ลา
อสุรีผีเสื้อก็เชื่อถือ ยุดเอามือขวาซ้ายให้ผายผัน มีความหมายวา กาล คราว เวลา
เงือกก็พามาถึงได้ครึ่งวัน แกล้งร�าพันพูดล่อให้ต่อไป เพลา อานวา เพลา
นางผีเสื้อเบื่อหูรู้เท่าถึง จึงว่ามึงตอแหลมาแก้ไข มีความหมายวา แกนสําหรับสอด
มาถึงนี่ชี้โน่นเนื่องกันไป แกล้งจะให้ห่างผัวไม่กลัวกู ในดุมใหลอ หมุน เบาลง พอประมาณ
แล้วนางยักษ์หักขาฉีกสองแขน ไม่หายแค้นเคี้ยวกินสิ้นทั้งคู่ • คําวา “แหน”
แล้วกลับตามข้ามทางท้องสินธู ออกว่ายวู่แหวกน�้าด้วยก�าลัง แหน อานวา แหฺน (ห-นํา)
มีความหมายวา พืชชนิดหนึ่ง
ฝ่ายกุมารสินสมุทรไม่หยุดหย่อน ตามบิดรทันสมอารมณ์หวัง แหน อานวา แหนฺ ( น-สะกด)
จึงเล่าความตามติดไม่ปิดบัง พระทรงฟังลูกชายค่อยคลายใจ มีความหมายวา หวง ลอม รักษา
พอเห็นเงาเขาขวางอยู่กลางน�้า พิลึกล�้ากว่าคิรีที่ไหนไหน เปนตน
จึงถามนางเงือกน้อยกลอยฤทัย เกาะอะไรแก้วตาตรงหน้าเรา คําพองเสียง คือคําที่มีเสียงเหมือน
กันแตความหมายตางกัน เชน
นางเงือกน�้าบอกส�าคัญว่านั่นแล้ว คือเกาะแก้วพิสดารเป็นชานเขา
การ มีความหมายวา งาน,
พระฟังนางสร่างโศกค่อยบรรเทา จึงว่าเราเห็นจะรอดไม่วอดวาย
เรื่องที่ทํา
แล้วพิศดูภูผาศิลาเลื่อม ชะโงกเงื้อมน�้าวนชลสาย กาล มีความหมายวา เวลา
แลลิบลิบหลังคาศาลาราย มีเสาหงส์ธงปลายปลิวระยับ กานต มีความหมายวา เปนที่รัก
49 กานท มีความหมายวา บทกลอน
กาน มีความหมายวา ตัด ฟน
กาญจน มีความหมายวา ทอง
กาฬ มีความหมายวา รอยดํา
เปนตน
นักเรียนควรรู
หักขา นางยักษ “หักขา” เงือก จะผิดจากความเขาใจของคนทั่วไปและความในตอนอื่นที่วา
“พระอภัยภูมินทรกับสินสมุทร ชวยกันฉุดนางเงือกเสือกเขาฝง” เขาใจวาสุนทรภูอาจเผลอไป
แตในตอนหลังพระอินทรตัดหางใหและนางเงือกเดินได แสดงวามีขาจริงๆ
คูมือครู 49
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


นักเรียนอานวรรณคดีเรื่อง
พระอภั ย มณี ตอนพระอภั ย มณี ห นี
นางผีเสือ้ แลวยกตัวอยางบทประพันธ พระยินดีชี้บอกสินสมุทร โน่นแน่กุฎิ์มุงกระเบื้องเหลืองสลับ
จากเรื่ อ งที่ แ สดงให เ ห็ น สภาพ พระหน่อน้อยค่อยเรียงเคียงค�านับ หมายประทับที่เสาหงส์ตรงเข้ามา
สั ง คมความเป น อยู  ข องคนในสมั ย ฝ่ายโยคีที่อยู่บนภูเขา กับคนเหล่าเหลือตายหลายภาษา
รัตนโกสินทรตอนตนที่ผานมุมมอง ทั้งจีนจามพราหมณ์แขกไทยชวา วิลันดาฝรั่งพรั่งพร้อมกัน
โลกทัศนของสุนทรภู เป็นร้อยคนปรนนิบัติอยู่เช้าค�่า บ้างต้มน�้าเก็บลูกไม้มาให้ฉัน
(แนวตอบ “ฝายโยคีที่อยูบนภูเขา
เป็นเหล่าล้อมพร้อมหน้าเวลานั้น บ้างนวดฟั้นปรนนิบัตินั่งพัดวี
กับคนเหลาเหลือตายหลายภาษา
พอบ่ายเบี่ยงเสียงคลื่นดังครื้นครึก อึกทึกมาข้างหน้าคิรีศรี
ทั้งจีนจามพราหมณแขกไทยชวา
วิลันดาฝรั่งพรั่งพรอมกัน”) ครั้นดูลมก็ไม่พัดสงัดดี พระโยคีจับยามตามต�ารา
แล้วบอกศิษย์ซึ่งนั่งอยู่ทั้งหลาย วันนี้ชายมีศักดิ์จักมาหา
ผีเสื้อน�้าท�าฤทธิ์ติดตามมา เสียงชลาเลื่อนลั่นสนั่นดัง
ขยายความเขาใจ จ�าจะไปคอยดูอยู่ที่หาด ช่วยตวาดขู่ขับให้กลับหลัง
ใหนักเรียนรวมกันแสดงความ ฉวยไม้เท้าก้าวย่างจากบัลลังก์ แขกฝรั่งพรั่งพร้อมล้อมลีลา
คิดเห็นเกี่ยวกับมุมมองโลกทัศน ถึงหาดกว้างทางแลกระแสสมุทร เห็นมนุษย์ไรไรไกลหนักหนา
ของสุนทรภูในยุคสมัยรัตนโกสินทร ผีเสื้อน�้าท�าฤทธิ์ติดตามมา เวทนาแลดูอยู่ทุกคน
ตอนตน พระอภัยมณีเห็นผีเสื้อ ความกลัวเหลือว่ายคว้างอยู่กลางหน
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน
ยักษ์กระโจมโถมจับแทบอับจน พอเห็นคนอยู่ที่หาดตวาดครืน
• การใชศลิ ปะของการทูตมากกวา
เข้าถึงที่ผีเสื้อก็ถึงด้วย กระชั้นฉวยผิดเสือกเกลือกเข้าตื้น
การใชความสามารถทางการรบ
ในการแกปญหาความขัดแยง พอโยคีมีคาถาลงมายืน ผีเสื้อตื่นตัวสั่นขยั้นยั้ง
• การที่ชาวตางชาติเขามาใน พระอภัยภูมินทร์กับสินสมุทร ช่วยกันฉุดนางเงือกเสือกเข้าฝั่ง
ชวงนั้น กอใหเกิดความสัมพันธ แล้วกราบกรานโยคีมีก�าลัง แขกฝรั่งพรั่งพร้อมล้อมพูดจา
ระหวางกัน สงผลตอการนํา พระโยคีมีจิตคิดสงสาร จึงว่าท่านหนีตายหมายมาหา
ความรู สรรพวิชาตางๆ มา เราลงมาคอยช่วยด้วยเมตตา แต่กิจจาไม่กระจ่างยังคลางแคลง
ประยุกตใชประโยชนดานตางๆ
และยังไดแสดงออกทางดาน พระอภัยได้สดับสุนทรถาม จึงยกความก่อนเก่าเล่าแถลง
วรรณคดีอีกดวย จะหนีนางกลางสมุทรก็สุดแรง ร�าพันแจ้งความจริงทุกสิ่งไป
• การยกยองสตรีที่มีปญญา แล้ววอนว่าข้ากับโอรสราช จะรองบาทประดิพัทธ์จนตัดษัย
ความรูหรือสตรีที่มีสภาวะผูนํา ขอพระองค์ทรงธรรม์ช่วยกันภัย แต่พอได้หยุดหย่อนผ่อนสบาย
ซึ่งเปนความคิดที่แตกตางจาก
พระโยคีมีญาณว่าหลานรัก จงส�านักอยู่ให้สมอารมณ์หมาย
บุคคลในยุคนั้น)
อันยักษีผีสางสมุทรพราย มาถูกทรายชายหาดก็ขาดใจ
50
นักเรียนควรรู
นวดฟน เปนคําซอนเกิดจากการ
สรางคํา โดยการนําคําทีม่ คี วามหมาย
เหมือนกัน มารวมเพือ่ เนนความหมาย
ใหมีนํ้าหนักชัดเจนยิ่งขึ้น เชน พัดวี
ดูแล ขุนมัว เปนตน

50 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนยกตัวอยางคําอุทาน
เสริมบทจากวรรณคดีเรื่อง
เราลงเลขเสกท�าไว้ส�าเร็จ ดังเขื่อนเพชรภูตปีศาจไม่อาจใกล้ พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณี
มันอยู่แต่ห่างห่างช่างเป็นไร ท�าไม่ได้นัดดาเจ้าอย่ากลัว หนีนางผีเสื้อ มีคําใดบาง
ฝ่ายผีเสื้อเหลือโกรธโลดทะลึ่ง เสียงโผงผึงเผ่นโผนตะโกนผัว (แนวตอบ เชน คําวา เย็นยํ่า
เหตุไฉนไปนั่งก�าบังตัว เชิญทูนหัวเยี่ยมหน้ามาหาน้อง
เผนโผน)
นิจจาเอ๋ยเคยอยู่เป็นคู่ชื่น ทุกวันคืนค�่าเช้าไม่เศร้าหมอง
จนมีลูกปลูกเลี้ยงเคียงประคอง มิให้ข้องเคืองขัดพระอัชฌา ขยายความเขาใจ
อยู่ดีดีหนีเมียมาเสียได้ เสียน�้าใจน้องรักเป็นนักหนา นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น
จึงอุตส่าห์พยายามสู้ตามมา ขอเป็นข้าบาทบงสุ์พระทรงธรรม์ เกี่ ย วกั บ คํ า อุ ท านเสริ ม บทที่ ป รากฏ
พระเสด็จไปไหนจะไปด้วย เป็นเพื่อนม้วยภัสดาจนอาสัญ ในบทประพันธเรื่องพระอภัยมณี
ประทานโทษโปรดเลี้ยงแต่เพียงนั้น อย่าบากบั่นความรักน้องนักเลย • คําอุทานเสริมบทมีความสําคัญ
พระอภัยใจอ่อนถอนสะอื้น อุตส่าห์ฝืนพักตร์ว่านิจจาเอ๋ย
ตอคําประพันธอยางไรบาง
(แนวตอบ เพื่อลดความหวนของ
แม่ผีเสื้อเมื่อไม่เห็นในใจเลย พี่ไม่เคยอยู่ในถ�้าให้ร�าคาญ
คําและเพื่อใหสัมผัสคลองจอง
คิดถึงน้องสองชนกที่ปกเกล้า จะสร้อยเศร้าโศกาน่าสงสาร กัน)
ด้วยพลัดพรากจากมาเป็นช้านาน ไม่แจ้งการว่าข้างหลังเป็นอย่างไร
จึงจ�าร้างห่างห้องให้น้องโกรธ จงงดโทษพี่ยาอัชฌาสัย
แม้นไปได้ก็จะพาแก้วตาไป นี่จนใจเสียด้วยนางต่างตระกูล
พี่มนุษย์สุดสวาทเป็นชาติยักษ์ จงคิดหักความสวาทให้ขาดสูญ นักเรียนควรรู
กลับไปอยู่คูหาอย่าอาดูร จงเพิ่มพูนภาวนารักษาธรรม์ บากบั่น ในบทนี้หมายความวา
อย่าฆ่าสัตว์ตัดชีวิตพิษฐาน หมายวิมานเมืองแมนแดนสวรรค์ “ตัดรอน”
จะเกิดไหนขอให้พบประสบกัน อย่าโศกศัลย์แคล้วคลาดเหมือนชาตินี้
พี่ขอบุตรสุดใจเอาไปด้วย เป็นเพื่อนม้วยเหมือนสุดามารศรี
ขอลาแก้วแววตาไปธานี อย่าราคีขุ่นข้องให้หมองมัว
ผีเสื้อน�้าซ�้าวอนด้วยอ่อนหวาน ไม่โปรดปรานอนุกูลเลยทูนหัว
ถ้าทิ้งไว้ไหนน้องจะครองตัว ทั้งจากผัวจากบุตรสุดอาลัย
มิขออยู่สู้ตายวายชีวิต ไม่เห็นจิตน้องรักจะตักษัย
เชิญพระองค์ลงมาชลาลัย เมียจะให้มนตร์เวทวิเศษครัน
แล้วร้องเรียกลูกยามาด้วยพ่อ แม่จะขออ�าลาเจ้าอาสัญ
อย่าสงสัยใจจริงทุกสิ่งอัน ไม่ร�าพันพูดลวงเจ้าดวงใจ

51

คูมือครู 51
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


นักเรียนอานเรื่องพระอภัยมณี
ทบทวนความรูโดยการตอบคําถาม
แลวบันทึกความรูลงสมุด สินสมุทรสุดแสนสงสารแม่ ช�าเลืองแลดูหน้าน�้าตาไหล
• นักเรียนนําขอคิดจากเรื่อง จึงกราบกรานมารดาแล้วว่าไป จะเข้าใกล้ทูนหัวลูกกลัวนัก
พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณี เมื่อวานนี้ตีข้าน้อยไปหรือ ระบมมือเหมือนกระดูกลูกจะหัก
หนีนางผีเสื้อ ไปประยุกตใชใน ซึ่งรักลูกลูกก็รู้อยู่ว่ารัก มิใช่จักลืมคุณกรุณา
ชีวิตจริงไดอยางไร ถึงตัวไปใจลูกยังผูกคิด พอปลดปลิดเรื่องธุระจะมาหา
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน อย่ากริ้วโกรธโปรดปรานเถิดมารดา ไปไสยาอยู่ในถ�้าให้ส�าราญ
ความมีนํ้าใจและการเสียสละเปน
สิ่งที่ควรกระทํา คนในครอบครัว ฝ่ายโยคีมียศพจนารถ ให้โอวาทนางยักษ์ไม่หักหาญ
เดียวกันจะอยูกันไดดีมีความสุข จงตัดบ่วงห่วงใยอาลัยลาน อย่าปองผลาญลูกผัวของตัวเลย
ทุกคนตองมีความเขาใจกัน ชวย ทั้งนี้เพราะเคราะห์กรรมท�าให้วุ่น จึงสิ้นบุญวาสนาสีกาเอ๋ย
เหลือซึ่งกันและกัน เปนตน) เห็นมิได้ไปอยู่เป็นคู่เชย ด้วยสองเคยปลูกเลี้ยงกันเพียงนั้น
อย่าครวญคิดติดตามด้วยความโกรธ จะเป็นโทษกับสีกาเมื่ออาสัญ
จงยับยั้งฟังค�ารูปร�าพัน ไปสวรรค์นฤพานส�าราญใจ
เกร็ดแนะครู นางผีเสื้อเหลือโกรธพิโรธร้อง มาตั้งซ่องศีลจะมีอยู่ที่ไหน
ครูสอดแทรกความรูเรื่องมารยาท ช่างเฉโกโยคีหนีเขาใช้ ไม่อยู่ในศีลสัตย์มาตัดรอน
ไทย จากขอความในบทประพันธ เขาว่ากันผัวเมียกับแม่ลูก ยื่นจมูกเข้ามาบ้างช่วยสั่งสอน
“สินสมุทรสุดแสนสงสารแม แม้นคบคู่กูไว้มิให้นอน จะราญรอนรบเร้าเฝ้าตอแย
ชําเลืองแลดูหนานํ้าตาไหล แล้วชี้หน้าด่าอึงหึงนางเงือก ท�าซบเสือกสอพลออีตอแหล
จึงกราบกรานมารดาแลววาไป เห็นผัวรักยักคอท�าท้อแท้ พ่อกับแม่มึงเข้าไปอยู่ในท้อง
จะเขาใกลทูนหัวลูกกลัวนัก” ท�าปั้นเจ๋อเย่อหยิ่งมาชิงผัว ระวังตัวมึงให้ดีอีจองหอง
เนนใหเห็นถึงความสําคัญของการ พลางเข่นเขี้ยวเคี้ยวกรามค�ารามร้อง เสียงกึกก้องโกลาลูกตาโพลง
มีสัมมาคารวะ การไหวบุคคลระดับ
ตางๆ โดยใหศึกษาคนควาจากวิชา พระโยคีชี้หน้าว่าอุเหม่ ยังโว้เว้วุ่นวายอีตายโหง
สั ง คมศึ ก ษา ร ว มกั น สาธิ ต การไหว เพราะหวงผัวมัวเมาเฝ้าตะโกรง ว่ากูโกงมึงก็ตกนรกเอง
ลักษณะตางๆ หนาชัน้ เรียน ครูแนะนํา อียักษาตาโตโมโหมาก รูปก็กากปากก็เปราะไม่เหมาะเหม็ง
ในสวนที่ตองปรับใหถกู ตองเหมาะสม นมสองข้างอย่างกระโปรงดูโตงเตง ผัวของเอ็งเขาระอาไม่น่าชม
จึงหนีมาอาศัยกูให้อยู่ มิใช่กูรู้เห็นเท่าเส้นผม
มาตรีชาว่ากูผิดในกิจกรม จะให้สมน�้าหน้าสาแก่ใจ
B
B พื้นฐานอาชีพ แล้วเสกทรายปรายขว้างมากลางคลื่น ดังลูกปืนยิงยักษ์ให้ตักษัย
ผีเสื้อกลัวตัวสั่นเพียงบรรลัย ก็หลบไปตามวนชลธาร
ครูควรชี้แนะการบูรณาการ
เชื่อมโยงความรูและแนวคิดระหวาง 52
วรรณคดีกับศิลปะวา การเขาใจใน
วรรณคดีอยางลึกซึง้ เปนแรงบันดาลใจ
ใหเกิดจินตนาการที่นําไปผสมผสาน
กับความสามารถทางศิลปะแขนงตางๆ แลวเกิดผลงานที่สรางสรรคได เชน งานจิตรกรรมการวาดรูปตัวละคร
ฉากเหตุการณตางๆ ในวรรณคดีไทย ซึ่งจะเห็นไดจาก จักรพันธุ โปษยกฤตศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป
(จิตรกรรม) ที่สรางผลงานไดวิจิตรงดงามบงบอกถึงพื้นฐานความรูที่แตกฉานดานวรรณกรรม พระพุทธศาสนา
ประวัติศาสตร ศิลปะไทยและสากล

52 คูมือครู
สํารวจคนหา
กระตุนความสนใจ Explore อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explain Expand Evaluate

สํารวจคนหา
ใหนักเรียนสรางเกม
ปริศนาอักษรไขว หรือเกมอื่นๆ
๖ คÓÈัพท์ ตามความสนใจของนักเรียน โดยใช
คําศัพทในบทเรียน
ค�ำศัพท์ ควำมหมำย
กระโจมโจน กระโจม หมายถึง โถมเข้าไป โจนหรือกระโจน หมายถึง กระโดดพุ่งเข้าไป
โดยเร็ว กระโจมโจน ใช้ค�าที่มีความหมายคล้ายกันมาซ้อนกัน หมายความว่า
โถมพุ่งเข้าใส่เต็มก�าลัง
นักเรียนควรรู
กุมภา เปนศัพทคํากลอนดังบท
กระโห้ ชื่อปลาน�้าจืดขนาดใหญ่ หัวโต เกล็ดใหญ่ ล�าตัว
ประพันธ “ตัวกูหลงอยูดวยกุมภา
ด้านหลังสีเทาด�า หางและครีบสีแดงคล�้าหรือสีส้ม
จะเสื่อมเสียวิชาที่เรียนรู” จากเรื่อง
มักพบในแม่น�้าขนาดใหญ่
ปลากระโห้ ไกรทอง

กริ่งใจ นึกแคลงใจ นึกระแวง นึกสงสัย

กลั้น ในที่นี้หมายถึง กลั้นลมหายใจ

กำก สิง่ ทีเ่ หลือเมือ่ คัน้ หรือคัดเอาสิง่ ทีด่ อี อกไปแล้ว รูปก็กาก มีความหมายว่า รูปร่าง
ไม่เหลือสิ่งที่ดีเอาไว้เลย

กิจกรม การงานรวบรวมไพร่พลเพื่อประโยชน์ของบ้านเมือง เช่น การระดมพลในเวลา


เกิดศึกสงครามจากเรือ่ ง นางผีเสือ้ สมุทรกล่าวหาพระฤๅษีแห่งเกาะแก้วพิสดาร
ว่าท�าผิดกิจกรม มาซ่องสุมผู้คน คือ มั่วสุมชุมนุมกันลับๆ เพื่อท�าสิ่งชั่วร้าย

กิตติศัพท์ เสียงเล่าลือ เสียงสรรเสริญ เสียงยกย่อง

กุมภำ จระเข้

เกำะเกียน เกาะ หมายถึง ส่วนของแผ่นดินทีม่ นี า�้ ล้อมรอบ เกียน เป็นภาษาเขมร หมายถึง


อ่าว ทะเล เกาะเกียน หมายถึง แผ่นดินที่มีอ่าว มีน�้าทะเลล้อมรอบ

ขุนไศล ภูเขาใหญ่

คล้ำยคล้ำย เคลื่อนไหวไปเรื่อย

เจ้ำฟำในธำษตรี พระเจ้าแผ่นดิน ในที่นี้หมายถึง พระอภัยมณี ธาษตรี มาจากธาตรี หมายถึง


แผ่นดิน

53

คูมือครู 53
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ครูเลือกคําศัพทจากเกมมาเขียนไว
บนกระดานใหนักเรียนยกมือแขงขัน
ค�ำศัพท์ ควำมหมำย
กันอธิบายความหมายของคําศัพทนนั้
และจดบันทึกคําศัพททนี่ กั เรียนสนใจ เจียระบำด ผ้าคาดเอวชนิดหนึ่ง มีชายห้อยที่หน้าขา
คนละ 10 คํา

เกร็ดแนะครู เจียระบาด

ครูทบทวนความรูเกี่ยวกับคําศัพท ฉนำก ชือ่ ปลาทะเลขนาดใหญ่ เป็นปลากระดูกอ่อน มีเหงือก ๕ คูอ่ ยูใ่ ต้สว่ นหัว บริเวณ
โดยการตั้งคําถาม เชน ปลายสุดของหัวมีแผ่นกระดูกยื่นยาวมาก
• คําวา “ตักษัย” “บรรลัย” เฉโก คนฉลาดแกมโกง
มีความหมายวา “ตาย” ชีวัง เป็นค�าแผลงมาจากค�าว่า ชีวา เพื่อให้สัมผัสกับค�าว่า หลัง
และมีคําอะไรอีกบาง ซึก แทรกอยู่ ซึ้งเข้าไป
• คําทีเ่ ปนคําราชาศัพทมคี าํ ใดบาง
ตรีชำ ติเตียน ต�าหนิ กล่าวโทษ
ใหนักเรียนคนควาและบันทึก
ลงสมุด ตะโกรง ทะเยอทะยาน อยากได้ ตะกละตะกลาม
ตัดษัย มาจากค�าว่า ตักษัย หมายถึง ตาย เป็นการแปลงค�าให้สมั ผัสกับค�าว่า ประดิพทั ธ์
ถือเพทไสย มีความเชี่ยวชาญในเวทมนตร์คาถาอาคม ใช้เวทมนตร์คาถาท�าร้ายผู้อื่นหรือ
ป้องกันตนเอง
ทะมื่น ค�าเดียวกับค�าว่า ทะมึน หมายถึง สูง ใหญ่ ด�ามืดน่ากลัว มักใช้เป็นค�าซ้อนว่า
ด�าทะมึน
ทัณฑ์ การลงโทษ
ท�ำไขหู ท�าเป็นไม่ได้ยิน
ท�ำรัก แสร้งท�าทีว่ารักมาก
นำงมำรจะนำนมำ กว่านางยักษ์จะกลับมาก็คงอีกนาน
บรรลัย ตาย
บัลลังก์ แท่นหินที่ใช้เป็นที่นั่ง
บำกบั่น ในที่นี้หมายถึง ตัดรอน ในความว่า “ประทานโทษโปรดเลี้ยงแต่เพียงนั้น
อย่าบากบั่นความรักน้องนักเลย”
บ่ำยเบี่ยง หลีกเลี่ยง แต่ในที่นี้หมายถึง เวลาบ่ายคล้อย
ปรำนี เอ็นดู สงสาร

54

54 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
ให นั ก เรี ย นสั ง เกตคํ า ศั พ ท ใ นบท
เรี ย นว า คํ า ศั พ ท ใ นบทเรี ย นมี ก าร
ค�ำศัพท์ ควำมหมำย
แปลงเสียงหรือไม อยางไร
ปรำย ซัด หว่านให้กระจายออกไป (แนวตอบ มีการแปลงเสียง เชน ยืด
ปล�้ำ ต่อสู้ด้วยการกอดรัดฟัดเหวี่ยง คําไทยที่เปนเสียงสั้นใหเปนเสียงยาว
ปำกเปรำะ พูดว่าคนโดยไม่มีการไตร่ตรอง เพื่อสัมผัส เปนตนวา มนุษย เปน
มานุษย มรณะ เปน มรณา เปลี่ยน
ผนิด มาจากค�าว่า ผนึก คือ ปิดให้แน่น
มาตราตัวสะกดเพื่อสัมผัส เปนตนวา
พระธ�ำมรงค์ แหวน ธ�ามรงค์ทรงมาค่าบุรี หมายความว่า แหวนที่พระอภัยมณีสวมมามีค่า ตักษัย เปน ตัดษัย)
เทียบเท่าเมืองเมืองหนึ่ง
พะเนิน ค้อนขนาดใหญ่ใช้ตีเหล็กหรือทุบหิน
พิมพำ ชือ่ ปลาฉลามขนาดใหญ่ชนิดหนึง่ มีฟันใหญ่เป็นรูปสามเหลีย่ ม ขอบจักเป็นฟัน
เลื่อย พื้นล�าตัวเป็นครีบสีน�้าตาลหม่น ดุร้ายมาก เรียกเสือทะเลหรือฉลามเสือ เกร็ดแนะครู
พิษฐำน มาจากค�าว่า อธิษฐาน คือขอร้องอ้อนวอนต่อสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ ์ ขอให้ชว่ ยดลบันดาล ครูเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับคําศัพท
ให้ประสบผลส�าเร็จสมดังปรารถนา ในบทเรียน คําวา ภักษาหาร ชลาลัย
เพลงศำสตรำ ลีลาท่าทางการต่อสู้ด้วยอาวุธต่างๆ ที่เกิดจากการสรางคําสมาสอยางมี
ภักษำหำร อาหารที่กินเป็นประจ�า สนธิ โดยครู ย กคํ า อื่ น ๆ ที่ มี วิ ธีก าร
สร า งคํ า อย า งเดี ย วกั น มาประกอบ
ภูเขำหลวง ภูเขาใหญ่
ความเขาใจ เชน
มหำชลำลัย มหาสมุทรอันกว้างใหญ่ ธน+อาคาร เปน ธนาคาร
มะยง มะปรางพันธุ์หนึ่ง รสเปรี้ยวๆ หวานๆ หรือเรียกว่า มะยงชิด วิทย+อาลัย เปน วิทยาลัย
มะซำง ผลไม้รสหวานเย็น มียางมาก คช+อินทร เปน คเชนทร
ราช+อุปโภค เปน ราชูปโภค
มังกร ชื่อปลาไหลทะเลชนิดหนึ่ง ล�าตัวยาวทรงกระบอก ส่วนหัวแบน ปากกว้าง
เปนตน
มำนุษย์ ยืดพยางค์จากค�าว่า มนุษย์
ยักคอท�ำท้อแท้ ท�าท่าออดอ้อน โดยการเอียงคอซบอกท�าท่าเหมือนไม่มีแรง
ยุคุนธร์ หรือยุคนธร เป็นชื่อเทือกเขาที่ล้อมรอบเขาพระสุเมรุอันเป็นที่ประทับของ
พระศิวะ ซึ่งมีทั้งหมด ๗ เทือกเขา เรียกว่า เขาสัตบริภัณฑ์ เทือกเขาทั้งเจ็ด
ได้แก่ เขายุคุนธรหรือยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทัสนะ เนมินธร วินตกะ อัสกัณ
เขายุคุนธรเป็นเขาที่อยู่ใกล้เขาพระสุเมรุที่สุด มีความสูงครึ่งหนึ่งของเขา
พระสุเมรุ ซึ่งสูงถึง ๘๔,๐๐๐ โยชน์
ระลอก คลื่น
รุทร น่ากลัวยิ่ง

55

คูมือครู 55
ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand Evaluate
Engage Explore Explain

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ครูและนักเรียนรวมกันคัดเลือก
คําศัพทนารู และเขียนคําศัพท
ค�ำศัพท์ ควำมหมำย
ลงกระดาษจัดทําเปนสลาก
2. ครูเรียกชื่อนักเรียนใหจับสลาก ละเมำะ พุ่มไม้
คําศัพท และอธิบายความหมาย ลักษณำ มาจากค�าว่า ลักษณะ ยืดเสียงเพื่อการสัมผัสค�า
หลังจากนัน้ นักเรียนทีจ่ บั สลากแลว ลุยอ่อน ลุยน�้าจนอ่อนแรง
เรียกชื่อเพื่อนคนตอไปจนครบ ลูกไม้ ผลไม้ ปัจจุบันนิยมใช้เป็นค�าซ้อนว่า ส้มสูกลูกไม้
รวบรวมคําศัพทจดลงสมุด โดย
เขียนเรียงอักษรตามพจนานุกรม เลิก ยกหรือเปิดสิ่งที่ปูลาด คลุม หรือปิดอยู่
3. ใหนักเรียนนําคําศัพทมาแตงเรื่อง โลมำ สัตว์ทะเลชนิดหนึง่ ทีเ่ ลีย้ งลูกด้วยนม หายใจด้วยปอด รูปร่างเหมือนปลา บางที
เรียกว่า ปลาโลมา สามารถสอนให้แสดงตามค�าสั่งได้หลายอย่าง
ตามความสนใจ กําหนดความยาว
10 บรรทัด โว้เว้ พูดจาเหลวไหล
สมุทรไท ท้องทะเลอันกว้างใหญ่

ตรวจสอบผล สลำตัน ลมพายุ


สำชล มาจากค�าว่า สายชล หมายถึง สายน�้า
นักเรียนแตงเรื่องจากคําศัพทที่
รวบรวมได ส�ำนัก พักอยู่ ที่พัก
หนีเขำใช้ บวชเพราะต้องการหนีราชการ
หุบห้อง ถ�้า
เห่ช้ำ การเห่กล่อมลูกให้นอนด้วยท�านองเพลงช้าๆ
นักเรียนควรรู
แห่งนุสนธิ์ ที่ติดต่อ การติดต่อ
สาชล เปนการสรางคําศัพทจากการ
ใช ห ลั ก ภาษาบาลี - สั น สกฤตโดยวิ ธี โหยกเหยก ไม่อยู่กับร่องกับรอย ไม่แน่นอน
สมาสแบบสหบุพบท (ส + ชล) สาชล อนุกูล ช่วยเหลือ
ตามหลักประกอบคําแปลวา “มีนํ้า” อย่ำดูเบำ อย่าดูถูก
แตแปลเอาความก็จะหมายถึง ทะเล อย่ำสูญใจ อย่าแล้งน�้าใจ
แมนํ้า อสุรีผีเสื้อน�้ำ อสุรี หมายถึง ยักษ์ ผีเสื้อ บางถิ่นว่า ผีเสื้อ คือผู้ที่ล่วงลับไปแล้วมีถิ่นที่อยู่
ในน�า้ บางทีเรียกว่า นางผีเสือ้ ยักษ์ นางอาศัยอยูใ่ นถ�า้ บนเกาะกลางน�า้ เป็นใหญ่
ในบรรดาภูตผีปีศาจทั้งปวง รูปร่างโตเท่าช้าง กินอาหารคือสัตว์น�้านานาชนิด
สามารถแปลงกายเป็นมนุษย์ได้ เมื่อตายแล้วเผาจะกลับฟื้นคืนชีวิตได้อีก ถ้า
ไม่เผาจะกลายเป็นหิน
อัชฌำสัย หรืออัชฌาศัย หมายถึง มีกิริยาดี นิสัยใจคอดี รู้จักผ่อนปรน
อัปลักษณ์ ลักษณะไม่ดี ไม่สวย น่าเกลียด

56

56 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate

กระตุนความสนใจ
ครูกระตุนนักเรียนโดยใชคําถาม
• นักเรียนคิดวาตัวละครตัวใด
๗ บทวิเคราะห์ นาเห็นใจที่สุด
๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา • ครูถามนักเรียนวาบทบาทของ
นิทานค�ากลอนเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ นอกจากจะเป็นตอนที่ผู้อ่าน ตัวละครสามารถพบในชีวิตจริง
ได้รบั ความสนุกสนานเพลิดเพลินจากรสวรรณคดี การใช้ถอ้ ยค�าภาษาในการบรรยายทัง้ รสของภาพและ ไดหรือไม
รสของเสียงแล้ว บทประพันธ์ยังได้แฝงคุณค่าด้านเนื้อหาให้ผู้อ่านได้พิจารณาใคร่ครวญอย่างมีเหตุผล
วิเคราะห์แก่นของเนื้อหาเป็นเรื่องค�าสอนทางพุทธศาสนา การเห็นผิดเป็นชอบ การท�าอะไร สํารวจคนหา
ตามใจตนไม่ค�านึงถึงผลที่จะตามมา กวีสื่อแนวคิดนี้ผ่านตัวละคร คือ นางผีเสื้อสมุทร ซึ่งเป็นตัวอย่าง
ครูใหนักเรียนหาวาเหตุการณตอน
ของผู้ที่ถูกกิเลสตัณหาครอบง�า มีแต่ความโหดร้าย ความลุ่มหลง มัวเมาในความรัก ความหึงหวง ใดในเรื่องที่มีความโดดเดน
ไม่ได้สติ จนท�าให้ผู้อื่นเดือดร้อนเสียหายไปด้วย เห็นได้จากที่พ่อแม่เงือกสละชีวติ ของตนเพื่อช่วยเหลือ • ดานเนื้อหา
พระอภัยมณี ท�าให้เงือกสาวสูญเสียครอบครัว สินสมุทรผู้เป็นลูกจ�าต้องหลอกล่อแม่ทั้งที่กลัว ส่วน • ดานวรรณศิลป
พระฤๅษีที่พยายามชี้แนะทางที่ถูกกลับถูกด่าให้เสียหาย ดังบทประพันธ์ที่ว่า • ดานสังคมและสะทอนวิถีไทย

นางผีเสื้อเหลือโกรธพิโรธร้อง มาตั้งซ่องศีลจะมีอยู่ที่ไหน
ช่างเฉโกโยคีหนีเขาใช้ ไม่อยู่ในศีลสัตย์มาตัดรอน อธิบายความรู
เขาว่ากันผัวเมียกับแม่ลูก ยื่นจมูกเข้ามาบ้างช่วยสั่งสอน ครูใหนักเรียนถอดคําประพันธ
แม้นคบคู่กูไว้มิให้นอน จะราญรอนรบเร้าเฝ้าตอแย บททีน่ กั เรียนประทับใจทีส่ ดุ พรอมทัง้
อธิ บ ายบทประพั น ธ ที่ มี คุ ณ ค า ด า น
จะเห็นว่านางผีเสื้อสมุทรปล่อยให้อารมณ์ความรู้สึกอยู่เหนือเหตุผล ระรานผู้ที่ปรารถนาดี ตางๆ ดังตอไปนี้
อย่างพระฤๅษีและว่าร้ายให้เงือกสาวเสียหาย ทั้งนี้เพราะนางผีเสื้อสมุทรไม่ยอมรับความจริงว่า • ดานเนื้อหา
พระอภัยมณีไม่ได้รกั ตน และความแตกต่างของทัง้ สองท�าให้พระอภัยมณีไม่มคี วามสุข แทนทีน่ างผีเสือ้ - • ดานวรรณศิลป
สมุทรจะยอมรับกลับดันทุรัง เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของตน เมื่อไม่สมหวังก็เป็นทุกข์ กวีได้ชี้ • ดานสังคมและสะทอนวิถีไทย
ให้เห็นความทุกข์ทรมานเพราะไม่รู้จักปล่อยวาง ลุ่มหลงมัวเมาในกิเลสตัณหา
ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อนี้ ผู้ประพันธ์ใช้ “การหลอกลวง” ในการด�าเนินเรื่องเริ่มตั้งแต่
ตอนที่พระอภัยมณีทรงวางแผนหนีนางผีเสื้อสมุทร ก็ต้องลวงให้นางไปจ�าศีล เมื่อนางผีเสื้อสมุทรตาม
มาพบสินสมุทร สินสมุทรก็พยายามถ่วงเวลาให้พระอภัยมณีทรงหนี ทั้งที่ตนก็ตกใจกลัวที่เห็นแม่
แปลงกายเป็นยักษ์ นางผีเสื้อสมุทรรู้ว่าลูกตกใจกลัวจึงแก้ต่างไปว่า

จึงตอบโต้โป้ปดโอรสราช มิใช่ชาติยักษ์มารชาญสมร
เจ้าแปลกหรือคือนี่แลมารดร เมื่อนั่งนอนอยู่ในถ�้าไม่จ�าแลง

57

คูมือครู 57
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนอธิบายกลวิธีการ
ประพันธ เรื่องพระอภัยมณี
ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ แม้สินสมุทรจะยังเล็ก แต่ในยามวิกฤตก็เอาตัวรอดโดยการหลอกแม่ว่าจะไปเยี่ยมปู่ย่าและอา
• บทประพันธนี้มีความสมจริง เที่ยวบ้านเมืองพ่อสักปีแล้วจะกลับมา นางผีเสื้อสมุทรไม่เชื่อแต่ก็ตอบโต้ด้วย “การหลอก” เช่นกัน
เปนเหตุเปนผลหรือไมอยางไร เพราะนางคิดว่าหากพูดจาหว่านล้อมดีๆ สินสมุทรจะยอมบอกว่าพระอภัยมณีอยู่ที่ไหน
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย ครู
อสุรีผีเสื้อไม่เชื่อถ้อย นึกว่าน้อยหรือตอแหลมาแก้ไข
ควรชี้แนะเพิ่มเติมวามีความสมจริง
ในประเด็นตางๆ เชน ผิดหวังใน แกล้งดับเดือดเงือดงดอดฤทัย ท�าปราศรัยเสียงหวานด้วยมารยา
ความรักมาก ก็จะพาลใหเกิดความ ถ้าแม้นแม่แต่แรกรู้กระนี้ ชนนีก็จะได้ไม่เที่ยวหา
เดือดรอนแกตนเองและผูอื่นได) นี่นึกแหนงแคลงความจึงตามมา ไม่โกรธาทูนหัวอย่ากลัวเลย

เมื่อนางผีเสื้อสมุทรตามพ่อแม่เงือกมาทัน ทั้งสองรู้ว่าจะไม่รอด แต่เพื่อช่วยพระอภัยมณีให้


ขยายความเขาใจ ส�าเร็จ จึงใช้ “การหลอก” ดังที่ว่า “จึงกล่าวแกล้งแสร้งเสด้วยเล่ห์กล เธออยู่บนเขาขวางริมทางมา”
กลวิธีการประพันธเรื่องพระอภัย- ตัวละครในเรื่องใช้ “การหลอก” เป็นทางออกในการแก้ปัญหา ซึ่งท�าให้เรื่องด�าเนินไปอย่าง
มณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ น่าตื่นเต้นไม่ว่าจะหลอกส�าเร็จหรือไม่ก็ตาม แต่จะเห็นได้ว่าเมื่ออีกฝ่ายรู้ว่าถูกหลอกก็จะยิ่งโมโห
ดํ า เนิ น เรื่ อ งด ว ยปมป ญ หาความ ยิ่งเจ็บใจ ดังเช่นตอนที่นางผีเสื้อสมุทรรู้ว่าถูกพ่อแม่เงือกหลอกก็โมโหจนจับเงือกทั้งสองมาฉีกร่าง
ขัดแยงระหวางพอกับลูกที่มีความคิด กินเป็นอาหาร
เห็นไมตรงกัน และครูถามนักเรียนวา เนื้อหาตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ กวีใช้จินตนาการถ่ายทอดเรื่องราวอย่างสร้างสรรค์
• ปญหาความขัดแยงของสังคม และเมือ่ พินจิ แก่นของเรือ่ ง ผูอ้ า่ นจะพบแนวคิดทางพุทธศาสนาเรือ่ งการเห็นผิดเป็นชอบ การไม่ยอมรับ
ไทยในปจจุบัน มีอะไรเกิดขึ้น ความจริง การไม่รจู้ กั ปล่อยวางน�ามาซึง่ ความทุกข์ และกลวิธที ที่ า� ให้เรือ่ งราวน่าตืน่ เต้นชวนติดตามเป็น
บาง ตอนที่มีคุณค่าด้านเนื้อหาอย่างยิ่ง
(แนวตอบ ในสังคมปจจุบัน
มีปญหาเกิดขึ้นหลายปญหา ๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
ตัวอยางเชน ๑) กำรใช้ถ้อยค�ำ นิทานค�ากลอนเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
• ปญหาความคิดเห็นตางวัยกัน ผูป้ ระพันธ์มคี วามสามารถในการเลือกใช้คา� ทีส่ อื่ อารมณ์ ความรูส้ กึ ได้อย่างงดงาม เหมาะสมแก่เนือ้ เรือ่ ง
ของคนภายในครอบครัว ซึ่ง และฐานะของตัวละครในเรื่อง เช่น
แตละครอบครัวควรหันหนา
เขาหากัน พูดคุยปรับความ ฝ่ายนางผีเสื้อสมุทรที่สุดโง่ ไปนั่งโซเซาอยู่ริมภูผา
เขาใจระหวางกัน ขอชีวิตพิษฐานตามต�ารา ต้องอดปลาอดนอนอ่อนก�าลัง
• ปญหาความคิดเห็นทีแ่ ตกตาง ได้สามวันรันทดสลดจิต เจียนชีวิตจะเด็ดดับไม่กลับหลัง
กันในสังคม เชน การเรียกรอง อุตส่าห์ยืนฝืนใจให้ประทัง ค่อยเซซังซวนทรงไม่ตรงตัว
คาแรง การเรียกรองวันหยุด เห็นลูกไม้ในป่าคว้าเข้าปาก ก�าลังอยากยืนขยอกจนกลอกหัว
การประทวงคาชดเชย เปนตน ...
ซึ่งปญหาเหลานี้ทุกฝายควร
หาทางแกรวมกัน) 58

58 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ครูแบงกลุมใหนักเรียนคนควา
โวหารที่ไดจากเรื่องนี้ จากนั้น
จากบทประพันธ์ดังกล่าว กวีได้เลือกใช้ถ้อยค�าที่แสดงให้เห็นกิริยาอาการของนาง ยกตัวอยางบทประพันธประกอบ
ผีเสื้อสมุทร “โซเซา” แสดงอาการอ่อนแรง อ่อนล้า ใช้ค�าว่า “เซซังซวนทรง” แสดงให้ผู้อ่านเกิด และบอกวาเปนโวหารชนิดใด
จินตภาพอาการอ่อนล้าจนเซถลาแทบจะทรุดตัวลงของนางผีเสื้อสมุทร (แนวตอบ ตัวอยางบทประพันธ
นางผีเสื้อเหลือโกรธโลดทะลึ่ง โตดังหนึ่งยุคุนธร์ขุนไศล • การใชโวหารอุปมา เชน
ลุยทะเลโครมครามออกตามไป สมุทรไทแทบจะล่มถล่มทลาย “ไมคลาดเคลือ่ นเหมือนองคพระทรงเดช
เหล่าละเมาะเกาะขวางหนทางยักษ์ ภูเขาหักหินหลุดทรุดสลาย แตดวงเนตรแดงดูดังสุริยฉาย
เสียงครึกครื้นคลื่นคลุ้มขึ้นกลุ้มกาย ผีเสื้อร้ายรีบรุดไม่หยุดยืน ทรงกําลังดังพระยาคชาพลาย
มีเขี้ยวคลายชนนีมีศักดา”
จากบทประพันธ์ดงั กล่าว กวีเลือกใช้คา� “รีบรุดไม่หยุดยืน” เพือ่ ท�าให้ผอู้ า่ นเกิดจินตภาพ บทประพันธนี้แสดงใหผูอานเห็น
กิริยาและการเคลื่อนไหวของตัวละครที่รีบเร่งติดตามไปด้วยความโมโห ภาพของพระโอรสของพระอภัยมณี
กับนางผีเสื้อสมุทรที่มีตาสีแดง
๒) กำรใช้โวหำร นิทานค�ากลอนเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
เหมือนดั่งพระอาทิตย มีพละกําลัง
ผู้ประพันธ์เลือกใช้ส�านวนโวหารที่ให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพได้ชัดเจน เช่น
มากเหมือนชางสาร และมีเขี้ยว
พระบิตุรงค์ทรงศักดิ์ก็รักใคร่ ด้วยเนื้อไขมิได้คิดริษยา เหมือนนางผีเสื้อสมุทร)
เฝ้าเลี้ยงลูกผูกเปลแล้วเห่ช้า จนใหญ่กล้าอายุได้แปดปี
จึงให้นามตามอย่างข้างมนุษย์ ชื่อสินสมุทรกุมารชาญชัยศรี
ธ�ามรงค์ทรงมาค่าบุรี พระภูมีถอดผูกให้ลูกยา ขยายความเขาใจ
เจียระบาดคาดองค์ก็ทรงเปลื้อง ให้เป็นเครื่องนุ่งห่มโอรสา ใหนักเรียนพิจารณาการใชถอยคํา
สอนให้เจ้าเป่าปี่มีวิชา เพลงศาสตราสารพัดหัดช�านาญ ในคําประพันธ
• คําที่มีเสียงเสนาะทําใหคํา
จากบทประพันธ์ข้างต้น กล่าวถึงสินสมุทรมีอายุ ๘ ปี พระอภัยมณีทรงตั้งชื่อพระโอรส ประพันธเกิดความไพเราะ
ตามอย่างมนุษย์แม้สินสมุทรจะมีแม่เป็นยักษ์ สินสมุทรสวมแหวนที่พระบิดาพระราชทาน เรียนวิชา ไดอยางไร พรอมยกตัวอยาง
เป่าปี่และเพลงอาวุธจากพระบิดา ประกอบ
(แนวตอบ มีการเลือกใชคําที่มี
พระโฉมยงองค์อภัยมณีนาถ เพลินประพาสพิศดูหมู่มัจฉา
เสียงเสนาะ มีสัมผัสนอกและ
เหล่าฉลามล้วนฉลามตามกันมา ค่อยเคลื่อนคลาคล้ายคล้ายในสายชล
สัมผัสในที่มีทั้งสัมผัสสระและ
ฉนากอยู่คู่ฉนากไม่จากคู่ ขึ้นฟ่องฟูพ่นฟองละอองฝน
สัมผัสอักษร ทําใหคําประพันธ
ฝูงพิมพาพาฝูงเข้าแฝงวน บ้างผุดพ่นฟองน�้าบ้างด�าจร
ไพเราะ ผูอานเกิดความซาบซึ้ง
กระโห้เรียงเคียงกระโห้ขึ้นโบกหาง ลอยสล้างกลางกระแสแลสลอน
ในคํากลอน และจากการใชคาํ ซํา้
มังกรเกี่ยวเลี้ยวลอดกอดมังกร ประชุมซ่อนแฝงชลขึ้นวนเวียน “ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู
ฝูงม้าน�้าท�าท่าเหมือนม้าเผ่น ขึ้นลอยเล่นเลี้ยวลัดฉวัดเฉวียน ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน
ตะเพียนทองท่องน�้าน�าตะเพียน ดาษเดียรดูเพลินจนเกินมา ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน
บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร
59 กระโหเรียงเคียงกระโหขนึ้ โบกหาง
ลอยสลางกลางกระแสแลสลอน
มังกรเกี่ยวเลี้ยวลอดกอดมังกร
ประชุมซอนแฝงชลขึ้นวนเวียน”)

คูมือครู 59
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


“พี่เปนมนุษยสุดสวาทเปนชาติยักษ
จงคิดหักความสวาทใหขาดสูญ
กลับไปอยูคูหาอยาอาดูร จากข้อความดังกล่าว กวีได้เลือกใช้โวหารที่พรรณนาให้เกิดภาพพจน์หรือจินตภาพว่า
จงเพิ่มพูนภาวนารักษาธรรม” พระอภัยมณีทรงชื่นชมความงามของสัตว์น�้าประเภทปลามากมายหลายชนิดที่ว่ายน�้าและเคลื่อนไหว
จากบทประพันธขา งตน ใหนกั เรียน ในน�้าอย่างอิสระ สวยงาม ท�าให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพหมู่ปลาที่เคลื่อนไหวสวยงามและเกิดความ
เขียนอธิบายการเลนเสียงลงสมุด เพลิดเพลิน
(แนวตอบ เลนเสียงสัมผัสใน
ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร สัตว์ในน�้าจ�าแพ้แก่ผีเสื้อ เปรียบเหมือนเนื้อเห็นพยัคฆ์ให้ชักหลัง
สัมผัสสระ ไดแก มนุษย-สุด(สวาท), อย่าเกรงภัยในชลที่วนวัง ขึ้นนั่งยังบ่าข้าจะพาไป
สวาท-ชาติ, สวาท-ขาด, อยู-คู(หา),
ภาวนา-(รัก)ษา สัมผัสอักษร ไดแก บทประพันธ์ดังกล่าว กวีเลือกใช้โวหารเพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพจากความเปรียบที่
สุด-สวาท, สวาท-สูญ, อยู-อยา, ผู้ประพันธ์น�ามาใช้ คือเปรียบความกลัวของสัตว์น�้าที่มีต่อนางผีเสื้อสมุทรเหมือนเนื้อเห็นเสือ
เพิ่ม-พูน)
นางเงือกน้อยสร้อยเศร้าเข้ามาผลัด แบกกษัตริย์ว่ายเสือกเสลือกสลน
ก�าลังสาวคราวด่วนด้วยจวนจน ออกกลางชลโบกหางผางผางไป
ขยายความเขาใจ
ให นั ก เรี ย นจั บ คู  แ ต ง คํ า ประพั น ธ จากบทประพันธ์ดงั กล่าว กวีเลือกใช้คา� เลียนเสียงธรรมชาติทา� ให้ผอู้ า่ นเกิดภาพขึน้ ในใจ
กลอนสุภาพทีม่ กี ารเลนเสียงสัมผัสใน และเกิดความรู้สึกคล้อยตาม คือการว่ายน�้าโบกหางอย่างเร่งรีบของเงือกจนเกิดเสียงดังผางผางได้
ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร คูละ อย่างชัดเจน
1 บท แลวมานําเสนอในหองเรียน ๓) กำรเล่นเสียง นอกจากสัมผัสนอกซึ่งเป็นสัมผัสบังคับแล้ว ทุกวรรคของค�ากลอน
จะแพรวพราวด้วยสัมผัสใน อันได้แก่ เสียงสัมผัสสระและสัมผัสอักษร ดังบทประพันธ์

เกร็ดแนะครู นางเงือกน้อยสร้อยเศร้าเข้ามาผลัด แบกกษัตริย์ว่ายเสือกเสลือกสลน


ครูควรเสริมสรางใหนักเรียน ก�าลังสาวคราวด่วนด้วยจวนจน ออกกลางชลโบกหางผางผางไป
เกิดจินตนาการ สรางตัวละครใน
จินตนาการของนักเรียนเอง ถายทอด
ความคิดโดยการเลาเกีย่ วกับตัวละคร • สัมผัสสระ ได้แก่ น้อย-สร้อย เศร้า-เข้า เสือก-เสลือก สาว-คราว ด่วน-จวน
นัน้ หรือวาดภาพตัวละครเพือ่ นําเสนอ กลาง-หาง–ผาง
หนาชั้นเรียน • สัมผัสอักษร ได้แก่ นาง-น้อย สร้อย-เศร้า กษัตริย์-เสือก เสลือก-สลน ด่วน-ด้วย
จวน-จน
๔) ลีลำกำรประพันธ์ กลอนนิทานตอนนี้ปรากฏลีลาการประพันธ์ ดังนี้
เสาวรจนี คือบทชมความงามของธรรมชาติ ดังบทประพันธ์

60

60 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ครูใหนักเรียนอธิบายเรื่องลีลาการ
ประพันธ หรือสุนทรียลีลาในวรรณคดี
พงศ์กษัตริย์ทัศนานางเงือกน้อย ดูแช่มช้อยโฉมเฉลาทั้งเผ้าผม เรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณี
ประไพพักตร์ลักษณ์ล�้าล้วนข�าคม ทั้งเนื้อนมนวลเปล่งออกเต่งทรวง หนีนางผีเสื้อ
ขนงเนตรเกศกรอ่อนสะอาด ดังสุรางค์นางนาฏในวังหลวง (แนวตอบ พระอภัยมณี ตอนพระอภัย
พระเพลินพิศคิดหมายเสียดายดวง แล้วหนักหน่วงนึกที่จะหนีไป มณีหนีนางผีเสื้อ เดนทางลีลาแสดง
ความโกรธ คือ พิโรธวาทัง ขณะที่ดอย
นารีปราโมทย์ คือบทโอ้โลม เกี้ยวพาราสีหรือบทปลอบใจ ตอนพระอภัยมณีหนีได้ ทางลีลาแสดงความรัก บทเกี้ยว ทั้งนี้
ปลอบใจนางผีเสื้อสมุทร ดังบทประพันธ์ เพราะเปนตอนที่พระอภัยมณีหนีนาง
ผีเสื้อสมุทร)
พี่มนุษย์สุดสวาทเป็นชาติยักษ์ จงคิดหักความสวาทให้ขาดสูญ
กลับไปอยู่คูหาอย่าอาดูร จงเพิ่มพูนภาวนารักษาธรรม์
อย่าฆ่าสัตว์ตัดชีวิตพิษฐาน หมายวิมานเมืองแมนแดนสวรรค์ ขยายความเขาใจ
จะเกิดไหนขอให้พบประสบกัน อย่าโศกศัลย์แคล้วคลาดเหมือนชาตินี้
1. ใหนักเรียนยกตัวอยางบทประพันธ
พิโรธวาทัง คือบทโกรธ ขัดเคือง ตัดพ้อ ต่อว่า ด่าทอ ตอนนางผีเสื้อสมุทรก้าวร้าว ที่มีลีลาการประพันธโดดเดน
นาประทับใจ จากวรรณคดีหรือ
พระฤๅษีและหึงนางเงือก ดังบทประพันธ์
วรรณกรรมไทยที่นักเรียนเคยอาน
นางผีเสื้อเหลือโกรธพิโรธร้อง มาตั้งซ่องศีลจะมีอยู่ที่ไหน มา 1 ตัวอยาง
ช่างเฉโกโยคีหนีเขาใช้ ไม่อยู่ในศีลสัตย์มาตัดรอน (แนวตอบ ตัวอยางลีลาการประพันธ
เขาว่ากันผัวเมียกับแม่ลูก ยื่นจมูกเข้ามาบ้างช่วยสั่งสอน สัลลาปงคพิสัย
แม้นคบคู่กูไว้มิให้นอน จะราญรอนรบเร้าเฝ้าตอแย “แตเชาเทาถึงเยน
แล้วชี้หน้าด่าอึงหึงนางเงือก ท�าซบเสือกสอพลออีตอแหล กลํ้ากลืนเขญเปนอาจิณ
เห็นผัวรักยักคอท�าท้อแท้ พ่อกับแม่มึงเข้าไปอยู่ในท้อง ชายใดในแผนดิน
ไมเหมือนพี่ที่ตรอมใจ”
สัลลาปังคพิสัย คือบทว้าเหว่ เงียบเหงา โศกเศร้า เสียใจ คร�่าครวญ เช่น ความเสียใจ บทเหครวญ: เจาฟาธรรมธิเบศร)
เมื่อนางผีเสื้อสมุทรกลับจากจ�าศีลแล้วพบว่าพระอภัยมณีหนีไป จึงคร�่าครวญร�่าไห้ ดังบทประพันธ์ 2. ครูสุมนักเรียน 4-5 คนมานําเสนอ
หน า ชั้ น เรี ย น ครู แ นะนั ก เรี ย นว า
ถึงประตูคูหาเห็นเปิดอยู่ เอ๊ะอกกูเกิดเข็ญเป็นไฉน ตั ว อย า งที่ นํ า มาเสนอนั้ น ถู ก ต อ ง
เข้าในห้องมองเขม้นไม่เห็นใคร ยิ่งตกใจเพียงจะดิ้นสิ้นชีวี หรือไม
แลดูปี่ที่เป่าเล่าก็หาย นางยักษ์ร้ายรู้ว่าพากันหนี
เสียน�้าใจในอารมณ์ไม่สมประดี สองมือตีอกตูมฟูมน�้าตา
ลงกลิ้งเกลือกเสือกกายร้องไห้โร่ เสียงโฮโฮดังก้องห้องคูหา
พระรูปหล่อพ่อคุณของเมียอา ควรหรือมาทิ้งขว้างหมองหมางเมีย

61

คูมือครู 61
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


จากบทประพันธ เรื่องพระอภัยมณี
ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
ใหนักเรียนชวยกันวิเคราะห ๗.๓ คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถไี ทย
• ตัวละครตัวใดในเรื่องที่มีความ ๑) ควำมเชื่อเรื่องควำมฝันและโชคลำง ความเชื่อในเรื่องความฝันซึ่งเป็นความเชื่อ
เชื่อเรื่องความฝนและโชคลาง ที่ผูกพันอยู่กับคนไทย ถ้าฝันดีก็จะเกิดความสบายใจ หากเป็นฝันร้ายก็จะต้องหาหนทางแก้ไข ซึ่ง
สงผลอยางไร ปรากฏในนิทานค�ากลอนเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ ดังบทประพันธ์
(แนวตอบ นางผีเสื้อสมุทรฝนวา
มีคนเอาพะเนินทุบอกนางและ พอม่อยหลับกลับจิตนิมิตฝัน ว่าเทวัญอยู่ที่เกาะนั้นเหาะเหิน
ควักเอาลูกตานาง พอเลาความ มาสังหารผลาญถ�้าระย�าเยิน แกว่งพะเนินทุบนางแทบวางวาย
ฝนใหพระอภัยมณีฟง พระอภัย- แล้วอารักษ์ควักล้วงเอาดวงเนตร ส�าแดงเดชเหาะกลับไปลับหาย
มณีก็ฉวยโอกาสที่นางเชื่อเรื่อง ทั้งกายสั่นพรั่นตัวด้วยกลัวตาย พอฟื้นกายก็พอแจ้งแสงตะวัน
ความฝนลางรายออกอุบายให
นางไปจําศีลเพือ่ ตัวเองจะไดหนี) จากบทประพันธ์เมื่อนางผีเสื้อสมุทรกลับมาจากหาอาหารให้สามีและบุตร ตกกลางคืน
นางฝันว่ามีเทวดามาควักเอาดวงตาของนางและหายลับไป เมื่อนางตื่นขึ้นจากความฝันจึงเล่าความฝัน
ให้พระอภัยมณีฟัง โดยนางเชื่อว่าเป็นฝันร้าย
ขยายความเขาใจ
๒) ควำมเชื่อเรื่องกำรสะเดำะเครำะห์ คนไทยมีความเชื่อว่าหากมีสิ่งไม่ดีเกิดขึ้น
ใหนักเรียนแบงกลุมกันอภิปราย กับตนเองและครอบครัว มักมีสาเหตุมาจากเคราะห์กรรมหรือโชคชะตา ซึ่งการแก้ไขต้องอาศัย
เรื่องความเชื่อและความฝน การสะเดาะเคราะห์ ซึ่งความเชื่อนี้ได้ปรากฏในนิทานค�ากลอนเรื่องพระอภัยมณี ดังบทประพันธ์
ครูถามวา
• นักเรียนเชื่อเรื่องความฝน นึกจะใคร่สะเดาะพระเคราะห์เจ้า พอบรรเทาโทษาที่อาสัญ
หรือไม อยางไร เหมือนงอนง้อขอชีวิตแก่เทวัญ กลัวแต่ขวัญเนตรพี่จะมิท�า
• นักเรียนเคยไดยินเรื่องเกี่ยวกับ ...
ความฝนและลางบอกเหตุ ต�ารานั้นแต่ครั้งตั้งเมรุไกร ว่าถ้าใครฝันร้ายจะวายปราณ
หรือไม อยางไร ให้ไปอยู่ผู้เดียวที่ตีนเขา แล้วอดข้าวอดปลากระยาหาร
( แนวตอบ ตอบได ห ลากหลาย
ถ้วนสามคืนสามวันจะบันดาล ให้ส�าราญรอดตายสบายใจ
โดยครูรวบรวมความคิดเห็นและ ...
เหตุผล ไมจําเปนตองสรุปความ
คิดเห็นเรื่องนี้ เพราะนักเรียนมี จากบทประพันธ์เมือ่ นางผีเสือ้ สมุทรเล่าความฝันของนางให้พระอภัยมณีฟงั พระอภัยมณี
โอกาสพบเห็นแตกตางกัน ครูชี้ ทรงลวงว่าเป็นฝันร้ายและทรงแนะน�าว่านางต้องไปอดอาหารทีต่ นี เขาเป็นเวลาสามวัน ซึง่ พระอภัยมณี
แนะใหนักเรียนใชวิจารณญาณ จะทรงใช้เวลาในช่วงนี้หนีนางผีเสื้อสมุทรไปพร้อมกับสินสมุทรพระโอรส
ในการเชื่อเรื่องนี้อยางมีเหตุผล)
๓) ควำมเชือ่ เรือ่ งเทพยดำทีส่ งิ สถิตอยูต่ ำมสถำนทีต่ ำ่ งๆ ความเชือ่ ทีว่ า่ ทุกสถานที่
จะมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งที่เป็นเทวดา ภูตผี ปีศาจสิงสถิตผูกพันอยู่กับวิถีชีวิตของคนไทยมายาวนาน เมื่อ
เวลาจะไปพักค้างคืนยังสถานที่ต่างๆ ผู้ใหญ่มักจะสอนว่าให้ยกมือไหว้เพื่อขอขมาทุกครั้ง รวมถึงทาง
เกร็ดแนะครู
62
ครูใหขอคิดเกี่ยวกับเรื่องการ
สะเดาะเคราะห โดยการถาม-ตอบวา
“นักเรียนคนใดเคยเห็นการ
สะเดาะเคราะหบาง นักเรียนเชื่อ
หรือไม อยางไร”
ครูควรชีแ้ นะวา การสะเดาะเคราะห
เปนความเชื่อสวนบุคคล ตองใช
วิจารณญาณประกอบการตัดสิน

62 คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
1. ใหนกั เรียนแลกเปลีย่ นความคิดเห็น
เกีย่ วกับคานิยมของสังคมไทยทีเ่ ด็ก
สามแพร่งที่คนไทยเชื่อว่าจะมีบรรดาภูตผีอาศัยอยู่ จึงมักน�าเครื่องเซ่นไปบูชา ซึ่งความเชื่อประการนี้ ตองเคารพผูใหญ
ได้ปรากฏในเรื่อง ดังบทประพันธ์ • ในฐานะที่นักเรียนเปนเด็ก
รุนใหมควรปฏิบัติตอผูใหญ
ฝ่ายปีศาจราชทูตภูตพรายพาล อลหม่านขึ้นมาหาในสาชล
อยางไรจึงจะเหมาะสม
อสุรีผีเสื้อจึงซักถาม มึงอยู่ตามเขตแขวงทุกแห่งหน
(แนวตอบ ไมมีผิดถูก แตครูควร
เห็นมนุษย์นวลละอองทั้งสองคน มาในวนวังบ้างหรืออย่างไร
แนะใหนกั เรียนเห็นวาการเคารพ
...
ผูใหญเปนสิ่งที่ดี เชน ถาหาก
นั ก เรี ย นไม เ ห็ น ด ว ยในคํ า สอน
๔) ค่ำนิยมของสังคมไทยที่เด็กต้องเคำรพผู้ใหญ่ สังคมไทยเป็นสังคมที่พึ่งพา
ใหถามอยางมีมารยาท ผูใ หญจะ
อาศัยกัน มีความผูกพันกตัญญูรู้คุณและจะให้ความเคารพผู้ใหญ่ เมื่อได้กระท�าสิ่งใดที่ถือว่าเป็นการ เอ็นดูและตอบคําถามที่นักเรียน
ล่วงเกินควรที่จะกล่าวขอโทษ ไม่ควรกระท�าสิ่งใดที่เป็นการล่วงเกิน ซึ่งค่านิยมประการนี้ได้ปรากฏใน ของใจ ซึ่งจะเปนประโยชนแก
เรื่อง ดังบทประพันธ์ นักเรียนเอง)
พงศ์กษัตริย์ตรัสชวนสินสมุทร สอนให้บุตรขอสมาอัชฌาสัย
2. ใหนักเรียนยกสํานวนสุภาษิตไทย
เกี่ยวกับเด็กควรเคารพผูใหญ
พระทรงบ่าเงือกน�้างามวิไล พระหน่อไทขอสมาขึ้นบ่านาง
พรอมอธิบายความหมายตาม
ความเขาใจของนักเรียน
๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน (แนวตอบ เชน เดินตามหลังผูใหญ
นิทานค�ากลอนเรือ่ งพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสือ้ เป็นนิทานค�ากลอนทีส่ นุกสนาน หมาไมกัด อาบนํ้ารอนมากอน
ชวนให้ติดตาม ในขณะที่ผู้อ่านเพลิดเพลินกับเรื่องราว กวียังได้สอดแทรกแนวคิดหรือข้อคิดที่สามารถ เปนตน)
น�าไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจ�าวันได้ ดังนี้
๑) ควำมมีนำ�้ ใจและเสียสละให้ผอู้ นื่ เป็นสิง่ ควรท�ำ ตัวละครในเรือ่ งต่างแสดงความ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีน�้าใจต่อกัน เห็นใจในความทุกข์ของเพื่อนมนุษย์ ปรารถนาให้ผู้อื่นมีความสุข เช่น เกร็ดแนะครู
พระอภัยมณีทรงมีพระด�าริที่จะเสียสละพระชนม์ชีพเพื่อให้ทุกคนรอด สินสมุทรเสี่ยงภัยล่อหลอก
มารดาให้เข้าใจผิดว่าพระบิดายังอยู่กับตน ให้มารดาพะวงค้นหาเพื่อให้พระบิดาหนีไป ส่วนครอบครัว ครูใหแนวคิดเกี่ยวกับความเชื่อ
เรื่องเทพยดาที่สิงสถิตอยูตามสถานที่
เงือกยอมเสียสละชีวิตเพื่อให้คนอื่นๆ รอด ทุกคนแสดงน�้าใจต่อกันช่วยเหลือกัน
ตางๆ โดยนักเรียนรวมกันแสดง
๒) ชีวิตคู่ที่ไม่ได้เกิดจำกควำมรักไม่ได้เกิดจำกควำมเต็มใจย่อมไม่ยั่งยืน นิทาน ความคิดเห็นวา ในปจจุบันความเชื่อ
ค�ากลอนเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ ได้สะท้อนแนวคิดด้านความรัก คือชีวิตคู่ที่ เรื่องเทพยดายังคงมีอยูหรือไม
เกิดขึ้นจากความไม่เต็มใจย่อมไม่มีความยืนยาวหรือมั่นคง เหมือนดังที่พระอภัยมณีทรงไม่เคยรัก ครูควรชี้แนะใหเห็นเรื่องความเชื่อ
นางผีเสื้อสมุทรเลย เพราะทรงถูกนางผีเสื้อสมุทรลักพาพระองค์มาไว้ที่ถ�้า ทั้งนี้พระอภัยมณีทรงไม่มี นี้อยางมีเหตุมีผล เพื่อใหนักเรียน
ทางเลือกจึงจ�าพระทัยยอมใช้ชีวิตกับนาง แต่แล้วชีวิตคู่ก็มาถึงจุดแตกหัก เมื่อพระอภัยมณีมีโอกาสหนี เขาใจและรูจักคิดวิเคราะหอยางมี
นางผีเสื้อสมุทรพร้อมกับพระโอรส โดยความช่วยเหลือของครอบครัวเงือก วิจารณญาณ
63

คูมือครู 63
ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand Evaluate
Engage Explore Explain

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


นักเรียนพิจารณาขอคิดที่สามารถ
นําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ที่ยกมาในเรื่องนี้ ๓) บิดำมำรดำคือตัวอย่ำงที่ดีส�ำหรับบุตร กลอนนิทานเรื่องพระอภัยมณีสะท้อน
• นักเรียนคิดวามีขอคิดเพิ่มเติม ให้เห็นว่าบิดามารดาคือผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับบุตรมากที่สุด ทัศนคติ ความเคารพนับถือหรือความรัก
เรื่องใดอีกบาง ย่อมเกิดขึ้นในขณะใช้เวลาอยู่ร่วมกัน เหมือนดังที่สินสมุทรมีพระบิดาเป็นผู้อบรมสั่งสอนอย่างใกล้ชิด
(แนวตอบ การมีสัมมาคารวะ ดังบทประพันธ์
เพื่อใหเปนที่รักใครของคนทั่วไป
การมีความกตัญูรูคุณ) พระบิตุรงค์ทรงศักดิ์ก็รักใคร่ ด้วยเนื้อไขมิได้คิดริษยา
• นักเรียนคิดวาจะนําขอคิดจาก
เฝ้าเลี้ยงลูกผูกเปลแล้วเห่ช้า จนใหญ่กล้าอายุได้แปดปี
เรื่องนี้ไปใชในชีวิตประจําวันได จึงให้นามตามอย่างข้างมนุษย์ ชื่อสินสมุทรกุมารชาญชัยศรี
อยางไร ธ�ามรงค์ทรงมาค่าบุรี พระภูมีถอดผูกให้ลูกยา
(แนวตอบ การมีนํ้าใจและความ เจียระบาดคาดองค์ก็ทรงเปลื้อง ให้เป็นเครื่องนุ่มห่มโอรสา
เสี ย สละให ผู  อื่ น เพราะวาการ สอนให้เจ้าเป่าปี่มีวิชา เพลงศาสตราสารพัดหัดช�านาญ
อยูรวมกันในสังคมจําเปนตอง
มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ๔) กำรท�ำงำนร่วมกันต้องรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น เรื่องพระอภัยมณีชี้ให้
เราไมสามารถทําสิ่งหนึ่งสิ่งใด เห็นว่า ในการท�างานต้องมีการวางแผนร่วมกัน ยอมรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกันและน�าข้อมูลมา
ไดคนเดียวทั้งหมด ตองรูจักรับ ใช้ในการตัดสินใจ การด�าเนินตามแผนควรประเมินก�าลังของตน หากงานยังไม่ส�าเร็จจะชะล่าใจไม่ได้
ฟงความคิดเห็นของผูอื่นดวย) ให้ด�าเนินการอย่างเร่งรีบและหากมีปัญหาอุปสรรคต้องช่วยกันแก้ไข เช่น เมื่อพระอภัยมณีเห็นว่า
ครอบครัวเงือกเหนื่อยล้ามากและค�่ามืดแล้วควรหยุดพัก แต่พ่อเงือกเตือนว่า
ตรวจสอบผล ตาเงือกน�้าซ�้าสอนพระทรงศักดิ์ ยังใกล้นักอย่าประมาทท�าอาจหาญ
1. นักเรียนเลาเรื่องยอ เรื่อง นางรู้ความตามมาไม่ช้านาน จะพบพานพากันตายวายชีวัน
พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนี
นางผีเสื้อ และเขียนลงสมุดหรือ เมื่อพ่อเงือกเตือนเช่นนั้น พระอภัยมณีก็ทรงเชื่อ จากนั้นทั้งหมดจึงออกเดินทางต่อไป
ชวยกันเลาในชั้นเรียน จนถึงเกาะแก้วพิสดาร
2. บทประพันธใดที่สะทอนวิถีไทย
และแสดงใหเห็นคุณคาดานสังคม จะเห็นว่ากลอนนิทานเรื่องพระอภัยมณีมีความแปลกใหม่ในเนื้อหา โครงเรื่อง
และวรรณศิลป ยกตัวอยางประกอบ สนุกสนาน โดยเฉพาะตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสือ้ เป็นตอนทีส่ นุกสนาน ตืน ่ เต้นเร้าใจ
3. นักเรียนนําขอคิดที่ปรากฏในเรื่อง ชวนให้ติดตาม มีความไพเราะด้านการใช้ถ้อยคÓ เสียงเสนาะ รสของถ้อยคÓ มีคุณค่า
พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนี ด้านสังคม คือสะท้อนให้เห็นสภาพชีวิต ความคิด ความเชื่อของคนในสังคม และชี้
นางผีเสื้อไปใชในชีวิตประจําวันได ให้เห็นสภาพความเป็นจริงของชีวิต ดังนั้นผู้อ่านจึงควรตั้งใจอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์
4. นักเรียนทองจําบทอาขยานตามที่ เพื่อนÓข้อคิดคติธรรมไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจÓวัน
กําหนด
5. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวย
การเรียนรู แลวรายงานหนาชั้น 64

เกร็ดแนะครู
ครูชี้แนะการนําขอคิดจากเรื่องไปใชในชีวิตประจําวัน โดยใหนักเรียนที่เคยมีประสบการณ
เหมือนขอคิดในเรื่องนี้มาเลาประสบการณ และใหเพื่อนๆ ในหองชวยกันคิดวาจะนําขอคิด
จากเรื่องพระอภัยมณีไปใชในชีวิตใหเกิดประโยชนแกตัวเองอยางไร
64 คูมือครู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

เกร็ดแนะครู
(แนวตอบ คําถามประจําหนวย
การเรียนรู
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้ 1. สุนทรภูใชความรูจากการอาน
การฟง การไดพบปะสนทนากับ
๑. นักเรียนคิดว่ำในนิทำนค�ำกลอนเรื่องพระอภัยมณี สุนทรภู่ได้สอดแทรกชีวิต ประสบกำรณ์ส่วนตัว ผูคนชาติตางๆ ซึ่งในสมัยนั้นได
ของตนเองไว้อย่ำงไรบ้ำง จงยกตัวอย่ำงประกอบพร้อมอธิบำยให้เข้ำใจ มีชาวตางชาติเขามาเพื่อติดตอ
๒. จำกนิทำนค�ำกลอนเรื่องพระอภัยมณี แสดงให้เห็นว่ำสุนทรภู่เป็นกวีผู้มีควำมสำมำรถในกำรใช้ การคา สงผลใหเกิดการสราง
จินตนำกำรแต่งร้อยกรองอย่ำงไร จงอธิบำยและยกตัวอย่ำงประกอบให้เห็นจริง จินตนาการแนวคิดใหมแปลกไป
๓. พระอภัยมณีและคณะวำงแผนกำรหนีนำงผีเสื้อสมุทรอย่ำงไร จากเรื่องเดิม ดังบทประพันธ
๔. จำกเนื้อหำตอนนี้พระอภัยมณีท�ำอย่ำงไรที่ท�ำให้นำงผีเสื้อสมุทรออกติดตำมตนเองและลูกได้ล่ำช้ำลง “พวกเรือแตกแขกฝรัง่ แลอังกฤษ
จงอธิบำยและยกตัวอย่ำงค�ำประพันธ์ ขึ้นเปนศิษยอยูสํานักนั้นหนักหนา
๕. ทกี่ ล่ำวว่ำสุนทรภูม่ ลี ลี ำกำรแต่งกลอนทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ของตนคือมีสมั ผัสในแพรวพรำว จงอธิบำยและ
ดวยโยคีมีมนตรดลวิชา
ยกตัวอย่ำงค�ำประพันธ์ประกอบ โดยชี้ให้เห็นว่ำสัมผัสอย่ำงไร
ปราบบรรดาภูตพรายไมกรายไป”
2. สุนทรภูสรางเรื่องจากจินตนาการ
ตามสภาพความจริงมีแนวคิด
แปลกใหมตางไปจากเดิมที่ตัวเอก
เปนนักรบ ใหตัวเอกเปนนักดนตรี
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
และจินตนาการสถานที่ตางๆ โดย
นําความรูจากการอาน การฟง
มาสรางเรื่อง
กิจกรรมที่ ๑ นักเรียนรวบรวมค�ำที่เล่นเสียงพยัญชนะและกำรใช้ค�ำที่ให้เห็นภำพพจน์ในเรื่อง
3. พระอภัยมณีขอรองใหเงือกเฒาพา
พระอภัยมณี
กิจกรรมที่ ๒ นกั เรียนบรรยำยลักษณะพ่อแม่ในอุดมคติของนักเรียน หรือลักษณะพ่อแม่ตำมแนวคิด หนีนางผีเสือ้ สมุทร พอเงือกแมเงือก
ในพระพุทธศำสนำว่ำควรมีลักษณะอย่ำงไร จงเขียนบรรยำยให้เข้ำใจ และลูกสาวนัดหมายจะพาพระอภัย-
มณี ห นี ไ ปอยู  ที่ เ กาะแก ว พิ ส ดาร
โดยหลอกลวงนางผีเสือ้ สมุทรใหไป
ถือศีลอดอาหารเปนเวลาสามวัน
เมื่อนางกลับมาไมพบพระอภัยมณี
จึ ง ออกตามหา ระหว า งทางพ อ
แมเงือกไดลวงนางยักษไปอีกทาง
นางโกรธจึ ง ฆ า พ อ แม เ งื อ กตาย
ส ว นนางเงื อ กพาพระอภั ย มณี ม า
ถึงเกาะแกวพิสดารและสินสมุทร
ก็ตามมาดวย
65 4. พระอภัยมณีไดออกอุบายลวงให
นางผีเสื้อสมุทรสะเดาะเคราะห
โดยไปถือศีลอดอาหารคนเดียวที่
ชายเขาเปนเวลาสามวันสามคืน
หลักฐาน 5. สุนทรภูมีลีลาการแตงกลอนที่เปนเอกลักษณของตน คือ มีสัมผัสในแพรวพราว ทุกวรรค
แสดงผลการเรียนรู มีสัมผัสในตั้งแต 2 ตําแหนงขึ้นไป ทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร เชน
“ยิ่งปลอบโยนโอนออนยิ่งหลอนหลอก แมนไมบอกโดยดีจะตีถาม
1. การเขียนสรุปเรื่องยอ โดยใชแผนผังความคิด พลางโผโผนโจนโจมเสียงโครมคราม เขาไลตามคลุกคลีตีไปพลาง”
2. การแตงกลอนสุภาพ
3. บันทึกขอคิดจากเรื่องที่นําไปใชในชีวิตจริงลงสมุด
4. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด
คูมือครู 65
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)
เปาหมายการเรียนรู
• สรุปเนื้อหาเรื่องพระบรมราโชวาท
• วิเคราะหวิถีไทยและคุณคา
วรรณคดีเรื่องพระบรมราโชวาท
• สรุปความรูและขอคิดที่นําไป
ประยุกตใชในชีวิตจริง

กระตุนความสนใจ
ครูถามนักเรียนวาเคยฟงหรืออาน
พระบรมราโชวาทบางหรือไม
ใหนักเรียนที่เคยอานหรือฟงออกมา
เลาประสบการณในหัวขอตอไปนี้
• ใครเปนผูก ลาวพระบรมราโชวาท
• พระบรมราโชวาทนี้
พระราชทานเนื่องในโอกาสใด
• เมื่อนักเรียนฟงหรืออานแลว
มีความรูสึกอยางไร

ó
• นักเรียนนําพระบรมราโชวาท
มาปรับใชไดหรือไม อยางไร
หน่วยที่
พระบรมรำโชวำท
ตัวชี้วัด
■ สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่นในระดับที่
ยากขึ้น (ท ๕.๑ ม.๓/๑)
พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จ
■ วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั คือบทพระราช-
(ท ๕.๑ ม.๓/๒) นิพนธที่ทรงคุณค่า ส�าหรับใช้สอนบุคคล
■ สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง ทุกเพศทุกวัย ทั้งผู้เป็นบิดามารดาและผู้ที่อยู่
(ท ๕.๑ ม.๓/๓)
ในวัยศึกษาเล่าเรียน พระองคทรงใช้ภาษาที่
สื่อความเข้าใจ ง่าย มีกลวิธี การอธิบายโน้มน้าว
สำระกำรเรียนรูแกนกลำง
ด้วยเหตุผล เพื่อให้ผู้อ่านปฏิบัติตาม พระบรม-
■ วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่นเกี่ยวกับศาสนา
ประเพณี ราโชวาทจึงเป็นวรรณกรรมค�าสอนทีเ่ ป็นประโยชน
■ การวิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรม ต่อผูอ้ า่ น เพราะสามารถน�าข้อคิดต่างๆ ไปประยุกต
ใช้ในชีวิตประจ�าวัน

66 คูมือครู
สํารวจคนหา อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Expand Evaluate

สํารวจคนหา
ครูแบงกลุมนักเรียนสืบคนประวัติ
พระราชโอรสทัง้ 4 พระองค และแตละ
๑ ความเป็นมา พระองคดํารงพระอิสริยยศใดบาง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชนิพนธ์พระบรมราโชวาท (แนวตอบ
เมือ่ พ.ศ. ๒๔๒๘ เพือ่ พระราชทานแก่พระเจ้าลูกยาเธอทัง้ ๔ พระองค์ทเี่ สด็จไปทรงศึกษาต่อต่างประเทศ • กรมพระจันทบุรีนฤนาถ
เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ ทรงดํารงตําแหนงเสนาบดี
กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ
• กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
ทรงดํารงตําแหนงเสนาบดี
กระทรวงยุติธรรม
• กรมหลวงปราจิณกิติบดี
ทรงรับราชการราชเลขาธิการ
ในรัชกาลที่ 5
• กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
ทรงดํารงตําแหนงเสนาบดี
กระทรวงกลาโหม)

อธิบายความรู
ให นั ก เรี ย นแต ล ะกลุ  ม ช ว ยกั น
เรียบเรียงพระราชประวัติของพระ-
ราชโอรสพระองคใดพระองคหนึ่งใน
4 พระองค ใหจับสลากหรือเรียงตาม
ลําดับเลขที่ กําหนดขนาดความยาว
1 หน า กระดาษ พร อ มทั้ ง ใช ภ าพ
ประกอบการอธิบาย
๑. พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม (ยืนด้านหน้า)
๒. พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ (นั่งด้านซ้าย)
๓. พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ (นั่งด้านขวา)
๔. พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช (ยืนด้านขวา)
นักเรียนควรรู
พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงห่ ว งใยในเรื่ อ งการปฏิ บั ติ พ ระองค์ ข อง พระบรมราโชวาท เปนการสรางคํา
พระราชโอรสโดยทรงอบรมมิให้ประพฤติพระองค์อวดอ้างว่าทรงเป็นชนชัน้ เจ้านาย ให้มคี วามอ่อนน้อม โดยวิธีสมาส คือ พระบรม+ราโชวาท
ใฝ่พระทัยในการศึกษา ใช้สอยพระราชทรัพย์อย่างประหยัด จึงนับได้วา่ พระบรมราโชวาทในพระบาท- และโดยวิ ธีส มาสอย า งมี ส นธิ ใ นคํ า
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสมือนตัวแทนค�าสอนของบิดาทีม่ คี วามปรารถนา ดแี ละห่วงใยต่อบุตร ราโชวาท คือ ราช+โอวาท
67

คูมือครู 67
สํารวจคนหา อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Expand Evaluate

สํารวจคนหา (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนสืบคนประวัติพระบาท-
สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
โดยเนนพระราชประวัติที่แสดง ๒ ประวัติผู้แต่ง
พระปรีชาสามารถทางการประพันธ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชโอรสใน
และอักษรศาสตร พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ทรงพระราชสมภพ
2. ใหนกั เรียนสืบคนพระราชกรณียกิจ เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ พระนามเดิมก่อนเสด็จขึ้นครองราชย์ คือ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา- กรมขุนพินิตประชานาถ ขณะทรงพระเยาว์ทรงศึกษาศิลปวิทยาด้านต่างๆ เช่น ภาษาไทย ภาษามคธ
เจาอยูหัว แลวเลือกพระราชกรณีย- คชกรรม มวยปล�้า กระบี่กระบองและทรงศึกษาภาษาอังกฤษกับนางแอนนา เลียวโนเวนส์ ต่อมา
กิจที่นักเรียนประทับใจมา
ทรงศึกษาเพิ่มเติมกับหมอสอนศาสนาชาวอเมริกันชื่อ จันดเล (John H. Chandler)
2 พระราชกรณียกิจ พรอมบอก
เหตุผล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.
๒๔๑๑ ขณะมีพระชนมายุได้ ๑๕ พรรษา โดยมีเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้ส�าเร็จราชการแผ่นดิน
จนพระองค์ทรงบรรลุนิติภาวะ ๒๐ พรรษา และเสด็จขึ้นครองราชย์เป็นเวลา ๔๒ ปี
อธิบายความรู ตลอดระยะเวลาแห่งการครองสิริราชสมบัติทรงพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าโดยทรง
ใหนักเรียนอภิปรายรวมกันวาเหตุ ปฏิรปู ระเบียบราชการแผ่นดินและทีจ่ ารึกในหัวใจชาวไทยทุกคนคือการเลิกทาสโดยปราศจากเหตุการณ์
ใดองคการยูเนสโกจึงยกยองพระบาท- วุ่นวาย
สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั เปน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงตระหนักถึงความส�าคัญของการศึกษา จึงโปรด-
บุคคลสําคัญ และเปนผูม ผี ลงานดีเดน เกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นภายในพระบรมมหาราชวัง เพื่อให้บุตรหลานข้าราชการได้มีโอกาส
ของโลก ศึกษาเล่าเรียน โรงเรียนหลวงแห่งนีต้ อ่ มาได้ชอื่ วา่ โรงเรียนพระต�าหนักสวนกุหลาบ ส่วนโรงเรียนส�าหรับ
สามัญชนทีโ่ ปรดเกล้าฯ ให้จดั ตัง้ ขึน้ เป็นแห่งแรกคือ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม รวมถึงโรงเรียนวิชาชีพ
ชั้นสูง ซึ่งต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขยายเป็นระดับอุดมศึกษา ซึ่งก็คือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ด้านภาษาและวรรณกรรม ในรัชสมัยแห่งพระองค์ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายในสังคม
ความนิ ย มในร้ อ ยกรองลดลงเพราะอิ ท ธิ พ ลการพิ ม พ์ ข องตะวั น ตกเข้ า มามี บ ทบาท มี ก ารแปล
วรรณกรรมตะวันตก รวมทั้งมีหนังสือพิมพ์รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือนและสิ่งที่ท�าให้วรรณกรรม
แพร่หลายขึ้นในหมู่คนไทย คือการตั้งโรงเรียน การตั้งหอสมุดแห่งชาติ การตั้งโบราณคดีสโมสรใน
พ.ศ. ๒๔๕๐ มีการน�าวรรณคดีโบราณลงพิมพ์ในหนังสือวชิรญาณและประทับตราพระราชลัญจกร-
มังกรคาบแก้วของโบราณคดีสโมสรไว้เป็นเครื่องหมาย ก�าเนิดพจนานุกรม บทละครพูดร้อยแก้วและ
การเขียนนวนิยายแบบตะวันตก จากพระราชประวัตพิ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จะเห็น
ว่าพระองค์ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ อย่างหาทีส่ ดุ มิได้ ในรัชสมัยของพระองค์เป็นช่วงเวลาทีป่ ระเทศไทย
ต้องเผชิญกับปัญหาทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ แต่พระองค์กท็ รงน�าพาพสกนิกรชาวสยามผ่านพ้น
ปัญหานานัปการ พระราชประวัติของพระองค์สามารถแสดงเป็นเส้นเวลาได้ ดังนี้

68

68 คูมือครู
พระราชประวัติ ในรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เกิดวิกฤตการณ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) ประเทศ

๒๔๑๐
๒๔๓๖
โปรดเกลาฯ ใหเลื่อนชั้นเปนสมเด็จพระเจา- จักรวรรดิฝรั่งเศสใชเรือรบตีฝาแนวปองกันของไทย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ลูกยาเธอ เจาฟาฯ กรมขุนพินิตประชานาถ ที่ปากนํ้า และไดประกาศปดอาวไทยจนกวาไทยจะยอม
ทรงเปนพระราชโอรสองคใหญในพระบาท- ทรงกํากับราชการกรมมหาดเล็ก ทําตามขอเสนอ ในที่สุดไทยตองยินยอม สวนอังกฤษก็ได
สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว กรมพระคลังมหาสมบัติและกรมทหารบก ดินแดนฝงตะวันตกของแมนํ้าสาละวินและ ๔ หัวเมือง
และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี วังหนา ในป พ.ศ. ๒๔๑๐ มลายู พระองคทรงแกไขปญหาดวยการเจรจากับผูนํา
(หมอมเจาหญิงรําเพย) เสด็จพระราชสมภพ ประเทศตางๆ ในยุโรปเพื่อใหรับรองการเปนเอกราชของ
เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ประเทศไทย และเจรจากับประเทศผูคุกคามโดยตรงเพื่อ
เสด็จขึ้นครองราชยดวยพระองคเองในเดือน ใหเขาใจวาไทยตองการเปนมิตร
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๑๖ ไดทรงดําเนินการปฏิรูป
ประเทศโดยมีจุดมุงหมายเพื่อใหไทยสามารถรักษา การปฏิรูปประเทศในระยะที่สอง ทรงปฏิรูปการปกครอง
เอกราชไวไดและมีความเจริญทันสมัย ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค โดยจัดตั้งกระทรวงตางๆ
และมีการจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลเพื่อปกครองหัวเมือง
อยางใกลชิด โดยรวมอํานาจเขาสูศูนยกลาง การปฏิรูป
กฎหมายและการศาลเพื่อใหมีความยุติธรรมและทันสมัย

๒๔๑๖
ใน พ.ศ. ๒๔๑๗ เกิดวิกฤตการณวังหนา ปฏิรูปการคมนาคมเพื่อประโยชนทางดานการเมืองและ
Engage

๒๓๙๖
แตเหตุการณสงบลงภายในระยะเวลาอันสั้น

๒๔๑๗
เศรษฐกิจ รวมถึงการดําเนินการเพื่อจํากัดขอบเขตการ

๒๔๔๐
ใชสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
กระตุนความสนใจ

๒๓๙๐ ๒๔๐๐ ๒๔๑๐ ๒๔๒๐ ๒๔๓๐ ๒๔๔๐ ๒๔๕๐ ๒๔๖๐

๒๔๒๐
๒๔๕๓

๒๔๐๙ การปฏิรูปประเทศในระยะแรกที่พระองคยังไมทรงมีพระราช-
อํานาจสมบูรณ โดยทรงปฏิรปู ดานการเงินโดยทรงตัง้ หอรัษฎา-
กรพิพัฒนเพื่อเรงรัดการเก็บภาษี ตั้งสภาที่ปรึกษา ๒ สภา คือ
Explore

สภาที่ปรึกษาราชการแผนดินและสภาที่ปรึกษาในพระองค
สํารวจคนหา

การยกเลิกระบบทาสและไพรและทรงปฏิรูปการศึกษา

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงพระผนวช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
เปนสามเณรตามราชประเพณี เปนเวลา ๖ เดือน เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ.
ใน พ.ศ. ๒๔๐๙ ที่วัดบวรนิเวศวิหาร ในระหวางนี้ได พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จขึ้นครองราชย ๒๔๕๓ ในปจจุบันวันคลายวันสวรรคตของ
โดยเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไป เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ ขณะทรงมีพระชนมพรรษา พระองคถือเปนวันปยมหาราชที่ชาวไทย
หัวเมืองฝายเหนือถึงเมืองพิษณุโลก เมื่อทรงลาพระผนวช ไดเพียง ๑๕ พรรษา พระบรมวงศานุวงศและขุนนางชั้นผูใหญ ตางนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ
พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงกวดขัน จึงดําเนินการประชุมและที่ประชุมมีมติเห็นชอบใหเจาพระยา- ของพระองค และนําพวงมาลาไปสักการะ
Explain

ใหเรียนรูงานราชการและราชประเพณีอยางใกลชิด ศรีสุริยวงศเปนผูสําเร็จราชการแผนดินจนกวาพระองคจะทรง ที่พระบรมรูปทรงมา

๒๔๑๑
มีพระชนมพรรษา ๒๐ พรรษา
อธิบายความรู

เสนสัญลักษณ
ขอมูลทั่วไป
การปฏิรูปในช่
ในชวงส�
งมีาพเร็ระราชอํ
จราชการแผ่
านาจ นดิน
การปฏิรูปในช่
ในชวงมี
งสํพ จราชการแผ
าเร็ระราชอ� านาจ นดิน
Expand

ไปอยู
ขยายความเขาใจ

รัชกาลที่ 5

คูมือครู
อธิบายความรู
Evaluate

รัชกาลที่ 5 จึงไดรับการ

นักเรียนควรรู

69
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
ตรวจสอบผล

• เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จ

เยี่ยมเยียนราษฎรถึงบานชอง
หรือพระราชกรณียกิจที่สําคัญของ

(แนวตอบ พระองคทรงเสด็จไป

กับราษฎรในชนบทหลายคน โดย
ดุจไปหามิตรและทรงรูจ กั คุน เคย

ทีร่ าษฎรไมรวู า พระองคเปนผูใ ด)


ขนานนามวา “พระปยมหาราช”
ใหนักเรียนอธิบายเกี่ยวกับผลงาน

สิทธิสภาพนอกอาณาเขต คือ สิทธิ

ประเทศตนใหมีสิทธิเหนือดินแดนที่
หนึ่งบังคับบุคคลที่เปนพลเมืองของ
พิเศษที่จะใชกฎหมายของประเทศ
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนศึกษาลักษณะ
คําประพันธที่ใชในพระบรม-
ราโชวาท แลวบันทึกความรูลงสมุด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระราชนิพนธ์ผลงานทัง้ ร้อยแก้วและร้อยกรอง
2. ใหนักเรียนอธิบายความรูเรื่อง สามารถจัดจ�าแนกได้ ดังนี้
ลักษณะคําประพันธที่นิยมใช พระราชนิพนธ์ร้อยแก้ว
ในสมัยรัชกาลที่ 5 วามีลักษณะ ๑. พระราชหัตถเลขาเรื่องไกลบ้านเป็นเรื่องที่เด่นที่สุด ทรงพระราชนิพนธ์เป็นลายพระราช-
อยางไร หัตถเลขา เมื่อครั้งเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ ๒ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๐ รวมจ�านวน ๔๓ ฉบับ เสด็จประพาส
(แนวตอบ ความนิยมดานรอยกรอง ยุโรปเป็นระยะเวลา ๒๒๕ วัน ทรงบันทึกเกี่ยวกับพระราชภารกิจแต่ละวัน และพระราชด�าริวินิจฉัย
ลดลง นิยมประพันธเปนรอยแกว ต่อสิ่งต่างๆ ในแบบพ่อเล่าให้ลูกฟัง พระราชทานแก่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้านิภานภดล-
มากขึ้น เพราะอิทธิพลทาง วิมลประภาวดี
วรรณกรรมของตะวันตกเขามามี ๒. พระราชวิจารณ์และพระราชวินิจฉัยเชิงประวัติศาสตร์และโบราณคดี เรื่องที่ส�าคัญคือ
บทบาทมากขึ้น) พระราชวิจารณ์จดหมายเหตุความทรงจ�ากรมหลวงนรินทรเทวี พระบรมราชวินิจฉัยเรื่องชาดก
พระราชพิธีสิบสองเดือน ซึ่งได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดแห่งหนังสือความเรียง
ขยายความเขาใจ ประเภทอธิบาย
๓. พระราชด�ารัสและพระบรมราโชวาท ดังที่น�ามาใช้ในบทเรียน
จากการสืบคนขอมูลดานคุณูปการ
๔. จดหมายเหตุรายวันและจดหมายเหตุเสด็จประพาส เช่น พระราชนิพนธ์เสด็จประพาสต้น
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-
เจาอยูหัวที่มีตอประเทศ ใหนักเรียน พระราชนิพนธ์ร้อยกรอง
จั ด ทํ า ป า ยนิ เ ทศให ค วามรู  ห น า ชั้ น ๑. โคลง เช่น โคลงสุภาษิต โคลงนิราศ โคลงเรื่องรามเกียรติ์
เรียน ๒. บทละคร เช่น เงาะป่
เงาะป่า
๓. ลิลิต เช่น ลิลิตนิทราชาคริต
๔. พระราชนิพนธ์ล้อเลียนชวนขัน เช่น บทเทศนามิกาทุระ กลอนไดอารี่ซึมซาบ บทละคร
เรื่องวงศเทวราช
นักเรียนควรรู พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓
เงาะปา เปนบทละครทีท่ รงพระราช- องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (องค์การยูเนสโก) ได้ประกาศยกย่อง
นิพนธ โดยใชพระราชจินตนาการของ ให้พระองค์ทรงเป็นบุคคลส�าคัญและเป็นผู้มีผลงานดีเด่นของโลก สาขาการศึกษา วัฒนธรรม
พระองคเอง ทรงใชเวลาพระราชนิพนธ สังคมศาสตร์ มานุษยวิทยา การพัฒนาสังคมและการศึกษา เนื่องในวโรกาสครบ ๑๕๐ ปี ชาตกาล
เพี ย ง 8 วั น และพระราชนิ พ นธ ใ น ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖
ขณะทรงพระประชวร แตก็ทรงพระ-
ราชนิพนธไดดีเยี่ยม ๓ ลักษณะคÓประพันธ์
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์เป็นร้อยแก้ว
ทรงใช้เทศนาโวหารด้วยภาษาที่สื่อความชัดเจนและเข้าใจ ง่าย ตอนใดที่เป็น “ค�าสั่ง” และประสงค์จะ
ให้ปฏิบัติตามจะใช้ค�าว่า “จง” ดังข้อความ

70

70 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีกวีหลายทาน
ที่มีความสามารถในการประพันธ
“ขอจดหมายค�าสั่งตามความประสงค์ให้แก่ลูก บรรดาซึ่งจะให้ออกไปเรียนหนังสือ ใหนักเรียนจับคูกันยกตัวอยาง
ในประเทศยุโรป จงประพฤติตามโอวาทที่จะกล่าวต่อไปนี้...” งานประพันธ 1 ตัวอยาง ที่เปนเรื่อง
ในสมัยรัชกาลที่ 5 และมีลักษณะ
เมือ่ มีรบั สัง่ ให้ปฏิบตั ติ าม ทรงชีแ้ จงเหตุผลทีห่ นักแน่นและชัดเจนทีพ่ ระราชโอรสต้องทรงปฏิบตั ิ คําประพันธเปนรอยแกว
ตามค�าสั่งนั้น ดังข้อความ • งานประพันธที่ยกมานั้นเปนของ
ใคร และมีลักษณะเดนอะไรบาง
“...แต่เห็นว่าซึ่งจะเป็นยศเจ้าไปนั้นไม่เป็นประโยชน์อันใดแก่ตัวนัก ด้วยธรรมดา (แนวตอบ งานประพันธของ
เจ้านายฝ่ายเขามีนอ้ ย เจ้านายฝ่ายเรามีมาก ข้างฝ่ายเขามีนอ้ ยตัวก็ยกย่องท�านุบา� รุงกันใหญ่โต ก.ศ.ร. กุหลาบ ลักษณะเดน
ของงานสะทอนใหเห็นความคิด
มาก กว่าเรา ฝ่ายเราจะไปมียศเสมออยู่กับเขา แต่ความบริบูรณ์และยศศักดิ์ไม่เต็มที่เหมือน
ทางการเมืองวาการปกครองที่ดี
อย่างเขาก็จะเป็นทีน่ อ้ ยหน้าและเห็นเป็นเจ้านายเมืองไทยเลวไป และถ้าเป็นเจ้านายแล้ว ต้อง
นั้น คือการนําหลักคําสอนของ
รักษายศศักดิ์ในกิจการทั้งปวงที่จะท�าทุกอย่างเป็นเครื่องล่อตาล่อหูคนทั้งปวงที่จะให้พอใจดู พระพุทธศาสนามาเปนหลัก
พอใจฟัง จะท�าอันใดก็ต้องระวังตัวไปทุกอย่าง ที่สุดจนจะซื้อจ่ายอันใดก็แพง กว่าคนสามัญ ในการปกครองและการบริหาร
เพราะเขาถือว่ามั่งมี เป็นการเปลืองทรัพย์ในที่ไม่ควรจะเปลือง เพราะเหตุว่าถึงจะเป็นเจ้า ราชการทุกระดับ)
ก็ดีเป็นไพร่ก็ดี เมื่ออยู่ในประเทศมิใช่บ้านเมืองของตัว ก็ไม่มีอ�านาจที่จะท�าฤทธิ์เดชอันใด
ไปผิดกับคนสามัญได้...”
ขยายความเขาใจ
จากตัวอย่าง ทรงให้เหตุผลที่มีความน่าเชื่อถือและหนักแน่นแก่พระราชโอรส จึงท�าให้ผู้อ่าน จากเนื้อความพระบรมราโชวาทใน
เรื่องการใชจายที่วา “...แตพอเขาเปน
มีความเห็นชอบและยินดีที่จะปฏิบัติตาม
ขุนนางเขายังใชกันไดไมวาไรกัน ถา
ส่วนตอนใดที่เป็นค�าสอนทรงใช้วิธีโน้มน้าวให้ผู้ฟังค�าสอนเกิดความคล้อยตาม โดยทรงยกให้
คิดดังนั้นคาดดังนั้นเปนผิดแททีเดียว
เห็นทั้งข้อดีและข้อเสียของการเชื่อฟังหรือไม่เชื่อฟังในค�าสั่งสอน ดังข้อความ พอรักลูกจริงแตไมรักลูกอยางชนิด
นั้นเลย...” ใหนักเรียนชวยกันตอบ
“...ขอบอกเสียให้รู้แต่ต้นมือว่าถ้าผู้ใดไปเป็นหนี้มาจะไม่ยอมใช้หนี้ให้เลย หรือถ้า คําถามตอไปนี้
เป็นการจ�าเป็นจะต้องใช้ จะไม่ใช้เปล่าโดยไม่มีโทษแก่ตัวเลย พึงรู้เถิดว่าต้องใช้หนี้เมื่อใด • จากเนื้อความที่ยกมาในขางตน
ก็จะต้องรับโทษเมื่อนั้นพร้อมกัน อย่าเชื่อถ้อยค�าผู้ใด หรืออย่าหมายใจว่าโดยจะใช้สุรุ่ยสุร่าย หมายความวาอยางไร
ไปเหมือน อย่างเช่นคนเขาไปแต่ก่อนๆ แต่พ่อเขาเป็นขุนนางเขายังใช้กันได้ไม่ว่าไรกัน ถ้าคิด ( แนวตอบ เปนความรักลูกที่ผิด
ดังนั้นคาดดังนั้นเป็นผิดแท้ทีเดียว พ่อรักลูกจริง แต่ไม่รักลูกอย่างชนิดนั้นเลย เพราะรู้เป็น การตามใจลู ก เพราะเห็ น แก
แน่ว่าถ้าจะรักอย่างนั้นตามใจอย่างนั้น จะไม่เป็นการมีคุณอันใดแก่ตัวลูกผู้ได้รับความรัก ความสุขสบายของลูกนั้น ไมใช
นั้นเลย...” ความรักที่แทจริง การตามใจลูก
เรือ่ งการใชจา ยจะทําใหลกู มีนสิ ยั
ใชจายสิ้นเปลือง สุรุยสุราย เปน
71 เหตุใหในอนาคตลูกตองลําบาก
ขัดสน)

คูมือครู 71
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนอานพระบรมราโชวาท
มาลวงหนา แลวสรุปใจความสําคัญ
เปนขอๆ บันทึกลงสมุด พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึงเป็นทัง้ ค�าสัง่ และค�าสอนของ
(แนวตอบ บิดาทีห่ วั ใจเต็มเปีย มไปด้วยความรัก ความกรุณาและเมตตา ซึง่ ค�าสัง่ และค�าสอนทัง้ หมดผูอ้ า่ นสามารถ
1. รูจักวางตนใหเหมาะสม น�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้
2. รูจักใชสอยอยางประหยัด
3. ตั้งใจเลาเรียน ๔ เรื่องย่อ
4. รูจักรักษาชื่อเสียงวงศตระกูล พระบรมราโชวาท มีเนื้อความที่แสดงถึงความรักและความผูกพันของพระบาทสมเด็จพระ-
5. ใชภาษาอื่นใหคลอง และ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทีท่ รงมีตอ่ พระเจ้าลูกยาเธอทัง้ ๔ พระองค์ ในฐานะ “บิดา” ทีต่ อ้ งการเห็น “บุตร”
ใชภาษาไทยใหเชี่ยวชาญ) ได้เติบโตเป็นคนดีพร้อมด้วยสติปัญญา ความรู้ คุณธรรมและได้น�าประโยชน์จากการศึกษาเล่าเรียน
มาพัฒนาประเทศชาติ
ขยายความเขาใจ พระบรมราโชวาทมีเนื้อความสั่งสอนในด้านต่างๆ ดังนี้
1. จากการสรุปใจความสําคัญจาก ๑. การวางตน
เรื่องยอพระบรมราโชวาทเปนขอๆ ๒. การรู้จักใช้สอยพระราชทรัพย์
• ขอใดบางที่นักเรียนสามารถนํา ๓. การรู้จักอุตสาหะเล่าเรียนเพื่อกลับมาท�าคุณประโยชน์แก่บ้านเมือง
ไปปรับใชในชีวิตประจําวันได ๔. การรู้จักรักษาชื่อเสียงของวงศ์ตระกูล
เพราะเหตุใด ๕. ความส�าคัญของการเรียนรู้ภาษาอื่น โดยไม่ละทิ้งภาษาไทย
2. ใหนักเรียนบันทึกลงสมุด พระบรมราโชวาท แม้จะทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเป็นเวลาร้อยปีแล้ว แต่แนวพระราชด�าริยังคง
3. ให นั ก เรี ย นหาพระบรมราโชวาท ทันสมัยเหมาะสมที่บิดามารดาจะน�าไปอบรมบุตรหลานของตน และในขณะเดียวกันบุคคลที่ก�าลังอยู่
ฉบับอื่นมารวมกันพิจารณา ในวัยศึกษาเล่าเรียนก็ควรน้อมน�ามาปฏิบัติ นอกจากนี้พระบรมราโชวาทบางประการยังสามารถน�าไป
• ลักษณะเนื้อหาพระบรม- ปรับใช้ได้กบั บุคคลในช่วงวัยต่างๆ เช่น ความประหยัด การวางตน เป็นต้น แต่ทงั้ นีก้ ารน้อมน�าพระบรม-
ราโชวาทฉบับอื่น สะทอน
ราโชวาทมาปฏิบัติย่อมขึ้นอยู่กับวัยและประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
แนวพระราชดําริอยางไร
• สํานวนโวหารแตกตางไปจาก
พระบรมราโชวาทฉบับที่
พระราชทานพระเจาลูกยาเธอ
ทั้ง 4 พระองคหรือไม อยางไร
(แนวตอบ มีพระบรมราโชวาทที่
ทรงพระราชนิพนธเมือ่ พ.ศ. 2436
พระราชทานสมเด็ จ พระบรม-
โอรสาธิราชเจาฟามหาวชิราวุธ
สยามมกุฎราชกุมารที่นํามา
พิจารณาได)
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงฉายพระรูปร่วมกับพระราชโอรส
72

@
มุม IT
ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ พระบรม-
ราโชวาทรัชกาลที่ 5 เพิ่มเติม ไดที่
http://www.oknation.net/blog/
patijjachon/2008/07/27/entry-1

72 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate

กระตุนความสนใจ
ครูชวนนักเรียนดูพระบรมราโชวาท
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา-
๕ เนื้อเรื่อง เจาอยูหัว และใหนักเรียนแสดงความ
พระบรมราโชวาท คิดเห็น
ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว • พระบรมราโชวาทมีความสําคัญ
ทรงพระราชนิพนธ์เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๘ อยางไร
• พระบรมราโชวาทพระราชทาน
ขอจดหมายค�าสั่งตามความประสงค์ให้แก่ลูก บรรดาซึ่งจะให้ออกไปเรียนหนังสือในประเทศ แกผูใดบาง
ยุโรป จงประพฤติตามโอวาทที่จะกล่าวต่อไปนี้
๑. การซึ่งจะให้ออกไปเรียนครั้งนี้ มีความประสงค์มุ่งหมายแต่จะให้ได้วิชาความรู้อย่างเดียว สํารวจคนหา
ไม่มั่นหมายจะให้เป็นเกียรติยศชื่อเสียงอย่างหนึ่งอย่างใดในชั้นซึ่งยังเป็นผู้เรียนวิชาอยู่นี้เลย เพราะ
ใหนักเรียนคนควาเนื้อเรื่อง
ฉะนัน้ ทีจ่ ะไปครัง้ นี้ อย่าให้ไว้ยศว่าเป็นเจ้า ให้ถอื เอาบรรดาศักดิเ์ สมอลูกผูม้ ตี ระกูลในกรุงสยาม คืออย่า พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ 5
ให้ใช้ฮสิ รอแยลไฮเนสปรินซ์น�าหน้าชือ่ ให้ใช้แต่ชอื่ เดิมของตัวเฉยๆ เมือ่ ผูอ้ นื่ เขาจะเติมหน้าชือ่ หรือจะ
เติมท้ายชือ่ ตามธรรมเนียมอังกฤษ เป็นมิสเตอร์หรือเอสไควร์กตามที ็ เถิด อย่าคัดค้านเขาเลย แต่ไม่ตอ้ ง
ใช้คา� ว่านายตามอย่างไทย ซึง่ เป็นค�าน�าของชือ่ ลูกขุนนางทีเ่ คยใช้แทนมิสเตอร์ เมือ่ เรียกชือ่ ไทยในภาษา อธิบายความรู
อังกฤษบ่อยๆ เพราะว่าเป็นภาษาไทยซึ่งจะท�าให้เป็นที่ฟังขัดๆ หูไป 1. ใหนักเรียนจัดกลุมอภิปราย
ขออธิบายความประสงค์ข้อนี้ให้ชัดว่า เหตุใดจึงได้ไม่ให้ไปเป็นยศเจ้าเหมือนอาของตัวที่เคย พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ 5
ไปแต่ก่อน ความประสงค์ข้อนี้ ใช่ว่าจะเกิดขึ้นเพราะไม่มีความเมตตากรุณา หรือจะปิดบังซ่อนเร้น ที่ศึกษาคนหามากลุมละ 1 ขอ
ไม่ให้รู้ว่าเป็นลูกอย่างนั้นเลย พ่อคงรับว่าเป็นลูก และมีความเมตตากรุณาตามธรรมดาที่บิดาจะกรุณา 2. สงตัวแทนนําเสนอหนาชั้นเรียน
ต่อบุตร แต่เห็นว่าซึ่งจะเป็นยศเจ้าไปนั้นไม่เป็นประโยชน์อันใดแก่ตัวนัก ด้วยธรรมดาเจ้านายฝ่ายเขา แลวบันทึกความรูลงสมุด
มีน้อย เจ้านายฝ่ายเรามีมาก ข้างฝ่ายเขามีน้อยตัวก็ยกย่องท�านุบ�ารุงกันใหญ่โตมาก กว่าเรา ฝ่ายเรา
จะไปมียศเสมออยู่กับเขา แต่ความบริบูรณ์และยศศักดิ์ไม่เต็มที่เหมือน อย่างเขาก็จะเป็นที่น้อยหน้า
และเห็นเป็นเจ้านายเมืองไทยเลวไป และถ้าเป็นเจ้านายแล้ว ต้องรักษายศศักดิใ์ นกิจการทัง้ ปวงทีจ่ ะท�า นักเรียนควรรู
ทุกอย่างเป็นเครื่องล่อตาล่อหูคนทั้งปวงที่จะให้พอใจดูพอใจฟัง จะท�าอันใดก็ต้องระวังตัวไปทุกอย่าง นอยหนา หมายถึง ไมเทียมหนา
ที่สุดจนจะซื้อจ่ายอันใดก็แพง กว่าคนสามัญ เพราะเขาถือว่ามั่งมี เป็นการเปลืองทรัพย์ในที่ไม่ควรจะ มีความภาคภูมิใจไมเทากับผูอื่น
เปลือง เพราะเหตุว่าถึงจะเป็นเจ้าก็ดีเป็นไพร่ก็ดี เมื่ออยู่ในประเทศมิใช่บ้านเมืองของตัว ก็ไม่มีอ�านาจ
ที่จะท�าฤทธิ์เดชอันใดไปผิดกับคนสามัญได้ จะมีประโยชน์อยู่นิดหนึ่งแต่เพียงเข้าที่ประชุมสูงๆ ได้ แต่
ถ้าเป็นลูกผู้มีตระกูลก็จะเข้าที่ประชุมสูงๆ ได้เท่ากันกับเป็นเจ้านั่นเอง เพราะฉะนั้นจึงขอห้ามเสียว่า
อย่าให้ไปอวดอ้างเอง หรืออย่าให้คนใช้สอยอวดอ้างว่าเป็นเจ้านายอันใด จงประพฤติให้ถูกตามค�าสั่งนี้
นักเรียนควรรู
๒. เงินค่าที่จะใช้สอยในการเล่าเรียนกินอยู่นุ่งห่มทั้งปวงนั้น จะใช้เงินพระคลังข้างที่คือเงิน เงินพระคลังขางที่ หมายถึง เงิน
ที่เป็นส่วนสิทธิ์ขาดแก่ตัวพ่อเอง ไม่ใช้เงินที่ส�าหรับจ่ายราชการแผ่นดิน เงินรายนี้ได้ฝากไว้ที่แบงก์ ซึ่ง แผนดินสวนที่ถวายพระมหากษัตริย
เพื่อทรงใชในพระราชกิจตางๆ
73

คูมือครู 73
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ครูแบงกลุมนักเรียนศึกษาโวหาร
ที่ปรากฏในเรื่อง พรอมยกตัวอยาง
ประกอบใหเห็นชัดเจน แลวนําเสนอ จะได้มีค�าสั่งให้ราชทูตจ่ายเป็นเงินส�าหรับเรียนวิชาชั้นต้น ๕ ปี ปีละ ๓๒๐ ปอนด์ เงิน ๑,๖๐๐ ปอนด์
หนาชั้นเรียน ส�าหรับเรียนวิชาชัน้ หลังอีก ๕ ปี ปีละ ๔๐๐ ปอนด์ เงิน ๒,๐๐๐ ปอนด์ รวมเป็นคนละ ๓,๖๐๐ ปอนด์
(แนวตอบ โวหารที่พบ เชน อุปมา จะได้รวู้ ชิ าเสร็จสิน้ อย่างช้าใน ๑๐ ปี แต่เงินนีฝ้ ากไว้ในแบงก์คงจะมีดอกเบีย้ มากขึน้ เหลือการเล่าเรียน
โวหาร “อีกประการหนึ่งชีวิตสังขาร แล้วจะได้ใช้ประโยชน์ของตัวเองตามชอบใจ เป็นส่วนยกให้ เงินส่วนของใครจะให้ลงชื่อเป็นของผู้นั้น
ของมนุ ษ ย ไ ม ยั่ ง ยื น ยื ด ยาวเหมื อ น ฝากเอง แต่ในก�าหนดยังไม่ถึงอายุ ๒๑ ปีเต็ม จะเรียกเอาเงินค่าใช้สอยเองมิได้ จะตั้งผู้จัดการแทนไว้
เหล็กเหมือนศิลา” สาธกโวหาร “กลับ ทีน่ อก ให้เป็นผูช้ ว่ ยจัดการฝากเงินไว้แห่งใดเท่าใด และผูใ้ ดเป็นผูจ้ ดั การจะได้ทา� หนังสือมอบให้อกี ฉบับ
เห็นเปนการเกการกีอ๋ ยางเชนนักเรียน หนึ่ง ส�าหรับที่จะได้ไปทวงเอาในเวลาต้องการได้
บางคนมักจะเห็นผิดไปดังนั้น แตที่ การซึ่งใช้เงินพระคลังข้างที่ไม่ใช้เงินแผ่นดินอย่างเช่นเคยจ่ายให้เจ้านายและบุตรข้าราชการ
จริงเปนการเสียที่ควรจะติเตียนแทที
ไปเล่าเรียนแต่ก่อนนั้น เพราะเห็นว่าพ่อมีลูกมากด้วยกัน การซึ่งให้มีโอกาสและให้ทุนทรัพย์ซึ่งจะได้
เดียว”)
เล่าเรียนวิชานี้ เป็นทรัพย์มรดกอันประเสริฐดีกว่าทรัพย์สินเงินทองอื่นๆ ด้วยเป็นของติดตัวอยู่ได้
ไม่มีอันตรายที่จะเสื่อมสูญ ลูกคนใดที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดก็ดีหรือไม่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดก็ดี
ก็จะต้องส่งไปเรียนวิชาทุกคนตลอดโอกาสทีจ่ ะเป็นไปได้เหมือนหนึง่ ได้แบ่งทรัพย์มรดกให้แก่ลกู เสมอๆ
เกร็ดแนะครู กันทุกคน ก็ถ้าจะใช้เงินแผ่นดินส�าหรับให้ไปเล่าเรียนแก่ผู้ซึ่งมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด กลับมาไม่ได้ท�า
โวหาร คือ การใชถอยคํา สํานวน ราชการคุ้มกับเงินแผ่นดินที่ลงไปก็จะเป็นที่ติเตียนของคนบางจ�าพวกว่ามีลูกมากเกินไป จนต้องใช้เงิน
และชั้นเชิงการประพันธของกวี ชวย แผ่นดินเป็นค่าเล่าเรียนมากมายเหลือเกิน แล้วซ�้าไม่เลือกฟั้นเอาแต่ที่เฉลียวฉลาดจะได้ราชการ คนโง่
ให ผู  อ  า นเกิ ด ความเข า ใจและเกิ ด คนเง่าก็เอาไปเล่าเรียนให้เปลืองเงิน เพราะค่าที่เป็นลูกของพ่อ ไม่อยากจะให้มีมลทินที่จะพูดติเตียน
จินตภาพตามทีผ่ เู ขียนตองการไดงา ย เกี่ยวข้องกับความปรารถนาซึ่งจะสงเคราะห์แก่ลูกให้ทั่วถึงโดยเที่ยงธรรมนี้ จึงมิได้ใช้เงินแผ่นดิน
ขึ้น ครูแนะความรูเรื่องโวหารตางๆ อีกประการหนึ่งเล่า ถึงว่าเงินพระคลังข้างที่นั้นเองก็เป็นส่วนหนึ่งในแผ่นดินเหมือนกัน เว้นแต่
ดังนี้ เป็นส่วนที่ยกให้แก่พ่อใช้สอยในการส่วนตัว มีท�าการกุศลและสงเคราะห์บุตรภรรยา เป็นต้น เห็นว่า
1. พรรณนาโวหาร คือ การสื่อสารที่
การสงเคราะห์ด้วยการเล่าเรียนดังนี้เป็นดีกว่าอย่างอื่นๆ จึงได้เอาเงินรายนี้ใช้เป็นการมีคุณต่อแผ่นดิน
ใหรายละเอียดอยางถี่ถวน ไมมี
การดําเนินเรือ่ ง เนนการพรรณนา ที่ไม่ต้องแบ่งเงินแผ่นดินมาใช้เป็นค่าเล่าเรียนขึ้นอีกส่วนหนึ่ง และพ้นจากค�าคัดค้านต่างๆ เพราะเหตุ
ใหเกิดจินตภาพตาม ที่พ่อได้เอาเงินส่วนที่พ่อจะได้ใช้เองนั้นออกให้เล่าเรียนด้วยเงินรายนี้ ไม่มีผู้หนึ่งผู้ใดที่จะแทรกแซงว่า
2. บรรยายโวหาร คือ กระบวนการ ควรใช้อย่างนั้น ไม่ควรใช้อย่างนั้นได้เลย
อธิบายที่มีเนื้อเรื่อง ลําดับความ ๓. จงรู้สึกตัวเป็นนิจเถิดว่า เกิดมาเป็นเจ้านายมียศบรรดาศักดิ์มากจริงอยู่ แต่ไม่เป็นการ
มุงอธิบายใหเห็นเรื่องราวชัดเจน จ�าเป็นเลยที่ผู้ใดเป็นเจ้าแผ่นดินขึ้น จะต้องใช้ราชการอันเป็นช่องที่จะหาเกียรติยศชื่อเสียงและทรัพย์
3. เทศนาโวหาร เปนโวหารที่เกี่ยว สมบัติ ถ้าจะว่าตามการซึ่งเป็นมาแต่ก่อน เจ้านายซึ่งจะหาช่องท�าราชการได้ยาก กว่าลูก ขุนนางเพราะ
ของกับการสั่งสอน ชี้แจงเหตุผล เหตุที่เป็นผู้มีวาสนาบรรดาศักดิ์มาก จะรับราชการในต�าแหน่งต�่าๆ ซึ่งเป็นกระไดขั้นแรก คือเป็นนาย
เปนคติสอนใจ รองหุ้มแพรมหาดเล็ก เป็นต้น ก็ไม่ได้เสียแล้ว จะไปแต่งตั้งให้ว่าการใหญ่โตสมแก่ยศศักดิ์ เมื่อไม่มีวิชา
4. สาธกโวหาร เปนโวหารที่แสดง ความรู้และสติปัญญาพอที่จะท�าการในต�าแหน่งนั้นไปได้ก็เป็นไปไม่ได้ เพราะฉะนั้นเจ้านายจะเป็นผู้ได้
การยกตั ว อย า งหรื อ อุ ท าหรณ
ประกอบขอความ เพื่อใหเขาใจ 74
แจมชัดมากขึ้น
5. อุปมาโวหาร เปนโวหารแสดงการ
เปรี ย บเที ย บสิ่ ง สองสิ่ ง เพื่ อ ให
เกิดภาพความคิดในใจและเขาใจ
ไดกระจางมากขึ้น

74 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนศึกษาความรูเรื่อง
คําซอน พรอมยกตัวอยางประกอบ
ท�าราชการมีชื่อเสียงดี ก็อาศัยได้แต่สติปัญญาความรู้และความเพียรของตัว เพราะฉะนั้นจงอุตสาหะ จากเรื่อง แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน
เล่าเรียนโดยความเพียรอย่างยิ่ง เพื่อจะได้มีโอกาสที่จะท�าการให้เป็นคุณแก่บ้านเมืองของตน และโลก (แนวตอบ คําซอนเปนคําประเภท
ที่ตัวได้มาเกิด ถ้าจะถือว่าเกิดมาเป็นเจ้านายแล้วนิ่งๆ อยู่จนตลอดชีวิตก็เป็นสบายดังนั้น จะไม่ผิด หนึ่ ง ที่ เ กิ ด จากการนํ า คํ า สองคํ า มา
อันใดกับสัตว์ดริ จั ฉานอย่างเลวนัก สัตว์ดริ จั ฉานมันเกิดมากินๆ นอนๆ แล้วก็ตาย แต่สตั ว์บางอย่างยังมี ซอนกัน เดิมมักใชคําที่มีความหมาย
หนังมีเขามีกระดูกเป็นประโยชน์ได้บา้ ง แต่ถา้ คนประพฤติอย่างเช่นสัตว์ดริ จั ฉานแล้ว จะไม่มปี ระโยชน์ เหมื อ นกั น หรื อ คล า ยกั น เช น บ า น
อันใดยิ่งกว่าสัตว์ดิรัจฉานบางพวกไปอีก เพราะฉะนั้นจงอุตสาหะที่จะเรียนวิชาเข้ามาเป็นก�าลังที่จะท�า เรื อ น ทรั พ ย สิ น เป น ต น ต อ มาจึ ง
ตัวให้ดกี ว่าสัตว์ดริ จั ฉานให้จงได้ จึงจะนับว่าเป็นการได้สนองคุณพ่อซึง่ ได้คดิ ท�านุบา� รุงเพือ่ จะให้ดตี งั้ แต่ นํ า คํ า ที่ มี ค วามหมายตรงข า มกั น
เกิดมา มาซ อ นกั น เช น หน า หลั ง ดํ า ขาว
ผิดชอบ ชั่วดี เปนตน คําซอนแบงออก
๔. อย่าได้ถือตัวว่า ตัวเป็นลูกเจ้าแผ่นดิน พ่อมีอ�านาจยิ่งใหญ่อยู่ในบ้านเมือง ถึงจะเกะกะไม่
เปน 2 ชนิด คือ คําซอนเพื่อความ
กลัวเกรงคุมเหงผู้ใด เขาก็คงจะมีความเกรงใจพ่อ ไม่ต่อสู้หรือไม่อาจฟ้องร้องว่ากล่าว การซึ่งเชื่อใจ
หมาย และคําซอนเพื่อเสียง คําซอน
ดังนั้นเป็นการผิดแท้ทีเดียว เพราะความปรารถนาของพ่อไม่อยากจะให้ลูกมีอ�านาจที่จะเกะกะ เพื่อเสียง เชน เกะกะ เปนตน คําซอน
อย่างนั้นเลย เพราะรู้เป็นแน่ว่าเมื่อรักลูกเกินไป ปล่อยให้ไม่กลัวใครและประพฤติการชั่วเช่นนั้น คงจะ เพื่อความหมาย เชน กลัวเกรง ยั่งยืน
เป็นโทษแก่ตัวลูกนั้นเองทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพราะฉะนั้นจงรู้เถิดว่าถ้าเมื่อได้ท�าความผิดเมื่อใด ยืดยาว เปนตน)
จะได้รับโทษโดยทันที การที่มีพ่อเป็นเจ้าแผ่นดินนั้นจะไม่เป็นการช่วยเหลืออุดหนุนแก้ไขอันใดได้เลย
อีกประการหนึ่ง ชีวิตสังขารของมนุษย์ไม่ยั่งยืนยืดยาวเหมือนเหล็กเหมือนศิลา ถึงโดยว่าจะมีพ่ออยู่
ในขณะหนึ่ง ก็คงจะมีเวลาที่ไม่มีได้ขณะหนึ่งเป็นแน่แท้ ถ้าประพฤติความชั่วเสียแต่ในเวลามีพ่ออยู่ ขยายความเขาใจ
แล้ว โดยจะปิดบังซ่อนเร้นอยู่ได้ด้วยอย่างหนึ่งอย่างใด เวลาไม่มีพ่อ ความชั่วนั้นคงจะปรากฏเป็นโทษ ใหนักเรียนนําคําซอนจากเรื่อง
ติดตัวเหมือนเงาตามหลังอยูไ่ ม่ขาด เพราะฉะนัน้ จงเป็นคนอ่อนน้อม ว่าง่ายสอนง่ายอย่าให้เป็นทิฐมิ านะ พระบรมราโชวาทมาสรางประโยค
ไปในทางที่ผิด จงประพฤติตัวหันมาทางที่ชอบที่ถูกอยู่เสมอเป็นนิจเถิด จงละเว้นเวลาที่ชั่วซึ่งรู้ได้เอง 3 ประโยค
แก่ตัวหรือมีผู้ตักเตือนแนะน�าให้รู้แล้ว อย่าให้ล่วงให้เป็นไปได้เลยเป็นอันขาด
๕. เงินทองที่จะใช้สอยในค่ากินอยู่ นุ่งห่มหรือใช้สอยเบ็ดเสร็จทั้งปวงจงเขม็ดแขม่ใช้แต่เพียง
พอที่อนุญาตให้ใช้ อย่าท�าใจโตมือโตสุรุ่ยสุร่ายโดยถือตัวว่าเป็นเจ้านายมั่งมีมาก หรือถือว่าพ่อเป็น เกร็ดแนะครู
เจ้าแผ่นดินมีเงินทองถมไป ขอบอกเสียให้รู้แต่ต้นมือว่าถ้าผู้ใดไปเป็นหนี้มาจะไม่ยอมใช้หนี้ให้เลย หรือ ครูเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับ
ถ้าเป็นการจ�าเป็นต้องใช้ จะไม่ใช้เปล่าโดยไม่มีโทษแก่ตัวเลย พึงรู้เถิดว่าต้องใช้หนี้เมื่อใด ก็จะต้อง คําประสมอื่นๆ ที่ขึ้นตนดวยคําวา
รับโทษเมือ่ นัน้ พร้อมกัน อย่าเชือ่ ถ้อยค�าผูใ้ ด หรืออย่าหมายใจว่าโดยจะใช้สรุ ยุ่ สุรา่ ยไปเหมือนอย่างเช่น “ตน” เชน ตนขั้ว ตนคิด ตนฉบับ
คนเขาไปแต่ก่อนๆ แต่พ่อเขาเป็นขุนนางเขายังใช้กันได้ไม่ว่าไรกัน ถ้าคิดดังนั้นคาดดังนั้นเป็นผิดแท้ ตนตอ ตนทาง ตนแบบ ตนทุน ตนนํ้า
ทีเดียว พ่อรักลูกจริง แต่ไม่รักลูกอย่างชนิดนั้นเลย เพราะรู้เป็นแน่ว่าถ้าจะรักอย่างนั้นตามใจอย่างนั้น ตนเสียง ตนหอง ตนเรื่อง เปนตน
จะไม่เป็นการมีคุณอันใดแก่ตัวลูกผู้ได้รับความรักนั้นเลย เพราะจะเป็นผู้ไม่ได้วิชาที่ปรารถนาจะให้ได้
จะไปได้แต่วชิ าทีจ่ ะท�าให้เสียชือ่ เสียงและได้ความร้อนใจอยูเ่ ป็นนิจ จงนึกไว้ให้เสมอว่าเงินทองทีแ่ ลเห็น

75
นักเรียนควรรู
ตนมือ หมายถึง ตั้งแตแรก เริ่มแรก
ตนมือ เปนการสรางคําโดยวิธีประสม
คํา นอกจากนีย้ งั มีคาํ ประสมอีกหลาย
คําที่ขึ้นตนดวยคําวา “ตน”

คูมือครู 75
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


จากที่นักเรียนอานพระบรม-
ราโชวาทและสรุปใจความสําคัญแลว
• ในพระบรมราโชวาทขอที่ 5 นี้ มากๆ ไม่ได้เป็นของหามาได้โดยง่ายเหมือนเวลาที่จ่ายไปง่ายนั้นเลย เงินที่ส่วนตัวได้รับเบี้ยหวัดหรือ
ทรงเนนเรื่องใด เงินกลางปีอยู่เสมอนั้น ก็ด้วยอาศัยเป็นลูกพ่อ ส่วนเงินที่พ่อได้หรือลูกได้เพราะพ่อนั้น ก็เพราะอาศัยที่
(แนวตอบ ใชจายอยางประหยัด พ่อเป็นผู้ท�านุบ�ารุงรักษาบ้านเมือง และราษฎรผู้เจ้าของทรัพย์นั้นก็เฉลี่ยเรี่ยไรกันมาให้ เพื่อจะให้เป็น
อยาฟุมเฟอยจนเปนหนี้) ก�าลังทีจ่ ะหาความสุขคุม้ กับค่าทีเ่ หน็ดเหนือ่ ย ทีต่ อ้ งรับการในต�าแหน่งอันสูงคือเป็นผูร้ กั ษาความสุขของ
เขาทั้งปวง เงินนั้นไม่ควรจะน�ามาจ�าหน่ายในการที่ไม่เป็นประโยชน์ไม่เป็นเรื่อง และเป็นการไม่มีคุณ
กลับให้โทษแก่ตัว ต้องใช้แต่ในการจ�าเป็นที่จะต้องใช้ ซึ่งจะเป็นการมีคุณประโยชน์แก่ตนและผู้อื่นใน
ขยายความเขาใจ
ทางชอบธรรม ซึ่งจะเอาไปกอบโกยใช้หนี้ให้แก่ลูกผู้ท�าความชั่วจนเสียทรัพย์ไปนั้นสมควรอยู่หรือ
นักเรียนชวยกันระดมความคิด เพราะฉะนั้นจึงต้องว่าไม่ยอมที่จะใช้หนี้ให้ โดยว่าจะต้องใช้ให้ก็จะต้องมีโทษเป็นประกัน มั่นใจว่าจะ
• นักเรียนคิดวาจะนําพระบรม-
ไม่ตอ้ งใช้อกี เพราะจะเข็ดหลาบในโทษทีท่ า� นัน้ จึงจะยอมใช้ให้ได้ ใช้ให้เพราะจะไม่ให้ทรัพย์ผอู้ นื่ สูญเสีย
ราโชวาทขอที่ 5 ไปใชในชีวิต
เท่านั้น ใช่จะใช้ให้โดยความรักใคร่อย่างบิดาให้บุตรเมื่อมีความยินดีต่อความประพฤติของบุตรนั้นเลย
ประจําวันไดอยางไร
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน เพราะฉะนั้นจงจ�าไว้ ตั้งใจอยู่ให้เสมอว่าตัวเป็นคนจน มีเงินใช้เฉพาะแต่ที่จะรักษาความสุขของตัว
การรูจักประหยัด เปนตน) พอสมควรเท่านั้น ไม่มั่งมีเหมือนใครๆ อื่น และไม่เหมือนกับผู้ดีฝรั่งเลย ผู้ดีฝรั่งเขามั่งมีสืบตระกูลกัน
มาด้วยได้ดอกเบี้ย ค่าเช่าต่างๆ ตัวเองเป็นผู้ได้เงินจากราษฎรเลี้ยง พอสมควรที่จะเลี้ยงชีวิตและรักษา
เกียรติยศเท่านั้น อย่าไปอวดมั่งอวดมีท�าเทียบเทียมเขาให้ฟุ้งซ่านไปเป็นอันขาด
อีกอย่างหนึ่ง จะนึกเอาเองว่าถึงโดยเป็นหนี้สินลงอย่างไร พ่อจะไม่ใช้หรือจะให้ใช้ก็กลัวต้อง
นักเรียนควรรู ท�าโทษ คิดว่าเงินทองของตัวที่ได้ปีหนึ่งๆ มีอยู่ทั้งเบี้ยหวัดและเงินกลางปี เวลาออกไปเรียนไม่ได้ใช้
เบี้ยหวัด คือเงินที่พระมหากษัตริย เงินรายนี้เก็บรวมอยู่เปล่าๆ จะเอาเงินรายนี้ใช้หนี้เสีย ต่อไปก็คงได้ทุกปี ซึ่งจะคิดอย่างนี้แล้วและจับ
พระราชทานเปนงวดๆ ใหแกเจานาย จ่ายเงินทองจนต้องเป็นหนี้กลับเข้ามานั้น ก็เป็นการไม่ถูกเหมือนกัน เพราะว่าผลประโยชน์อันใดที่จะ
หรือผูที่รับราชการสนองพระเดช ได้อยู่ในเวลามีพ่อกับเวลาไม่มีพ่อนั้น จะถือเอาเป็นแน่ว่าจะคงที่อยู่นั้นไม่ได้ และยิ่งเป็นผู้ใหญ่ขึ้นก็จะ
พระคุณ มีบ้านเรือนบุตรภรรยามากขึ้น คงต้องใช้มากขึ้น เงินที่จะได้นั้นบางทีก็จะไม่พอ จะเชื่อว่าวิชาที่ตัวไป
เรียนจะเป็นเหตุให้ได้ท�าราชการได้ผลประโยชน์ทันใช้หนี้ก็เชื่อไม่ได้ เพราะเหตุที่ตัวเป็นเจ้านาย ถ้า
บางทีจะเป็นเวลากีดขัดข้องเพราะเป็นเจ้านายนั้นก็จะท�าอะไรไม่ได้เลย ถ้าจะหันไปข้างท�ามาหากิน
นักเรียนควรรู ซึ่งเป็นการยากที่จะท�าเพราะเป็นเจ้าเหมือนกัน คือไปรับจ้างเขาเป็นเสมียนไม่ได้ เป็นต้น เมื่อทุนรอน
เงินกลางป คือเบี้ยหวัดที่จายกลางป ทีม่ เี อาไปใช้หนีเ้ สียหมดแล้ว จะเอาอันใดเป็นทุนรอนท�ามาหากินเล่า เพราะฉะนัน้ จึงว่าถ้าจะคิดใช้อย่าง
เช่นนี้ซึ่งตัวจะคิดเห็นว่าเป็นอันไม่ต้อง กวนพ่อแล้วนั้น ก็ยังเป็นการเสียประโยชน์ภายหน้ามาก ไม่ควร
จะก่อให้มีให้เป็นขึ้น
๖. วิชาทีจ่ ะออกไปเรียนนัน้ ก็คงต้องเรียนภาษาและหนังสือในสามภาษา คือ อังกฤษ ฝรัง่ เศส
เยอรมัน ให้ได้แม่นย�าชัดเจนคล่องแคล่วจนถึงแต่งหนังสือได้สองภาษาเป็นอย่างน้อย เป็นวิชาหนังสือ
อย่างหนึ่ง กับวิชาเลขให้เรียนรู้คิดใช้ได้ในการต่างๆ อีกอย่างหนึ่งนี้เป็นต้น วิชาสองอย่างที่จ�าเป็นจะ

76

76 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
นั ก เรี ย นร ว มกั น อธิ บ ายจากเนื้ อ
ความที่ ว  า “...ขอบั ง คั บ ว า ให เ ขี ย น
ต้องเรียนให้รใู้ ห้ได้จริงๆ เป็นชัน้ ต้น แต่วชิ าอืน่ ๆ ทีจ่ ะเรียนต่อไป ให้เป็นวิชาช�านาญวิเศษในกิจการข้าง หนังสือถึงพอทุกคนอยางนอยเดือน
วิชานัน้ จะตัดสินเป็นแน่นอนว่าให้เรียนสิง่ ใดในเวลานีก้ ย็ งั ไม่ควร จะต้องไว้เป็นค�าสัง่ ต่อภายหลัง เมือ่ รู้ ละฉบับ...ใหเขียนภาษาอืน่ นัน้ มาฉบับ
วิชาชั้นต้นพอสมควรแล้ว แต่บัดนี้จะขอตักเตือนอย่างหนึ่งก่อนว่า ซึ่งให้ออกไปเรียนภาษาวิชาการใน หนึง่ ใหเขียนคําแปลเปนภาษาไทยอีก
ประเทศยุโรปนัน้ ใช่วา่ จะต้องการเอามาใช้แต่เฉพาะภาษาฝรัง่ หรืออย่างฝรัง่ นัน้ อย่างเดียว ภาษาไทยและ ฉบับหนึ่งติดกันอยาใหขาด”
หนังสือไทยซึง่ เป็นภาษาของตัวหนังสือของตัว คงจะต้องใช้อยูเ่ ป็นนิจ จงเข้าใจว่าภาษาต่างประเทศนัน้ • เพราะเหตุใด ร.5 จึงทรงสั่งสอน
เป็นแต่พนื้ ของความรู้ เพราะวิชาความรูใ้ นหนังสือไทยทีม่ ผี แู้ ต่งไว้นนั้ เป็นแต่ของเก่าๆ มีนอ้ ย เพราะมิได้ พระเจาลูกยาเธอดังขอความที่
สมาคมกับชาติอื่นช้านานเหมือนวิชาการในประเทศยุโรปที่ได้สอบสวนซึ่งกันและกันจนเจริญรุ่งเรือง ยกมา
มากแล้วนั้น ฝ่ายหนังสือไทยจึงไม่พอที่จะเล่าเรียน จึงต้องไปเรียนภาษาอื่นเพื่อจะได้เรียนวิชาให้ (แนวตอบ เพราะพระองคมี
พระประสงคใหเรียนวิชาอื่นให
กว้างขวางออก แล้วจะเอากลับลงมาใช้เป็นภาษาไทยทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นจะทิ้งภาษาของตัวให้ลืม
กวางขวางแลวสามารถแปลมา
ถ้อยค�าที่จะพูดให้สมควรเสีย หรือจะลืมวิธีเขียนหนังสือไทยที่ตัวได้ฝกหัดแล้วเสียนั้นไม่ได้เลย ถ้ารู้แต่
ใชเปนภาษาไทย ใหเปนแหลง
ภาษาต่างประเทศ ไม่รเู้ ขียนอ่านแปลลงเป็นภาษาไทยได้กไ็ ม่เป็นประโยชน์อนั ใด ถ้าอย่างนัน้ หาจ้างแต่ ศึกษาความรู ดวยวิชาการของ
ฝรั่งมาใช้เท่าไรๆ ก็ได้ ที่ต้องการนั้นต้องให้กลับแปลภาษาต่างประเทศลงเป็นภาษาไทยได้ แปลภาษา ไทยเรายังไมพอสําหรับเลาเรียน)
ไทย ออกเป็นภาษาต่างประเทศได้จึงจะนับว่าเป็นประโยชน์ อย่าตื่นตัวเองว่าได้ไปร�่าเรียนภาษาฝรั่ง
แล้วลืมภาษาไทย กลับเห็นเป็นการเกการกี๋ อย่างเช่นนักเรียนบางคนมักจะเห็นผิดไปดังนั้น แต่ที่จริง
เป็นการเสียที่ควรจะติเตียนแท้ทีเดียว เพราะเหตุฉะนั้นในเวลาที่ออกไปเรียนวิชาอยู่ ขอบังคับว่าให้ ขยายความเขาใจ
เขียนหนังสือถึงพ่อทุกคน อย่างน้อยเดือนละฉบับ เมื่อเวลายังเขียนหนังสืออังกฤษไม่ได้ ก็ให้เขียนมา นักเรียนแสดงความคิดเห็น
เป็นหนังสือไทย ถ้าเขียนหนังสืออังกฤษหรือภาษา • เมื่อนักเรียนอานพระบรมราโชวาท
หนึ่งภาษาใดได้ ให้เขียนภาษาอื่นนั้นมาฉบับหนึ่ง ขอ 6 แลว นักเรียนมีวิธีการ
ให้เขียนค�าแปลเป็นภาษาไทยอีกฉบับหนึ่ง ติดกัน อนุรักษภาษาไทยอยางไร
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน
มาอย่าให้ขาด เพราะเหตุทลี่ กู ยังเป็นเด็กไม่ได้เรียน
การใชภาษาไทยใหถกู หลัก การพูด
ภาษาไทยแน่นอนมัน่ คง ก็ให้อาศัยไต่ถามครูไทยที่
ใหเหมาะสมกับโอกาส เปนตน)
ออกไปอยูด่ ว้ ยหรือค้นดูตามหนังสือภาษาไทยซึง่ ได้
จัดออกไปให้ด้วย คงจะพอหาถ้อยค�าที่จะใช้แปล
ออกเป็นภาษาไทยได้ แต่หนังสือไทยทีจ่ ะเป็นก�าลัง
ช่วยอย่างนี้ยังมีน้อยจริง เมื่อเขียนเข้ามาค�าใด นักเรียนควรรู
ผิด จะติเตียนออกไปแล้วจงจ�าไว้ใช้ให้ถูกต่อไป เปนการเกการกี๋ หมายถึง เปนเรื่อง
ภายหน้า อย่าให้มีความกลัวความกระดากว่าจะ โกทันสมัย
ผิด ให้ท�าตามที่เต็มความอุตสาหะความแน่ใจว่า
กรมหมืน่ เทวะวงศ์วโรปการ ผูท้ า� หน้าทีเ่ ป็นธุระจัดการดูแล เป็นถูกแล้ว เมื่อผิดก็แก้ไปไม่เสียหายอันใด
การศึกษาในต่างประเทศของพระราชโอรสในรัชกาลที่ ๕
77

คูมือครู 77
สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Evaluate

สํารวจคนหา (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนคนควาคํายืมที่ทับศัพท
ที่ปรากฏในพระบรมราโชวาท แลว
บันทึกลงสมุด (ครูแนะนําใหนักเรียน ๗. จงรูว้ า่ การเล่าเรียนของลูกทัง้ ปวงนัน้ อาของเจ้ากรมหมืน่ เทวะวงศ์วโรปการ ได้รบั ปฏิญาณ
บันทึกความรูในรูปแบบตาราง) ต่อพ่อว่า จะตั้งใจอุตสาหะเป็นธุระในการเล่าเรียนของลูกทั้งปวงทั้งในปัจจุบันและภายหน้า พ่อได้
(แนวตอบ ตัวอยาง) มีความวางใจมอบธุระสิทธิ์ขาดแก่กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการเป็นธุระทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ในกรุงเทพฯ
คําที่ปรากฏ คําภาษา คําปจจุบัน เมือ่ มีธรุ ะขัดข้องประการใด ให้มีหนังสือมาถึงกรมหมืน่ เทวะวงศ์ฯ ก็จะรูต้ ลอดได้ถงึ พ่อ และกรมหมืน่ -
ในเรื่อง อังกฤษ
เทวะวงศ์ฯ นั้น คงจะเอาธุระท�านุบ�ารุงทุกสิ่งทุกอย่างให้ส�าเร็จตลอดไปได้ ส่วนที่ในประเทศยุโรปนั้น
แบงก bank ธนาคาร
มิสเตอร Mister นาย ถ้าไปอยูใ่ นประเทศใดทีม่ รี าชทูตของเราอยู่ ราชทูตคงจะเอาเป็นธุระดูแลทุกสิง่ ทุกอย่าง เมือ่ มีการขัดข้อง
ล�าบากประการใดจงชีแ้ จงแจ้งความให้ทา่ นราชทูตทราบ คงจะจัดการได้ตลอดไป เมือ่ ไปอยูใ่ นโรงเรียน
แห่งใด จงประพฤติการให้เรียบร้อยตามแบบอย่างซึ่งเขาตั้งลงไว้ อย่าเกะกะวุ่นวายเชื่อตัวเชื่อฤทธิ์ไป
อธิบายความรู ต่างๆ จงอุตสาหะพากเพียรเรียนวิชาให้รู้มา ได้ช่วยก�าลังพ่อเป็นที่ชื่นชมยินดีสมกับที่มีความรักนั้นเถิด
ใหนักเรียนอธิบายคําทับศัพทและ
การบัญญัติศัพท
• คําทับศัพททปี่ รากฏในพระบรม- ๖ คÓศัพท์
ราโชวาทยังมีใชในปจจุบันหรือ
ค�าศัพท์ ความหมาย
ไมอยางไร
(แนวตอบ มี เพราะคําทับศัพทใน การเก๋การกี๋ การท�าท่าทีว่างามเข้าที ตรงกับค�าว่า โก้เก๋
สมัยกอนเปนคําที่คนไทยใชจน เขม็ดแขม่ ใช้จ่ายอย่างระมัดระวัง เพราะเกรงว่าจะไม่พอใช้
ติดปากในปจจุบันจึงยังมีการใช เงินกลางปี เบี้ยหวัดที่จ่ายกลางปี
คําทับศัพทเหมือนสมัยกอน)
เงินพระคลังข้างที่ เงินแผ่นดินส่วนที่ถวายพระมหากษัตริย์เพื่อทรงใช้ในพระราชกิจต่างๆ
• ใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหวา
ในการบัญญัติคําทับศัพทนั้นมี ใจโตมือโต มีใจกว้างเกินประมาณ ใช้จ่ายมากเกินสมควรหรือเกินความจ�าเป็น
หลักการอยางไร เชื่อตัว มั่นใจในตนเอง
(แนวตอบ การบัญญัติคําศัพทจะ เชื่อฤทธิ์ มั่นใจในอ�านาจ
หาคํ า ไทยที่ มี ค วามหมายตรง ดิรัจฉาน สัตว์เว้นจากมนุษย์ ที่มีร่างกายเจริญเติบโตโดยขวาง
ตามคําศัพทนั้น หากไมมีคําไทย
ตั้งลงไว้ ก�าหนดไว้
ทีใ่ หความหมายไดกจ็ ะใชคาํ บาลี
สันสกฤตมาบัญญัติศัพทแทน) ทิฐิมานะ ความเห็น ความพยายาม
เที่ยงธรรม ยุติธรรม ตั้งตรงด้วยความเป็นธรรม
บรรดาศักดิ์ ฐานะที่พระราชทานแก่ข้าราชการหรือบุคคลทั่วไปก่อนการเปลี่ยนแปลงการ
ขยายความเขาใจ ปกครอง แบ่งออกเป็น เจ้าพระยา พระยา พระ หลวง ขุน หมื่น พันและ
ใหนักเรียนนําคําทับศัพทที่ปรากฏ ทนาย โดยมีราชทินนามต่อท้าย เช่น เจ้าพระยายมราช เจ้าพระยาพลเทพ
ในชีวติ ประจําวัน เชน เพลง ภาพยนตร ผู้มีบรรดาศักดิ์จัดว่าเป็นผู้มีตระกูล
ละคร นิตยสาร เปนตน มาอธิบาย
ความหมาย คนละ 3 คํา พรอมทั้ง 78
ระบุแหลงที่มาของคําศัพทเหลานั้น
ดวย โดยพิจารณาวาคําทับศัพทนั้น
มีการบัญญัติศัพทใชหรือไม ถามีคือ
คําใด บันทึกลงสมุด

78 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนรวมกันแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับการใชคําทับศัพท
ค�าศัพท์ ความหมาย
• เหตุใดจึงปรากฏการใชคํายืม
เบี้ยหวัด เงินที่มีก�าหนดจ่ายเป็นรายปีให้แก่พระบรมวงศานุวงศ์หรือข้าราชบริพาร จาก ภาษาอังกฤษในพระบรม-
เงิ น งบประมาณรายจ่ า ยหมวดเงิ น อุ ด หนุ น ของส� า นั ก พระราชวั ง ในที่ นี้ ราโชวาท และหากปรากฏการใช
หมายถึง เงินที่พระราชทานเป็นงวดให้แก่เจ้านายหรือผู้ที่รับราชการสนอง
จะสงผลตอภาษาไทยอยางไรบาง
พระเดชพระคุณ
(แนวตอบ เพราะไทยติดตอกับ
แบงก์ มาจากค�าว่า Bank หมายถึงธนาคาร
ชาติตะวันตก และไทยไดรับ
ปฏิญาณ ให้ค�ามั่นสัญญา โดยมากมักเป็นไปตามแบบพิธี อิทธิพลมาหลายดาน โดยเฉพาะ
ปอนด์ ชื่อหน่วยเงินตราของอังกฤษเท่ากับ ๑๐๐ เพนซ์ หรือเรียกว่า ปอนด์สเตอร์ลิง ด า นการศึ ก ษา ความรู  ซึ่ ง เป น
เป็นธุระ ถือเป็นเรื่องที่ตนควรท�าให้ วิทยาการใหมๆ ทีน่ าํ มาใชพฒ ั นา
ประเทศ ดังนั้นจึงปรากฏ
พระคลังข้างที่ ส่วนราชการซึ่งมีหน้าที่ดูแลทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพระบรมวง-
ศานุวงศ์ตามที่ได้รับมอบหมาย
คําภาษาอังกฤษ ซึ่งสงผลใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงภาษาภายนอก
ฟุ้งซ่าน ในที่นี้หมายความว่า มากเกินไป ในความว่า “อย่าท�าอวดมั่งอวดมีท�า
คื อ อิ ท ธิ พ ลจากต า งประเทศ
เทียบเทียมเขาให้ฟุ้งซ่าน”
ทํ า ให คํ า ที่ ใ ช ใ นภาษาไทยเพิ่ ม
มลทิน ความมัวหมอง ความด่างพร้อย ความไม่บริสุทธิ์ ขึ้ น และต อ มาจึ ง ได พ ยายาม
มิสเตอร์ มาจากค�าว่า Mister ใช้เป็นค�าน�าหน้าบุรุษ บัญญัติคําภาษาอังกฤษนี้ใหเปน
รับปฏิญาณ รับปาก คําภาษาไทย หรือใชทับศัพท)
ราชทูต ผู้น�าพระราชสาส์นไปประเทศอื่น ผู้แทนชาติในประเทศอื่น ต�าแหน่งผู้แทนรัฐ
ถัดจากอัครราชทูต
ขยายความเขาใจ
เลือกฟั้น เลือกเฟ้น หมายความว่า คัดเอาแต่ที่ดี
1. ครูใหนักเรียนรวบรวมคําศัพท
วิชาหนังสือ วิชาด้านภาษา
จากเรื่องเพิ่มเติม แลวอธิบาย
สังขาร ร่างกาย ตัวตน สิ่งที่ประกอบขึ้นเป็นร่างกาย ความหมาย บันทึกความรูลงสมุด
สุรุ่ยสุร่าย จับจ่ายโดยไม่ค�านึงถึงความสิ้นเปลือง 2. ครูนําคําศัพทที่นักเรียนรวบรวมมา
อาของเจ้า กรมหมื่นเทวะวงศ์วโรปการ (พระอนุชาในรัชกาลที่ ๕) ทําสลากใหนกั เรียนจับ เมือ่ นักเรียน
เอสไควร์ มาจากค�าว่า Esquire เป็นค�าใช้เขียนหลังชื่อผู้ชายอังกฤษ แสดงว่าเป็นผู้มี
จับไดคําใดแลวใหนักเรียนแตง
อันจะกินหรือผู้อยู่ในตระกูลคหบดี ประโยคจากคําศัพท พรอมอธิบาย
ความหมาย
ฮิสรอแยลไฮเนสปรินซ์ มาจาก His Royal Highness Prince เป็นค�าน�าหน้าเจ้านายในพระราชวงศ์
อังกฤษ คือพระราชโอรสและพระราชนัดดา (ถ้าเป็นพระราชธิดาใช้ Her Royal
Highness Princess) และยังใช้น�าหน้าพระนามพระราชโอรสองค์ใหญ่ของ
รัชทายาท
เกร็ดแนะครู
79 ครูแนะนักเรียนทํากิจกรรม โดยให
นักเรียนยกตัวอยางคําทับศัพทที่เปน
คํ า วิ ช าการแขนงต า งๆ เช น แขนง
ดาราศาสตร ไดแกคําวา กาแล็กซี่
เนปจูน แขนงชีววิทยา ไดแกคําวา
เซลล โครโมโซม เปนตน

คูมือครู 79
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ครูใหนกั เรียนอภิปราย หากนักเรียน
เปนพอทีม่ ลี กู เรียนอยูต า งประเทศหรือ
ตางจังหวัด ๗ บทวิเคราะห์
• นักเรียนจะสอนลูกอยางไร ๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย ครู พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สามารถน�าไปใช้ได้กับบุคคล
แนะเพิ่มวาในพระบรมราโชวาท ทัว่ ไปในยุคปัจจุบนั เนือ่ งด้วยพระราชประสงค์ของพระองค์ทรงกระท�าในฐานะ “บิดา” ทีต่ อ้ งการอบรม
เปนคําสอนที่มีประโยชนเหมาะ
สัง่ สอน “บุตร” ด้วยความรักทีถ่ กู ต้อง เป็น ธรรมดาของบุคคลทีอ่ ยูใ่ นฐานะพ่อแม่ ไม่วา่ จะเป็นพระเจ้า-
สําหรับพอจะสอนลูก)
• นักเรียนเห็นดวยหรือไม อยางไร
แผ่นดินหรือบุคคลธรรมดา ความรักที่มีให้แก่ลูกย่อมบริสุทธิ์และยิ่งใหญ่ แต่จุดที่น่าคิดคือพระบาท-
กับวิธีการสอนและเรื่องที่รัชกาล สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอยู่ในฐานะพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ที่ 5 ทรงสอนพระราชโอรส แต่พระองค์ไม่ทรงใช้พระราชอ�านาจที่มีส่งเสริมพระราชโอรสให้ส�าคัญพระองค์ผิด ประพฤติพระองค์
(แนวตอบ เห็นดวยทั้งวิธีการสอน เหนือบุคคลอืน่ ทัง้ ทรงเข้มงวดมากเป็นพิเศษในเรือ่ งการใช้สอย ดังนัน้ พระบรมราโชวาทจึงเป็นเสมือน
และเรือ่ งทีท่ รงสอนพระราชโอรส แบบอย่างที่ผู้ปกครองทุกคนควรศึกษาและน�าไปใช้อบรมบุตรหลาน ส่วนผู้ที่อยู่ในวัยเรียนก็ควรจะได้
ทั้งที่ทรงมีวิธีการสอนแบบชี้ให ศึกษาเพื่อใช้เตือนใจตนเอง
เห็ น โทษหากประพฤติ ตั ว ไม ดี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงได้รับการศึกษาเล่าเรียนอย่างดีและทันสมัย
และประโยชนจากการประพฤติ ที่สุดในเวลานั้น ทรงเตรียมพระองค์ส�าหรับการเป็นพระมหากษัตริย์ที่เหมาะสม ด้วยเหตุที่พระองค์
ตัวดี และเรือ่ งทีส่ อนนัน้ ก็มคี วาม ทรงครองราชสมบัตติ งั้ แต่พระชนมพรรษายังน้อยเพียง ๑๕ พรรษา และประเทศก�าลังเผชิญภาวะรุมเร้า
เหมาะสมในฐานะทีเ่ ปนพระราช-
ทั้งปัญหาจากภายนอกเมื่อชาติมหาอ�านาจตะวันตก คือ อังกฤษและฝรั่งเศสเข้ามารุกราน และปัญหา
โอรสและเปนลูก เหมาะกับโอกาส
ภายในที่เกิดความตึงเครียดในการรักษาพระราชอ�านาจจากสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ซึ่ง
ที่ตองไปเรียนตางประเทศ
พระบรมราโชวาทจึงมีประโยชน เป็นผู้ส�าเร็จราชการแผ่นดินจนกว่าจะทรงบรรลุนิติภาวะ ๒๐ พรรษา ซึ่งนับว่าพระองค์ทรงมีวุฒิภาวะ
ในการปฏิบัติตัวอยางแทจริง) เกินกว่าวัย ทรงมีพระอัจฉริยภาพและวิสัยทัศน์กว้างไกล
ในพระบรมราโชวาทจะเห็นว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นแบบอย่าง
ในการวางพระองค์อย่างเหมาะสม ทรงปรับพระองค์ให้เข้ากับสถานการณ์ตา่ งๆ ได้เป็นอย่างดี ในฐานะ
ขยายความเขาใจ ที่ทรงเป็นผู้ปกครองประเทศทรงก�าชับพระราชโอรสให้ตั้งใจศึกษาน�าความรู้มาพัฒนาประเทศ และให้
ให นั ก เรี ย นยกตั ว อย า งวรรณคดี ใช้จา่ ยพระราชทรัพย์อย่างประหยัดอย่าฟุม่ เฟือย โดยให้คา� นึงว่าเงินทีใ่ ช้นนั้ มาจากการเรีย่ ไรของราษฎร
หรือวรรณกรรมไทยเรื่องใดตอนใด เนือ่ งด้วยพระองค์ทรงเป็นผูท้ า� นุบา� รุงบ้านเมือง และในฐานะพ่อพระองค์ทรงมีความรักความห่วงใยลูก
ก็ไดที่มีเนื้อหาสอดคลองกับคําสอน ดังจะเห็นได้จากการที่ไม่ให้ลูกใช้ “ฮิสรอแยลไฮเนสปรินซ์” ซึ่งเป็นค�าบอกยศถาบรรดาศักดิ์ ทั้งนี้
ในพระบรมราโชวาท เพราะความรักลูกไม่อยากให้รู้สึกอึดอัดล�าบากใจ และจะได้ไม่ถูกติฉินนินทาหากน�ายศไปอวดอ้างและ
(แนวตอบ เชน “...แตสัตวบางอยาง ท�าไม่ด ี นอกจากจะทรงมีพระวิสยั ทัศน์กว้างไกลแล้วยังทรงละเอียดรอบคอบ ทรงวิเคราะห์สถานการณ์
ยังมีหนัง มีเขา มีกระดูกเปนประโยชน
โดยค�านึงถึงผลดีผลเสียก่อนปฏิบตั เิ สมอ จึงกล่าวโดยสรุปได้วา่ พระองค์ทรงปลูกฝังให้ซอื่ สัตย์ตอ่ หน้าที่
บาง...” สอดคลองกับโคลงโลกนิตทิ วี่ า
โคควายวายชีพได เขาหนัง ให้ท�าหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนหรือเป็นใคร จะต้องระลึกอยู่เสมอว่าก�าลังท�าอะไรและ
เปนสิ่งเปนอันยัง อยูไซร จงท�าให้ส�าเร็จตามเป้าหมายเพื่อประเทศชาติเป็นส�าคัญ
คนเด็ดดับสูญสัง- ขารราง 80
เปนชื่อเปนเสียงได แตรายกับดี)

80 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายขอดีของ
การใชภาษาแสดงความเปนเหตุเปน
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ผลชัดเจน ในเรื่องพระบรมราโชวาท
พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือวรรณกรรมค�าสอนที่ (แนวตอบ ทําใหผูอานเขาใจเนื้อหา
สามารถอ่านเพือ่ รับรูส้ ารได้โดยง่าย เนือ่ งด้วยพระองค์ทรงใช้ภาษาทีเ่ ข้าใจ งา่ ยเพือ่ การถ่ายทอดความคิด ไดเปนอยางดี และลําดับความคิด
และความรู้สึกของพ่อที่มีต่อลูก ต้องการให้ลูกเชื่อฟังและปฏิบัติตามค�าสอน คุณค่าด้านวรรณศิลป์ใน ตามเรื่องราวได ทําใหการสั่งสอน
พระบรมราโชวาทปรากฏ ดังนี้ เรื่องสําคัญตางๆ เปนเรื่องเขาใจงาย
และจําไปปฏิบัติไดจริงๆ)
๑) การใช้ถ้อยค�าที่แตกต่างจากปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นลักษณะการใช้ภาษาใน
สมัยนั้น เช่น
ขยายความเขาใจ
การเก๋การกี๋ ปัจจุบันใช้ โก้เก๋ (มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า โกแก็ต)
1. ครูใหนักเรียนเขียนความเรียงเรื่อง
เขม็ดแขม่ ปัจจุบันใช้ กระเหม็ดกระแหม่
ที่นาสนใจคนละ 10 บรรทัด โดยใช
ใจโตมือโต ปัจจุบันใช้ หน้าใหญ่ใจโต
ภาษาแสดงความเปนเหตุเปนผล
ว่าง่ายสอนง่าย ปัจจุบันใช้ ว่านอนสอนง่าย การลําดับเรื่องราวเขาใจงาย
2. ครูสุมใหนักเรียน 3 คน มานําเสนอ
๒) การใช้คา� ซ้อน พระบรมราโชวาทในรัชกาลที ่ ๕ ได้ปรากฏการใช้คา� ซ้อนในลักษณะ หนาชั้นเรียน
ต่างๆ ที่สะท้อนการพูดสื่อสารของคนสมัยนั้นที่นิยมใช้ค�าคล้องจองในการสนทนา เช่น ค�าซ้อนที่เกิด
จากการน�าค�าที่มีความหมายเหมือนกันมาซ้อนเข้าคู่กัน ท�าให้ความหมายเด่นชัดยิ่งขึ้น
ทรัพย์สินเงินทอง ปิดบังซ่อนเร้น ฟ้องร้องว่ากล่าว
ฤทธิ์เดช บ้านเรือน

๓) การใช้ภาษาแสดงความเป็นเหตุเป็นผลชัดเจน พระบรมราโชวาทเป็นพระราช-
นิพนธ์ที่ใช้ภาษาและลีลาการเขียนที่ท�าให้ผู้อ่านเข้าใจในความรู้ ความคิดเรื่องต่างๆ ได้กระจ่างแจ้ง
เหมาะส�าหรับผู้ที่อยู่ในวัยเรียนจะปฏิบัติตาม

“...ขออธิบายความประสงค์ข้อนี้ให้ชัดว่า เหตุใดจึงได้ไม่ให้ไปเป็นยศเจ้าเหมือนอา
ของตัวที่เคยไปแต่ก่อน ความประสงค์ข้อนี้ ใช่ว่าจะเกิดขึ้นเพราะไม่มีความเมตตากรุณา...
ด้วยธรรมดาเจ้านายฝ่ายเขามีน้อย เจ้านายฝ่ายเรามีมาก ข้างฝ่ายเขามีน้อยตัวก็ยกย่อง
ท�านุบา� รุงกันใหญ่โตมากกว่าเรา...”

จะเห็นว่าข้อความตอนนีท้ รงพยายามอธิบายความอย่างเป็นเหตุเป็นผล เพือ่ ไม่ให้ผอู้ า่ น


คือพระราชโอรสต้องรู้สึกน้อยพระทัยที่ห้ามไม่ให้ทรงแสดงยศศักดิ์ การใช้ภาษาในพระบรมราโชวาท

81

คูมือครู 81
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนอธิบายการใชภาษา
• การใชภาษาเพื่อสื่ออารมณ
ความรูสึกทางจดหมายมีความ มีลักษณะตรงไปตรงมาชัดเจน แต่ในบางตอนจะสังเกตได้ว่าในฐานะพ่อพระองค์ทรงห่วงใยความรู้สึก
เหมาะสมกับเนื้อเรื่องอยางไร ของลูกยิง่ นัก ถ้าเป็นเรือ่ งทีส่ ง่ ผลต่ออารมณ์ความรูส้ กึ ของลูกแล้ว พระองค์จะทรงใช้ถอ้ ยค�าภาษาอธิบาย
(แนวตอบ การเขียนจดหมาย เหตุผลอย่างละเอียดเพื่อไม่ให้ล�าบากพระทัยที่จะปฏิบัติตาม
สามารถถายทอดความรูสึกนึกคิด ๔) การใช้ภาษาเพื่อสื่ออารมณ์ความรู้สึก พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๕ แสดง
ของผูเขียนไดเปนอยางดี เพราะ ให้เห็นถึงอารมณ์ความรู้สึกของบิดาที่มีต่อบุตรโดยผ่านกระบวนการการใช้ภาษาที่ละเมียดละไม
ในระหวางที่เขียน ผูเขียนไมตอง ดังข้อความ
กังวลกับสีหนาหรือนํ้าเสียงของ
ผูอาน ผูเขียนสามารถถายทอด “...พ่อรักลูกจริง แต่ไม่รกั ลูกอย่างชนิดนัน้ เลย เพราะรูเ้ ป็นแน่วา่ ถ้าจะรักอย่างนัน้ ตามใจ
อารมณความรูสึกไดอยางเต็มที่) อย่างนั้น จะไม่เป็นการมีคุณอันใดแก่ตัวลูกผู้ได้รับความรักนั้นเลย...”

“...จงอุตสาหะพากเพียรเรียนวิชาให้รู้มา ได้ช่วยก�าลังพ่อเป็นที่ชื่นชมยินดีสมกับที่มี
ขยายความเขาใจ
ความรักนั้นเถิด”
นักเรียนวิเคราะหวิจารณเปรียบ-
เทียบการเขียนจดหมายกับการสือ่ สาร จากข้อความดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีความรักและ
ชองทางอืน่ เชน โทรศัพท อินเทอรเน็ต เมตตาพระราชโอรสในพระองค์เป็นอย่างมาก ทรงสอนให้ลูกรู้ว่าความรักของพระองค์คือการ “ให้”
เปนตน วามีขอดีขอเสียดานการใช ลูกทุกคนมีความรู้และมีความประพฤติที่ดีงาม
ภาษาแตกตางกันอยางไร
(แนวตอบ ปจจุบันการใชโทรศัพท “...ซึง่ จะได้มคี �าสัง่ ให้ราชทูตจ่ายเป็นเงินส�าหรับเรียนวิชาชัน้ ต้น ๕ ปี ปีละ ๓๒๐ ปอนด์
และอินเทอรเน็ตทําใหการติดตอกัน เงิน ๑,๖๐๐ ปอนด์ ส�าหรับเรียนวิชาชัน้ หลังอีก ๕ ปี ปีละ ๔๐๐ ปอนด์ เงิน ๒,๐๐๐ ปอนด์
เปนไปอยางรวดเร็วทันใจ สามารถ รวมเป็นคนละ ๓,๖๐๐ ปอนด์ จะได้รู้วิชาเสร็จสิ้นอย่างช้าใน ๑๐ ปี แต่เงินนี้ฝากไว้ในแบงก์
โตตอบกันไดทันที ภาษาที่ใชมักพบ
คงจะมี ดอกเบี้ยมากขึ้น เหลือการเล่าเรียนแล้วจะได้ใช้ประโยชน์ของตัวเองตามชอบใจ
คําสแลง เพราะความเรงดวน สะดวก
เป็นส่วนยกให้...”
ปากสะดวกคํ า ในขณะที่ ก ารเขี ย น
จดหมายแมจะติดตอสือ่ สารไดชา กวา
จากข้อความนี ้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีความรักในพระราชโอรส
แตมีคุณคาทางภาษามากกวา กลาว
คื อ ภาษาที่ ใ ช ใ นจดหมายผ า นการ โดยทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์สนับสนุนการศึกษา นอกจากจะพระราชทานเงินส�าหรับ
กลั่นกรองเลือกสรรคํา จึงมีทั้งคุณคา ค่าเล่าเรียนโดยฝากไว้ให้ทธี่ นาคารเพือ่ ความมัน่ คงและได้รบั ดอกเบีย้ แล้ว ยังทรงยกส่วนทีเ่ ป็นดอกเบีย้
ทางความคิดและจิตใจ) จากธนาคารให้แก่พระราชโอรสอีกด้วย จึงแสดงถึงความรอบคอบในการใช้จ่ายพระราชทรัพย์อย่าง
ระมัดระวัง และพระราชโอรสต้องใช้พระราชทรัพย์นี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการศึกษาเล่าเรียน เพื่อ
กลับมาท�าประโยชน์แก่ประเทศชาติ

82

82 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวา
• การใชภาษาในเรื่องพระบรม-
๕) การใช้ภาษาเพื่อสื่อความอย่างตรงไปตรงมา พระบรมราโชวาทในพระบาท- ราโชวาทมีลักษณะอยางไร
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชประสงค์เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือส�าหรับอบรมพระราชโอรส (แนวตอบ การใชภาษามีความ
ที่เสด็จไปทรงศึกษาต่างประเทศ แต่พระองค์มิได้ทรงใช้ค�าราชาศัพท์หรือศัพท์สูงที่ยากเกินไป ทรงใช้ เหมาะสม เพราะพระบรมราโชวาท
ถ้อยค�าและภาษาที่ธรรมดา สื่อความอย่างตรงไปตรงมาเหมือนบิดาสนทนากับบุตร ดังข้อความ เปนการใหโอวาททีผ่ อู า นประชาชน
ทุกระดับชั้นสามารถนําไปปฏิบัติ
“...การซึ่งใช้เงินพระคลังข้างที่ไม่ใช้เงินแผ่นดินอย่างเช่นเคยจ่ายให้เจ้านายและบุตร ใชได แมจุดประสงคของพระบรม-
ข้าราชการไปเล่าเรียนแต่ก่อนนั้น เพราะเห็นว่าพ่อมีลูกมากด้วยกัน การซึ่งให้มีโอกาสและให้ ราโชวาทนีม้ ไี วสาํ หรับพระราชโอรส
ทุนทรัพย์ซึ่งจะได้เล่าเรียนวิชานี้ เป็นทรัพย์มรดกอันประเสริฐดีกว่าทรัพย์สินเงินทองอื่นๆ แตเนื้อเรื่องมีประโยชนกับทุกคน
ด้วยเป็นของติดตัวอยู่ได้ ไม่มีอันตรายที่จะเสื่อมสูญ ลูกคนใดที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดก็ดี เพราะภาษาเขาใจงายตรงไป
หรือไม่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดก็ดี ก็จะต้องส่งไปเรียนวิชาทุกคนตลอดโอกาสที่จะเป็นไปได้ ตรงมา)
เหมือนหนึ่งได้แบ่งทรัพย์มรดกให้แก่ลูกเสมอๆ กันทุกคน...”
ขยายความเขาใจ
จากข้อความข้างต้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ภาษาเรียบง่าย
สื่อความอย่างตรงไปตรงมาว่าพระองค์มีพระราชโอรสมาก การสนับสนุนด้านการศึกษานับเป็นการ ใหนักเรียนเชื่อมโยงความคิด
ให้ทรัพย์มรดกแก่ลูก ไม่ว่าผู้นั้นจะเฉลียวฉลาดหรือไม่ก็ตาม พระองค์จะทรงให้การสนับสนุนให้โอกาส เกี่ยวกับการใชภาษาเพื่อสื่อความ
ทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน
อยางตรงไปตรงมา โดยยกตัวอยางที่
นักเรียนเคยพบในชีวิตประจําวัน
“...ส่วนเงินทีพ่ อ่ ได้หรือลูกได้เพราะพ่อนัน้ ก็เพราะอาศัยทีพ่ อ่ เป็นผูท้ า� นุบา� รุงรักษาบ้าน มาคนละ 1 ตัวอยาง
เมือง และราษฎรผูเ้ จ้าของทรัพย์นนั้ ก็เฉลีย่ เรีย่ ไรกันมาให้ เพือ่ จะให้เป็นก�าลังทีจ่ ะหาความสุข (แนวตอบ เชน การใชภาษาในการ
คุม้ กับค่าทีเ่ หน็ดเหนือ่ ย ทีต่ อ้ งรับการในต�าแหน่งอันสูงคือเป็นผูร้ กั ษาความสุขของเขาทัง้ ปวง อานขาว ซึ่งจะแตกตางจากการ
เลาขาว คือไปชี้นําความคิดของ
เงินนัน้ ไม่ควรจะน�ามาจ�าหน่ายในการทีไ่ ม่เป็นประโยชน์ไม่เป็นเรือ่ ง และเป็นการไม่มคี ณ ุ กลับ
ผูฟง ในขณะที่การอานขาวจะบอก
ให้โทษแก่ตัว ต้องใช้แต่ในการจ�าเป็นที่จะต้องใช้ ซึ่งจะเป็นการมีคุณประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น
รายละเอียดขอเท็จจริงอยางตรงไป
ในทางชอบธรรม...” ตรงมา)
จากข้อความดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงใช้ถอ้ ยค�าอย่างถ่อม
พระองค์ว่า “พระราชทรัพย์” ของพระองค์นั้นได้มาจาก “ราษฎรผู้เป็นเจ้าของทรัพย์นั้นก็เฉลี่ยเรี่ยไร
กันมาให้” เพื่อตอบแทนที่พระองค์ทรงเป็น “ผู้รักษาความสุขของเขาทั้งปวง” ด้วยเหตุนี้จึงทรงสอน
พระราชโอรสว่า “เงินนั้นไม่ควรจะน�ามาจ�าหน่ายในการที่ไม่เป็นประโยชน์ไม่เป็นเรื่อง” แม้จะเป็นเงิน
ที่เป็นสิทธิ์ขาดของพระองค์แล้วก็ตาม

83

คูมือครู 83
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนเปรียบเทียบการใช
โวหารอุปมาอุปไมยที่ปรากฏใน
เรื่อง พระบรมราโชวาท แลวรวมกัน ๖) การใช้โวหาร ท�าให้เกิดจินตภาพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง
อภิปรายวา มีพระอัจฉริยภาพในการใช้ภาษาเพื่อสื่อความ ทรงใช้ภาษาเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งเพื่อความ
• โวหารที่พบมีความสําคัญตอ ชัดเจนแก่เนื้อหาสาระข้อความหรือสารที่ต้องการสื่อสารไปยังผู้อ่าน ผู้ฟัง ซึ่งในที่นี้คือ พระราชโอรส
การดําเนินชีวิตหรือไม อยางไร ของพระองค์ ดังข้อความ
(แนวตอบ การใชโวหารทีป่ รากฏใน
เรื่อง ชวยใหผูอานเกิดจินตภาพ “...อีกประการหนึ่ง ชีวิตสังขารของมนุษย์ไม่ยั่งยืนยืดยาวเหมือนเหล็กเหมือนศิลา ถึง
ตามไดงาย โดยที่ผูเขียนไมตอง โดยว่าจะมีพ่ออยู่ในขณะหนึ่ง ก็คงจะมีเวลาที่ไม่มีได้ขณะหนึ่งเป็นแน่แท้ ถ้าประพฤติความชั่ว
อธิบายความใหยืดยาว รวมทั้ง เสียแต่ในเวลามีพ่ออยู่แล้ว โดยจะปิดบังซ่อนเร้นอยู่ได้ด้วยอย่างหนึ่งอย่างใด เวลาไม่มีพ่อ
ชวยกระตุนเราความรูสึกใหทํา ความชั่วนั้นคงจะปรากฏเป็นโทษติดตัวเหมือนเงาตามหลังอยู่ไม่ขาด...”
ตามทีผ่ เู ขียนตองการไดดว ย เชน
การใช โ วหารเปรี ย บเที ย บว า จากข้อความดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงใช้ภาษาเปรียบเทียบ
“...แต สั ต ว บ างอย า งยั ง มี ห นั ง ให้เห็นภาพชัดเจน โดยพระองค์มีพระราชประสงค์เพื่ออบรมพระราชโอรส ไม่ให้ทรงคิดว่าจะท�าสิ่งใด
มี เ ขา มี ก ระดู ก เป น ประโยชน ย่อมได้เพราะยังมีพระราชบิดาอยู่ แต่ถ้าหากวันใดสิ้นพระราชบิดา ความไม่ดีที่เคยท�าไว้จะปรากฏขึ้น
บาง...” ทําใหผูอานรูสึกวาตอง
ในภายหลัง โดยพระองค์ทรงเปรียบเทียบให้เห็นว่า สังขารของมนุษย์ไม่เที่ยงแท้ ไม่มั่นคงยืดยาว
กระทําตนใหดีมีคุณคามากกวา
สัตว) เหมือนกับศิลาหรือหิน ชีวติ ของพระองค์ยอ่ มดับสูญไปในสักวัน และเมือ่ ถึงวันนัน้ ความประพฤติไม่ดที ี่
พระราชโอรสทรงกระท�าไว้จะปรากฏขึน้ เหมือนเงาติดตามผูเ้ ป็นเจ้าของ แสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยภาพ
ทางการใช้ภาษาของพระองค์ทา� ให้ผอู้ า่ นเกิดจินตภาพและสามารถเข้าใจเนือ้ ความได้อย่างถูกต้อง ลึกซึง้
พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระราชนิพนธ์เพือ่
นักเรียนควรรู อบรมและสั่งสอนพระราชโอรส ภาษาที่ใช้ในการสอนของพระองค์นอกจากจะสอนอย่างตรงไปตรงมา
ปดบังซอนเรน เปนคําซอนเพื่อ แล้ว ในบางเรื่องพระองค์ทรงใช้การเปรียบเทียบเพื่อให้กระทบอารมณ์และความรู้สึกของผู้อ่าน ให้
ความหมายที่นําเอาคําซอนสี่พยางค ตระหนักและเห็นความส�าคัญของเรื่องที่จะกล่าวสั่งสอน ดังข้อความ
มาซอนกัน คือ ปด + บัง + ซอน + เรน
“...ถ้าจะถือว่าเกิดมาเป็นเจ้านายแล้วนิ่งๆ อยู่จนตลอดชีวิตก็เป็นสบายดังนั้น จะไม่ผิด
อันใดกับสัตว์ดิรัจฉานอย่างเลวนัก สัตว์ดิรัจฉานมันเกิดมากินๆ นอนๆ แล้วก็ตาย แต่สัตว์
บางอย่างยังมีหนังมีเขามีกระดูกเป็นประโยชน์ได้บา้ ง แต่ถา้ คนประพฤติอย่างเช่นสัตว์ดริ จั ฉาน
แล้ว จะไม่มีประโยชน์อันใดยิ่งกว่าสัตว์ดิรัจฉานบางพวกไปอีก เพราะฉะนั้นจงอุตสาหะที่
จะเรียนวิชาเข้ามาเป็นก�าลังที่จะท�าตัวให้ดีกว่าสัตว์ดิรัจฉานให้จงได้ จึงจะนับว่าเป็นการได้
สนองคุณพ่อซึ่งได้คิดท�านุบา� รุงเพื่อจะให้ดีตั้งแต่เกิดมา...”

84

84 คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
ใหนักเรียนอภิปรายวา การสง
พระราชโอรสในรัชกาลที่ 5 เสด็จไป
จากข้ อ ความดั ง กล่ า ว พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงใช้ ภ าษาที่ ทรงศึกษา ณ ตางประเทศ หรือการสง
เหมาะสมกับการสั่งสอนพระราชโอรสในเรื่องการท�าตนให้เป็นประโยชน์ โดยทรงกล่าวให้เห็นชัดเจน นักเรียนไทยไปศึกษาตางประเทศมี
ว่า สัตว์บางจ�าพวกเกิดมาแล้วตาย แต่ยังมีสัตว์บางจ�าพวกที่เมื่อตายไปแล้วยังทิ้งบางส่วนไว้เพื่อยัง ผลอยางไรตอการพัฒนาประเทศไทย
ประโยชน์ให้เกิดแก่มนุษย์ ตัวอย่างที่พระองค์ทรงชี้แจงให้เห็นเป็นสัจธรรมของชีวิต เมื่อได้อ่าน คานิยมและวัฒนธรรมไทยในยุคตอๆ
จะรู้สึกถูกกระตุ้นเตือนและหันกลับมาส�ารวจตนเองว่าได้เคยท�าประโยชน์ให้เกิดแล้วบ้างหรือยัง และ มา
ถ้ายังไม่ได้ท�าเช่นนั้น ตนเองจะไม่ต่างอะไรจากสัตว์เดรัจฉานบางจ�าพวกที่ตายแล้วไม่มีประโยชน์ ( แนวตอบ มี ค วามสํ า คั ญ ต อ การ
อันใดนับเป็นการใช้ภาษาเพื่อสั่งสอนได้กระชับ ชัดเจน ทรงใช้การเปรียบเทียบเพื่อให้เข้าใจสัจธรรม พัฒนาประเทศในหลายดาน ทั้งการ
ที่เป็นนามธรรมให้เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนได้ทันทีและตระหนักในค�าสอนยิ่งขึ้น สาธารณูปโภค การศึกษา การเมือง
การปกครอง และสงผลใหเกิดการรับ
๗.๓ คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถไี ทย
วัฒนธรรมตะวันตก เชน การเตนรํา
วรรณคดีและวรรณกรรมทุกเรื่องเมื่อเกิดขึ้นในสมัยใดย่อมมีส่วนในการสะท้อนสภาพสังคม ณ การเลิกกินหมาก การแตงกายตาม
ช่วงเวลานั้น พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สะท้อนสภาพสังคมใน ตะวันตก เปนตน)
สมัยรัชกาลที่ ๕ ดังต่อไปนี้
๑) ระบบบริหารราชการแผ่นดินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชส�านัก ก�าหนด
ให้มี “เงินพระคลังข้างที่” ซึ่งเป็นเงินใช้สอยส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์ ดังข้อความ
นักเรียนควรรู
“...อีกประการหนึ่งเล่า ถึงว่าเงินพระคลังข้างที่นั้นเองก็เป็นส่วนหนึ่งในแผ่นดินเหมือน แตยงั มีสตั วบางจําพวกทีเ่ มือ่ ตายไป
กัน เว้นแต่เป็นส่วนทีย่ กให้แก่พอ่ ใช้สอยในการส่วนตัว มีทา� การกุศลและสงเคราะห์บตุ รภรรยา แลวยังทิ้งบางสวนไวเพื่อยังประโยชน
เป็นต้น...” ใหเกิดขึ้นแกมนุษย เปนแนวคําสอน
ที่ตรงกับคําประพันธในโคลงโลกนิติ
๒) ค่านิยมการส่งบุตรหลานไปศึกษาต่างประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นสมัยที่ ที่วา
ประเทศไทยตืน่ ตัวในการติดต่อกับชาวต่างชาติ โดยเฉพาะกับยุโรปซึง่ มีความเจริญในทุกด้าน บรรดาผูม้ ี “โคควายวายชีพได เขาหนัง
ฐานะหรือขุนนางจึงนิยมส่งบุตรหลานไปเล่าเรียนยังต่างประเทศ เปนสิ่งเปนอันยัง อยูไซร
คนเด็ดดับสูญสัง- ขารราง
“...เพราะวิชาความรู้ในหนังสือไทยที่มีผู้แต่งไว้นั้นเป็นแต่ของเก่าๆ มีน้อย เพราะมิได้ เปนชื่อเปนเสียงได แตรายกับดี”
สมาคมกับชาติอื่นช้านานเหมือนวิชาการในประเทศยุโรปที่ได้สอบสวนซึ่งกันและกันจนเจริญ
รุ่งเรืองมากแล้วนั้น ฝ่ายหนังสือไทยจึงไม่พอที่จะเล่าเรียน จึงต้องไปเรียนภาษาอื่นเพื่อจะได้
เรียนวิชาให้กว้างขวางออก...”

จากข้อความสะท้อนให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีวสิ ยั ทัศน์


กว้างไกล จึงทรงส่งพระราชโอรสไปศึกษาศิลปวิทยาจากประเทศในยุโรป เพื่อน�าความรู้กลับมาพัฒนา
ประเทศไทย
85

คูมือครู 85
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


เนื้อหาของพระบรมราโชวาทมี
ลักษณะเปนคําสอนของพระมหา-
กษัตริยที่มีตอพระราชโอรส ซึ่งบุคคล ๓) ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นช่วงเวลาที่ความเจริญจาก
ทั่วไปสามารถนํามาปรับใชได ชนชาติตะวันตกได้แผ่ขยายมายังประเทศไทย ประเทศต่างๆ จึงเจริญสัมพันธไมตรีต่อกันโดยการ
• วรรณกรรมเรื่องใดบางที่มี สร้างสัมพันธ์ทางการทูต และมีสถานเอกอัครราชทูตไว้เพือ่ แสดงความสัมพันธ์อนั ดี และคอยช่วยเหลือ
ลักษณะอบรมสั่งสอนลูก คนไทยในประเทศนั้นๆ ดังข้อความนี้
(แนวตอบ เรื่องจดหมายจางวาง
หรํ่าของ น.ม.ส. และพอสอนลูก “...ส่วนที่ในประเทศยุโรปนั้น ถ้าไปอยู่ในประเทศใดที่มีราชทูตของเราอยู่ ราชทูตคงจะ
ของทวี บุณยเกตุ) เอาเป็นธุระดูแลทุกสิ่งทุกอย่าง เมื่อมีการขัดข้องล�าบากประการใดจงชี้แจงแจ้งความให้ท่าน
ราชทูตทราบ คงจะจัดการได้ตลอดไป...”

๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน


พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์เพื่อใช้
สั่งสอน อบรม แนะน�าและตักเตือน ดังนั้นผู้อ่านจะสามารถค้นพบข้อคิดที่แฝงอยู่ในเนื้อหาและน�าไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้อย่างเหมาะสม ดังนี้
๑) การวางตน ไม่ว่าจะอยู่ในสังคมใดไม่ควรยกตนเหนือผู้อื่น ดังข้อความ

“...แต่เห็นว่าซึง่ จะเป็นยศเจ้าไปนัน้ ไม่เป็นประโยชน์อนั ใดแก่ตวั นัก ด้วยธรรมดาเจ้านาย


ฝ่ายเขามีน้อย เจ้านายฝ่ายเรามีมาก ข้างฝ่ายเขามีน้อยตัวก็ยกย่องท�านุบา� รุงกันใหญ่โตมาก
กว่าเรา ฝ่ายเราจะไปมียศเสมออยู่กับเขา แต่ความบริบูรณ์และยศศักดิ์ไม่เต็มที่เหมือนอย่าง
เขาก็จะเป็นที่น้อยหน้าและเห็นเป็นเจ้านายเมืองไทยเลวไป และถ้าเป็นเจ้านายแล้ว ต้อง
รักษายศศักดิ์ในกิจการทั้งปวงที่จะท�าทุกอย่างเป็นเครื่องล่อตาล่อหูคนทั้งปวงที่จะให้พอใจดู
พอใจฟัง จะท�าอันใดก็ต้องระวังตัวไปทุกอย่าง ที่สุดจนจะซื้อจ่ายอันใดก็แพง กว่าคนสามัญ
เพราะเขาถือว่ามัง่ มี เป็นการเปลืองทรัพย์ในทีไ่ ม่ควรจะเปลือง เพราะเหตุวา่ ถึงจะเป็นเจ้าก็ดี
เป็นไพร่ก็ดี เมื่ออยู่ในประเทศมิใช่บ้านเมืองของตัว ก็ไม่มีอ�านาจที่จะท�าฤทธิ์เดชอันใดไปผิด
กับคนสามัญได้...”

จากข้อความนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอบรมพระราชโอรส
ของพระองค์ให้ทรงวางพระองค์อย่างเหมาะสม ไม่อวดอ้างความเป็นเจ้า เพราะย่อมเป็นดาบสองคม
ถ้าผู้เป็นลูกวางตนเหมาะสมย่อมได้รับค�าชม แต่ถ้าวางตนไม่เหมาะสมย่อมเสื่อมเสียถึงวงศ์ตระกูล

86

86 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
1. ใหนักเรียนอภิปรายขอความที่วา
“...จะรับราชการในตําแหนงตํ่าๆ
๒) การรู้จักใช้จ่ายเงิน ใช้จ่ายเงินในเรื่องที่เป็นประโยชน์ ไม่ใช้เงินเกินความจ�าเป็น ซึ่งเปนกระไดขั้นแรก คือเปนนาย
จนก่อให้เกิดหนี้สินสร้างความเดือดร้อนให้คนอื่น รองหุมแพรมหาดเล็กเปนตน ก็ไม
ไดเสียแลว...”
“...เงินนัน้ ไม่ควรจะน�ามาจ�าหน่ายในการทีไ่ ม่เป็นประโยชน์ไม่เป็นเรือ่ ง และเป็นการไม่มี
• ขอความนี้สะทอนใหเห็น
คุณกลับให้โทษแก่ตัว ต้องใช้แต่ในการจ�าเป็นที่จะต้องใช้ ซึ่งจะเป็นการมีคุณประโยชน์แก่ตน ทัศนคติของผูเขียนอยางไร
และผู้อื่นในทางชอบธรรม ซึ่งจะเอาไปกอบโกยใช้หนี้ให้แก่ลูกผู้ท�าความชั่วจนเสียทรัพย์ไป (แนวตอบ ครูแนะนํานักเรียนวา
นั้นสมควรอยู่หรือ เพราะฉะนั้นจึงต้องว่าไม่ยอมที่จะใช้หนี้ให้ โดยว่าจะต้องใช้ให้ก็จะต้อง การทํางานใดๆ ก็ตามตองเกิด
มีโทษเป็นประกัน มั่นใจว่าจะไม่ต้องใช้อีก เพราะจะเข็ดหลาบในโทษที่ท�านั้นจึงจะยอมใช้ การเรียนรูงานขั้นที่ตํ่าที่สุดกอน
ให้ได้ ใช้ให้เพราะจะไม่ให้ทรัพย์ผู้อื่นสูญเสียเท่านั้น ใช่จะใช้ให้โดยความรักใคร่อย่างบิดา เพื่อเปนการสรางความเขาใจ
ให้บุตรเมื่อมีความยินดีต่อความประพฤติของบุตรนั้นเลย เพราะฉะนั้นจงจ�าไว้ ตั้งใจอยู่ให้ หากเปนลูกเจาลูกนายก็ไมอาจ
เสมอว่าตัวเป็นคนจน มีเงินใช้เฉพาะแต่ที่จะรักษาความสุขของตัวพอสมควรเท่านั้น ไม่มั่งมี ทํางานตําแหนงตํ่า ซึ่งถือวา
เหมือนใครๆ อื่น...” เปนการสรางพื้นฐานได เมื่อไป
รับตําแหนงสูงก็อาจทํางานได
จากข้ อ ความสะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู ่ หั ว ทรงตั้ ง ไมดีเทาที่ควรเพราะขาดพื้นฐาน
พระราชหฤทัยที่จะสั่งสอนให้พระราชโอรสของพระองค์ใช้จ่ายพระราชทรัพย์อย่างประหยัดและ นั่นเอง)
2. ใหนกั เรียนอภิปรายวา เพราะเหตุใด
รู้คุณค่า ให้ใช้ชีวิตอย่างพอเพียงตามก�าลังทรัพย์ของตนเอง ไม่ฟุ้งเฟ้อสุรุ่ยสุร่าย
รั ช กาลที่ 5 จึ ง ทรงมี พ ระบรม-
๓) การมีความมานะอุตสาหะตัง้ ใจให้ประสบความส�าเร็จในหน้าทีก่ ารงาน ควร ราโชวาทวา “...จงเขม็ดแขมใชแต
กระท�าด้วยความรูค้ วามสามารถของตนเอง ไม่อาศัยความช่วยเหลือจากผู้อื่น หรือใช้ยศถาบรรดาศักดิ์ เพียงพอที่อนุญาตใหใช อยาทําใจ
เพื่อให้ประสบความส�าเร็จในหน้าที่การงาน ดังข้อความ โตมือโตสุรยุ สุรา ย โดยถือตัววาเปน
เจามั่งมีมาก...”
“...จงรู้สึกตัวเป็นนิจเถิดว่า เกิดมาเป็นเจ้านายมียศบรรดาศักดิ์มากจริงอยู่ แต่ไม่ ( แนวตอบ ครู แ นะนํ า นั ก เรี ย นว า
เป็นการจ�าเป็นเลยที่ผู้ใดเป็นเจ้าแผ่นดินขึ้น จะต้องใช้ราชการอันเป็นช่องที่จะหาเกียรติยศ รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชประสงค
ชื่อเสียงและทรัพย์สมบัติ ถ้าจะว่าตามการซึ่งเป็นมาแต่ก่อน เจ้านายซึ่งจะหาช่องท�าราชการ ใหพระราชโอรสทรงรูจักประหยัด
ได้ยากกว่าลูกขุนนางเพราะเหตุทเี่ ป็นผูม้ วี าสนาบรรดาศักดิม์ าก จะรับราชการในต�าแหน่งต�า่ ๆ เห็นคาของเงินจนเปนนิสัย แมกลับ
ซึ่งเป็นกระไดขั้นแรก คือเป็นนายรองหุ้มแพรมหาดเล็ก เป็นต้น ก็ไม่ได้เสียแล้ว จะไปแต่งตั้ง มาบริหารราชการบานเมืองแลวก็
ให้วา่ การใหญ่โตสมแก่ยศศักดิ์ เมือ่ ไม่มวี ชิ าความรูแ้ ละสติปญ
ั ญาพอทีจ่ ะท�าการในต�าแหน่งนัน้ ตองใชจายเงินหลวงอยางรอบคอบ
ไปได้ก็เป็นไปไม่ได้ เพราะฉะนั้นเจ้านายจะเป็นผู้ได้ท�าราชการมีชื่อเสียงดี ก็อาศัยได้แต่สติ ไมสุรุยสุรายเชนกัน)
ปัญญาความรูแ้ ละความเพียรของตัว เพราะฉะนัน้ จงอุตสาหะเล่าเรียนโดยความเพียรอย่างยิง่
เพื่อจะได้มีโอกาสที่จะท�าการให้เป็นคุณแก่บ้านเมืองของตน และโลกที่ตัวได้มาเกิด...” ขยายความเขาใจ
ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวา
87 • การรับราชการหรือการทํางาน
ในตําแหนงหนาที่ตางๆ ในอดีต
สะทอนใหเห็นคานิยมหรือ
วัฒนธรรมใด
(แนวตอบ การทํางานตางๆ หรือการรับราชการมักมาจาก
การฝากเขาทํางาน หรือการใชเสนสาย สะทอนใหเห็น
คานิยมเรื่องระบบอุปถัมภ การชวยเหลือพวกพองของ
ตนเองมากกวาการพิจารณาความรูความสามารถ)

คูมือครู 87
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


จากการศึกษาพระบรมราโชวาท
1. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิด
เห็นวา ในปจจุบันนักเรียนมีวิธีการ จากข้อความสะท้อนให้เห็นข้อคิดที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง
ใดที่ จ ะตอบแทนบุ ญ คุ ณ แผ น ดิ น อบรมพระราชโอรส คือ ให้มีความมานะอุตสาหะพยายามในการแสวงหาความรู้ ความสามารถ เพื่อน�า
และทําประโยชนใหแกสังคม ไปใช้รบั ราชการและเป็นการไม่สมควรทีจ่ ะใช้ยศต�าแหน่งความเป็นเจ้ามาด�ารงต�าแหน่งทางราชการทัง้ ๆ
2. ใหนักเรียนรวมกันบันทึกเปนหัวขอ ที่ไม่มีความรู้ ความสามารถ
แล ว นํ า มาเขี ย นเป น คํ า ขวั ญ ติ ด ๔) รู้จักตอบแทนคุณแผ่นดินและท�าประโยชน์ให้แก่สังคม ดังข้อความนี้
รณรงคภายในโรงเรียน
3. ครูใหนักเรียนทําความเขาใจใน “...ถ้าจะถือว่าเกิดมาเป็นเจ้านายแล้วนิ่งๆ อยู่จนตลอดชีวิตก็เป็นสบายดังนั้น จะไม่ผิด
ขอคิดจากเรื่องที่สามารถนําไป อะไรกับสัตว์ดริ จั ฉานอย่างเลวนัก สัตว์ดริ จั ฉานมันเกิดมากินๆ นอนๆ แล้วก็ตาย แต่สตั ว์บาง
ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน อย่างยังมีหนังมีเขามีกระดูกเป็นประโยชน์ได้บา้ ง แต่ถา้ คนประพฤติอย่างเช่นสัตว์ดริ จั ฉานแล้ว
แลวใหนักเรียนหาขอคิดเพิ่มเติม จะไม่มีประโยชน์อันใดยิ่งกว่าสัตว์ดิรัจฉานบางพวกไปอีก...”
จากแหลงการเรียนรูอื่นๆ หรือ
จากคําสอนผูปกครองของนักเรียน
จากข้อความสะท้อนให้เห็นว่า พระองค์ทรงระลึกอยู่เสมอว่า การเกิดมาเป็นคนต้อง
ใหสอดคลองกับเนื้อหาในเรื่อง
“พระบรมราโชวาท” ตอบแทนบุญคุณของแผ่นดิน ถ้าไม่ท�าประโยชน์บุคคลผู้นั้นก็ไม่ต่างอะไรจากสัตว์เดรัจฉานทั่วไป
๕) การระมัดระวังเรื่องความประพฤติ ไม่น�าชื่อเสียงของผู้เป็นพ่อไปข่มเหงรังแก
คนอืน่ เพราะเมือ่ ผูเ้ ป็นพ่อหมดบารมี ย่อมไม่มใี ครกลัวเกรงและความชัว่ ต่างๆ ก็จะปรากฏ ดังข้อความ
เกร็ดแนะครู “...อย่าได้ถือตัวว่า ตัวเป็นลูกเจ้าแผ่นดิน พ่อมีอ�านาจยิ่งใหญ่อยู่ในบ้านเมือง ถึงจะ
ครู แ นะให นั ก เรี ย นทํ า กิ จ กรรมที่ เกะกะไม่กลัวเกรงคุมเหงผูใ้ ด เขาก็คงจะมีความเกรงใจพ่อ ไม่ตอ่ สูห้ รือไม่อาจฟ้องร้องว่ากล่าว
แสดงให เ ห็ น การรู  จั ก ตอบแทนคุ ณ การซึ่งเชื่อใจดังนั้นเป็นการผิดแท้ทีเดียว เพราะความปรารถนาของพ่อไม่อยากจะให้ลูกมี
แผนดิน และทําประโยชนใหแกสังคม อ�านาจที่จะเกะกะอย่างนั้นเลย เพราะรู้เป็นแน่ว่าเมื่อรักลูกเกินไป ปล่อยให้ไม่กลัวใครและ
ดั ง ที่ เ ป น ข อ คิ ด จากเรื่ อ งพระบรม- ประพฤติการชั่วเช่นนั้น คงจะเป็นโทษแก่ตัวลูกนั้นเองทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพราะฉะนั้น
ราโชวาท โดยให นั กเรี ย นจดบันทึก จงรูเ้ ถิดว่าถ้าเมือ่ ได้ทา� ความผิดเมือ่ ใดจะได้รบั โทษทันที การทีม่ พี อ่ เป็นเจ้าแผ่นดินนัน้ จะไม่เป็น
การทํ า กิ จ กรรมที่ นั ก เรี ย นเห็ น ว า การช่วยเหลืออุดหนุนแก้ไขอันใดได้เลย...”
เป น การตอบแทนคุ ณ แผ น ดิ น และ
ทําประโยชนใหแกสังคม ครูรวบรวม
บันทึกจัดใหมกี ารอภิปรายแลกเปลีย่ น จากข้อความสะท้อนให้เห็นว่า พระองค์พระราชทานข้อคิดแก่พระราชโอรสในเรื่อง
ความคิดความรูสึกระหวางนักเรียน การระมัดระวังความประพฤติ ไม่ให้ไปอวดอ้างว่าเป็นลูกของพระเจ้าแผ่นดินแล้วใช้อ�านาจในทางที่ไม่
ที่รวมทํากิจกรรมวากอใหเกิดความ ถูกต้อง เพราะเมื่อถึงระยะเวลาหนึ่งที่อ�านาจวาสนาหมดสิ้นไป ผลของการกระท�าชั่วนั้นย่อมปรากฏ
ภูมิใจหรือเปนแนวทางในการพัฒนา ให้คนได้เห็น ได้ยินทั่วกันและไม่มีสิ่งใดจะคุ้มครองได้
ตนเองอยางไร

88

88 คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวา
• การเรียนภาษาตางประเทศและ
๖) ให้รู้จักอ่อนน้อมต่อบุคคลทั่วไป และไม่ประพฤติชั่ว เมื่อมีผู้ตักเตือนให้หยุดคิด ตองใชภาษาไทยควบคูกันให
ทบทวน ไม่หลงทะนงตนว่าเก่งหรือมีอ�านาจ ถูกตองดังที่ปรากฏในพระบรม-
ราโชวาท มีความสําคัญตอการ
“...เพราะฉะนั
...เพราะฉะนั้นจงเป็นคนอ่อนน้อม ว่าง่ายสอนง่ายอย่าให้เป็นทิฐิมานะไปในทางที่ผิด ศึกษาและการพัฒนาวิทยาการ
จงประพฤติตัวหันมาทางที่ชอบที่ถูกอยู่เสมอเป็นนิจเถิด จงละเว้นเวลาที่ชั่วซึ่งรู้ได้เองแก่ตัว ในประเทศไทยอยางไร
หรือมีผู้ตักเตือนแนะน�าให้รู้แล้ว อย่าให้ล่วงให้เป็นไปได้เลยเป็นอันขาด...” (แนวตอบ ในอดีตวิทยาการตางๆ ใน
กลุม ประเทศตะวันตกมีความเจริญ
จากข้อความนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานข้อคิด ซึ่ง กาวหนามาก ตําราความรูต า งๆ จึง
สามารถน�ามาปรับใช้กับชีวิตประจ�าวันได้ เพราะสังคมไทยเป็นสังคมระบบอาวุโส ผู้น้อยต้องให้ความ เปนภาษาของประเทศทางตะวันตก
เคารพเชื่อฟังและมีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ ถ้านักเรียนสามารถปฏิบัติตามข้อคิดดังกล่าวได้ ย่อม อยู่ใน การทีพ่ ระราชโอรสมีความรอบรูท งั้
สังคมได้อย่างมีความสุข ภาษาตะวันตกและภาษาไทยอยาง
ดีแลว เมื่อเสด็จกลับมาพัฒนาบาน
๗) ให้เห็นความส�าคัญของการเรียนภาษา ต้องรู้ภาษาต่างประเทศอย่างน้อย เมื อ งก็ จ ะทรงถ า ยทอดความรู  ที่
สามภาษา โดยที่ไม่ทอดทิ้งหรือละเลยภาษาไทย พระองค์ทรงตระหนักว่าการรู้ภาษาของตะวันตก พระองค ท รงศึ ก ษาแก ค นไทยให
จะเป็นประโยชน์ คือช่วยในการศึกษาวิทยาการและน�ามาใช้ในการพัฒนาประเทศ แต่พระองค์ทรง เขาใจไดโดยงาย ไมเกิดการเขาใจ
ก�าชับให้ใช้ภาษาไทย อยู่เสมอไม่ลืมหรือเห็นความส�าคัญของภาษาอื่นมาก กว่าภาษาไทย ดังข้อความ ผิด รวมทั้งทําใหพระราชโอรสทรง
ไมลมื ภาษาไทยซึง่ เปนภาษาแมของ
“...ภาษาไทยและหนังสือไทยซึง่ เป็นภาษาของตัวหนังสือของตัว คงจะต้องใช้อยูเ่ ป็นนิจ พระองคดวย)
จงเข้าใจว่าภาษาต่างประเทศนั้นเป็นแต่พื้นของความรู้ เพราะวิชาความรู้ในหนังสือไทยที่มี
ผู้แต่งไว้นั้นเป็นแต่ของเก่าๆ มีน้อย เพราะมิได้สมาคมกับชาติอื่นช้านานเหมือนวิชาการใน
ประเทศยุโรปทีไ่ ด้สอบสวนซึง่ กันและกันจนเจริญรุง่ เรืองมากแล้วนัน้ ฝ่ายหนังสือไทยจึงไม่พอ
ทีจ่ ะเล่าเรียน จึงต้องไปเรียนภาษาอืน่ เพือ่ จะได้เรียนวิชาให้กว้างขวางออก แล้วจะเอากลับลง
มาใช้เป็นภาษาไทยทั้งสิ้น เพราะฉะนั้นจะทิ้งภาษาของตัวให้ลืมถ้อยค�าที่จะพูดให้สมควรเสีย
หรือจะลืมวิธีเขียนหนังสือไทยที่ตัวได้ฝึกหัดแล้วเสียนั้นไม่ได้เลย ถ้ารู้แต่ภาษาต่างประเทศ
ไม่รู้เขียนอ่านแปลลงเป็นภาษาไทยได้ก็ไม่เป็นประโยชน์อันใด...”

จากข้อความจะเห็นได้ว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึง
ความส�าคัญของการศึกษาภาษาของตะวันตกและภาษาไทย คือรู้ภาษาตะวันตกเพื่อศึกษาศิลปวิทยา
มาพัฒนาประเทศ และติดต่อกับต่างชาติได้ในอนาคต รวมทั้งต้องรู้ภาษาไทยเพื่อจะสามารถน�าความรู้
ที่ได้ศึกษาจากตะวันตกมาถ่ายทอดให้ข้าราชการไทยได้อย่างเข้าใจตรงกัน เพื่อพัฒนาประเทศจาก
วิทยาการที่พระราชโอรสทรงเรียนรู้
89

คูมือครู 89
ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand Evaluate
Engage Explore Explain

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ครู แ บ ง กลุ  ม นั ก เรี ย นศึ ก ษาและ
สืบคนพระบรมราโชวาทในรัชกาลที่
9 ที่มีเนื้อหาสอดคลองกับพระบรม- พระบรมราโชวาท แสดงให้เห็นน้ÓพระราชหฤทัยและพระราชดÓริในพระบาท-
ราโชวาทในรัชกาลที่ 5 พรอมวิเคราะห สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่มีต่อพระราชโอรสในฐานะพระราชบิดาที่ทรงเป็นห่วง
วาเพราะเหตุใดทัง้ สองพระองคจงึ ทรง ในอนาคตของพระราชโอรส จึงทรงกÓชับมิให้ประพฤติพระองค์เสื่อมเสีย พระบรม-
มีพระบรมราโชวาทสอดคลองกัน ราโชวาทนี้จึงทันสมัยอยู่เสมอ สมควรที่ผู้อยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียนจะน้อมนÓมาปฏิบัติ
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน และเป็นประโยชน์ตอ่ บิดามารดาทีจ่ ะนÓไปใช้อบรมบุตรหลานให้เห็นคุณค่าของการศึกษา
“...การศึกษาเปนปจจัยสําคัญในการ การใช้เงินและการรู้จักประพฤติตนให้เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกฝังแนวคิด
สรางและพัฒนาความรู ความคิด ทางการศึกษาว่าสÓคัญที่สุด คือการนÓความรู้ที่ได้มาใช้พัฒนาประเทศชาติ
ความประพฤติ และคุณธรรมของ
บุคคล สังคม และบานเมืองใดใหการ
ศึกษาที่ดีแกเยาวชนไดอยางครบถวน
ลวนพอเหมาะกับทุกๆ ดาน สังคม
และบานเมืองนั้นก็จะมีพลเมือง
มั่นคงของประเทศชาติไว และพัฒนา บอกเล่าเก้าสิบ
ใหกาวหนาไปตลอด...” พระบรม-
ราโชวาทในรัชกาลที่ 9 พระราชทาน
แกครูและนักเรียนที่ไดรับรางวัล พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง ๔ พระองค์
พระราชทานวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
2528 ตรงกับพระบรมราโชวาทของ พระบรมราโชวาทครั้งนี้ให้แก่
รั ช กาลที่ 5 เรื่ อ งการศึ ก ษาทั้ ง สอง กรมพระจันทบุรนี ฤนาถ ทรงเป็นต้นราชสกุล “กิตยิ ากร” ทรงกลับมาด�ารงต�าแหน่งเสนาบดี
พระองคทรงเล็งเห็นความสําคัญของ กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ เป็นผู้วางรากฐานระเบียบงานการคลังพื้นฐานที่ใช้ในปัจจุบัน
การศึกษาวาเปนพื้นฐานการพัฒนา
ประเทศ) กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล “รพีพัฒน์” ทรงกลับมาวางรากฐานด้าน
กฎหมาย ปรับปรุงกฎหมายไทยให้ทันสมัย ทรงได้รับการยกย่องจากนักกฎหมายให้เป็น
พระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทรงเคยด�ารงต�าแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมและเสนาบดี
ตรวจสอบผล กระทรวงเกษตราธิการ
1. นักเรียนสรุปสาระสําคัญใน กรมหลวงปราจิณกิติบดี ทรงเป็นต้นราชสกุล “ประวิตร” ทรงกลับมาเป็นราชเลขาธิการ
พระบรมราโชวาท เปนความเรียง ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ดวยสํานวนของนักเรียน
2. นักเรียนเปรียบเทียบเนื้อเรื่อง กรมหลวงนครไชยศรีสรุ เดช ทรงเป็นต้นราชกุล “จิรประวัต”ิ ทรงกลับมาวางรากฐานวิชาทหาร
พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ 5 แบบใหม่ ทรงเคยด�ารงต�าแหน่งผู้บัญชาการทหารบกและเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
กับวรรณคดีเรื่องอื่น
3. นักเรียนยกขอคิดในพระบรม-
ราโชวาท 2-3 ขอ ที่สามารถนํามา 90
ปรับใชกับสังคมยุคปจจุบันได
4. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวย
การเรียนรู

90 คูมือครู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

เกร็ดแนะครู
(แนวตอบ คําถามประจําหนวย
การเรียนรู
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้ 1. การนําขอคิดที่ไดรับจากพระบรม-
ราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระ-
๑. นกั เรียนจะน�าข้อคิดทีไ่ ด้รบั จากพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ไปปรับ จุลจอมเกลาเจาอยูหัวไปปรับใชใน
ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้อย่างไรบ้าง จงอธิบายมา ๓ ข้อ วิถีชีวิตไดดังนี้
๒. อ่านบทประพันธ์ “มรดกล�้าค่า” แล้วแสดงความคิดเห็นว่านักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ อย่างไร • การรูจักใชจายเงินใหคุมคา รูจัก
“มรดกล�้ำค่ำ” ประหยัดใชในสิ่งที่จําเปนเทานั้น
คือให้วิชา ติดกายาไป สร้างปัญญาสร้างตน ไมฟุมเฟอย นําเงินไปใชเฉพาะ
โจรปล้นไม่ได้ เครื่องมือยิ่งใหญ่ สร้างชาติให้พัฒนา ที่เกิดประโยชนทั้งดานการเรียน
๓. คา่ นิยมใดในพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทีย่ งั ปรากฏให้เห็นในสังคม และสุขภาพเทานั้น
ปัจจุบัน ยกตัวอย่างประกอบ ๓ ข้อ
• การเป น คนอ อ นน อ มต อ บุ ค คล
๔. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสั่งสอนพระราชโอรสให้บ�าเพ็ญประโยชน์ต่อบ้านเมือง
ทัว่ ไป ผูท มี่ คี วามออนนอมจะเปน
อย่างไร เรียบเรียงเป็นถ้อยค�าส�านวนของนักเรียน
๕. นกั เรียนคิดว่าการรูจ้ กั ตอบแทนซึง่ เป็นวิถใี นสังคมไทยยังมีความจ�าเป็นในสังคมปัจจุบนั หรือไม่ อย่างไร
ที่รักของผูพบเห็น
• ใหความสําคัญกับการเรียนภาษา
โดยเฉพาะการใชภาษาไทย
ตองใชใหถกู ตองเพราะเปนภาษา
ประจําชาติ
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
2. เห็นดวยกับ “มรดกลํ้าคา” วาวิชา
ความรูมีความสําคัญ ทําใหเกิด
กิจกรรมที่ ๑ น ักเรียนศึกษาค้นคว้าลักษณะการศึกษาของประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ ๕ ว่าเป็น
อย่างไร ปญญาและใชประกอบอาชีพ วิชา
กิจกรรมที่ ๒ นักเรียนศึกษาค้นคว้าพระราชกรณียกิจที่ส�าคัญในรัชกาลที่ ๕ ที่มีคุณูปการส่งผลต่อ ความรูติดตัวโจรปลนแยงไปไมได
ประชาชนชาวไทยและสังคมไทยในปัจจุบนั จากนัน้ จัดป้ายนิเทศภายในห้องเรียนหรือ เปนเครื่องมือที่ทําใหประเทศชาติ
ของโรงเรียน เจริญ
3. คานิยมในพระบรมราโชวาทใน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูห วั ทีย่ งั ปรากฏในปจจุบนั
เชน ความเพียร ความอดทน
การใชภาษา
4. ทรงสั่งสอนใหพระราชโอรสตั้งใจ
ศึกษาหาความรูเพื่อที่จะนําความ
รูมาพัฒนาปรับปรุงบานเมืองให
เจริญกาวหนาทัดเทียมกับนานา
91 ประเทศ
5. ยังมีความจําเปนในสังคมไทย
ปจจุบนั เพราะสังคมไทยเปนสังคม
เกือ้ กูลกัน พึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน
หลักฐาน การรูจักตอบแทนเปนวิถีที่จะทําให
แสดงผลการเรียนรู คนในสั ง คมไทยอยู  ร  ว มกั น อย า ง
ปกติสุข)
1. การจัดทําปายนิเทศพระราชประวัติที่เปน
พระปรีชาสามารถดานอักษรศาสตร
2. บันทึกสรุปใจความสําคัญของเรื่อง
3. การแตงคําขวัญจากขอคิดในเรื่อง คูมือครู 91
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)
เปาหมายการเรียนรู
• สรุปเนื้อหาเรื่องอิศรญาณภาษิต
• วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจาก
วรรณคดีเรื่องอิศรญาณภาษิต
• สรุปความรูและขอคิดนําไป
ประยุกตใชในชีวิตจริง
• ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยาน
ตามที่กําหนด

กระตุนความสนใจ
1. ใหนักเรียนบอกสํานวนสุภาษิต
คําพังเพยจากภาพหนาหนวย (เชน
ฆ า ควายเสี ย ดายพริ ก นํ้ า พึ่ ง เรื อ
เสื อ พึ่ ง ป า เดิ น ตามรอยผู  ใ หญ
หมาไมกัด วานรไดแกว อยาแหย
เสือหลับ)
2. ครูถามนักเรียนวา

ô
• สํานวนสุภาษิตและคําพังเพย
ที่ยกมามีความหมายอยางไร
• นักเรียนรูจักสํานวนสุภาษิต
และคําพังเพยอะไรอีกบาง หนวยที่
อิศรญำณภำษิต
ตัวชี้วัด
■ สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่นในระดับที่ยากขึ้น
(ท ๕.๑ ม.๓/๑)
ว รรณคดีประเภทคําสอน คือ วรรณคดี
■ วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
ที่ เ รี ย บเรี ย งแนวคิ ด ข อ ควรปฏิ บั ติ ห รื อ
(ท ๕.๑ ม.๓/๒) ขอคําสอน วัตถุประสงคเพือ่ สรางความสงบ
■ สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง เรียบรอยในสังคม รวมถึงสอนหลักธรรม
(ท ๕.๑ ม.๓/๓)
■ ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยานตามที่กําหนด (ท ๕.๑ ม.๓/๔) อันควรปฏิบัติ ทั้งนี้ผูฟงหรือผูอานอาจตีความ
คํ า สอนแตกต า งกั น ตามพื้ น ฐานความรู  แ ละ
สาระการเรียนรูแกนกลาง
ประสบการณ การอานวรรณคดีประเภทคําสอน
■ วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่นเกี่ยวกับศาสนา
ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คําสอน เหตุการณ จึงตองอานอยางพินจิ พิเคราะห ตีความ แปลความ
ในประวัติศาสตร บันเทิงคดี เพื่อนําขอคิดมาปรับใชในชีวิตประจําวัน
■ การวิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรม
■ บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา

92 คูมือครู
สํารวจคนหา อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Expand Evaluate

สํารวจคนหา
1. ใหนักเรียนชวยกันสืบคนประวัติ
ความเป น มาของเรื่ อ งอิ ศ รญาณ
๑ ความเป็นมา ภาษิตและพระประวัติของหมอม
อิศรญาณภาษิต เรียกอีกอย่างว่า “เพลงยาวอิศรญาณ” หม่อมเจ้าอิศรญาณนิพนธ์เพลงยาว เจาอิศรญาณเพิม่ เติม และนําความ
ฉบับนี้ขึ้น เพื่อสะท้อนความคิดเห็นที่มีต่อสังคมในยุคนั้น พร้อมเสนอแนะแนวทางปฏิบัติตนแต่ไม่ถึง รูที่สืบคนมาแลกเปลี่ยนเรียนรูกัน
ขั้นสอน ภายในหองเรียน แลวบันทึกความ
รูลงสมุด
๒ ประวัติผู้แต่ง 2. ใหนักเรียนแบงกลุมสืบคนความรู
เกี่ยวกับสํานวน สุภาษิต คําพังเพย
หม่อมเจ้าอิศรญาณ (ไม่ทราบพระนามเดิม) บันทึกความรูลงสมุด
เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง
มหิศวรินทรามเรศ พระองค์ทรงผนวชที่วัดบวร-
นิ เ วศฯ ได้ พ ระนามฉายาว่ า อิ สฺ ส รญาโณ มี อธิบายความรู
พระชนม์ชีพอยู่ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จ- ใหนักเรียนอธิบายความหมาย
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สํานวน สุภาษิต คําพังเพย วาแตกตาง
กันอยางไร
๓ ลักษณะคÓประพันธ์ วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร
(แนวตอบ สํานวนมีหลายความหมาย
ในที่ นี้ ห มายถึ ง เฉพาะถ อ ยคํ า ที่ มี
อิศรญาณภาษิตแต่งด้วยค�าประพันธ์ประเภทกลอนเพลงยาว ซึ่งมีลักษณะบังคับเหมือน
ความหมายไม ต รงตามตั ว อั ก ษร
เอย ดังนี้
กลอนสุภาพ แต่จะขึ้นบทแรกด้วยวรรครับและจบด้วยค�าว่า เอย ดั สวนคําพังเพยมีความหมายลึกซึ้ง
อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร กวาสํานวนคือมีลักษณะติชมสวน
เทศนาค�าไทยให้เป็นทาน โดยต�านานศุภอรรถสวัสดี สุภาษิตมีลักษณะ 2 ประการ คือ
เปนขอความสั้นๆ แตกินความ
................................................... ...................................................
ลึกซึ้ง และเปนคําสอน)
แสนประเสริฐเลิศภพจบธาตรี ยังจรลีเข้าสู่นิพพานเอยฯ

๔ เรื่องย่อ นักเรียนควรรู
อิศรญาณภาษิตมีเนื้อหาเชิงสั่งสอนแบบเตือนสติและแนะน�าเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติตน เอย เปนคําบังคับลงทายใน
ให้เป็นที่พอใจของผู้อื่น โดยเฉพาะผู้ที่มีอ�านาจมากกว่า สอนว่าควรจะปฏิบัติตนอย่างไรจึงจะอยู่ใน “กลอนดอกสรอย” และ “กลอนสักวา”
สังคมได้อย่างสงบสุข ท�าอย่างไรจึงจะประสบความส�าเร็จสมหวัง บางตอนเน้นเรื่องการเห็นคุณค่า
และความส�าคัญของผู้อื่นโดยไม่สบประมาทหรือดูแคลนผู้อื่น โดยทั้งนี้การสอนบางครั้งอาจเป็นการ
กล่าวตรงๆ หรือใช้ถ้อยค�าเชิงประชดประชัน

93

คูมือครู 93
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
Engage Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Evaluate

กระตุนความสนใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ครูชวนนักเรียนอานบทประพันธ
ทํานองเสนาะพรอมกัน
2. ใหนักเรียนเลือกบทประพันธที่ ๕ เนื้อเรื่อง
ประทับใจจากเรือ่ งอิศรญาณภาษิต มีผู้สันนิษฐานว่าอิศรญาณภาษิตอาจไม่ใช่บทนิพนธ์ในหม่อมเจ้าอิศรญาณแต่เพียงผู้เดียว
แลวอานตามทํานองเสนาะ หากแต่นิพนธ์ไว้เพียงตอนแรกเท่านั้น กล่าวคือนิพนธ์ถึงวรรคว่า “ปุถุชนรักกับชังไม่ยั่งยืน” ซึ่งมีลีลา
หนาชั้นเรียน การประพันธ์ด้วยน�้าเสียงเหน็บแนมประชดประชัน ส่วนที่เหลือเป็นของกวีท่านอื่นร่วมกันประพันธ์ต่อ
โดยเป็ น การสอนเรื่ อ งทั่ ว ๆ ไป มี ลี ล าหรื อ ท่ ว งท� า นองแบบเรี ย บๆ มุ ่ ง สั่ ง สอนตามปกติ ข องผู ้ มี
สํารวจคนหา ประสบการณ์ในเรื่องต่างๆ ซึ่งได้น�ามาเรียบเรียงไว้ทั้งหมด เพื่อให้นักเรียนได้เปรียบเทียบส�านวน
กลอนได้ ดังนี้
ใหนักเรียนคนควาสํานวนสุภาษิต
ในอิ ศ รญาณภาษิ ต พิ จ ารณาเลื อ ก
อิศรญาณภาษิต
สุ ภ าษิ ต ที่ เ หมาะสํ า หรั บ การแสดง
ทาทางประกอบ ใหเพื่อนทายวาเปน อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร
สํานวนสุภาษิตใดและมีความหมาย เทศนาค�าไทยให้เป็นทาน โดยต�านานศุภอรรถสวัสดี
อยางไร ส�าหรับคนเจือจิตจริตเขลา ด้วยมัวเมาโมห์มากในซากผี
(แนวตอบ เชน เดินตามหลังผูใหญ ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี ส�าหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย
หมาไมกัด หมายถึง ประพฤติตาม ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น�้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
อยางผูใหญยอมปลอดภัย นํ้าพึ่งเรือ เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ
เสือพึ่งปา หมายถึง พึ่งพาอาศัยกัน
ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ
ความรูทวมหัวเอาตัวไมรอด หมายถึง
มีความรูมากแตไมรูจักใชความรูให สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล เป็นชายชาญอย่าเพ่อคาดประมาทชาย
เปนประโยชน ฆาควายเสียดายพริก รักสั้นนั้นให้รู้อยู่เพียงสั้น รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
หมายถึง ทําการใหญไมควรตระหนี่ มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา
คบคนพาลพาลพาไปหาผิด หมายถึง อย่าดูถูกบุญกรรมว่าท�าน้อย น�้าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา
คบคนพาลมีแตอันตราย คบบัณฑิต อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน
บัณฑิตพาไปหาผล หมายถึง คบคนดี เห็นตอหลักปักขวางหนทางอยู่ พิเคราะห์ดูควรทึ้งแล้วจึงถอน
ยอมไดรับประโยชน) เห็นเต็มตาแล้วอย่าอยากท�าปากบอน ตรองเสียก่อนจึงค่อยท�ากรรมทั้งมวล
ค่อยด�าเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน
อธิบายความรู เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดค�านวณ รู้ถี่ถ้วนจึงสบายเมื่อปลายมือ
จากบทประพันธ เพชรอย่างดีมีค่าราคายิ่ง ส่งให้ลิงจะรู้ค่าราคาหรือ
“อยาดูถูกบุญกรรมวาทํานอย ต่อผู้ดีมีปัญญาจึงหารือ ให้เขาลือเสียว่าชายนี้ขายเพชร
นํ้าตาลยอยมากเมื่อไรไดหนักหนา” ของสิ่งใดเจ้าว่างามต้องตามเจ้า ใครเลยเล่าจะไม่งามตามเสด็จ
• จากบทประพันธขา งตนหมายความ
วาอยางไร 94
(แนวตอบ หมายถึงการทําบุญตาม
กําลังศรัทธามีนอยทํานอยมีมาก
ทํามาก)
ขยายความเขาใจ
ใหนักเรียนทองจําบทอาขยาน เกร็ดแนะครู
เรื่อง อิศรญาณภาษิต ในหนา 94 บทขึ้นตนกลอนประพันธเปนสวนแนะนําตัว
แลวใหนักเรียนบอกขอคิดจาก ของกวีซึ่งตามขนบโบราณกวีตองถอมตน แตบท
บทอาขยานที่ทอง ประพันธนี้สะทอนใหเห็นวากวีมีความมั่นใจใน
ความสามารถทางภาษาและการประพันธของ
94 คูมือครู ตนเอง
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ครูแบงนักเรียนออกเปน 5 กลุม
ศึกษาหัวขอการเรียนรู ดังนี้
จ�าไว้ทุกสิ่งจริงหรือเท็จ พริกไทยเม็ดนิดเดียวเคี้ยวยังร้อน ใหนักเรียนแตละกลุมเลือกสุภาษิต
เกิดเป็นคนเชิงดูให้รู้เท่า ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน อิศรญาณบทที่ชอบมาเปนหัวขอแจง
อยากใช้เขาเราต้องก้มประนมกร ใครเลยห่อนจะว่าตัวเป็นวัวมอ ให ค รู ท ราบหั ว ข อ แล ว ค น คว า หา
เป็นบ้าจี้นิยมชมว่าเอก คนโหยกเหยกรักษายากล�าบากหมอ คําสอนในลักษณะเดียวกันกับสุภาษิต
อันยศศักดิ์มิใช่เหล้าเมาแต่พอ ถ้าเขายอเหมือนอย่างเกาให้เราคัน ที่นักเรียนชอบพรอมยกตัวอยาง
บ้างโลดเล่นเต้นร�าท�าเป็นเจ้า เป็นไรเขาไม่จับผิดคิดดูขัน (แนวตอบ เชน
“อยาคบมิตรจิตพาลสันดานชั่ว
ผีมันหลอกช่างผีตามทีมัน คนเหมือนกันหลอกกันเองกลัวเกรงนัก
จะพาตัวใหเสื่อมที่เลื่อมใส
สูงอย่าให้สูงกว่าฐานนานไปล้ม จะเรียนคมเรียนเถิดอย่าเปิดฝัก คบนักปราชญนั่นแหละดีมีกําไร
คนสามขามีปัญญาหาไว้ทัก ที่ไหนหลักแหลมค�าจงจ�าเอา ทานยอมใหความสบายหลายประตู”
เดินตามรอยผู้ใหญ่หมาไม่กัด ไปพูดขัดเขาท�าไมขัดใจเขา
คําสอนในลักษณะเดียวกันในโคลง
ใครท�าตึงแล้วหย่อนผ่อนลงเอา นักเลงเก่าเขาไม่หาญราญนักเลง โลกนิติ เรื่องการคบเพื่อน ดังวา
เป็นผู้หญิงแม่หม้ายที่ไร้ผัว ชายมักยั่วท�าเลียบเทียบข่มเหง “ปลาราพันหอดวย ใบคา
ไฟไหม้ยังไม่เหมือนคนที่จนเอง ท�าอวดเก่งกับขื่อคาว่ากระไร ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุง
อันเสาหินแปดศอกตอกเป็นหลัก ไปมาผลักบ่อยเข้าเสายังไหว คือคนหมูไปหา คบเพื่อน พาลนา
จงฟังหูไว้หูคอยดูไป เชื่อน�้าใจดีกว่าอย่าเชื่อยุ ไดแตรายรายฟุง เฟองใหเสียพงศ”
หญิงเรียกแม่ชายเรียกพ่อยอไว้ใช้ มันชอบใจข้างปลอบไม่ชอบดุ หรือ
ที่ห่างปิดที่ชิดไชให้ทะลุ คนจักษุเหล่หลิ่วไพล่พลิ้วพลิก “คดสิ่งอื่นหมื่นแสนแมนกําหนด
เอาปลาหมอเป็นครูดูปลาหมอ บนบกหนออุตส่าห์เสือกกระเดือกกระดิก โกฏิลานคดซอนซับพอนับถวน
คดของคนลนลํ้าคดนํ้านวล
เขาย่อมว่าฆ่าควายเสียดายพริก รักหยอกหยิกยับทั้งตัวอย่ากลัวเล็บ
เหลือกระบวนที่จะจับนับคดคอม”
มิใช่เนื้อเอาเป็นเนื้อก็เหลือปล�้า แต่หนามต�าเข้าสักนิดกรีดยังเจ็บ
อันโลภลาภบาปหนาตัณหาเย็บ เมียรู้เก็บผัวรู้ท�าพาจ�าเริญ คําสอนในลักษณะเดียวกันที่สอน
เกี่ยวกับไมใหไวใจใครในเรื่องพระ-
ถึงรู้จริงนิ่งไว้อย่าไขรู้ เต็มที่ครู่เดียวเท่านั้นเขาสรรเสริญ
อภัยมณีของสุนทรภูที่พระฤๅษีสอน
ไม่ควรก�้าเกินหน้าก็อย่าเกิน อย่าเพลิดเพลินคนชังนักคนรักน้อย สินสมุทรวา
วาสนาไม่คู่เคียงเถียงเขายาก ถึงมีปากมีเสียเปล่าเหมือนเต่าหอย
“แลวสอนวาอยาไวใจมนุษย
ผีเรือนตัวไม่ดีผีอื่นพลอย พูดพล่อยพล่อยไม่ดีปากขี้ริ้ว
มันแสนสุดลึกลํ้าเหลือกําหนด
แต่ไม้ไผ่อันหนึ่งตันอันหนึ่งแขวะ สีแหยะแหยะตอกตะบันเป็นควันฉิว ถึงเถาวัลยพันเกี่ยวที่เลี้ยวลด
ช้างถีบอย่าว่าเล่นกระเด็นปลิว แรงหรือหิวชั่งใจดูจะสู้ช้าง ก็ไมคดเหมือนหนึ่งในนํ้าใจคน”
ล้องูเห่าเล่นก็ได้ใจกล้ากล้า แต่ว่าอย่ายักเยื้องเข้าเบื้องหาง

95
ขยายความเขาใจ
ให นั ก เรี ย นนํ า สํ า นวนสุ ภ าษิ ต ที่
ชืน่ ชอบมาเปนหัวขอเขียนเรือ่ งสอนใจ
ความยาว 15 บรรทัด แลวออกมาเลา
หนาชั้นเรียนใหครูและเพื่อนๆ ฟง
นักเรียนควรรู เกร็ดแนะครู
แปดศอก เทียบไดกับ ครูชวนนักเรียนสังเกตวา อิศรญาณภาษิต มีลกั ษณะการใชคาํ ตายทาย
8 เมตร วรรค ทําใหเกิดเสียงกระตุกชะงัก เกิดเสียงกระแทกกระทั้นมากขึ้น เชน
หญิงเรียกแมชายเรียกพอยอไวใช มันชอบใจขางปลอบไมชอบดุ
ที่หางปดที่ชิดไชใหทะลุ คนจักษุเหลหลิ่วไพลพลิ้วพลิก
คูมือครู 95
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนจับคูรวบรวมสํานวน
สุภาษิตในหนาที่ 95-96 วามีสาํ นวน
อะไรบาง ต้องว่องไวในท�านองคล่องท่าทาง ตบหัวผางเดียวม้วนจึงควรล้อ
(แนวตอบ มีหลายสํานวน เชน ถึงเพื่อนฝูงที่ชอบพอขอกันได้ ถ้าแม้ให้เสียทุกคนกลัวคนขอ
คมในฝก ฟงหูไวหู พ่อแม่เลี้ยงปิดปกเป็นกกกอ จนแล้วหนอเหมือนเปรตเหตุด้วยจน
ฆาควายเสียดายพริก ถึงบุญมีไม่ประกอบชอบไม่ได้ ต้องอาศัยคิดดีจึงมีผล
ผีซํ้าดํ้าพลอย เปนตน บุญหาไม่แล้วอย่าได้ทะนงตน ปุถุชนรักกับชังไม่ยั่งยืน(๑)
2. อธิบายความหมายของสํานวน ตัวยากอยากจะไปอาศัยเขา ถึงเป็นญาติก็เปล่าเหมือนผู้อื่น
สุภาษิตที่นักเรียนรวบรวมได
แม้มั่งมีเหมือนกันจึงยั่งยืน การยิงปืนลูกถึงแล้วจึงดัง
(แนวตอบ คมในฝก หมายความวา
ผูมีความรูความสามารถ เมื่อยัง อันคลื่นใหญ่ในมหาชลาสินธุ์ เข้าฝั่งสิ้นสาดเข้าไปที่ในฝั่ง
ไมถึงเวลาก็จะยังไมแสดงออกมา เสียงกลองดังฟังดูเพียงหูฟัง ปากคนดังอึงจริงยิ่งกว่ากลอง
ฟงหูไวหู หมายความวา ฟงเรื่อง ถ้าท�าดีก็จะดีเป็นศรีศักดิ์ ถ้าท�าชั่วชั่วจักตามสนอง
ราวจากหลายๆ ฝายกอนตัดสิน ความชั่วเราลี้ลับอย่ากลับตรอง นอนแล้วมองดูผิดในกิจการ
ผีซํ้าดํ้าพลอย หมายความวา เมื่อ เราท�าผิดสิ่งใดในราชกิจ อุตส่าห์คิดอย่าแพร่งแถลงสาร
พลาดพลั้งก็ถูกซํ้าเติม) คิดถึงผิดจิตไม่เหิมฮึกทะยาน คิดถึงชอบแล้วก็ปานละเลิงใจ
เป็นข้าเฝ้าเหล่าเสวกามาตย์ ยิ่งกว่าทาสทาสาค่าสินไถ่
อย่าใช้ชิดอย่าให้ห่างเป็นกลางไว้ ฝ่ายข้างในอย่าน�าออกนอกอย่าแจง
นักเรียนควรรู มิควรทูลก็อย่าทูลประมูลข้อ จะเกิดก่อลุกลามความแสลง
ปุถุชน หมายถึง สามัญชนทั่วไป มี อย่าพูดปดให้จับได้พูดไพล่แพลง ทูลแล้วแบ่งมุสาอย่าให้เต็ม
ทั้งรักและชังสลับกันไปไมคงที่ยอม อันความเรื่องเดียวกันส�าคัญกล่าว พูดไม่ดีแล้วก็เปล่าไม่แข็งเข้ม
เปลี่ยนแปลงไดเสมอ ข้าวต้มร้อนอย่ากระโจมค่อยโลมเล็ม วิสัยเข็มเล่มน้อยร้อยช้าช้า
ถึงโปร่งปรุในอุบายเป็นชายชาติ แม้หลงมาตุคามขาดศาสนา
อันความหลงแม้ไต่ปลงสังขารา แต่ทว่ารู้บ้างค่อยบางเบา
นักเรียนควรรู อย่าโอกโขยกอยู่ในโลกสันนิวาส แต่นักปราชญ์ยังรู้พึ่งผู้เขลา
เหมือนเรือช่วงพ่วงล�าในส�าเภา เรือใหญ่เข้าไม่ได้ใช้เรือเล็ก
ชลาสินธุ หมายถึง แมนํ้า ทะเล
คนพันหนึ่งดึงดื้อถือมานะ ในทิฏฐะแข็งจริงยิ่งกว่าเหล็ก
เหล็กเผาไฟมอญไทยพม่าเจ๊ก ผู้ใหญ่เด็กก็ตีอ่อนเพราะร้อนไฟ
อนิจจังภาวนาว่ากุศล พากันบ่นวุ่นวุ่นบุญที่ไหน
นักเรียนควรรู
(๑) ความต่อจากนี้ พิเคราะห์ดูเป็นของผู้อื่นอีกส�านวนหนึ่ง ผู้แต่งไม่ทราบเรื่องของเจ้าอิศรญาณ แต่ถ้อยค�า
แสลง ในที่นี้หมายถึง อาการที่รูสึก ส�านวนพอใช้ จึงพิมพ์ไว้ด้วย
กระทบกระเทือนใจ นักเรียนควรระมัด
ระวังไมเขียนผิดเปน สแลง ซึ่งหมาย 96
ถึง ถอยคําหรือสํานวนที่ใชเขาใจกัน
เฉพาะกลุม หรือชัว่ ระยะเวลาหนึง่ ไมใช
ภาษาที่ยอมรับกันวาถูกตอง

96 คูมือครู
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนศึกษาเรื่องภาพพจน
แลวตอบคําถาม
จังแต่ปากใจยังไม่จังใจ ต่อเมื่อไรสังเวชจิตอนิจจัง • คําประพันธที่ปรากฏในเรื่อง
หลงโลภลาภบาปก็รู้อยู่ว่าบาป กิเลสหยาบยังไม่สุขย่อมทุกขัง มีภาพพจนใดบาง ยกตัวอยาง
ตัณหาหากชักน�าให้ก�าบัง เอาธรรมตั้งข่มกดให้ปลดร้อน ประกอบ
คนศรัทธาว่าง่ายสบายจิต ไม่เบือนบิดเร่งท�าตามค�าสอน (แนวตอบ ตัวอยางเชน การใช
คนที่ไม่ศรัทธาอุราคลอน โง่แล้วงอนถึงไม่ฟังก็ยังดึง ภาพพจนอุปมา เชน “โทษสัก
หาเงินติดไถ้ไว้อย่าให้ขาด ต�าลึงบาทหาไม่คล่องเพียงสองสลึง เทาหัวเหาเล็กเทาเล็น” การใช
ภาพพจน อุปลักษณ เชน
ชาติตะปูชาติแข็งต้องแทงตรึง ชาติขี้ผึ้งชาติอ่อนร้อนละลาย
“อาวุธปากกลาวดีมีคนเกรง”
ของสิ่งใดสงสัยให้พิสูจน์ ไม่แกล้งพูดธาตุทั้งสี่ดีใจหาย เปรียบเทียบวาปากเปนอาวุธ)
ดูดินน�้าลมไฟให้แยบคาย ไล่ระบายเท็จก็แปรแท้ไม่จร
ปลาร้าเค็มพริกเทศเผ็ดไฉน เอออะไรดูเถิดยังเกิดหนอน
กลับฟอนฟันพริกปลาร้าสถาพร ทั้งเค็มร้อนไม่ถึงกรรมเป็นธรรมา
พูดโกหกแต่แยบคายอุบายปด คนทั้งหมดนั่งฟังไม่กังขา
นักเรียนควรรู
ที่พูดซื่อถือแท้แน่เจรจา เขาก็ว่าพูดปดทุกบทไป ไถ หมายถึง ถุงยาวขนาดใหญหรือ
เป็นเจ้านายผู้ดีมีวาสนา เอาพ่อตาลงข้างล่างใช้ต่างไพร่ เล็กสําหรับใสเงินหรือสิง่ ของ โดยมาก
ใชคาดเอว
มีเมียน้อยหลักแหลมก็แถมใช้ ลูกเขยจนแล้วก็ใส่คอเป็นเอ็น
คุณกับโทษสองแบ่งแรงข้างไหน คุณถึงใหญ่ให้ผลคนไม่เห็น
โทษสักเท่าหัวเหาเล็กเท่าเล็น ให้ผลเห็นแผ่ซ่านทั่วบ้านเมือง
น�้าใจเอยเห็นกรรมไม่ท�าชั่ว บวชตั้งตัวตั้งใจบวชได้เรื่อง นักเรียนควรรู
บวชหลบราชการหนักบวชยักเยื้อง บวชหาเฟื้องหาไพบวชไม่ตรง อินทรีย หมายถึง รางกายและจิตใจ
หลายต�าบลหลายแห่งแขวงป่าช้า อศุภพาเกิดพินิจพิศวง สิ่งมีชีวิต เปนคําพองเสียงกับ อินทรี
ป่าช้าใหญ่คือเตาไฟไยมิปลง สังเวชลงว่าเผาผีทุกวี่วัน ซึ่งเปนชื่อของนกและปลาทะเล คํา
สัตว์ผอมฤษีพีนี้สองสิ่ง สามผู้หญิงรูปดีไม่มีถัน พองเสียงคือคําที่ออกเสียงเหมือนกัน
กับคนจนแต่งอินทรีย์นี้อีกอัน สี่ด้วยกันดูเป็นเห็นไม่งาม อาจเขียนเหมือนหรือตางกันก็ได แต
ทั้งสองคํามีความหมายตางกัน
บรรพชาสามปางนางสามผัว ข้าเก่าชั่วเมียชังเขายังห้าม
มักเกิดเงี่ยงเกี่ยงแง่แส่หาความ กาลีลามหยาบช้าอุลามก
เคหฐานหยาบช้าหาสะอาด มูลฝอยใบไม้ใช่ญาติอย่ามุ่นหมก
อย่าเข้าท�าส�่าสมนิยมรก ไฟจะตกลามไหม้ไม่ได้การ นักเรียนควรรู
กิ่งไม้เรียวหนามหนาศิลาหัก เห็นเสียบปักอยู่ที่ทางกลางสถาน บรรพชาสามปาง คือ ชายสามโบสถ
เปนสํานวนหมายถึง ผูที่บวชแลวสึก
97 ถึง 3 หน ใชพูดเปนเชิงตําหนิวาเปน
คนที่ไมนาคบ

คูมือครู 97
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนอธิบายเรื่อง
อิศรญาณภาษิตเกี่ยวกับคําสอนที่
สะทอนคานิยมความเปนอยูของคน หยิบทิ้งเสียบุญหนักหนาอย่าขี้คร้าน ท�าไปนานแล้วก็ก้างไม่ค้างคอ
ในสังคมสมัยนั้น ถือต�ารามากนักขี้มักกรอบ มิเสียชอบขัดสนจนจอนจ่อ
(แนวตอบ คําสอนในอิศรญาณภาษิต ออกชื่อบาปครางฮือท�ามืองอ ไม่นึกฉ้อส่อเสียดเบียดเบียนใคร
ชีใ้ หเห็นวาแตละคนมีบทบาทแตกตาง จิตด�ารงคงธรรมไม่พล�้าเพลี่ยง สู้หลีกเลี่ยงตามภาษาอัชฌาสัย
กัน ควรปฏิบัติตนใหเหมาะสม เชน ถึงบอกลาภบาปแล้วไม่พอใจ มีหาไม่อุตส่าห์รักษากาย
เด็ ก ควรเชื่ อ ฟ ง คํ า สอนของผู  ใ หญ พระพุทธองค์ก็ทรงชมว่าสมปราชญ์ บัณฑิตชาติเมธาปัญญาหลาย
พระที่บวชตองเครงครัดในพระวินัย
สู่คติเบื้องหน้าถ้าเขาตาย ทางอบายห่างไกลไม่ไปเลย
เปนตน)
กระแสพุทธฎีกาว่ากระนี้ เดี๋ยวนี้นี่ไม่กระนั้นนะท่านเอ๋ย
ถ้ายากจนแล้วก็คนมักยิ้มเย้ย ภิปรายเปรยเปรียบเทียบพูดเสียบเแทง
ขยายความเขาใจ ว่าชะชะนักปราชญ์ชาติสถุล วิบากบุญให้ผลจนต่องแต่ง
ครูแบงกลุมใหนักเรียนวิเคราะห สวรรค์นรกที่ไหนไม่แจ้งแจง อยู่เขตแขวงธานีบุรีใด
คําสอนในอิศรญาณภาษิตที่สามารถ อย่าคบมิตรจิตพาลสันดานชั่ว จะพาตัวให้เสื่อมที่เลื่อมใส
นํามาใชในปจจุบัน 5 ขอ และแสดง คบนักปราชญ์นั่นแหละดีมีก�าไร ท่านย่อมให้ความสบายหลายประตู
ความคิดเห็นวา ความเจริญและความฉิบหายนั้น ที่เกิดมันไม่มากเท่าปากหู
• นักเรียนสามารถนําคําสอนนั้น อ้ายคิ้วตานั้นก็เปล่าแต่เจ้าชู้ จมูกรู้ก็แต่สูดพูดไม่เป็น
มาใชไดอยางไร
ชั่วแต่กายวาจาย่อมปรากฏ คนทั้งหมดแม่นแท้เขาแลเห็น
(แนวตอบ เชน 1. “ชายขาวเปลือก
หญิงขาวสารโบราณวา นํา้ พึง่ เรือ ชั่วในใจบังปิดไว้มิดเม้น สิบห้าเล่มเกวียนเข็นไม่หมดมวล
เสือพึ่งปาอัชฌาสัย” นําไปใชได คดสิ่งอื่นหมื่นแสนแม้นก�าหนด โกฏิล้านคดซ้อนซับพอนับถ้วน
เราไมสามารถอยูคนเดียวได คดของคนล้นล�้าคดน�้านวล เหลือกระบวนที่จะจับนับคดค้อม
ตองพึ่งพาอาศัยกัน หินกับเหล็กชุดดีตีเอาเถิด ไฟก็เกิดหินร่อยไปเหล็กไม่ผอม
2. “จะเรียนคมเรียนเถิดอยา ถึงหินนิดกรีดกดตีอดออม อุตส่าห์ถนอมใช้ไปได้นมนาน
เปดฝก” นํามาใชสอนใหเปนคน จะผ่าไม้ให้พินิจพิศดูท่า ให้เห็นว่าแสกไหนเหมาะจึงเจาะขวาน
มีปญญา แตมิใหอวดรู ใหเก็บ จะเข้าหาคนผู้ดูอาการ ถือโบราณถูกเดาจึงเอาค�า
ความรูไวใชเมื่อถึงเวลาสมควร ห้าสิบปีมีประมาณฐานเก่าเก่า น�้าไม่เข้าท่วมถึงที่มีดินถน�า
3. “เห็นตอหลักปกขวาง
โตเท่าผลมะขวิดสดเร่งจดจ�า ถูเงินเฟื้องเหลืองก�่าเป็นทองจริง
หนทางอยู พิเคราะหดูควรทิ้ง
แลวจึงถอน เห็นเต็มตาแลวอยา คนพันหนึ่งเสาะสางทางเสน่ห์ อุปเท่ห์ท�าให้ยอบชอบใจหญิง
อยากทําปากบอน ตรองเสียกอน เสกที่ใดใจเจ้าของต้องประวิง ได้ก็เกิดยุ่งยิ่งร้างหย่ากัน
จึงคอยทํากรรมทัง้ มวล” นําไปใช รักกันเองหรือขอสู่อยู่กันยืด ไม่จางจืดเสน่หาจนอาสัญ
สอนใหเรารูจักคิดใครครวญ
ไตรตรองกอนจะพูดหรือทําสิง่ ใด 98
4. “อยานอนเปลาเอากระจก
ยกออกมา สองดูหนาเสียทีหนึ่ง
แลวจึงนอน” นําไปใชได สอนวา
เราควรสํารวจจิตใจของตนเองอยูเปนนิจวาคิดดีหรือไม เพื่อจะไดเตือนตนไดทันการณ
5. “คนสามขามีปญญาหาไวทัก ที่ไหนหลักแหลมคําจงจําเอา” นําไปใชได สอนใหเรา นักเรียนควรรู
ขอคําปรึกษาจากผูใหญ ผูผานโลกมีประสบการณมาก ควรจะฟงคําทักทวงของทาน)
ถนํา คือชื่อดินชนิดหนึ่ง สีเหลืองออน
ใชทํายาไทย เปนคํามาจากภาษาเขมร
แปลวา ยา ถนําทัก คือใชทํายา
98 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ครูใหนักเรียนอธิบายบทประพันธ
ดังตอไปนี้
อื่นอื่นนั้นยกไว้ในส�าคัญ กับอีกอันปฏิบัติไม่ขัดเรา “อีกขอหนึ่งเมืองเราชาวมนุษย
คนมียศรูปสวยทั้งรวยทรัพย์ เสน่ห์บทนี้ปับขลังจริงเจ้า ยอมวาพุทธกับไสยตั้งใจวา
สาวสาวเห็นหมดหน้าถ้าจะเอา ไม่ต้องเป่าเสกคาถาก็มาเจียว ถอยทีถอยอาศัยกันไปมา
คนแก่มีสี่ประการโบราณว่า แก่ธรรมาพิสมัยใจแห้งเหี่ยว ทั้งเจรจารําคาญหูดูไมงาม
แก่ยศแก่วาสนาปัญญาเปรียว แต่แก่แดดอย่างเดียวแก่เกเร พุทธแปลวาพระเจาทานกลาวแก
ความรู้ท่วมหัวตัวไม่รอด เป็นค�าสอดของคนเกเรเกเส ไสยนั้นแปลวาผีนี้ไดถาม
ผิดหรือถูกไมตรึกตราเจรจาตาม
เรียนวิชาไม่แม่นย�าคะน�้าคะเน ไปเที่ยวเตร่ประกอบชั่วตัวจึงจน
มีเนื้อความในคัมภีรบาลีใด”
ทะเลน้อยเท่ารอยโคโผไม่ได้ โดยว่าใจยังก�าหนัดขัดมรรคผล (แนวตอบ บทประพันธนี้สะทอน
หญิงขมิ้นชายปูนประมูลปน ไหนจะพ้นทะเลแดงต�าแหน่งเนื้อ ใหเห็นทัศนคติของกวีวา พระพุทธ-
จิ้งจกเรียกจระเข้บกยกขึ้นท้า แมวตัวเล็กเขาก็ว่าเป็นอาเสือ ศาสนาไมมีคําสอนเรื่องไสยศาสตร
แมวเป็นอาของพยัคฆ์ชักว่านเครือ ไม่น่าเชื่อหลานอะไรใหญ่กว่าอา มาปะปนแตอยางใด)
อีกข้อหนึ่งเมืองเราชาวมนุษย์ ย่อมว่าพุทธกับไสยตั้งใจว่า
ถ้อยทีถ้อยอาศัยกันไปมา ทั้งเจรจาร�าคาญหูดูไม่งาม
ขยายความเขาใจ
พุทธแปลว่าพระเจ้าท่านกล่าวแก้ ไสยนั้นแปลว่าผีนี้ได้ถาม
ผิดหรือถูกไม่ตรึกตราเจรจาตาม มีเนื้อความในคัมภีร์บาลีใด ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวา
• ปจจุบน ั มีความเชือ่ เรือ่ งไสยศาสตร
ว่าพระพุทธองค์ไปอาศัยผี ผีไปพึ่งบารมีที่ตรงไหน
ปะปนอยูในสังคมไทยหรือไม
ถ้อยทีถ้อยพึ่งกันนั้นอย่างไร ครั้นว่าไล่เข้าก็ซัดลัทธิแรง อยางไร
เป็นวาจากรรมเปล่าไม่เข้าข้อ รู้แล้วก็นิ่งไว้อย่าได้แถลง (แนวตอบ อาจจะมีหรือไมมีก็ได
แม้พลั้งปากเสียศีลพลาดตีนแพลง มักระแวงข้างเป็นโทษประโยชน์น้อย ถาตอบวามี เชน การสะเดาะเคราะห
หนึ่งนักปราชญ์ผู้เขลากล่าวก�าเนิด ว่ากระต่ายไปเกิดเป็นหิ่งห้อย 9 วัด การใชผาเจ็ดสีเจ็ดศอก
เพราะอย่างนั้นรัศมีสีจึงย้อย แล้วอย่าพลอยพูดไถลเหมือนไม้ลิด ผูกตนไมทเี่ ชือ่ วามีผอี ารักษ เปนตน)
จะคบมิตรสนิทนักมักเป็นโทษ เกิดขึ้งโกรธต่างต่างเพราะวางจิต
ทันระวังตัวที่ไหนไม่ทันคิด เหตุสักนิดแล้วก็ได้ขัดใจกัน
ประพฤติดีฝีปากข้างถากถาง คือเห็นทางห้ามรักให้ชักสั้น เกร็ดแนะครู
ฉุกละหุกคลุกคลีถึงตีรัน อ้ายรู้มากนี่แลมันเป็นต้นเดิม
ครูแนะความรูนักเรียนโดยยก
เจ้าท่านเกลียดอย่าเกลียดแทนองค์เจ้า เอ็นดูเหล่าผู้ผิดอย่าคิดเสริม บทประพันธวา
กริ้วสิ่งไรช่วยแซมค่อยแต้มเติม ผู้ผิดเพิ่มพูดผิดใช่กิจเอง “คนแกมีสี่ประการโบราณวา
ผมยาวยุ่งทิ้งไว้ไม่สางหวี สิ้นที่พึ่งแล้วจึงมีคนข่มเหง แกธรรมาพิสมัยใจแหงเหี่ยว
แกยศแกวาสนาปญญาเปรียว
99 แตแกแดดอยางเดียวแกเกเร”
บทประพันธนสี้ ะทอนใหเห็นคานิยม
ในสังคมวา คนควรแกดวย 4 ประการ
คือ แกธรรม แกยศ แกวาสนา และ
แก ป  ญ ญา แก ใ นที่ นี้ มี ค วามหมาย
นักเรียนควรรู โดยนัยวา จัดเจน หนัก หรือยิ่งไปใน
ทางนั้น
พลั้งปากเสียศีล พลั้งตีนตกตนไม เปนสํานวน หมายถึง พูดหรือทําอะไร
โดยไมระมัดระวังยอมเกิดความเสียหาย

คูมือครู 99
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันเลือก
ประเด็นคําสอนที่สะทอนคานิยม
ความเชื่ อ ของสั ง คมไทยมา 3 อาวุธปากกล่าวดีมีคนเกรง ยิงให้เป้งเดียวถูกทุกทุกค�า
ประเด็ น พร อ มทั้ ง อธิ บ ายความ ของเข้าที่ออกที่ทางพิเศษ ถ้ารู้เหตุก็คงเห็นเป็นยังค�่า
หมายตามความเขาใจของนักเรียน คว�่าหงายต�าตอกบอกแล้วจ�า กลางคืนกลางวันร�่าอยู่อัตรา
(แนวตอบ เชน ดูตระกูลกิริยาดูอากัป ดูทิศจับเอาที่ผลต้นพฤกษา
• คานิยมการผูกมิตร ดูฉลาดเล่าก็เห็นที่เจรจา ดูคงคาก็พึงหมายสายอุบล
“ผูใดดีดีตออยากอกิจ นกกระจาบเดิมหนักหนามากกว่าแสน ไม่เดือดแค้นสามัคคีย่อมมีผล
ผูใดผิดผอนพักอยาหักหาญ” ครั้นภายหลังอวดก�าลังต่างถือตน พรานก็ขนกระหน�่ามาพากันตาย
หมายถึง ควรทําดีกับผูที่ดีตอเรา ดูโรงเรือนเปรียบเหมือนกับสังขาร ปลูกไว้นานเก่าคร�่าฉล�่าฉลาย
แมผูที่ทําไมดีตอเราก็ไมควรโกรธ แก่ลงแล้วโคร่งคร่างหนอร่างกาย ไม่เฉิดฉายเหมือนหนุ่มกระชุ่มกระชวย
• คานิยมการเคารพผูใหญ ตาก็มัวหัวก็ขาวเป็นคราวคร�่า หูก็ซ�้าไม่ได้ยินเอาสิ้นสวย
“คอยดําเนินตามไตผูไปหนา แรงก็ถอยน้อยก�าลังนั่งก็งวย ฟันก็หักไปเสียด้วยไม่ทันตาย
ใจความวาผูมีคุณอยาหุนหวน”
แก่ตัณหานี้ท�าไมจึงไม่แก่ ยังปกแผ่พังพานผึงตึงใจหาย
หมายถึง คนที่เกิดกอนยอมมี
เห็นสาวสาวเข้ายังตะเกียกตะกาย คิดอุบายจะใคร่เฉ่งแต่เกรงจน
ประสบการณมากกวา ผานโลกมา
คืนและวันพลันดับก็ลับล่วง ท่านทั้งปวงจงอุตส่าห์หากุศล
นานกวา พบปญหาตางๆ
• ความเชื่อในเรื่องบุญกุศล และ พลันชีวิตคิดถึงร�าพึงตน อายุคนนั้นไม่ยืนถึงหมื่นปี
การคิดดีทําดี อันความมรณาถ้วนหน้าสัตว์ แต่พระตรัสเป็นองค์พระชินศรี
“ถึงบุญมีไมประกอบชอบไมได แสนประเสริฐเลิศภพจบธาตรี ยังจรลีเข้าสู่นิพพานเอยฯ
ตองอาศัยคิดดีจึงมีผล
บุญหาไมแลวอยาไดทะนงตน
ปุถุชนรักกับชังไมยั่งยืน”
หมายถึง มีบุญแลวตองคิดดีดวย
จึงจะเกิดผลดี และอยาไดทะนง
ตน เพราะสิ่งตางๆ ไมยั่งยืน)
2. บันทึกความรูลงสมุด

ขยายความเขาใจ
1. ใหนักเรียนยกคําประพันธจากเรื่อง
อิศรญาณภาษิตมาเปรียบเทียบ
คานิยมและความเชื่อในสังคมไทย
การรู้จักช่วยเหลือและเกื้อกูลกันเป็นคุณธรรมที่ช่วยค�้าจุนโลก
• คานิยมและความเชื่อของคน
ในสมัยกอนเหมือนหรือตาง 100
จากสังคมสมัยนี้อยางไร
2. นําเสนอหนาชั้นเรียนใหครูและ
เพื่อนฟง

นักเรียนควรรู นักเรียนควรรู
โครงคราง หมายถึง ใหญโต เรอรา ไมกะทัดรัด พระชินศรี หมายถึง พระพุทธเจา

100 คูมือครู
สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Evaluate

สํารวจคนหา
1. ใหนกั เรียนรวบรวมคําศัพทเพิม่ เติม
จากเรื่อง โดยครูและนักเรียนชวย
๖ คÓศัพท์ กันแปลความหมาย แลวนักเรียน
ค�าศัพท์ ความหมาย
บันทึกคําศัพทลงสมุด
2. ใหนักเรียนรวบรวมคําไวพจนที่
กระชุ่มกระชวย อาการกระปรี้กระเปร่า ปรากฏในเรื่อง แลวบันทึกไวเปน
กิเลส เครื่องท�าใจให้เศร้าหมอง หมวดหมูลงสมุด
กุศล สิ่งที่ดี ที่ชอบ บุญ 3. ใหนักเรียนรวบรวมคําศัพทในเรื่อง
ขื่อคา เครื่องจองจ�านักโทษ อิศรญาณภาษิตที่มีความหมาย
แขวะ เอาสิ่งของมีคมแขวะคว้านให้กว้าง ในที่นี้หมายถึง ไม้ไผ่เจาะรู โดยนัย บันทึกลงสมุด
คนที่จนเอง คนที่ท�าตัวเองให้ยากจน
คนโหยกเหยก คนไม่ได้เรื่องไม่ได้ราว อธิบายความรู
คิดค�านวณ คิดใคร่ครวญถึงผลที่จะตามมา
จากการรวบรวมคําศัพทใหนกั เรียน
ใครเลยห่อนจะว่าตัวเป็นวัวมอ ไม่มีใครที่จะคิดว่าตนเป็นวัวให้คนอื่นใช้งาน วัวมอ หมายถึง วัวตัวผู้ อธิบายคําทีม่ คี วามหมายโดยนัย
จริตเขลา ความประพฤติหรือกิริยาอาการที่ไม่ฉลาด (แนวตอบ เชน ตอหลัก หมายถึง สิง่ ที่
จักษุเหล่ ตาเข มองไม่ตรง ไมมีความหมาย ปลายมือ หมายถึง
ฉล�่าฉลาย แตก ท�าลาย พัง ทลาย สลาย ในภายหลัง วัวมอ หมายถึง ใหคนอื่น
ชลาสินธุ์ ห้วงน�้าใหญ่ ทะเล มหาสมุทร ใชงาน เอาหลังตากแดด หมายถึง
ตะบัน ทิ่มหรือแทงกดลงไป
กมหนาทํางานหนักแบบชาวนาทําให
หลังถูกแดดตลอดเวลา)
ตัณหา ความทะยานอยาก
ต�านาน ในที่นี้หมายถึง ค�าโบราณ
ไถ้ ถุงผ้าส�าหรับใส่เงินหรือสิ่งของ ขยายความเขาใจ
ให นั ก เรี ย นแต ง คํ า ประพั น ธ โ ดย
เลือกลักษณะคําประพันธที่นักเรียน
ถนัดมาแตงอยางนอย 1 บท เนื้อหา
ไถ้หรือย่าม ทีแ่ ตงกระตุน ใหเกิดคุณธรรมในสังคม
ท�าเป็นเจ้า ท�าทีว่าถูกเจ้าเข้าสิง ในความว่า “บ้างโลดเล่นเต้นร�าท�าเป็นเจ้า”
และใชคาํ ศัพททไี่ ดเรียนรูใ นอิศรญาณ
ภาษิตประกอบ
ท�าเลียบ พูดจาแทะโลม
(แนวตอบ “จิตมนุษยนั้นไซร
ธาตรี แผ่นดิน โลก จองจําไวใตขื่อคา
นิพพาน ตาย (ใช้กับพระอรหันต์) กิเลสหอหุมหนา
บ้าจี้ ในที่นี้หมายถึง บ้ายอ หากุศลผลไมมี”
101 ใชกาพยยานี 11 ในการแตงมี
คําศัพทวา ขื่อคา กิเลสและกุศล)

คูมือครู 101
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนอภิปรายวา
• เนื้อหาที่ปรากฏในเรื่อง
ค�ำศัพท์ ควำมหมำย
อิศรญาณภาษิตมีความสําคัญ
ตอสังคมอยางไร ปำกขี้ริ้ว พูดไม่ดี
( แนวตอบ เนื้ อ หาที่ ป รากฏใน ปิดปกเป็นกกกอ โอบอุ้มทะนุถนอมไว้
เรือ่ งสอนทุกอยางทีค่ นทัว่ ไปตอง เปรต ผีเลวพวกหนึ่ง เรียกคนที่ผอมโซเที่ยวรบกวนขอเขากิน
พบเจอในชีวิตประจําวัน ผูอาน ไพล่พลิ้วพลิก ในที่นี้หมายถึง ให้รู้จักเลี่ยง อย่าพูดตรงเพื่อมิให้เสียน�้าใจ
สามารถนํามาปรับใชไดทกุ ดาน)
มโนมัย ในความว่า “ต้องหาม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี ส�าหรับขี่เป็นม้าอาชาไนย”
2. นักเรียนบันทึกผลการอภิปราย ม้ามโนมัยใหญ่ยาวรี หมายถึง ใจที่รู้เท่าทันกิเลส เพื่อจะได้เป็นพาหนะ
เปนประเด็นหรือหัวขอ แลวบันทึก สู่ความส�าเร็จ
ลงสมุด มำตุคำม บ้านเกิด
เมื่อปลำยมือ ในภายหลัง
ขยายความเขาใจ โมห์ โมหะ ความลุ่มหลง
นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ เยิ่น มีระยะยาวหรือนานยืดออกไป
สํานวนสุภาษิตไทย วิบำก ล�าบาก ผลแห่งกรรมแต่ชาติก่อน
• ในปจจุบันคนไทยยังนิยมใช ศรัทธำ ความเชื่อถือ ความเลื่อมใส
สํานวนสุภาษิตไทยที่มีมาแต ศุภอรรถ (สุ - พะ - อัด) ถ้อยค�าและความหมายที่ดีงาม
โบราณหรือไม อยางไร
(แนวตอบ ความนิยมในการใช สังขำรำ สังขาร ร่างกาย ตัวตน
สํานวนสุภาษิตไทยที่มีมาแต สันนิวำส ที่อยู่ ที่พัก การอยู่ร่วมกัน
โบราณลดลง เพราะมีสํานวน สินไถ่ เงินไถ่ค่าตัวทาส
ใหมเพิ่มขึ้น คนไทยจึงเลือกใช สีแหยะแหยะ ถูกันเบาๆ
สํานวนเกาบางสํานวน) หลังตำกแดด ก้มหน้าท�างานหนักแบบชาวนา ท�าให้หลังถูกแดดตลอดเวลา
• นักเรียนมีวิธีอนุรักษสํานวน
หำญรำญ เก่งกล้าในการต่อสู้
สุภาษิตไทยอยางไร
(แนวตอบ การอนุรักษสํานวน ให้เขำลือว่ำชำยนี้ขำยเพชร ให้คนร�่าลือว่าตนเองมีปัญญาราวกับมีเพชรมากพอที่จะอวดรวยได้
สุภาษิตไทยทําไดหลายวิธี เชน อศุภ (อะ - สุบ) ไม่งาม ไม่สวย ไม่ดี (ใช้เรียกซากศพ)
จัดปายนิเทศตามวันสําคัญตางๆ อัชฌำสัย กิริยาดี นิสัยใจคอ ความรู้จักผ่อนปรน
หรือประชาสัมพันธสํานวน อัตรำ ระดับที่ก�าหนดไว้
สุภาษิตวันละสํานวน เปนตน) อำชำไนย ก�าเนิดดี ตระกูลดี ฝึกมาดีแล้ว ชื่อตระกูลม้า
อำสัญ ตาย ความตาย
อุปเท่ห์ วิธีด�าเนินการ

102

102 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate

กระตุนความสนใจ
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ
สํานวนสุภาษิตไทย
๗ บทวิเคราะห์ • นักเรียนชอบสํานวนสุภาษิตไทย
๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา ใดมากที่สุด เพราะเหตุใด
อิศรญาณภาษิต มุง่ ให้ขอ้ คิดคติสอนใจผูค้ นในสมัยก่อน โดยค�าสอนนีแ้ สดงให้เห็นความจัดเจน • สํานวนสุภาษิตไทยใดบาง
โลกของกวี การถ่ายทอดความคิด ความเชื่อและวิถีการปฏิบัติตนให้ดีงาม เพื่อให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นใน มีคําที่เกี่ยวกับสัตว
สังคมได้อย่างปกติสุข ซึ่งค�าสอนดังกล่าวยังคงน�ามาใช้ในสังคมไทยปัจจุบันได้เป็นอย่างดี (แนวตอบ เชน คางคกขึ้นวอ
ชางตายทั้งตัวเอาใบบัวมาปด
เนื้อหาอิศรญาณภาษิตมีคุณค่าในเชิงค�าสอน ว่าควรท�าอย่างไรจึงจะอยู่ในสังคมได้ ไม่เป็นภัย
เขียนเสือใหวัวกลัว เปนตน)
แก่ตนเองและผู้อื่น โดยการสอนทั้งแบบประชดประชัน เหน็บแนมและบอกกล่าวโดยตรง ใช้ภาษาที่
เข้าใจง่าย
วรรณกรรมค�าสอน จะมีคุณค่าด้านเนื้อหาที่มุ่งเน้นไปในทิศทางเดียวกัน คือมุ่งเน้นสอนบุคคล สํารวจคนหา
ในเรื่องต่างๆ ซึ่งกวีจะมีวัตถุประสงค์ในการสอนว่าจะสอนบุคคลประเภทใด เช่น สอนเด็ก สอนผู้ใหญ่ ใหนักเรียนศึกษาวรรณศิลปที่
สอนบุรษุ สอนสตรีและสอนในเรือ่ งใด วรรณกรรมค�าสอนจะเน้นสอนในสิง่ ทีท่ า� ให้ผอู้ า่ นได้รบั ประโยชน์ ปรากฏในเรื่องอิศรญาณภาษิต
และเกี่ยวข้องกับการด�าเนินชีวิตประจ�าวันในด้านต่างๆ เช่น สอนเด็กจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับการให้เห็น • เรื่องอิศรญาณภาษิต
ความส�าคัญของการศึกษา ให้ขยันหมัน่ เพียร สอนข้าราชการจะมีเนือ้ หาเกีย่ วกับแนวทางการปฏิบตั ติ น มีวรรณศิลปอะไรบาง
ให้รับราชการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเป็นหลัก สอนสตรีจะมีเนื้อหา (แนวตอบ การใชภาพพจนอุปมา
เกี่ยวข้องกับการประพฤติตนเป็นกุลสตรีที่ดี และภาพพจนอุปลักษณ
อิศรญาณภาษิตจัดเป็นวรรณกรรมค�าสอนทีก่ วีมวี ตั ถุประสงค์เพือ่ สัง่ สอนและให้แนวทาง ข้อคิด การใชสํานวน การใชโวหาร
เปรียบเทียบ)
ต่างๆ ในการอยูร่ ว่ มกับผูอ้ นื่ ในสังคม คุณค่าด้านเนือ้ หาของอิศรญาณภาษิตเป็นประโยชน์สา� หรับผูอ้ า่ น
เนื่องด้วยกวีได้น�าประเด็นในเรื่องต่างๆ มาสั่งสอนได้อย่างชัดเจนและสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิต
ประจ�าวันได้ ผู้อ่านที่ดีจึงควรอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์ พิจารณาเพื่อสังเคราะห์เนื้อหาที่ได้อ่าน อธิบายความรู
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ ใหนักเรียนนําวรรณศิลป
อิศรญาณภาษิตเป็นวรรณกรรมค�าสอนที่กวีมีจุดมุ่งหมายเพื่อสั่งสอนเตือนใจให้มนุษย์มีสติ ที่ปรากฏในเรื่องมาอธิบาย
คิดไตร่ตรองก่อนที่จะลงมือท�าสิ่งใด ซึ่งเป็นค�าสอนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นในสังคมเพื่อให้อยู่ • วรรณศิลปที่พบสงผลตอเรื่อง
ร่วมกันได้อย่างมีความสุข จากเรื่องปรากฏการใช้ส�านวนไทยหลายส�านวน ท�าให้บทประพันธ์มีความ อยางไร พรอมยกตัวอยาง
ประกอบ
โดดเด่น กวีสามารถใช้ส�านวนภาษาได้คมคาย การน�าส�านวนมาใช้มีความเหมาะสมอย่างยิ่ง ดังเช่น
(แนวตอบ วรรณศิลปที่พบ ไดแก
บทประพันธ์ การใชภาพพจนอุปมา เชน
วาสนาไม่คู่เคียงเถียงเขายาก ถึงมีปากมีเสียเปล่าเหมือนเต่าหอย “โทษสักเทาหัวเหาเล็กเทาเล็น”
ผีเรือนตัวไม่ดีผีอื่นพลอย พูดพล่อยพล่อยไม่ดีปากขี้ริ้ว การใชภาพพจนอุปลักษณ เชน
“อาวุธปากกลาวดีมีคนเกรง”
เปรียบปากเปนอาวุธที่ทําใหคน
103 เกรงกลัวได และการใชสํานวน
เชน “จงฟงหูไวหูคอยดูไป”
ทําใหผูอานเขาใจความหมาย
ที่กวีตองการสื่อได โดยไมตอง
อธิบายมาก)

คูมือครู 103
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ให นั ก เรี ย นเลื อ กบทประพั น ธ ที่
ประทับใจมา 1 บท พรอมทั้งอภิปราย
แสดงความคิดเห็น กวีกล่าวในเนื้อความว่า “ผีเรือนตัวไม่ดีผีอื่นพลอย” ตรงกับส�านวนว่า ผีซ�้าด�้าพลอย หมายถึง
• บทประพันธที่ยกมานั้น ถูกซ�้าเติมเมื่อพลาดพลั้งหรือเมื่อเคราะห์ร้าย ให้ข้อคิดว่าอย่าเถียงกับผู้ที่อยู่ในต�าแหน่งสูงกว่าหรือ
วรรณศิลปมีลักษณะอยางไรบาง มีวาสนากว่า เมื่อตัวเองเป็นเพียงผู้น้อย หากพูดอะไรที่ไม่ควรก็มีแต่จะถูกต่อว่า มิหน�าซ�้าจะถูกซ�้าเติม
• โวหารเปรียบเทียบที่ปรากฏ ให้ขายหน้าอีก
ในเรื่องมีลักษณะอยางไร ๑) การใช้โวหาร อิศรญาณภาษิตมีความโดดเด่นในการใช้โวหารเพือ่ การเปรียบเทียบ
(แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดง กวีสามารถเลือกใช้ถอ้ ยค�าเมือ่ ต้องการสอนในเรือ่ งนามธรรมให้ผอู้ า่ นเข้าใจได้ ด้วยการน�าไปเปรียบเทียบ
ความคิดเห็นไดอยางหลากหลาย กับธรรมชาติที่พบเห็นได้ง่ายในชีวิตประจ�าวัน
เชน ทําใหเห็นภาพชัดเจน ไม
ตองอาศัยการอธิบายที่เยิ่นเยอ อย่าดูถูกบุญกรรมว่าท�าน้อย น�้าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา
เปนตน) อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน

จากบทประพันธ์สอนให้รู้จักการท�าบุญ แม้ท�าเพียงเล็กน้อยก็ได้ผลมาก เหมือนกับ


ขยายความเขาใจ น�้าตาลสดที่หยดลงมารวมกันก็มากขึ้นได้ ดังนั้นคนเราในแต่ละวันอย่าปล่อยเวลาโดยไม่มีประโยชน์
นั ก เรี ย นคิ ด ว า “บทประพั น ธ ที่ มี ควรพิจารณาตนเองว่าได้ท�าประโยชน์อะไรบ้างในแต่ละวัน ซึ่งกวีเปรียบกับการส่องกระจกส�ารวจ
นํ้ า เสี ย งเหน็ บ แนมประชดประชั น ” ร่างกายของตนเองก่อนนอน
มีขอดีหรือขอดอยอยางไร
สูงอย่าให้สูงกว่าฐานนานไปล้ม จะเรียนคมเรียนเถิดอย่าเปิดฝัก
(แนวตอบ ตอบไดหลากหลายขึ้นอยู
คนสามขามีปัญญาหาไว้ทัก ที่ไหนหลักแหลมค�าจงจ�าเอา
กับทัศนะของครูผูสอน เชน ขอดี ทํา
ให ผู  อ  า นเข า ถึ ง เนื้ อ เรื่ อ งได ดี ยิ่ ง ขึ้ น
จากบทประพันธ์ใช้โวหารเปรียบเทียบเพื่อสอนในเรื่องการประมาณตน มิให้ท�าอะไร
การประชดประชันหรือเหน็บแนมเกิด
ที่เกินก�าลังโดยน�ามาเปรียบเทียบกับการก่อสร้าง เพราะถ้าจะสร้างอาคารส�าคัญที่การวางรากฐาน
จากผูเขียนตั้งใจเนนใหรูเห็นชัดเจน
ข อ ด อ ย ผู  อ  า นอาจรู  สึ ก ว า ผู  เ ขี ย น หากฐานไม่มีความมั่นคงแข็งแรงยิ่งสร้างสูงมากเท่าใดจะยิ่งพังลงมาง่ายมากเท่านั้น รวมทั้งให้หมั่น
ตองการระบายอารมณความรูสึกไม ศึกษาหาความรู้จากผู้ใหญ่ ผู้สูงวัย ด้วยท่านเหล่านั้นผ่านการใช้ชีวิตมามากจึงอาจถ่ายทอดแนวคิด
ชอบใจ บทประพั น ธ จึ ง ไม ใ ห ค วาม เป็นตัวอย่างการด�าเนินชีวิตให้คนรุ่นหลังยึดถือเป็นแนวทางได้
สําคัญกับความไพเราะเสนาะหู) ล้องูเห่าเล่นก็ได้ใจกล้ากล้า แต่ว่าอย่ายักเยื้องเข้าเบื้องหาง
ต้องว่องไวในท�านองคล่องท่าทาง ตบหัวผางเดียวม้วนจึงควรล้อ

เกร็ดแนะครู จากบทประพันธ์นี้ กวีใช้โวหารเปรียบเทียบศัตรูกับงูเห่า กล่าวคือให้รู้จักประเมิน


ก�าลังของคู่ต่อสู้โดยเฉพาะผู้ที่มีอ�านาจมากกว่า เพราะการล้อเล่นกับงูเห่าเป็นเรื่องอันตรายและอาจ
ครูวิเคราะหความรูดานวรรณศิลป เสียชีวิตได้ เหมือนกับศัตรูควรประเมินก�าลังของทั้งคู่ต่อสู้และตนเองว่าจะสามารถเอาชนะได้หรือไม่
จากอิ ศ รญาณภาษิ ต ให นั ก เรี ย นฟ ง
และจะเอาชนะได้อย่างไร หากเชื่อมั่นว่าสามารถจะเอาชนะได้ไม่ยากจึงควรสู้
วา นอกจากจะใชโวหารเปรียบเทียบ
ยั ง เป น คํ า สอนโดยใช เ ทศนาโวหาร 104
เทศนาโวหารเปนโวหารที่ใชในการ
อบรมสั่งสอน ชี้ใหเห็นคุณและโทษ
ของสิ่งตางๆ เพื่อชักจูงใหเห็นตาม

104 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา
การใชโวหารเปรียบเทียบของกวีมี
๒) การเล่นเสียง อิศรญาณภาษิตเป็นวรรณกรรมที่มีความถึงพร้อมในด้านวรรณศิลป์ ลักษณะที่โดดเดนอยางไร
ดีเด่นในโวหารเปรียบเทียบ รวมทัง้ กวีเลือกใช้ถอ้ ยค�าให้เกิดสัมผัสคล้องจองภายในวรรคจึงท�าให้มคี วาม (แนวตอบ กวีใชการเปรียบเทียบ
ไพเราะและจดจ�าได้ง่าย ดังบทประพันธ์ อยางสัน้ ๆ ตรงไปตรงมา ทําใหเห็น
ภาพชัดเจน เชน โทษสักเทาหัวเหา
อันความเรื่องเดียวกันส�าคัญกล่าว พูดไม่ดีแล้วก็เปล่าไม่แข็งเข้ม เล็กเทาเล็น ใหผลเห็นแผซานทั่ว
บานเมือง)
ข้าวต้มร้อนอย่ากระโจมค่อยโลมเล็ม วิสัยเข็มเล่มน้อยร้อยช้าช้า
2. ใหนักเรียนอธิบายการเลนเสียงวา
ถึงโปร่งปรุในอุบายเป็นชายชาติ แม้หลงมาตุคามขาดศาสนา การเลนเสียงทําใหคําประพันธ
ไพเราะไดอยางไร
อันความหลงแม้ไม่ปลงสังขารา แต่ทว่ารู้บ้างค่อยบางเบา (แนวตอบ การเลนเสียงทําให
คําประพันธมีจังหวะลีลาชวยให
จากบทประพันธ์ ปรากฏสัมผัสภายในวรรคทัง้ สัมผัสสระ ได้แก่ กัน - (ส�า)คัญ โจม - โลม ไพเราะลื่นไหลและมีความหมาย
เข็ม - เล่ม น้อย - ร้อย ปรุ - อุ(บาย) (อุ)บาย - ชาย ขาด - ศาส(นา) หลง - ปลง (สัง)ขา - รา และ ประทับใจ กินใจยิ่งขึ้น)
สัมผัสอักษร ค�าที่ใช้พยัญชนะต้นเสียงเดียวกัน อาจเป็นพยัญชนะเดียวกันหรือพยัญชนะที่มีเสียงสูงต�่า
เข้าคู่กันได้ หรือพยัญชนะควบกล�้าชุดเดียวกัน ได้แก่ แข็ง - เข้ม โลม - เล็ม โปร่ง - ปรุ ชาย - ชาติ ขยายความเขาใจ
คาม - ขาด แม้ - มา(ตุคาม) แม้ - ไม่ บ้าง - บาง - เบา
ใหนกั เรียนยกบทประพันธจากเรือ่ ง
๓) การใช้สา� นวน เป็นลักษณะเด่นทางวรรณศิลป์ คือมีการใช้สา� นวนไทยหลายส�านวน อิศรญาณภาษิตที่มีการใชสัมผัสโดด
มาร้อยเรียง ท�าให้ภาษามีความคมคายและมีความหมายลึกซึ้งกินใจ ท�าให้ผู้อ่านเข้าใจได้โดยไม่ต้อง เดน
อธิบายความมาก โดยเฉพาะการใช้ส�านวนไทยที่มีความเกี่ยวข้องกับการด�าเนินชีวิตของคนในสังคม • บทประพันธที่ยกมานั้น
สมัยนั้น มีทั้งส�านวนเปรียบเปรย เหน็บแนมหรือประชดประชัน ตัวอย่างเช่น มีคําสัมผัสแบบใด
• ชายข้าวเปลือก หญิงข้าวสาร ผู้หญิงมักเสียเปรียบผู้ชาย คือ ข้าวสารงอกใหม่ (แนวตอบ อาจมีไดทั้งสัมผัส
ไม่ได้เหมือนข้าวเปลือก อักษร สระ และวรรณยุกต หรือ
• น�้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า คนเราจ�าเป็นต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน มีอยางใดอยางหนึ่ง)
• ฆ่าควายเสียดายพริก ท�าการใหญ่แต่กลัวหมดเปลืองจึงท�าให้เสียงาน • คําสัมผัสในบทประพันธนั้น
• เดินตามหลังผู้ใหญ่หมาไม่กัด ประพฤติตามผู้มีประสบการณ์ย่อมปลอดภัย สงผลตอเรื่องอยางไร
(แนวตอบ จากเรื่องมีการเลน
• ผีซ�้าด�้าพลอย ถูกซ�า้ เติมเมือ่ พลาดพลัง้ หรือเมือ่ คราวเคราะห์รา้ ย
สัมผัสในอยางแพรวพราว
• เรือใหญ่คับคลอง คนที่เคยเป็นใหญ่เมื่อหมดอ�านาจหรือตกต�่าลง
ทุกวรรค ทั้งสัมผัสอักษรและ
ก็วางตัวอย่างคนธรรมดาไม่ได้ สัมผัสสระ การใชเสียงสัมผัสใน
• กินข้าวต้มกระโจมกลาง อย่าใจร้อนผลีผลาม เพราะจะท�าให้พลาดพลั้ง ชวยใหกลอนเกิดเสียงเสนาะรอย
เสียงานได้ เรียงรื่นหู เชน
105 “อิศรญาณชาญกลอนอักษรสาร
เทศนาคําไทยใหเปนทาน”
โดยตํานานศุภอรรถสวัสดี)

เกร็ดแนะครู
ครูแนะการเลนคํา จากบทประพันธในเรื่องอิศรญาณภาษิต ครูยกบทประพันธ
ที่มีการเลนคําวา “ดู” เปนการเนนความหมายใหหนักแนนขึ้น เชน
“ดูตระกูลกิริยาดูอากัป ดูทิศจับเอาที่ผลตนพฤกษา
ดูฉลาดเลาก็เห็นที่เจรจา ดูคงคาก็พึงหมายสายอุบล”
คูมือครู 105
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง
ความคิดเห็นในประเด็นตอไปนี้
• อิศรญาณภาษิตมีคุณคาดาน ๗.๓ คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถไี ทย
สังคม และสะทอนวิถไี ทยอยางไร อิศรญาณภาษิตเป็นวรรณกรรมประเภทค�าสอนทีส่ นั นิษฐานว่าเกิดขึน้ ในรัชสมัยของพระบาท-
(แนวตอบ ในเนื้อเรื่องอิศรญาณ- สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งในช่วงระยะเวลานั้นสังคมไทยเริ่มมีการผสมผสานระหว่างโครงสร้าง
ภาษิตสะทอนใหเห็นชีวิต ของสังคมไทยกับการรับอิทธิพลตะวันตก นอกจากอิศรญาณภาษิตจะสะท้อนให้เห็นสภาพสังคม ณ
ความเปนอยูของผูคนในสมัย ช่วงเวลาได้อย่างชัดเจนแล้ว คุณค่าจากเรื่องยังคงสืบเนื่องมาถึงปัจจุบัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
รัตนโกสินทรตอนตน และความ
๑) ให้ความส�าคัญแก่ผู้อาวุโส สอนให้ท�าตามผู้ใหญ่ ไม่อกตัญญูและรู้จักอ่อนน้อม
คิดเห็นของกวีที่มีตอผูหญิงใน
สังคมสมัยนั้น) ถ่อมตน ดังบทประพันธ์
2. นักเรียนบันทึกขอสรุปจากการ ค่อยด�าเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน
อภิปรายความคิดเห็นรวมกัน
ลงสมุด จากบทประพันธ์มีค�าว่า ผู้ไปหน้า ซึ่งหมายถึง คนที่เกิดก่อนย่อมมีความรู้และมี
ประสบการณ์มากกว่า ควรรับฟังผู้มีประสบการณ์มากกว่า และต้องกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ
ขยายความเขาใจ คนสามขามีปัญญาหาไว้ทัก ที่ไหนหลักแหลมค�าจงจ�าเอา
1. ใหนักเรียนยกตัวอยางคําประพันธ
ที่สะทอนคานิยมของสังคมไทย บทประพันธ์ดังกล่าว กล่าวถึงคนสามขา ในที่นี้หมายถึง ผู้สูงอายุที่เดินไม่ค่อยไหวต้อง
ที่พบในอิศรญาณภาษิต ใช้ไม้เท้าค�้ายัน คนเหล่านี้เป็นผู้ที่มีประสบการณ์ เราควรรับฟังค�าตักเตือน
(แนวตอบ เชน
- วิธีการผูกมิตร อยากใช้เขาเราต้องก้มประนมกร ใครเลยห่อนจะว่าตัวเป็นวัวมอ
“ผูใดดีดีตออยากอกิจ ...
หญิงเรียกแม่ชายเรียกพ่อยอไว้ใช้ มันชอบใจข้างปลอบไม่ชอบดุ
ผูใดผิดผอนพักอยาหักหาญ”
- การพึ่งพาอาศัยกัน
บทประพันธ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการนอบน้อมหรือการรู้จักพูดจาถ้อยทีถ้อยอาศัย
“ชายขาวเปลือกหญิงขาวสาร
โบราณวา นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปา เป็นแนวทางปฏิบัติที่แสดงความอ่อนน้อมถ่อมตนเมื่อต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่น
อัชฌาสัย” เปนตน) ๒) สอนให้ ส� า รวจจิ ต ใจของตนอยู ่ เ สมอ เพื่อจะได้เตือนตนได้ทันการณ์ ดัง
2. นักเรียนคิดวาคําประพันธดังกลาว บทประพันธ์
สะทอนคานิยมของคนไทยใน
ปจจุบันไดอยางไร อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน
(แนวตอบ แนะนําวิธีการผูกมิตร
สามารถรักษามิตรภาพใหยืนยาว บทประพันธ์ดังกล่าว กวีได้เปรียบเทียบว่า ก่อนจะเข้านอนให้เอากระจกส่องดูหน้าว่ามี
และชี้ใหเห็นความสําคัญของการ สิ่งใดผิดปกติหรือไม่ คือให้พิจารณาจิตใจหรือความฟุ้งซ่านที่ท�าให้จิตใจไม่สงบ และก�าจัดออกไปให้ได้
พึ่งพาอาศัยกันจะไดอยูรวมกัน ก่อนเข้านอน รวมทั้งพิจารณาว่าตลอดทั้งวันได้ท�าคุณประโยชน์ใดไปบ้าง
อยางมีความสุข) 106

106 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
1. ครูใหนักเรียนจัดกลุมเพื่อจับสลาก
ประเด็นตางๆ ตอไปนี้
๓) สอนให้รู้จักประมาณตน ไม่ท�าอะไรเกินก�าลังและฐานะของตน ดังบทประพันธ์ • การรูจักประมาณตน
• การรูจักขยันหมั่นเพียร
สูงอย่าให้สูงกว่าฐานนานไปล้ม จะเรียนคมเรียนเถิดอย่าเปิดฝัก
• การอยูรวมกันของคนในสังคม
• การทําบุญทําทานตามกําลัง
บทประพันธ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การท�าสิ่งใดควรให้รู้จักพอดี พอประมาณ ไม่มาก
ทรัพยของตน
เกินก�าลังความสามารถของตน และเมื่อเรียนรู้สิ่งใดแล้วอย่าอวดรู้จนเกินงาม
2. ใหนักเรียนแตละกลุมอภิปราย
๔) สอนให้รู้จักขยันหมั่นเพียร การท�าสิ่งใดควรหมั่นท�าอยู่เสมอ ดังบทประพันธ์ ตอบคําถามดังนี้
• นักเรียนมีแนวทางในการปฏิบัติ
เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดค�านวณ รู้ถี่ถ้วนจึงสบายเมื่อปลายมือ
ตามประเด็นที่จับสลากอยางไร
(แนวตอบ เชน การขยันหมั่นเพียร
บทประพันธ์ข้างต้นหมายถึง การท�างานด้วยความขยัน อดทนท�างาน แม้ว่างานที่ท�าจะ
ในหนาที่ที่ตองรับผิดชอบ โดย
เหน็ดเหนื่อยและล�าบาก แต่สุดท้ายก็จะได้อยู่อย่างสุขสบายในอนาคต การนําหลักพระพุทธศาสนา
๕) สอนการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม ต้องรู้จักพึ่งพาอาศัยกัน ควรรักและเห็นใจ อิทธิบาท 4 อันไดแก ฉันทะ
ซึ่งกันและกัน ดังบทประพันธ์ ความพอใจ วิริยะ ความเพียร
จิตตะ ความเอาใจใส วิมังสา
............................................... น�้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย การสอดสองดูแลติดตามมาเปน
เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ หลักคิดและปฏิบัติ เปนตน)
ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่างหักหาญ

จากบทประพันธ์แสดงให้เห็นการอยูร่ ว่ มกันทีต่ อ้ งพึง่ พาอาศัยกัน แม้จะกระทบกระทัง่ กัน ขยายความเขาใจ


แต่ก็ต้องรู้จักให้อภัย เอาใจเขามาใส่ใจเรา มีเมตตากรุณาต่อกัน จะท�าให้อยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข 1. ใหนักเรียนทุกคนสํารวจพฤติกรรม
๖) การท�าบุญท�าทานให้ท�าตามก�าลังทรัพย์ของตน อย่าดูถูกการท�าบุญผู้อื่น ดัง ของตนเอง แลวตอบคําถาม
บทประพันธ์ ตอไปนี้
• นักเรียนปฏิบัติเหมือนหรือตาง
อย่าดูถูกบุญกรรมว่าท�าน้อย น�้าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา จากประเด็นที่เพื่อนนําเสนอ
อยางไร
จากบทประพันธ์แสดงให้เห็นว่าการท�าบุญขึน้ อยูก่ บั จิตใจอันเป็นกุศล ความตัง้ ใจท�าบุญ (แนวตอบ ไมมีผิดไมมีถูก คําตอบ
หากตัง้ ใจดีไม่วา่ จะท�าด้วยจ�านวนมากหรือน้อยก็ได้บญ
ุ เช่นกัน ผูท้ า� บุญต้องรูจ้ กั ตนเองและประมาณตน ของนักเรียนขึน้ อยูก บั เหตุผลและ
ว่ามีฐานะอย่างไร ประสบการณของนักเรียนแตละ
คน)
2. ครูสุมนักเรียน 3-4 คนมานําเสนอ
หนาชั้นเรียน
107

คูมือครู 107
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายเกีย่ วกับ
สํานวนสุภาษิตที่ปรากฏในเรื่อง
อิศรญาณภาษิต ๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน
• สํานวนหรือคําสอนที่ปรากฏใน อิศรญาณภาษิตเป็นวรรณกรรมที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อสอน โดยเฉพาะเรื่องการปฏิบัติตนที่จะ
อิศรญาณภาษิตนั้น ยังมีความ ท�าให้อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ดังนั้น การอ่านวรรณคดีประเภทนี้ผู้อ่านจะได้รับข้อคิดในด้านต่างๆ
สําคัญหรือไมในสังคมปจจุบัน ซึ่งสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ โดยขึ้นอยู่กับวัยและประสบการณ์ของแต่ละบุคคล
เพราะเหตุใด ดังต่อไปนี้
( แนวตอบ ยั ง มี ค วามสํ า คั ญ อยู 
เชน “เดินตามหลังผูใหญหมา ๑) การพึ่งพาอาศัยกัน มนุษย์เป็นสัตว์สังคม ไม่สามารถใช้ชีวิตอยู่อย่างโดดเดี่ยวได้
ไม กั ด ” เพราะการรั บ ฟ ง และ ย่อมต้องพึ่งพาอาศัยกัน ถ้าจะอยู่ในสังคมให้ได้ต้องมีการถ้อยทีถ้อยอาศัยให้อภัยซึ่งกันและกัน
ปฏิบัติตามคําแนะนําของผูใหญ ดังบทประพันธ์
ที่ ผ  า นโลกมาก อ นทํ า ให ไ ด รั บ ............................................... น�้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
ความรู  ม ากขึ้ น ป อ งกั น ไม ใ ห
เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ
เกิดความผิดพลาด คนรุนใหม
สามารถนําขอคิดมาปรับใชได) จากบทประพันธ์ชี้ให้เห็นว่า การพึ่งพาอาศัยกันเป็นสิ่งส�าคัญที่จะท�าให้มนุษย์อยู่รอด
แม้กระทั่งธรรมชาติยังพึ่งพาอาศัยกัน มนุษย์ก็ควรที่จะรู้จักการพึ่งพากัน รู้จักการให้อภัยและให้มี
ขยายความเขาใจ ความรักไว้ดีกว่าการเกลียดชังที่ไม่สร้างผลดีให้เกิดขึ้นแก่ใคร
1. ใหนักเรียนพินิจขอคิดจากสํานวน ๒) การปรับตัวให้เข้ากับสังคมและการวางตนให้เหมาะสม ในชีวิตประจ�าวัน
สุภาษิตที่พบในอิศรญาณภาษิต ของมนุษย์ย่อมมีการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ในบางครั้งความ
• สํานวนสุภาษิตใดในอิศรญาณ ขัดแย้งอาจเกิดขึ้นได้ ดังนั้นอิศรญาณภาษิตจึงสั่งสอนเรื่องการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นในที่สาธารณะ
ที่เปนขอคิดเตือนใจนักเรียน ดังบทประพันธ์
(แนวตอบ นักเรียนตอบได
หลากหลายขึ้นอยูกับมุมมอง ............................................... ไปพูดขัดเขาท�าไมขัดใจเขา
ของนักเรียน แตครูควรแนะให ใครท�าตึงแล้วหย่อนผ่อนลงเอา นักเลงเก่าเขาไม่หาญราญนักเลง
นักเรียนเห็นความสําคัญของ
๓) การให้ความเคารพผู้อาวุโส ประพฤติปฏิบัติตามแนวทางที่ผู้ใหญ่เคยท�ามาก่อน
สํานวนสุภาษิตที่มีมาแตโบราณ)
2. ครูสุมนักเรียน 4-5 คนมานําเสนอ ผูท้ เี่ กิดก่อนย่อมมีความรูแ้ ละมีประสบการณ์มากกว่า จึงควรขอค�าปรึกษาจากผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ ดังบทประพันธ์
หนาชั้นเรียน ค่อยด�าเนินตามไต่ผู้ไปหน้า ใจความว่าผู้มีคุณอย่าหุนหวน

คนสามขามีปัญญาหาไว้ทัก ที่ไหนหลักแหลมค�าจงจ�าเอา
เดินตามรอยผู้ใหญ่หมาไม่กัด ...............................................

108

108 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหวา
ทําไมคนไทยนิยมใชสํานวนสุภาษิต
กวีได้แสดงทัศนะไว้ในบทประพันธ์เพื่อสั่งสอน ให้แนวคิดและข้อคิดเกี่ยวกับการวางตน คําพังเพยกันมาก แลวบันทึกความรู
ในสังคม โดยเริ่มจากการหาความรู้ให้แก่ตน การเข้าสังคมให้รู้จักเลือกคบคนที่มีปัญญามีความรู้ ลงสมุด
เพราะการคบบัณฑิตจะน�าพาไปในทางทีด่ งี าม โดยกวีเรียกบุคคลทีม่ ปี ญ
ั ญาหรือเป็นผูใ้ หญ่วา่ คนสามขา (แนวตอบ เพราะ 1. ใชเปนเครื่อง
ซึ่งเป็นภาพของคนถือไม้เท้า อีกประการหนึ่งคือการพูดจาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้อื่น ไม่ควรพูด อบรมสั่งสอน 2. สะทอนใหเห็นสภาพ
ขัดคอหรือขัดใจ หรือถ้าหากระหว่างการสนทนาเกิดเหตุการณ์ไม่พอใจในค�าพูดของกันและกันควรทีจ่ ะ การดําเนินชีวิตความเปนอยูของคน
ท�าให้สถานการณ์คลี่คลายลง ไม่ควรมีความบาดหมางกัน สมั ย นั้ น ทั้ ง ด า นสั ง คม การศึ ก ษา
เปนตน 3. สะทอนใหเห็นความเชื่อ
๔) การมีสติ จิตใจหนักแน่น ไม่หลงเชือ่ ค�าพูดยุยง ให้รจู้ กั คิดไตร่ตรองให้รอบคอบก่อน
ความคิด วิสัยทัศนของคนสมัยกอน
ที่จะมีความเห็นคล้อยตามค�าพูดของผู้อื่น ดังบทประพันธ์
4. ใชภาษาไดดี ใชคาํ นอยแตกนิ ความ
อันเสาหินแปดศอกตอกเป็นหลัก ไปมาผลักบ่อยเข้าเสายังไหว มาก ผูฟงสามารถเขาใจไดทันที)
จงฟังหูไว้หูคอยดูไป เชื่อน�้าใจดีกว่าอย่าเชื่อยุ
ขยายความเขาใจ
จากบทประพันธ์ดงั กล่าว กวีได้แสดงข้อคิดประการส�าคัญของการฟัง คือให้มสี ติ ให้รจู้ กั
ฟังหูไว้หู ไม่เชื่อค�าพูดของผู้ใดง่ายๆ และที่ส�าคัญต้องไม่หลงไปกับค�าพูดยุยงซึ่งเป็นการฟังที่ไม่เกิด 1. ครูใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับสํานวนสุภาษิตในเรื่องการ
ประโยชน์ตอ่ ผูฟ้ งั โดยน�าลักษณะการฟังดังกล่าวเปรียบเทียบกับเสาทีท่ า� ขึน้ จากหินแม้จะตอกลึกลงไป
ฟงอยางมีสติ
ในดินแล้ว แต่ถา้ มีคนมาจับหรือผลักหลายๆ ครัง้ ก็อาจสัน่ คลอนหรือไหวเอนได้ เหมือนกับการฟังค�าพูด
• นักเรียนสามารถนําขอคิด
ยุยงเมื่อฟังหลายครั้งก็อาจหลงเชื่อหรือหวั่นไหวไปกับค�าพูดเหล่านั้น เกี่ยวกับการฟงไปใชในชีวิต
๕) การรับราชการ โดยสอนการปฏิบัติตนของผู้ที่ท�างานใกล้ชิดผู้ที่มีอ�านาจ ดัง ประจําวันไดอยางไร
บทประพันธ์ (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย
การฟงเปนสิง่ สําคัญมาก หากฟง
เป็นข้าเฝ้าเหล่าเสวกามาตย์ ยิ่งกว่าทาสทาสาค่าสินไถ่ ไมเขาใจหรือตีความผิดอาจ
อย่าใช้ชิดอย่าให้ห่างเป็นกลางไว้ ฝ่ายข้างในอย่าน�าออกนอกอย่าแจง ทําใหเสียโอกาสได เชน ฟงครู
สอนบางไมฟงบาง เมื่อถึงเวลา
จากบทประพันธ์สะท้อนข้อคิดประการส�าคัญส�าหรับผู้รับราชการที่จะต้องรู้จักคิด สอบก็ทําขอสอบไมได เปนตน)
ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง ความในไม่น�าออก ความนอกไม่น�าเข้า เพราะจะท�าให้เกิดความเดือดร้อน 2. ครูชวนนักเรียนยกตัวอยางสํานวน
๖) การรู้จักใช้จ่าย สังคมมนุษย์ได้เปลี่ยนจากโครงสร้างพื้นฐานที่เคยเป็นระบบ สุภาษิตที่ใชในปจจุบันเกี่ยวกับการ
แลกเปลี่ยนสินค้ามาเป็นระบบเงินตราที่มีบทบาทส�าคัญทางเศรษฐกิจ อิศรญาณภาษิตได้ให้ข้อคิด ฟงและการรับราชการ พรอมบอก
ประการหนึ่งที่ให้มนุษย์รู้จักการออม ดังบทประพันธ์ ความหมาย
(แนวตอบ การฟง เชน ฟงไมไดศัพท
หาเงินติดไถ้ไว้อย่าให้ขาด ต�าลึงบาทหาไม่คล่องเพียงสองสลึง จั บ ไปกระเดี ย ด เป น ต น การรั บ
ราชการ เชน ซื่อกินไมหมดคดกิน
109 ไมนาน เปนตน)

คูมือครู 109
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


นักเรียนคิดวาบทประพันธตอนใด
ทีไ่ พเราะจับใจและมีความหมายลึกซึง้
ใหนกั เรียนยกตัวอยางและแสดงความ จากบทประพันธ์สะท้อนให้เห็นว่าเงินตราเป็นสิ่งจ�าเป็นในชีวิตของมนุษย์ แม้มีไม่มาก
คิดเห็น แต่ก็ควรเก็บหอมรอมริบไว้ใช้ในยามจ�าเป็น
(แนวตอบ เชน ๗) การคบมิตร ในสังคมปะปนไปทั้งคนดีและไม่ดี ดังนั้นการมีหลักยึดในการคบมิตร
“คนแกมีสี่ประการโบราณวา จึงเป็นสิ่งส�าคัญ ซึ่งอิศรญาณภาษิตได้ให้ข้อคิดประการนี้ไว้ ดังบทประพันธ์
แกธรรมาพิสมัยใจแหงเหี่ยว
แกยศแกวาสนาปญญาเปรียว อย่าคบมิตรจิตพาลสันดานชั่ว จะพาตัวให้เสื่อมที่เลื่อมใส
แตแกแดดอยางเดียวแกเกเร” คบนักปราชญ์นั่นแหละดีมีก�าไร ท่านย่อมให้ความสบายหลายประตู
บทประพันธนี้มีความไพเราะมีการ
เลนคําวา “แก” ซึ่งมีความหมายวา จากบทประพันธ์ดังกล่าว กวีแสดงทัศนะประการส�าคัญที่ผู้อ่านสามารถน�าไปประยุกต์
เชี่ยวชาญสันทัด ไมไดหมายถึงคน ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ คือการคบมิตรจะต้องเลือกคบบุคคลที่เป็นคนดี คนฉลาด เพราะจะน�าพาไป
สูงอายุ เราควรนํามาเปนแนวทาง ในหนทางแห่งความเจริญ ในขณะที่การคบมิตรที่เป็นคนพาลจิตใจไม่ดีย่อมเป็นหนทางสู่ความหายนะ
ในการดําเนินชีวิต) ผู้คนในสังคมย่อมได้รับการอบรมมาแตกต่างกัน อิศรญาณภาษิตได้ให้ข้อคิดประการ
ส�าคัญในการเลือกคบคน ดังบทประพันธ์

ดูตระกูลกิริยาดูอากัป ดูทิศจับเอาที่ผลต้นพฤกษา
นักเรียนควรรู ดูฉลาดเล่าก็เห็นที่เจรจา ดูคงคาก็พึงหมายสายอุบล
การคบมิตร เปนขอคิดเตือนใจที่
ปรากฏในโคลงโลกนิติดวยเชนกัน จากบทประพันธ์ข้างต้นการเลือกคบคนหากพิจารณาจากกิริยามารยาท ก็จะรู้ว่า
ดังวา มาจากชาติตระกูลที่อบรมสั่งสอนดีหรือไม่ ถ้าจะดูว่าเป็นคนมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดูจากค�าพูด
ปลาราพันหอดวย ใบคา ถ้าอยากจะรู้ว่าแม่น�้ามีความลึกตื้นดูได้จากความยาวของก้านบัว
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุง
คือคนหมูไปหา คบเพื่อน พาลนา ๘) ความสามัคคี ความสามัคคียงั คงความส�าคัญและเป็นธรรมะทีจ่ า� เป็นในการท�างาน
ไดแตรายรายฟุง เฟองใหเสียพงศ ร่วมกัน และยังท�าให้ประเทศชาติยงั ธ�ารงอยูไ่ ด้ อิศรญาณภาษิตให้ขอ้ คิดเกีย่ วกับคุณค่าของความสามัคคี
ใบพอพันหอหุม กฤษณา โดยยกนิทานเกี่ยวกับนกกระจาบมาเป็นตัวอย่าง ดังบทประพันธ์
หอมระรวยรสพา เพริศดวย
คือคนเสพเสนหา นักปราชญ นกกระจาบเดิมหนักหนามากกว่าแสน ไม่เดือดแค้นสามัคคีย่อมมีผล
ความสุขซาบฤๅมวย ดุจไมกลิ่นหอม ครั้นภายหลังอวดก�าลังต่างถือตน พรานก็ขนกระหน�่ามาพากันตาย

จากบทประพันธ์ได้ให้ข้อคิดประการส�าคัญ คือไม่ว่าที่ใดก็ตามถ้ามีความสามัคคีที่นั่น
ย่อมด�ารงอยู่ได้ แต่ถ้าเมื่อใดขาดความสามัคคีก็จะท�าให้ทุกอย่างเสื่อมสูญเหมือนดังฝูงนกกระจาบที่
ต้องตายเนื่องด้วยแตกความสามัคคี

110

110 คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสุภาษิตไทย
๙) ท�าดีได้ดี ท�าชัว่ ได้ชวั่ สังคมไทยเป็นสังคมทีผ่ กู พันอยูก่ บั พระพุทธศาสนา ซึง่ มีสว่ น • สุภาษิต “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว”
ในการกล่อมเกลาจิตใจและพฤติกรรมของมนุษย์ให้อยูใ่ นครรลองของความดี อิศรญาณภาษิตได้สะท้อน ยังใชในปจจุบันไดหรือไม
ข้อคิดประการส�าคัญที่มีความเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา ดังบทประพันธ์ อยางไร
(แนวตอบ ไดหรือไมไดขึ้นอยูกับ
ถ้าท�าดีก็จะดีเป็นศรีศักดิ์ ถ้าท�าชั่วชั่วจักตามสนอง เหตุผลของนักเรียน แตครูควร
แนะนําวาสุภาษิตนี้สอนใหเรา
จากบทประพันธ์ได้สะท้อนข้อคิดที่มีความเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา คือ ท�าดีได้ดี ทําดี เปนคนดีเพื่อเราจะอยูรวม
ท�าชั่วได้ชั่ว ตรงกับพุทธศาสนสุภาษิตที่ว่า “กมฺมุนา วตฺตตี โลโก” สัตวโลกย่อมเป็นไปตามกรรม กันอยางสงบสุขเพราะทุกคนเปน
หมายความว่า ผู้ใดกระท�าสิ่งใดไว้ย่อมได้รับสิ่งนั้นเป็นการตอบแทน คนดีไมเบียดเบียนกัน)
๑๐) ให้รู้จักตนเอง การที่มนุษย์จะใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างสงบสุข นอกจากการรู้จัก 2. จากบทประพันธ
บุคคลอื่นแล้วที่ส�าคัญต้องรู้จักจิตใจของตนเอง ดังบทประพันธ์ “นกกระจาบเดิมหนักหนามากกวาแสน
ไมเดือดแคนสามัคคียอมมีผล
เกิดเป็นคนเชิงดูให้รู้เท่า ใจของเราไม่สอนใจใครจะสอน ครั้นภายหลังอวดกําลังตางถือตน
พรานก็ขนกระหนํ่ามาพากันตาย”
จากบทประพันธ์ดงั กล่าว กวีได้แสดงทัศนะทีเ่ ป็นข้อคิดเตือนใจให้แก่ผอู้ า่ นกลับมาส�ารวจ จากขอความที่ยกตัวอยางมา
ตนเองว่า ความรู้บางประการอาจมีครูอาจารย์สอนได้ แต่ในบางเรื่องตนเองจะเป็นผู้สอนตนเองได้ดี สะทอนใหเห็นความสําคัญของ
ที่สุด ความสามัคคี ใหนักเรียนชวยกัน
ยกตัวอยางวามีวรรณคดี
การอ่านวรรณคดีประเภทคÓสอน ผู้อ่านอาจไม่รู้สึกว่าตนกÓลังได้รับการสั่งสอน วรรณกรรม หรือนิทานเรื่องใดอีก
โดยตรง เพราะความเพลิดเพลินในสÓนวนโวหาร ประโยชน์สงู สุดของการอ่านอิศรญาณ- ที่เนนเรื่องความสามัคคี
ภาษิต คือการได้คติเตือนใจ ได้แนวทางสำาหรับการประพฤติปฏิบตั ติ นเพือ่ ให้อยูใ่ นสังคม (แนวตอบ เชน เรื่องสามัคคีเภท-
ได้อย่างมีความสุข สิ่งที่สÓคัญที่สุดคือสัจธรรมคÓสอนในเรื่องเป็นความจริงที่สามารถ คําฉันท)
้ ๆ แต่กใ็ ห้ประโยชน์แก่ผอู้ า่ นอย่างมหาศาล ถ้าผูอ้ า่ น
พิสจู น์ได้ แม้วา่ จะเป็นเพียงเรือ่ งสัน
นำามาปฏิบัติในชีวิตประจÓวัน
เกร็ดแนะครู
ครู แ นะให นั ก เรี ย นนํ า ข อ คิ ด ที่ ไ ด
จากเรื่องอิศรญาณภาษิตไปปรับใช
ในชีวิตจริง ครูชี้ใหเห็นผลที่เกิดจาก
การปฏิบัติตาม โดยยกตัวอยางจาก
สถานการณจริงประกอบการชี้แนะ
เพื่อใหนักเรียนเห็นภาพและแนะแนว
111 ทางในการนําไปปฏิบัติ

คูมือครู 111
ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand Evaluate
Engage Explore Explain

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนเลือกขอคิดที่ประทับใจ
จากเรื่อง บอกเล่าเก้าสิบ
• ขอคิดนั้นมีความสําคัญตอ
นักเรียนหรือสังคมอยางไร
(แนวตอบ เชน คําสุภาษิต
“ดูตระกูลกิริยาดูอากัป สํานวนที่ปรากฏใชอยูในภาษาไทยปจจุบันหลายสํานวนมักใชผิด เพราะภาษาเกิดการ
ดูทิศจับเอาที่ผลตนพฤกษา เปลี่ยนแปลง คนตางยุคตางสมัยจึงตีความคําศัพทเขากับความเขาใจพื้นฐานของแตละคน เมื่อใช
ดูฉลาดเลาก็เห็นที่เจรจา คําผิด ความหมายโดยแทจริงของสํานวนจึงผิดหรือคลาดเคลื่อนไปได ดังตัวอยางที่ปรากฏใน
ดูคงคาก็พึงหมายสายอุบล” อิศรญาณภาษิต เชน “ผีเรือนตัวไมดีผีอื่นพลอย” ตรงกับสํานวนวา ผีซํ้าดํ้าพลอย ซึ่งมักมีผูใช
ตรงกับสํานวนที่วา ผิดวา ผีซํ้าดามพลอย เพราะคําวา ดาม เปนคําที่คุนหูคนไทยปจจุบันมากกวา
“สําเนียงสอภาษา กิรยิ าสอสกุล”) คําวา ดํา้ หมายถึง ผีเรือน ดังนัน้ ผีซาํ้ ดํา้ พลอย แปลความหมายตามคําศัพทไดวา ถูกผีทาํ ให
เกิดเคราะหกรรมแลวยังถูกผีเรือนซํ้าเติมใหเปนเคราะหรายซํ้าซอนกันมากขึ้นอีก ผีซํ้าดํ้าพลอย
เมื่อเปนสํานวนจึงมีความหมายวา ถูกซํ้าเติมเมื่อพลาดพลั้งลงหรือเมื่อคราวเคราะหราย
ตรวจสอบผล นอกจากนี้ ยังมีสํานวนอื่นๆ ที่มักใชผิดอีก เชน
- ตีตนกอนไขหรือตีตนตายกอนไข หมายถึง กังวลทุกขรอนหรือหวาดกลัวในเรื่องที่ยัง
1. นักเรียนสรุปเรื่องยอเปน
ไมเกิดขึ้น มักใชผิดวา ตีตัวไปกอนไข
ความเรียง แลวบันทึกลงสมุด
- ตีตัวออกหากหรือเอาใจออกหาก หมายถึง หางเหินไปไมรวมมือรวมใจเหมือนเดิม ตีตน
2. นักเรียนอธิบายความหมายของ จากไป ปลีกตัวออกไป มักใชผิดวา ตีตัวออกหางหรือเอาใจออกหาง เปนตน
สํานวนสุภาษิตในเรื่องอิศรญาณ ผูใ ชภาษาควรศึกษาและใชสาํ นวนใหถกู ตอง เพือ่ ใหสอื่ สารความหมายทีแ่ ทจริงไดและสืบทอด
ภาษิต มรดกทางวัฒนธรรมของชาติที่สะทอนอยูในสํานวนภาษาใหคงอยูสืบไป
3. นักเรียนยกตัวอยางสํานวนสุภาษิต
ในเรื่องอิศรญาณภาษิตที่สะทอน
ใหเห็นวิถีไทย และแสดงใหเห็น
คุณคาดานสังคมและวรรณศิลป
4. นักเรียนยก “ขอคิดในเรื่อง
อิศรญาณภาษิต” นําไปใชในชีวิต
ประจําวันได
5. นักเรียนทองจําบทอาขยานตาม
ที่กําหนดได
6. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวย
การเรียนรู

112

112 คูมือครู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

เกร็ดแนะครู
(แนวตอบ คําถามประจําหนวย
การเรียนรู
ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้ 1. ไดอานวรรณคดีคําสอนเรื่อง
โคลงโลกนิติ สุภาษิตพระรวง
๑. นักเรียนได้อ่านวรรณคดีค�าสอนเรื่องอื่นหรือไม่ อะไรบ้าง และประทับใจตอนใด จงอธิบาย พร้อม สุภาษิตสอนหญิง
ยกตัวอย่างบทประพันธ์ประกอบ ตัวอยางโคลงโลกนิติ
๒. ให้นักเรียนศึกษานิทานเรื่อง “นกกระจาบ” แล้วให้ยกตัวอย่างค�าประพันธ์และบอกคุณค่าที่ได้รับ คนใดละพอทั้ง มารดา
๓. ให้นักเรียนเลือกค�าสอนที่ประทับใจที่น�าไปใช้ในชีวิตประจ�าวันจากอิศรญาณภาษิต พร้อมอธิบาย อันทุพลชรา- ภาพแลว
ความหมาย ๕ ข้อ ขับไลไปมีปรา- นีเนตร
๔. “ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า น�้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย” จากค�าประพันธ์ที่ยกมานี้ คนดั่งนี้ฤๅแคลว คลาดพนภัยยัน
นักเรียนได้ข้อคิดอะไร และนักเรียนสามารถน�าข้อคิดที่ได้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร 2. เคยฟง
๕. “เอาหลังตากแดดเป็นนิจคิดค�านวณ รู้ถี่ถ้วนจึงสบายเมื่อปลายมือ” มีความหมายว่าอย่างไร สะท้อน
“นกกระจาบเดิมหนักมากกวาแสน
ให้เห็นวิถีชีวิตของคนในสังคมไทยอย่างไร
ไมเดือดแคนสามัคคียอมมีผล
ครั้นภายหลังอวดกําลังตางถือตน
พรานก็ขนกระหนํ่ามาพากันตาย”
จากขอความที่ยกตัวอยางมา
สะทอนใหเห็นความสําคัญของ
ความสามัคคี
กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้ 3. คําสอนจากอิศรญาณภาษิต
ที่ควรนําไปใชในชีวิตประจําวัน
กิจกรรมที่ ๑ นกั เรียนจัดกลุม่ กลุม่ ละ ๕ คน ช่วยกันหาค�าภาษิตในปัจจุบนั ทีม่ ที มี่ าจากอิศรญาณ-
ยกตัวอยาง 5 ขอความ ดังนี้
ภาษิต เช่น กินข้าวต้มกระโจมกลาง วานรได้แก้ว ฯลฯ มารวบรวม พร้อมวาดภาพ
• ชายขาวเปลือกหญิงขาวสาร
ประกอบแล้วน�าไปจัดแสดงที่ป้ายนิเทศของห้องเรียน
กิจกรรมที่ ๒ นักเรียนเลือกค�าสอนในอิศรญาณภาษิตที่คิดว่าสามารถน�ามาประยุกต์ใช้ได้ในชีวิต โบราณวา นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปา
ประจ�าวันเลือกมา ๓ ข้อ และชี้แจงว่าจะน�าค�าสอนนั้นมาใช้ได้อย่างไร อัชฌาสัย
• อันเสาหินแปดศอกตอกเปนหลัก
ไปมาผลักบอยเขาเสายังไหว
• จงฟงหูไวหูคอยดูไป
เชื่อนํ้าใจดีกวาอยาเชื่อยุ
• สูงอยาใหสูงกวาฐานนานไปลม
จะเรียนคมเรียนเถิดอยาเปดฝก
• คนสามขามีปญญาหาไวทัก
ที่ไหนหลักแหลมคําจงจําเอา
4. จากคําประพันธสามารถนําไปใช
113 ประโยชนในเรื่องการรูจักวางตัวให
เหมาะสม และการอยูรวมกับผูอื่น
ในสังคมอยางมีความสุข
5. ความหมายวาลําบากในตอนแรก
หลักฐาน แตจะสบายในตอนทาย สะทอน
แสดงผลการเรียนรู ใหเห็นความอดทนสูงาน ซึ่งเปน
ขอคิดเกี่ยวกับการทํางานของ
1. การเขียนสรุปเรื่องยอ คนสมัยกอนที่นํามาปรับใชไดใน
2. การเขียนความเรียงจากสํานวนสุภาษิต ปจจุบัน)
3. บันทึกตัวอยางสํานวนสุภาษิตจากเรื่องที่เขากับสถานการณในปจจุบัน
4. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด
คูมือครู 113
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)
เปาหมายการเรียนรู
• สรุปเนื้อหาเรื่องบทพากยเอราวัณ
• วิเคราะหวิถีไทยและคุณคา
วรรณคดีเรื่องบทพากยเอราวัณ
• สรุปความรูและขอคิดที่นําไป
ประยุกตใชในชีวิตจริง
• ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยาน
ตามที่กําหนด

กระตุนความสนใจ
ครูนําสนทนาและถามนักเรียน
• นักเรียนรูจักชางเอราวัณหรือไม
• นักเรียนรูจักชางเอราวัณจาก
ที่ไหน
• ชางเอราวัณมีลักษณะพิเศษ
อยางไร
• ใครเปนผูทรงชางเอราวัณ

หนวยที่ õ
บทพำกย์เอรำวัณ
ตัวชี้วัด
■ สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่นในระดับที่ยากขึ้น
(ท ๕.๑ ม.๓/๑)
บ ทพากยเอราวัณเปนตอนหนึ่งใน
■ วิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อาน
วรรณคดี เ รื่ อ งรามเกี ย รติ์ ที่ ใ ช สํ า หรั บ
(ท ๕.๑ ม.๓/๒) ประกอบการแสดงมหรสพ โดดเด น ทาง
■ สรุปความรูและขอคิดจากการอานเพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง ดานวรรณศิลป การใชถอยคําเพื่อพรรณนา
(ท ๕.๑ ม.๓/๓)
■ ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยานตามที่กําหนด (ท ๕.๑ ม.๓/๔) ตัวละคร และฉากในทองเรื่องซึ่งทําใหผูอาน
เกิดจินตภาพ นอกจากนี้ยังปรากฏคุณคาใน
สาระการเรียนรูแกนกลาง
ดานตางๆ เชน คุณคาดานเนื้อหา ดานสังคม
■ วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถิ่นเกี่ยวกับศาสนา
ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คําสอน เหตุการณในประวัติศาสตร และวิ ถีไทย และใหขอคิด ผูอานควรอานอยาง
บันเทิงคดี พินจิ พิจารณาเพือ่ สังเคราะหขอ คิดตางๆ ทีจ่ ะนําไป
การวิเคราะหวิถีไทยและคุณคาจากวรรณคดีและวรรณกรรม

■ บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา
ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

114 คูมือครู
สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Evaluate

สํารวจคนหา
1. แบงกลุมนักเรียนสืบคนพระราช-
ประวัติและผลงานในพระบาท-
๑ ความเป็นมา สมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
บทพากย์เอราวัณเป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ใช้สา� หรับ โดยเนนพระปรีชาสามารถดาน
เล่นโขน จัดพิมพ์รวมอยู่ในรามเกียรติ์ค�าพากย์ ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. การประพันธ จากแหลงเรียนรู
๒๔๖๑ ณ โรงพิมพ์ไท ถนนรองเมือง กรุงเทพฯ ตางๆ เชน หองสมุดโรงเรียน
คณะอนุกรรมการจัดท�าเอกสารและบทความสดุดีบุคคลส�าคัญ ในคณะกรรมการเอกลักษณ์ หนังสือ อินเทอรเน็ต เปนตน
ของชาติ ได้น�ามาจัดพิมพ์ขึ้นใหม่เพื่อเป็นการอนุรักษ์วรรณกรรมเก่าและหายาก สืบอายุวรรณกรรม
2. ใหนักเรียนสืบคนประวัติความ
เปนมาของพระราชนิพนธบทพากย
โดยน�ามาพิมพ์เป็นหนังสือใหม่ชื่อ กาพยคดี ประกอบด้วยเรื่อง
เอราวัณ แลวบันทึกความรูลงสมุด
๑. พิชัยสงครามค�าฉันท์
๒. ต�าราช้างค�าฉันท์
๓. บุณโณวาทค�าฉันท์ อธิบายความรู
๔. รามเกียรติ์ค�าพากย์ จากคํากลาวที่วา “ในรัชสมัยพระ-
๕. ล�าดับกษัตริย์ค�าฉันท์ บาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
ตอนที่น�ามาให้ศึกษานี้คัดมาจากเรื่องรามเกียรติ์ค�าพากย์ อยู่ในหน้า ๑๓๑-๑๓๓ ของหนังสือ เป น ยุ ค ทองแห ง วรรณกรรมและ
กาพยคดี มีจา� นวนกาพย์ฉบัง ๑๗ บท ใช้ตวั สะกดทีเ่ ป็นปัจจุบนั แต่ได้ทา� เชิงอรรถบอกไว้วา่ ต้นฉบับเดิม ศิลปกรรม” ใหนกั เรียนหาขอสนับสนุน
สะกดอย่างไร คํากลาวนี้
(แนวตอบ ขอสนับสนุน คือ พระบาท-
๒ ประวัติผู้แต่ง สมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
พระองคทรงเชี่ยวชาญดาน
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระนาม อักษรศาสตรอยางยิ่ง พระองคทรง
เดิมว่า ฉิม เป็นพระราชโอรสล�าดับที ่ ๔ ในพระบาทสมเด็จ- พระราชนิพนธเองจํานวนมาก
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที ่ ๑) ทรงพระราช- มีความประณีต งดงาม พระองค
สมภพเมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๑๐ เมื่อสมเด็จ- ทรงมีพระอัจฉริยภาพทั้งทางดาน
พระบรมชนกนาถปราบดาภิเษกเป็นปฐมกษัตริย์แห่งกรุง วรรณศิลปและสถาปตยศิลป และ
รัตนโกสินทร์ใน พ.ศ. ๒๓๒๕ พระองค์ทรงได้รบั การสถาปนา โปรดเกลาฯ ใหประชุมกวีรวมกันแตง
วรรณคดีประเภทตางๆ มากมาย
เป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร พระบาทสมเด็จพระพุทธ-
กวีที่มีความสามารถ เชน สุนทรภู)
เลิศหล้านภาลัยเสด็จขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. ๒๓๕๒ เสด็จ-
สวรรคตเมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๗ ครองสิริราชสมบัติเป็นเวลา
๑๕ ปี ขยายความเขาใจ
ใหนักเรียนยกตัวอยางคําประพันธ
พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย
จากพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จ-
115 พระพุทธเลิศหลานภาลัย 3 ตัวอยาง
(แนวตอบ 1. บทละครเรื่องอิเหนา
“นางนวลจับนางนวลนอน
เหมือนพี่แนบนวลสมรจินตะหรา
2. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ จากพรากจับจากจํานรรจา
“อันคําบุราณกลาวไว อยาใหหลงกลทั้งสี่ เหมือนจากนางสการะวาตี”
คือรูปรสวาจาพาที ดุริยางคดนตรีนี้หามนัก”
3. กาพยเหชมเครื่องคาวหวาน
“มัสมั่นแกงแกวตา หอมยี่หรารสรอนแรง
ชายใดไดกลืนแกง แรงอยากใหใฝฝนหา”)
คูมือครู 115
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย
เรื่องรามเกียรติ์ที่วา
• ธรรมดาเรื่องรามเกียรติ์ใครๆ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงเชี่ยวชาญด้านอักษรศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง ตลอด
ก็รูวาเปนเรื่องสําหรับเลนโขน ระยะเวลา ๑๕ ปี แห่งรัชสมัยของพระองค์ได้ทรงท�านุบ�ารุงด้านศิลปะ วรรณคดีและสถาปัตยกรรม
แตทําไมรามเกียรติ์ในรัชกาล โดยเฉพาะวรรณคดีมคี วามเจริญรุง่ เรืองสูงสุด ทัง้ ทีท่ รงพระราชนิพนธ์เองและโปรดเกล้าฯ ให้ประชุมกวี
ที่ 2 จึงเรียกวา บทละคร แต่งวรรณคดีประเภทต่างๆ เช่น ค�ากลอน ละครนอก ละครใน เสภา นิราศ กาพย์ ฉันท์ ลิลิต
( แนวตอบ เพราะว า รั ช กาลที่ 2 โคลงสุภาพและโคลงดั้น ล้วนเป็นแบบฉบับอันยอดเยี่ยมในทางนาฏศิลป์ นอกจากนี้พระองค์ยังทรง
ทรงพระราชนิพนธใหละครหลวง ปรับปรุงการละครไทยจนถึงขั้นมาตรฐานสูงทั้งกระบวนท่า เนื้อร้อง ท�านองเพลงและการร่ายร�า
ดํ า เนิ น ตามแบบละครร อ งทุ ก บทพระราชนิพนธ์ในพระองค์ที่ส�าคัญมีอยู่หลายเรื่อง เช่น
อยาง เมื่อตองการเลนอยางโขน ๑. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน สันนิษฐานว่าคือ ตอนขึ้นเรือนขุนช้าง
ก็แทรกบทพากยและบทเจรจา
๒. บทละครเรื่องอิเหนา
เขาไป)
๓. บทละครเรื่องรามเกียรติ์
๔. บทละครเรื่องไชยเชษฐ์ สังข์ทอง คาวี
ขยายความเขาใจ ไกรทอง มณีพิชัย
ครูทบทวนองคความรูจาก ๕. กาพย์เห่เรือ บทเห่ชมเครื่องคาวหวาน
พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวของกับ ๖. บทพากย์โขน ตอนพรหมาสตร์ นาคบาศ
วรรณคดีไทยในพระบาทสมเด็จ- นางลอยและเอราวัณ
พระพุทธเลิศหลานภาลัย จาก รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า-
พระราชนิพนธครูตั้งคําถามกับ นภาลัยเป็นยุคทองแห่งวรรณกรรมและศิลปกรรม
นักเรียนวา พระองค์ทรงมีพระอัจฉริยภาพทัง้ ทางด้านวรรณศิลป์
• พระราชนิพนธในพระบาท- ตัวอยำงบทพระรำชนิพนธ์ในรัชกำลที่ ๒
และสถาปัตยศิลป์ บทพระราชนิพนธ์จ�านวนมากมี
สมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ความประณีตงดงามทางด้านอักษรศาสตร์ทสี่ ามารถน�าไปผสมผสานกับนาฏยศาสตร์และดุรยิ างคศาสตร์
นักเรียนคิดวาสงผลตอภาษา
ได้อย่างกลมกลืน พระราชนิพนธ์บทละครเรือ่ ง อิเหนำ ได้รบั การยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอด
และวรรณคดีไทยอยางไร
ของกลอนบทละคร ในด้านศิลปกรรมพระองค์ทรงเชี่ยวชาญด้านงานช่างศิลปะไทยหลายแขนง เช่น
(แนวตอบ จากพระราชกรณียกิจ
ของรัชกาลที่ 2 ที่เดนในการ ทรงร่วมแกะสลักบานประตูวหิ ารวัดสุทศั นเทพวราราม
พระราชนิพนธงานตางๆ ทําให ด้วยเหตุนี้องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) จึงเฉลิม
เรามีภาษาและวรรณคดีไทย พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในฐานะบุคคลส�าคัญที่มีผลงานดีเด่นทาง
เปนมรดกอันทรงคาตราบเทา วัฒนธรรมระดับโลก กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานต่างๆ ได้ร่วมจัดงานเฉลิมพระเกียรติใน
ปจจุบันนี้) อภิลกั ขิตสมัยครบรอบ ๒๐๐ ปี แห่งวันพระราชสมภพเมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๑ ได้มกี ารจัดตัง้ มูลนิธพิ ระบรม-
ราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยมีวัตถุประสงค์ในการ
ส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่งานศิลปะและวรรณคดีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

116

เกร็ดแนะครู
ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวาในสมัยรัชกาลที่ 2 เปนยุคทองแหงวรรณกรรม ศิลปกรรมนั้น เพราะเปน
สมัยที่บานเมืองสงบ จึงทรงมุงทํานุบํารุงบานเมืองอยางเต็มที่ เพื่อบํารุงขวัญของประชาชน

116 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนศึกษาฉันทลักษณของ
กาพย ฉ บั ง 16 แล ว ส ง ตั ว แทนมา
๓ ลักษณะคÓประพันธ์ อธิบายแสดงความเขาใจหนาชัน้ เรียน
บทพากย์เอราวัณ ใช้ค�าประพันธ์ประเภทกาพย์ฉบัง ๑๖ ซึ่งมีลักษณะดังนี้ โดยยกตัวอยางกาพยฉบัง 16 จาก
๑ บท มี ๑๖ ค�า แบ่งเป็น ๓ วรรค วรรคแรกมีจ�านวน ๖ ค�า วรรคที่ ๒ มี ๔ ค�า วรรค หนังสือเรียน 1 บท
สุดท้ายมี ๖ ค�า (แนวตอบ
สัมผัสบังคับ ได้แก่ ค�าสุดท้ายของวรรคแรก สัมผัสกับค�าสุดท้ายของวรรคที่ ๒ สัมผัสระหว่าง สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา
ดังเพชรรัตนรูจี
บท คือค�าสุดท้ายของบทแรกสัมผัสกับค�าสุดท้ายของวรรคแรกในบทต่อไป
ครูและนักเรียนรวมกันอธิบาย
แผนผัง กาพย์ฉบัง ๑๖
ลักษณะฉันทลักษณของกาพยฉบัง
16 พรอมทั้งจดบันทึกลงสมุด)
(บทที่ ๑)
 



 




 


 ขยายความเขาใจ
(บทที่ ๒)
 


  


 ใหนักเรียนชวยกันแตงกาพยฉบัง

 


 16 บรรยายธรรมชาติยามเชาโดยดู
จากตัวอยางในเรื่องแตงจํานวน 2 บท
แลวอานเปนทํานองเสนาะพรอมกัน
๔ เรื่องย่อ
บทพากย์เอราวัณเป็นเนื้อเรื่องตอนหนึ่งในรามเกียรติ์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับอินทรชิตซึ่งเป็นโอรส
ของทศกัณฐ์กับนางมณโฑ ชื่อเดิมว่า “รณพักตร์”
รณพักตร์ได้ศึกษาศิลปวิทยากับพระฤๅษีโคบุตร บ�าเพ็ญตบะภาวนามนต์อยู่นานถึง ๗ ปี จึงได้
เกร็ดแนะครู
ศร ๓ เล่ม จากพระผู้เป็นเจ้าทั้งสามองค์ คือ ศรพรหมาสตร์จากพระอิศวร ศรนาคบาศจากพระพรหม ครูเลาใหนักเรียนฟงเกี่ยวกับโขน
และศรวิษณุปาณัมจากพระนารายณ์ เมือ่ ไปรบกับพระอินทร์ได้รบั ชัยชนะและได้จกั รแก้วของพระอินทร์ คือ การแสดงอยางหนึ่งคลายละครรํา
กลับมายังกรุงลงกา ทศกัณฐ์ทรงพอพระทัยจึงพระราชทานพระนามใหม่แก่รณพักตร์ว่า “อิ “อินทรชิต”
โดยผูแสดงสวมหัวจําลองตางๆ
ที่เรียกวา หัวโขน เลนเฉพาะเรื่อง
ในเรื่องรามเกียรติ์ซึ่งเป็นสงครามแย่งชิงนางสีดา ทศกัณฐ์ทรงให้พระญาติวงศ์พงศาออกรบ
รามเกียรติ์ การแสดงโขนมีทารํา
แต่กลับพ่ายแพ้หมด จึงโปรดให้อินทรชิตออกรบถึง ๔ ครั้ง ที่ออนชอยงดงาม ถือวาโขนเปนการ
ครั้งแรก อินทรชิตถูกศรพลายวาตของพระลักษมณ์ต้องหนีกลับเข้าเมือง อินทรชิตจึงท�าพิธี แสดงนาฏศิลปชั้นสูง
ชุบศรนาคบาศ ระหว่างท�าพิธีมังกรกัณฐ์ได้ออกรบแทนอินทรชิตแล้วถูกพระรามแผลงศรพรหมาสตร์
ต้องมังกรกัณฐ์
ครัง้ ที่ ๒ อินทรชิตรบกับพระลักษมณ์ แผลงศรนาคบาศถูกพระลักษมณ์และพลวานร พระราม
ต้องใช้วิธีเรียกครุฑมาจิกนาค อินทรชิตจึงท�าพิธีชุบศรพรหมาสตร์แต่ไม่ส�าเร็จ นักเรียนควรรู
อินทรชิต แปลวา ผูชนะพระอินทร
117

คูมือครู 117
อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Expand Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนกั เรียนอธิบายเกีย่ วกับบทพากย
เอราวัณมาลวงหนา
(แนวตอบ บทพากยโขนเปนบท ครั้งที่ ๓ อินทรชิตแปลงเป็นพระอินทร์
รอยกรองประเภทกาพยและรายยาว ขี่ช้างเอราวัณออกมารบกับพระลักษมณ์ ในครั้งนี้
มีผูพากยทําหนาที่บรรยายเนื้อเรื่อง พระลั ก ษมณ์ ถู ก ศรพรหมาสตร์ ส ลบไปพร้ อ ม
และเจรจาแทนตัวโขน ซึ่งสวมหัวโขน พลวานร หนุมานตรงเข้าหักคอช้างเอราวัณ หนุมาน
ปดหนาทั้งหมด ตอมาตัวละครที่เปน ถูกอินทรชิตตีดว้ ยคันศรจนสลบไปและเมือ่ หนุมาน
เทพบุตร เทพธิดาไมไดสวมหัวโขน ต้องกระแสลมพัดจึงฟื้นขึ้น ประกอบกับพระราม
แตก็จะไมพูดหรือเจรจาเอง ตองมี และพิเภกมายังสมรภูมิ พิเภกจึงให้หนุมานไปน�า
ผูพากย-เจรจาแทน ยกเวนผูแสดง ยาที่เขาสรรพยา พระลักษมณ์และไพร่พลได้กลิ่น
เปนตัวตลกหรือฤๅษีบางตนอาจ ภำพวำดพระลักษมณ์ถูกศรนำคบำศกลำงสนำมรบ ยาจึงฟืน้ อินทรชิตจึงกลับไปตัง้ พิธกี มุ ภนิยาชุบศร
เจรจาเองเปนรอยแกว)
๓ เล่ม แต่พระลักษมณ์ล้างพิธีได้
ครั้งที่ ๔ อินทรชิตร�่าลาลูกเมีย แล้วออก
ไปรบ ก็ถูกพระรามแผลงศรตัดคอ องคตน�าพาน
เกร็ดแนะครู แว่นฟ้าไปรองรับ และพระรามจึงต้องแผลงศรไป
ครูเพิ่มเติมความรูใหนักเรียน ท�าลายให้เป็นจุณ ทั้งนี้เพราะพระพรหมประสาท
การพากยแบงออกเปน 5 ประเภท ศรนาคบาศและอวยพรอินทรชิตให้เรืองฤทธิ ์ “ถ้ำ
ใหญๆ คือ แม้นต้องตำยก็ให้ตำยบนอำกำศ ถ้ำแม้นหัวตก
1. พากยเมือง (หรือพากย ถึงดิน จงกลำยเป็นไฟกัลปเผำผลำญโลก”
พลับพลา) ใชเวลาตัวเอกประทับ ภำพวำดงำนพระศพของอินทรชิต
ในปราสาทหรือพลับพลา ส�าหรับบทพากย์เอราวัณตอนที่น�ามาศึกษาเป็นเพียงบางส่วนในฉากก่อนการออกรบครั้งที่ ๓
2. พากยรถ (ชาง มา) ตามแตจะ
ของอินทรชิต ซึ่งใช้พระเวทของพระอิศวรแปลงกายเป็นพระอินทร์ เหล่ายักษ์แปลงเป็นเทวดา และ
ใชพาหนะใด
3. พากยโอ ทํานองตอนตนเปน การุณราชแปลงเป็นช้างเอราวัณลอยมาบนฟ้า หนุมานเตือนพระลักษมณ์ให้ระวังตัว เพราะเห็นแปลก
พากย ตอนทายเปนทํานองรอง ที่บรรดาเทพเทวดาล้วนมีอาวุธครบครัน แต่พระลักษมณ์และไพร่พลวานรต่างเชื่อว่าเป็นพระอินทร์
โอป ใชเวลาเศราโศกรําพัน และเหล่าเทวดาเสด็จมาจริงๆ จึงเผลอชมความงามอย่างเพลิดเพลิน เป็นโอกาสให้อินทรชิตแผลงศร
4. พากยชมดง สําหรับเวลาชมปา พรหมาสตร์ถูกพระลักษมณ์จนสลบไป
5. พากยบรรยาย (หรือรําพัน) เนื้อเรื่องในตอนนี้มีความโดดเด่นด้านการใช้ค�าสร้างจินตภาพให้แก่ผู้อ่าน ให้เห็นถึงความ
ใชบรรยายความเปนมาของ สวยงามและความยิ่งใหญ่ของกองทัพทั้งสองฝ่าย
สิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือรําพึงรําพัน แม้ว่าวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์จะได้รับอิทธิพลมาจากอินเดีย แต่อย่างไรก็ตามได้มีการน�ามา
ปรับปรุงให้เข้ากับวัฒนธรรมและรสนิยมของคนไทย จึงท�าให้วรรณคดีเรื่องนี้มีความน่าสนใจและทรง
คุณค่าสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน

118

118 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู
Engage Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Expand Evaluate

กระตุนความสนใจ
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ
บทพากยเอราวัณ ครูถามนักเรียนวา
๕ เนื้อเรื่อง • ใครบางที่เคยชมการแสดงที่ใช
บทพากย และชมเรื่องอะไร
บทพากย์เอราวัณ • นักเรียนคิดวาบทพากยจะใช
อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองค์อมรินทร์ ประกอบการแสดงอยางไร
ทรงคชเอราวัณ๑
ช้างนิรมิตฤทธิแรงแข็งขัน เผือกผ่องผิวพรรณ สํารวจคนหา
สีสังข์สะอาดโอฬาร์
1. ใหนักเรียนคนควาลักษณะ
สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา ชางเอราวัณตามบทประพันธ
ดังเพชรรัตน์รูจี 2. บันทึกลักษณะชางเอราวัณที่
งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี สระหนึ่งย่อมมี เรียบเรียงแลวลงสมุด
เจ็ดกออุบลบันดาล
กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหนึ่งแบ่งบาน อธิบายความรู
มีกลีบได้เจ็ดกลีบผกา
1. ใหถอดคําประพันธหนา 119
กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองค์โสภา
บันทึกลงสมุด
แน่งน้อยล�าเพานงพาล
2. ใหนักเรียนจัดกลุม 5-6 คน ทองจํา
นางหนึ่งย่อมมีบริวาร อีกเจ็ดเยาวมาลย์ บทประพันธหนา 119 แลวทองให
ล้วนรูปนิรมิตมายา๒ ครูฟง
จับระบ�าร�าร่ายส่ายหา ช�าเลืองหางตา
ท�าทีดังเทพอัปสร๓
มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร เกร็ดแนะครู
ดังเวไชยันต์อมรินทร์
ครูชี้ใหนักเรียนเห็นการพรรณนา
เครื่องประดับเก้าแก้วโกมิน ซองหางกระวิน๔ ลักษณะของชางเอราวัณในเรื่อง
สร้อยสายชนักถักทอง สะทอนใหเห็นความยิ่งใหญโอฬาร
ตาข่ายเพชรรัตน์ร้อยกรอง ผ้าทิพย์ปกตระพอง เพราะแตละสวนของชางเอราวัณยังมี
ห้อยพู่ทุกหูคชสาร รายละเอียดที่สวยงามวิจิตร แตแฝง
ไปดวยความยิ่งใหญอลังการ เปนชาง

ฉบับหอสมุดวชิรญาณ เขียน เอราวรรณ ทรงที่ควรคูกับบารมีของพระอินทร

ฉบับหอสมุดวชิรญาณ เขียน นิมิตมารยา

ฉบับหอสมุดวชิรญาณ เขียน อับศร

ฉบับหอสมุดวชิรญาณ เขียน กระวิล
นักเรียนควรรู
119 โอฬาร หรือโอฬาร หมายถึง
ใหญโต ยิ่งใหญ

นักเรียนควรรู นักเรียนควรรู
ตระพอง หรือกระพอง หมายถึง โบกขรณี หมายถึง สระบัว
สวนที่นูนเปนปุม 2 ขางศีรษะชาง

คูมือครู 119
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ให นั ก เรี ย นร ว มกั น ศึ ก ษาเปรี ย บ-
เทียบบทพากยเอราวัณและกลอนบท ๑
ละครเรื่องรามเกียรติ์ (พระราชนิพนธ โลทันสารถีขุนมาร เป็นเทพบุตรควาญ
ขับท้ายที่นั่งช้างทรง
ในรัชกาลที่ 2)
• การใชฉันทลักษณที่แตกตางกัน บรรดาโยธาจัตุรงค์ เปลี่ยนแปลงกายคง
สงผลตอเรื่องอยางไร เป็นเทพไทเทวัญ

(แนวตอบ บทพากยเอราวัณใชกาพย ทัพหน้าอารักษ์ ไพรสัณฑ์ ทัพหลังสุบรรณ
ฉบั ง 16 ทํ า นองเสี ย งของกาพย กินนรนาคนาคา
ใหความรูสึกโออา เหมาะกับการใช ปีกซ้ายฤๅษิตวิทยา คนธรรพ์ปีกขวา
เปนบทพากย ในขณะที่กลอนบท ตั้งตามต�ารับทัพชัย๓
ละครมีเสียงทํานองกลอนที่ลื่นไหล ล้วนถืออาวุธเกรียงไกร โตมรศรชัย
รื่นหูกวา เหมาะสําหรับการแสดง พระขรรค์คทาถ้วนตน
ประกอบทารํา)
ลอยฟ้ามาในเวหน รีบเร่งรี้พล
มาถึงสมรภูมิชัย๔
ขยายความเขาใจ ฯ เจรจา ฯ
1. ศึกษาคําประพันธและถอดคํา เมื่อนั้นจึงพระจักรี พอพระสุริย์ศรี
อรุณเรืองเมฆา
ประพันธ หนา 120
2. ครูใหนักเรียนขยายความเขาใจ ลมหวนอวลกลิ่นมาลา เฟื่องฟุ้งวนา
ในการจัดทัพ หนา 120 โดยให นิวาสแถวแนวดง
นักเรียนเขียนแผนผังการจัดทัพ ผึ้งภู่หมู่คณาเหมหงส์ ร่อนราถาลง
บนกระดาน แทรกไซ้ในสร้อยสุมาลี
(แนวตอบ ดุเหว่าเร้าเร่งพระสุริย์ศรี ไก่ขันปีกตี
ทัพหนา กู่ก้องในท้องดงดาน
เทพารักษ ปักษาตื่นตาขันขาน หาคู่เคียงประสาน
ทัพซาย ทัพขวา ส�าเนียงเสนาะในไพร
วิทยาธร คนธรรพ
เดือนดาวดับเศร้าแสงใส สร่างแสงอโณทัย
ทัพหลัง
ก็ผ่านพยับรองเรือง
(ครุฑ กินนร นาค)

ฉบับหอสมุดวชิรญาณ เขียน เปน

ฉบับหอสมุดวชิรญาณ เขียน อารักข
นักเรียนควรรู ๓

ฉบับหอสมุดวชิรญาณ เขียน ไชย
ฉบับหอสมุดวชิรญาณ เขียน ไชย
โยธาจัตุรงค หมายถึง กองทัพ
4 เหลา คือ เหลาชาง เหลามา 120
เหลารถ และพลเดินเทา

นักเรียนควรรู นักเรียนควรรู นักเรียนควรรู


สุบรรณ หมายถึง ครุฑ โตมร หมายถึง อาวุธสําหรับซัด อโณทัย หมายถึง พระอาทิตยเพิ่งขึ้น
หอกดามสั้น

120 คูมือครู
สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Evaluate

สํารวจคนหา
ใหนักเรียนศึกษาคนควาลักษณะ
นิสยั ของตัวละครในบทพากยเอราวัณ
จับฟ้าอากาศแลเหลือง ธิบดินทร์เธอบรรเทือง จากหนังสือเรียนและแหลงการเรียนรู
บรรทมฟื้นจากไสยา
ตางๆ
ฯ เจรจา ฯ
เสด็จทรงรถแก้วโกสีย์ ไพโรจน์รูจี
จะแข่งซึ่งแสงสุริย์ใส อธิบายความรู
เทียมสินธพอาชาไนย เริงร้องถวายชัย นักเรียนนําเสนอผลการวิเคราะห
ชันหูระเหิดหฤหรรษ์ วิจารณลักษณะนิสัยของตัวละคร
มาตลีสารถีเทวัญ กรกุมพระขรรค์ ดังนี้
ขับรถมากลางจัตุรงค์ • อินทรชิต
เพลารอยพลอยประดับดุมวง กึกก้องก�ากง • พระลักษมณ
กระทบกระทั่งธรณี • สุครีพ
พรอมยกตัวอยางจากเรือ่ งประกอบ
มยุรฉัตรชุมสายพรายศรี พัดโบกพัชนี
ใหเห็นเดนชัด แลวบันทึกความรู
กบี่ระบายโบกลม
ลงสมุด
อึงอินทเภรีตีระงม แตรสังข์เสียงประสม
ประสานเสนาะในไพร
เสียงพลโห่ร้องเอาชัย เลื่อนลั่นสนั่นใน ขยายความเขาใจ
พิภพเพียงท�าลาย นักเรียนพิจารณาลักษณะนิสัยของ
สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย ตัวละคร และนําเสนอหนาชั้นเรียน
ประนอมประนมชมชัย • ในบทพากยเอราวัณตัวละคร
พสุธาอากาศหวาดไหว เนื้อนกตกใจ ตัวใดที่ควรนํามาเปนแบบอยาง
ซุกซ่อนประหวั่นขวัญหนี ในการปฏิบัติตน เพราะเหตุใด
ลูกครุฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี (แนวตอบ นักเรียนตอบได
คาบช้างก็วางไอยรา หลากหลาย ขึ้นอยูกับเหตุผล
ของนักเรียน)
วานรส�าแดงเดชา หักถอนพฤกษา
ถือต่างอาวุธยุทธยง
ไม้ไหล้ยูงยางกลางดง แหลกลู่ล้มลง
ละเอียดด้วยฤทธิโยธี นักเรียนควรรู
อากาศบดบังสุริย์ศรี เทวัญจันทรี พัชนี หมายถึง พัด
ทุกชั้นอ�านวยอวยชัย

121 นักเรียนควรรู
สัตภัณฑบรรพต คือเขาสัตบริภณ ั ฑ
หรือเขาสัตภัณฑ ตามคติความเชื่อ
ทีไ่ ทยรับมาจากอินเดียเปนภูเขาทีล่ อ มเปนวงกลมรอบเขาพระสุเมรุ
นักเรียนควรรู เปนชั้นๆ รวม 7 ชั้น สูงลดหลั่นกันลงมาตามลําดับ ชื่อภูเขาชั้นใน
มยุรฉัตร คือ พนมหางนกยูง หรือเครื่องกั้นบังเปน ที่สุดจากเขาพระสุเมรุออกมา คือ ยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทัสนะ
ชั้นๆ ทําดวยหางนกยูง เปนเครื่องสูงใชในงานพิธี เนมินธร วินตกะ อัสกัณ ระหวางภูเขาแตละชั้นมีทะเลสีทันดรคั่น
โสกันต (พิธโี กนจุกพระบรมวงศชนั้ พระองคเจาขึน้ ไป)
คูมือครู 121
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนแบงกลุมศึกษาคติ
ความเชือ่ ทีป่ รากฏในบทพากยเอราวัณ
แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน บ้างเปิดแกลแก้วแววไว โปรยทิพมาลัย
(แนวตอบ ซ้องสาธุการบูชา
1. ความเชื่อในเรื่องเทพเจา เนื้อหา ชักรถรี่เรื่อยเฉื่อยมา พุ่มบุษปมาลา
และเรื่ อ งราวเกี่ ย วข อ งกั บ พระ กงรถไม่จดธรณินทร์
อิศวร พระพรหม พระนารายณ เร่งพลโยธาพานรินทร์ เร่งรัดหัสดิน
พระอินทร วานรให้เร่งรีบมา
2. ความเชื่ อ ในเรื่ อ งโชคลาง เมื่อ ฯ เจรจา หยุดทัพ ฯ
กองทัพของพระลักษมณพรอม
เมื่อนั้นพระศรีอนุชา เอื้อนอรรถวัจนา
จะออกสูร บ ไดมกี ารเปาแตรและ
ตรัสถามสุครีพขุนพล
สังข ทหารโหรองเอาฤกษเอาชัย
3. คติความเชื่อเรื่องภูมิศาสตรโลก เหตุไฉนสหัสนัยน์เสด็จดล สมรภูมิไพรสณฑ์
ที่รับมาจากคติของอินเดีย เชน เธอมาด้วยกลอันใด
เขาสัตภัณฑ สวรรค วิมารฉิมพลี สุครีพทูลทัดเฉลยไข ทุกทีสหัสนัยน์
เปนตน) เสด็จด้วยหมู่เทวา
อวยชัยถวายทิพมาลา บัดนี้เธอมา
ขยายความเขาใจ เห็นวิปริตดูฉงน
ทรงเครื่องศัสตราแย่งยล ฤๅจะกลับเป็นกล
ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นคติ
ไปเข้าด้วยราพณ์อาธรรม์
ความเชื่อเรื่องเทพเจาในชีวิตปจจุบัน
• ในชุมชนของนักเรียนมีคติ พระผู้เรืองฤทธิแข็งขัน คอยดูส�าคัญ
ความเชื่อเรื่องเทพเจาของ อย่าไว้พระทัยไพรี
ศาสนาพราหมณหรือไม เมื่อนั้นอินทรชิตยักษี ตรัสสั่งเสนี
• นักเรียนเชื่อในคติดังกลาว ให้จับระบ�าร�าถวาย
หรือไม เพราะเหตุใด ให้องค์อนุชานารายณ์ เคลิบเคลิ้มวรกาย
(แนวตอบ ไมมีผิดถูก ครูชี้แนะวา จะแผลงซึ่งศัสตรศรพล
ความเชื่อดังกลาวเปนความเชื่อ ฯ เจรจา ฯ
สวนบุคคลไมควรลบหลู และ
ความเชื่อนี้ก็เปนแรงบันดาลใจ อินทรชิตสถิตเหนือเอรา วัณทอดทัศนา
มีคุณคาทั้งการสรางสรรคงาน เห็นองค์พระลักษมณ์ฤทธิรงค์
ศิลปะและจิตใจดวย) เคลิบเคลิ้มหฤทัยใหลหลง จึงจับศรทรง
พรหมาสตร์อันเรืองเดชา

นักเรียนควรรู 122

ราพณ หมายถึง ยักษ มักหมายถึง


ทศกัณฐ

เกร็ดแนะครู
นักเรียนควรรู ครูเพิ่มเติมความรูใหนักเรียนจากบทประพันธ “อินทรชิตสถิตเหนือเอรา วัณทอดทัศนา
เห็นองคพระลักษมณฤทธิรงค” คําวา “เอราวัณ” ที่เขียนแยกกันอยูคนละวรรคนั้น ถือวาเปน
ไพรี หมายถึง ขาศึก ศัตรู
คําโทษ เรียกวา คํายัติภังค คือ คําไมหมดตรงที่กําหนดไวตามฉันทลักษณ แตเลยไปวรรคหลัง
อาจมีหรือไมมีเครื่องหมายยัติภังคคั่นก็ได
122 คูมือครู
สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Evaluate

สํารวจคนหา
ใหนักเรียนคนหาศัพทที่ควรรู
เพิ่มเติมจากบทพากยเอราวัณ
ทูนเหนือเศียรเกล้ายักษา หมายองค์พระอนุชา
ก็แผลงส�าแดงฤทธิรณ
อากาศก้องโกลาหล โลกลั่นอึงอล อธิบายความรู
อ�านาจสะท้านธรณี 1. ใหนักเรียนเลือกคําศัพทจากบท
ศรเต็มไปทั่วราศี ต้ององค์อินทรีย์ เรียนคนละ 5 คํา บันทึกลงสมุด
พระลักษมณ์ก็กลิ้งกลางพล 2. แลกสมุดกับเพื่อน แลวเขียน
ฯ เจรจา อินทรชิตกลับทัพ ฯ อธิบายความหมายของคําศัพท
ฯลฯ ที่เพื่อนเลือก

ขยายความเขาใจ
๖ คÓศัพท์ ใหนําคําศัพทที่นักเรียนเลือกมา
แตงเปนคําคลองจองตอกันกับเพื่อน
ค�าศัพท์ ความหมาย
กง ส่วนที่เป็นวงรอบของล้อรถ “กงรถไม่จดธรณินทร์” หมายความว่า ลอยเลื่อน
ไปในอากาศ ล้อรถไม่สัมผัสกับพื้นดิน
กบี่ ลิง ในที่นี้คือ พลวานรในกองทัพของพระราม
นักเรียนควรรู
อึงอล หมายถึง เซ็งแซ
กระวิน ห่วงที่เกี่ยวกันส�าหรับ
โยงสัปคับช้าง
(ที่นั่งบนหลังช้าง)

กายิน กาย
กินนร เป็นอมนุษย์ที่มีรูปร่างครึ่งคนครึ่งนก ถ้าเป็นหญิงเรียกว่า กินรี
กุญชร ช้าง
เก้าแก้ว นพรัตน์ คือ แก้วเก้าอย่าง ได้แก่ เพชร ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล
มุกดา เพทายและไพฑูรย์

123

@
มุม IT
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ หองที่ 76
ตอนอินทรชิตออกศึกและแปลงกายเปนพระอินทร
http://www.era.su.ac.th/Marad/prasri/index.html
คูมือครู 123
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ครูและนักเรียนรวมกันแปล
ความหมายคําศัพททรี่ วบรวมเพิม่ เติม
ค�าศัพท์ ความหมาย
แลวนักเรียนบันทึกความรูลงสมุด
โกมิน มาจากค�าว่าโกเมน หมายถึง พลอยสีแดงเข้ม

ขยายความเขาใจ
1. ใหนักเรียนใชจินตนาการวาดภาพ
ประกอบคําศัพทที่นักเรียนคิดวา
นาสนใจที่สุด คนธรรพ์ ชาวสวรรค์พวกหนึ่ง เป็นบริวารท้าวธตรฐ มีความช�านาญในวิชาดนตรีและ
2. ใหนักเรียนเขียนพรรณนาภาพวาด ขับร้อง
ความยาว 5 บรรทัด จันทรี พระจันทร์ ซึ่งเป็นเทพองค์หนึ่ง ในที่นี้ใช้ จันทรี เพื่อรับสัมผัสกับ “สุรีย์ศรี”
จับระบ�า เริ่มฟ้อนร�า
ฉิมพลี ต้นงิ้ว ตามเรื่องเล่าจากไตรภูมิพระร่วง ที่เชิงเขาพระสุเมรุ มีป่าต้นงิ้วอยู่รอบ
นักเรียนควรรู สระฉิมพลี เป็นที่อาศัยของฝูงครุฑทั้งหลาย
คนธรรพ ทั้งหมดเปนเพศชาย ชนัก เครื่องผูกคอช้าง ท�าด้วยเชือกเป็นปมหรือห่วงห้อยพาดลงมา เพื่อให้คนที่ขี่คอ
คูกับนางอัปสรซึ่งเปนเพศหญิง ใช้หัวแม่เท้าคีบกันตก
และเปนชาวสวรรคเชนกัน ในตํานาน ซองหาง เครื่องคล้องโคนหางช้าง
พระพุทธศาสนากลาววาคนธรรพ
ดวงมาลย์ ดอกไม้
เกิดจากตนไมที่มีกลิ่นหอม
ตระพอง ส่วนที่นูนเป็นปุ่ม ๒ ข้างที่ศีรษะช้าง
ตาข่ายเพชรรัตน์ ตาข่ายร้อยโดยเพชรส�าหรับแต่งหัวช้าง
โตมร อาวุธส�าหรับซัด หอกซัด
สามง่ามที่มีปลอกรูป
เป็นใบโพสวมอยู่

ถา ถลา โผลง

124

124 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
1. ใหนักเรียนรวบรวมคําศัพทใน
บทประพันธตอนที่อินทรชิตกําลัง
ค�าศัพท์ ความหมาย
แปลงกายเปนพระอินทร
เทพอัปสร นางฟ้า 2. นักเรียนชวยกันหาความหมายของ
ธรณินทร์ ตามศัพท์แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน ค�าว่า ธรณี (แผ่นดิน) สมาสกับค�าว่า คําศัพทที่รวบรวมมา จากนั้นถอด
อินทร์ (ผู้เป็นใหญ่) ค�าว่าธรณินทร์ในที่นี้ใช้เพื่อความไพเราะของบทประพันธ์ คํ า ประพั น ธ บ ทที่ อิ น ทรชิ ต แปลง
มีความหมายอย่างเดียวกับธรณี หมายถึง แผ่นดิน กาย
ธิบดินทร์ คือ อธิบดินทร์ พระราชาผู้เป็นใหญ่ หมายถึง พระราม
นงพาล นางรุ่นสาว ขยายความเขาใจ
นิมิต สร้าง แปลง ท�า ใหนักเรียนเลือกคําศัพทที่นักเรียน
บรรเทือง ประเทือง ท�าให้ดีขึ้น ในที่นี้หมายถึง ตื่นขึ้น สนใจนํามาสรางประโยคจํานวน
5 ประโยค
บิดเบือนกายิน แปลงกาย
โบกขรณี สระบัว
ผกา ดอกไม้ ในที่นี้คือ ดอกบัว นักเรียนควรรู
ผ้าทิพย์ ปกติหมายถึง ผ้าที่ห้อยหน้าฐานพระพุทธรูปหรือหน้าราชอาสน์หรือพนัก พรหมาสตร อานวา พรม-มาด
พลับพลา ในที่นี้คือผ้าที่คลุมตระพองช้างเพื่อตกแต่งให้สวยงาม เปนการสรางคําแบบสมาสอยาง
พรหมาสตร์ ศรที่พระอิศวรประทานให้รณพักตร์ซึ่งต่อมาคืออินทรชิต (ศรที่พระรามได้จาก มีสนธิ (พรหม + ศัสตรา) ศัตรา
ฤษีวศิ วามิตรก็ชอื่ พรหมาสตร์ ทีช่ อื่ ซ�า้ กันเช่นนี ้ เพราะพรหมาสตร์เป็นชือ่ มนตร์ มีความหมายวา อาวุธ
ที่ใช้ชุบศรเมื่อชุบแล้ว ศรนั้นจึงเรียกว่า ศรพรหมาสตร์)
พระจักรี ผู้ถือจักร คือ พระนารายณ์ ในที่นี้หมายถึง พระรามผู้เป็นอวตารปางหนึ่งของ
พระนารายณ์
พระลักษมณ์ พระอนุชาต่างพระมารดาของพระราม เป็นโอรสนางสมุทรชา เมือ่ พระนารายณ์
อวตารลงมาเป็นพระราม สังข์ซึ่งเป็นเทพอาวุธของพระนารายณ์และพญานาค
ซึ่งเป็นบัลลังก์ของพระนารายณ์ก็ลงมาเกิดเป็นพระลักษมณ์คู่บุญของพระราม
พระสุริย์ศรี พระอาทิตย์
พัดโบก เครือ่ งสูงชนิดหนึง่ แสดงถึงอิสริยยศ เป็นพัดส�าหรับโบกลมถวายพระมหากษัตริย์
ซึ่งประทับ ณ ที่สูง
พานรินทร์ ในที่นี้ใช้เพื่อความไพเราะของบทประพันธ์ มีความหมายอย่างเดียวกับพานร
หมายถึง พลวานรในกองทัพพระราม

125

คูมือครู 125
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนพิจารณาคําไวพจนที่
ปรากฏในบทพากยเอราวัณ
ค�าศัพท์ ความหมาย
• คําไวพจนในเรื่องนี้ไดแกคําใด
บาง และมีความหมายอยางไร มยุรฉัตร เครื่องสูงส�าหรับแสดงอิสริยยศ เป็นเครื่องกั้นบังเป็นชั้นๆ ท�าด้วยหางนกยูง
(แนวตอบ คําไวพจนในบทพากย มาตลี มาตลีเป็นชื่อสารถีของพระอินทร์ มาขับรถทรงให้พระราม
เอราวัณ เชน คําที่มีความหมาย
วา “งาม” ไดแกคําวา แยงยล มารยา การแสร้งท�า การล่อลวง
ลําเพา คําที่มีความหมายถึง แย่งยล แยงยล หมายความว่า มองดู
หญิงสาวสวย เชน คําวา เยาวมาลย์ หญิงสาวสวย
นงมาล เยาวมาลย)
• ทําไมในบทพากยเอราวัณจึง โยธาจัตุรงค์ กองทัพ ๔ เหล่า ได้แก่ เหล่าช้าง เหล่าม้า เหล่ารถ และเหล่าราบ (พลเดินเท้า)
มีการใชคําไวพจน รถแก้วโกสีย์ รถทรงที่พระอินทร์ (โกสีย์) ประทานให้พระรามพร้อมสารถี ชื่อ มาตลี
(แนวตอบ เพราะบทพากย รอย เป็นลวดลาย ในความว่า “เพลารอยพลอยประดับดุมวง”
เอราวัณมีลักษณะเดนตรงที่ใช
การพรรณนาโวหารตลอดเรื่อง ระเหิด สูงตระหง่าน
การใชคําไวพจนจึงทําใหการ ราพณ์ ทศกัณฐ์
พรรณนาใชคําไดหลากหลาย
ราศี ในที่นี้หมายถึง ทั่วไป “ศรเต็มไปทั่วราศี” หมายความว่า ศรที่อินทรชิตแผลง
โดยไมเสียความ) ไปนั้นกระจายทั่วไปในท้องฟ้า
รี้พล กระบวนทหาร กองทัพ
ขยายความเขาใจ ฤทธิรงค์ ความสามารถในการรบ (รงค แปลว่า สนามรบ)
1. ใหนักเรียนหาคําไวพจนของคําวา ฤทธิรณ ความสามารถในการรบ (รณ แปลว่า การสู้รบ)
เยาวมาลย จํานวน 10 คํา
เชน นงคราญ วนิดา อรทัย ฤๅษิต มาจาก “ฤๅษิตวิทยา” หมายถึง ผู้รู้อาคม
2. ยกคําประพันธจากวรรณคดี ล�าเพา โฉมงาม
เรื่องอื่นๆ มา 3 คําประพันธ ที่มี โลทัน เป็นชื่อสารถีของอินทรชิต เป็นพลยักษ์กรุงลงกาผู้ขับรถศึกในครั้งต่างๆ
คําไวพจนเหมือนที่นักเรียนหามา
3. ใหนักเรียนคนหาคําศัพทใน วิทยา มาจาก วิทยาธร หมายถึง เทพบุตรพวกหนึ่งมีฐานะต�่ากว่าเทวดา มีหน้าที่เล่น
วรรณคดีไทยที่มีความหมายวา ดนตรีบนสวรรค์
“ชาง” เวไชยันต์ เวชยันต์หรือไวชยันต์ เป็นชื่อวิมานและรถทรงของพระอินทร์ ในสวรรค์ชั้น
(แนวตอบ ตัวอยางเชน กรี (กะรี) ดาวดึงส์มีเมืองไตรตรึงษ์ของพระอินทร์ เมืองไตรตรึงษ์มีวิมานใหญ่งดงามชื่อ
กุญชร กรินทร คช คชา คชาธาร ไพชยนต์ หรือไวชยันต์ หรือเวชยันต์ เมื่อพระอินทร์ปรารถนาจะเสด็จไปที่ใด
มาตงค คชสาร คเชนทร วารณะ วิมานนี้ก็จะเปลี่ยนเป็นพาหนะทรง
สินธุระ หัตถี หัสดิน ทนดี พารณ
พารณะ) 126

126 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
1. นักเรียนชวยกันรวบรวมคําที่แสดง
อาการเคลื่อนไหว นําเสนอหนา
ค�าศัพท์ ความหมาย
ชั้นเรียนคนละ 1 คําพรอมอธิบาย
เวหน ท้องฟ้า ความหมาย
สมรภูมิ สนามรบ 2. บันทึกคําศัพทที่นักเรียนและเพื่อน
นําเสนอลงสมุดของนักเรียน
สร้อยสุมาลี ดอกไม้
สหัสนัยน์ พันตา หมายถึง พระอินทร์
ขยายความเขาใจ
สัตภัณฑ์ ชื่อหมู่เขา ๗ ชั้น ที่ล้อมรอบเขาพระสุเมรุ ได้แก่ ยุคนธร อิสินธร กรวิก
สุทัสนะ เนมินธร วินตกะ และอัสกัณ ใหนักเรียนจับคูนําคําศัพทที่แสดง
สุบรรณ ครุฑ เป็นพาหนะของพระนารายณ์ การเคลื่อนไหว 1 คํา มาแตงบท
ประพันธตามความสนใจของ
นักเรียน 1 บท

นักเรียนควรรู
ครุ ฑ มี ฉ ายานามหลายชื่ อ แต ที่
รูจักกันมากคือ “เวนไตย” (เวนเตยะ)
อมรินทร์ พระอินทร์ กายมีสีเขียว เป็นเทพสูงสุดบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ แปลว า ลู ก นางวิ น ตา เป น ชื่ อ เรี ย ก
อัปสร นางฟ้า พญาครุฑในนิทานเรื่องกากีคํากลอน
ชื่อ “สุบรรณ” แปลวาผูมีขนสีทอง
อารักษ์ เทพารักษ์ เทวดาผู้พิทักษ์
งามรุงเรือง และ “วิษณุรถ” แปลวา
อินทเภรี กลองที่ใช้ตีให้สัญญาณในกองทัพเวลาออกศึกในสมัยโบราณ เช่น ตีบอกให้ พาหนะของพระวิษณุ
ถอย ให้หยุด เป็นต้น
อินทรชิต ยักษ์ตนหนึ่งชื่อเดิมคือ รณพักตร์ เป็นโอรสของทศกัณฐ์
กับนางมณโฑ อินทรชิต แปลว่า รบชนะพระอินทร์

เอราวัณ เป็นเทพบุตรองค์หนึ่งจะเนรมิตเป็นช้างทรง เมื่อพระอินทร์เสด็จ

127

คูมือครู 127
กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
Engage Explore Explain Expand ตรวจสอบผล
Evaluate

กระตุนความสนใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ครูชวนนักเรียนสนทนา ครูถาม
นักเรียนวา
• การที่รณพักตรไดพรและ ๗ บทวิเคราะห์
ศรวิเศษจากเทพทั้งสามนั้น ๗.๑ คุณค่าด้านเนือ้ หา
นักเรียนวาดีหรือไม เอราวัณเป็นช้างทรงของพระอินทร์ มีกายสีขาว มีเศียร ๓๓ เศียร ในไตรภูมิพระร่วงมีการ
• ถานักเรียนเปนรณพักตรได พรรณนาถึงช้างเอราวัณ เมือ่ พระอินทร์เสด็จลงมาสร้างเมืองอโยธยาในเรือ่ งรามเกียรติก์ ม็ บี ทพรรณนา
ครอบครองพรและศรวิเศษ ถึงช้างเอราวัณ โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงบรรยายเหตุการณ์ตอนที่อินทรชิต
จากเทพทั้งสาม นักเรียนจะทํา
แปลงกายเป็นพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณยกทัพไปรบกับพระราม ทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทพากย์
อยางไร
โดยใช้กาพย์ฉบัง ๔๐ บท ด�าเนินเรื่องตั้งแต่อินทรชิตแปลงกายเป็นพระอินทร์ จนถึงสามารถแผลงศร
พรหมาสตร์ถูกพระลักษมณ์ได้ การใช้กาพย์ฉบัง ๑๖ ให้ความรู้สึกโอ่อ่าเหมาะแก่การใช้เป็นบทพากย์
สํารวจคนหา บทพากย์เอราวัณใช้ประกอบกระบวนร�าในการเล่นโขน จุดเด่นของเรื่องจึงไม่อยู่ที่เนื้อเรื่อง
ใหนักเรียนคนหาเกี่ยวกับพรและ การด�าเนินเรื่องราวและการเล่าเรื่องมีขนาดสั้น แต่จะเน้นการพรรณนาความเคลื่อนไหวอันอ่อนช้อย
ศรวิเศษที่รณพักตรไดครอบครอง ของตัวละคร การพรรณนากระบวนทัพเพื่อแสดงให้เห็นความยิ่งใหญ่อลังการในศึกครั้งนี้
• พรและศรวิเศษที่รณพักตรได วรรณคดีเรือ่ งนีแ้ ม้ไม่เด่นด้านเนือ้ เรือ่ ง แต่กท็ รงคุณค่าในประวัตคิ วามเป็นมา บทพากย์เอราวัณ
ครอบครองมีอะไรบาง และ เป็นตอนหนึ่งของเรื่องรามเกียรติ์ที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยน�าเนื้อเรื่องมาแต่งเป็นบทส�าหรับการ
แตละอยางใครเปนผูประทาน แสดงมหรสพการเล่นหนังใหญ่และโขน ประวัติความเป็นมาอันยาวนานท�าให้ผู้อ่านมองเห็นร่องรอย
ใหรณพักตร ทางความคิดของกษัตริยใ์ นช่วงการผลัดเปลีย่ นรัชสมัย เมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา-
(แนวตอบ รณพักตรไดรับ
โลกมหาราชสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ทรงโปรดเกล้าฯ ให้กวีฟื้นฟูบทละครเรื่องรามเกียรติ์ เพื่อใช้ใน
ศรพรหมาสตรและพรในการ
การแสดงละครสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระราช-
แปลงกายเปนพระอินทรจาก
พระอิศวร ไดรับศรนาคบาศ นิพนธ์บทพากย์เอราวัณ บทพากย์นางลอยและบทพากย์นาคบาศ และรัชกาลต่อๆ มาทรงพระราช-
จากพระพรหม และไดรับศร นิพนธ์อีกหลายส�านวน ท�าให้เห็นได้ว่ามีการสานต่อวรรณคดีเรื่องนี้ในฐานะที่เป็นราชูปโภคของ
วิษณุปาณัมจากพระนารายณ) กษัตริย์ กษัตริย์ไทยทรงใช้วรรณคดีในการสร้างเอกลักษณ์ความเป็นชาติ สงครามในรามเกียรติ์นั้น
ยิ่งใหญ่เทียมเท่าเกียรติยศของราชาผู้ปกครองประเทศ รามเกียรติ์จึงเป็นวรรณคดีคู่บ้านคู่เมืองและ
เป็นสัญลักษณ์แห่งความยิ่งใหญ่แสดงบุญญาบารมีของพระมหากษัตริย์ไทย
อธิบายความรู
นักเรียนอภิปรายรวมกันวา
๗.๒ คุณค่าด้านวรรณศิลป์
• เหตุใดอินทรชิตจึงตองแปลงกาย บทพากย์เอราวัณ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีลักษณะ
เปนพระอินทรทรงชางเอราวัณไป เฉพาะทางด้านวรรณศิลป์ที่งดงาม แสดงให้เห็นลีลาการเคลื่อนไหวของตัวละครและรายละเอียดของ
ลวงฝายพระราม ทั้งๆ ที่อินทรชิต ฉากมากกว่าการด�าเนินเรื่องหรือการเล่าเรื่อง วรรณศิลป์ของบทพากย์เอราวัณจะปรากฏชัดเจนใน
ก็มีฝมือในการรบ บทพรรณนา อันสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถทางภาษาของกวี ดังนี้
(แนวตอบ เพราะอินทรชิตเหลือ
เพียงศรวิเศษพรหมาสตร ซึ่งมี
ฤทธิ์แปลงกายเปนพระอินทรได) 128

ขยายความเขาใจ
ใหนักเรียนเลือกบทประพันธตอน
ที่ นั ก เรี ย นประทั บ ใจจากบทพากย
เอราวัณ พรอมอธิบายเหตุผล
แลววาดภาพตามจินตนาการ

128 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับ
การใชโวหารในบทพากยเอราวัณ
๑) การใช้โวหาร ความโดดเด่นด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีทุกเรื่อง นอกจากการ ดังตอไปนี้
เลือกใช้ถ้อยค�าเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกแล้ว กวียังใช้ถ้อยค�าเพื่อสร้างจินตภาพหรือสร้างภาพ • การใชโวหารพรรณนามีความ
ให้เกิดขึ้นแก่ผู้อ่านอีกด้วย ซึ่งบทพากย์เอราวัณกวีได้เลือกใช้ถ้อยค�าเพื่อสร้างภาพโดยพรรณนาโวหาร เหมาะสมกับการดําเนินเรื่อง
ให้เห็นภาพของช้างเอราวัณ ดังบทประพันธ์ อยางไร
(แนวตอบ การพรรณนาทําใหการ
ช้างนิรมิตฤทธิแรงแข็งขัน เผือกผ่องผิวพรรณ ดําเนินเรื่องมีความชัดเจน ผูอาน
สีสังข์สะอาดโอฬาร์ เกิดจิตนภาพคลอยตาม)
สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา
ดังเพชรรัตน์รูจี
ขยายความเขาใจ
งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี สระหนึ่งย่อมมี
เจ็ดกออุบลบันดาล 1. ใหนักเรียนเลือกบทประพันธที่
กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์ ดอกหนึ่งแบ่งบาน นักเรียนประทับใจ แลววิเคราะห
มีกลีบได้เจ็ดกลีบผกา วามีวรรณศิลปอยางไร
2. ครูสุมนักเรียนออกมานําเสนอ
กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองค์โสภา
หนาชั้นเรียน
แน่งน้อยล�าเพานงพาล
นางหนึ่งย่อมมีบริวาร อีกเจ็ดเยาวมาลย์
ล้วนรูปนิรมิตมายา
จับระบ�าร�าร่ายส่ายหา ช�าเลืองหางตา เกร็ดแนะครู
ท�าทีดังเทพอัปสร ครูบูรณาการความรูกับวิชา
มีวิมานแก้วงามบวร ทุกเกศกุญชร คณิตศาสตร จากบทพรรณนาราย
ดังเวไชยันต์อมรินทร์ ละเอียดของชางเอราวัณเศียรหนึ่ง
มี 7 งา งาหนึ่งมี 7 สระ สระหนึ่งมี
จากบทประพันธ์กวีใช้ถ้อยค�าพรรณนาให้เห็นภาพของช้างเอราวัณที่มีกายสีขาวเหมือน กอบัว 7 กอ กอหนึ่งมีดอกบัว 7 ดอก
สีสังข์ มีเศียรงามถึง ๓๓ เศียร โดยแต่ละเศียรมีงา ๗ กิ่งที่มีความสวยงามแวววาวเหมือนเพชร ดอกหนึ่งมี 7 กลีบ กลีบหนึ่งมีนางฟา
ที่งาแต่ละกิ่งมีสระบัว ๗ สระ แต่ละสระมีกอบัว ๗ กอ แต่ละกอมีดอกบัว ๗ ดอก แต่ละดอกมีกลีบ รายรําอยู 7 องค แตละองคมีบริวาร
บัวบาน ๗ กลีบ แต่ละกลีบมีนางฟ้าหรือนางอัปสรรูปงาม ๗ องค์ แต่ละองค์มีบริวารที่เป็นหญิงงาม เปนหญิงงาม 7 คน ใหนักเรียนคิดหา
๗ นาง แสดงอากัปกิรยิ าร่ายร�าด้วยท่าทางเหมือนนางฟ้า ทีเ่ ศียรช้างทุกเศียรมีบษุ บกวิมานงดงามราวกับ คําตอบ คํานวณหญิงงามมีจํานวน
3,882,417 องค
วิมานเวไชยันต์ของพระอินทร์
นอกจากนี้ ยังปรากฏบทพรรณนาที่สร้างจินตภาพให้เกิดขึ้นแก่ผู้อ่าน เมื่อได้อ่านมาถึง
ตอนที่อินทรชิตจะยกกองทัพไปรบกับพระราม ดังบทประพันธ์
129

คูมือครู 129
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนกั เรียนยกคําประพันธทนี่ กั เรียน
คิดวาแสดงความยิ่งใหญที่สุดของ
ชางเอราวัณ พรอมทั้งบอกเหตุผล บรรดาโยธาจัตุรงค์ เปลี่ยนแปลงกายคง
สนับสนุนความคิด เป็นเทพไทเทวัญ
ทัพหน้าอารักษ์ไพรสัณฑ์ ทัพหลังสุบรรณ
กินนรนาคนาคา
ปีกซ้ายฤๅษิตวิทยา คนธรรพ์ปีกขวา
เกร็ดแนะครู ตั้งตามต�ารับทัพชัย
ครูชวนนักเรียนทํากิจกรรมจาก ล้วนถืออาวุธเกรียงไกร โตมรศรชัย
โคลงประจําภาพอินทรชิตออกศึก พระขรรค์คทาถ้วนตน
และแปลงกายเปนพระอินทรที่สมเด็จ
ลอยฟ้ามาในเวหน รีบเร่งรี้พล
พระเจาบรมวงศเธอเจาฟามหามาลา มาถึงสมรภูมิชัย
กรมพระยาบําราบปรปกษทรงนิพนธ ฯ เจรจา ฯ
ไวที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดย
รวมกันถอดคําประพันธ จากบทประพันธ์กวีเลือกใช้ถ้อยค�าพรรณนา เพื่อให้ผู้อ่านมองเห็นภาพกองทัพของ
อินทรชิต แสดงให้เห็นถึงความยิง่ ใหญ่และความพร้อม ซึง่ อินทรชิตได้แปลงกายเป็นพระอินทร์ แปลงกาย
ทหารทั้งสี่เหล่าของตนให้เป็นเทพและอมนุษย์ผู้มีฤทธิ์ การจัดกระบวนทัพเป็นไปตามต�าราสงคราม
@
มุม IT ทหารทุกนายมีอาวุธพร้อมส�าหรับการท�าศึก การจัดกระบวนทัพเป็นดังนี้ เทพารักษ์ประจ�าทัพหน้า
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอมูล ครุฑ กินนรและนาค ทั้งสามประจ�าทัพหลัง วิทยาธรประจ�าปีกซ้าย ส่วนคนธรรพ์ประจ�าปีกขวา
และภาพประกอบชางเอราวัณ ไดที่ กวีใช้ถ้อยค� าเพื่อพรรณนาให้ผู้อ่านมองเห็นภาพของธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ดัง
http://www.himmapan.com/ บทประพันธ์
thai/himmapan_elephant_
เมื่อนั้นจึงพระจักรี พอพระสุริย์ศรี
erawan.html
อรุณเรืองเมฆา
ลมหวนอวลกลิ่นมาลา เฟื่องฟุ้งวนา
นิวาสแถวแนวดง
บูรณาการสูอ าเซียน ผึ้งภู่หมู่คณาเหมหงส์ ร่อนราถาลง
บทพากยเอราวัณเปนตอนหนึ่ง แทรกไซ้ในสร้อยสุมาลี
ของเรื่องรามเกียรติ์ที่รัชกาลที่ 2 ดุเหว่าเร้าเร่งพระสุริย์ศรี ไก่ขันปีกตี
ทรงปรับปรุงใหเปนการละครไทยที่ กู่ก้องในท้องดงดาน
มาตรฐานสูงขึ้น ซึ่งทรงคุณคายิ่งแก ปักษาตื่นตาขันขาน หาคู่เคียงประสาน
การละครไทย และเนื่องในโอกาส ส�าเนียงเสนาะในไพร
มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ
รัชกาลที่ 9 กระทรวงวัฒนธรรม ได 130
บูรณาการความรวมมือกับประเทศ
สมาชิกอาเซียนจัดการแสดงมหกรรม
รามายณะนานาชาติ ขึ้ น โดยเสนอ
แนวคิดหลักในการจัดงานเพื่อสงเสริมความเขาใจดานศิลปวัฒนธรรมรวมกัน ระหวางประเทศในภูมิภาคอาเซียน โดยนํามหากาพยเรื่องรามายณะ
หรือที่ชาวไทยรูจักกันในชื่อรามเกียรติ์ อันเปนวรรณกรรมซึ่งถือเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่หลายประเทศในภูมิภาคอาเซียนรูจัก และมีการนําเรื่องนี้
มารอยเรียงจัดเปนการแสดงมหกรรมรามายณะนานาชาติ โดยเชิญประเทศอินเดียซึ่งเปนตนกําเนิดของมหากาพยรามายณะเขารวมแสดงดวย เพื่อเปด
โอกาสใหประชาชนชาวไทยไดชมการแสดงรามายณะอันหลากหลายจากนานาประเทศซึ่งผสมผสานไปดวยความแตกตางและความคลายคลึง

130 คูมือครู
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ
ใหนกั เรียนเขียนความเรียงพรรณนา
ถึงชางเอราวัณตามจินตภาพของ
เดือนดาวดับเศร้าแสงใส สร่างแสงอโณทัย นักเรียน ความยาว 10 บรรทัด
ก็ผ่านพยับรองเรือง
จับฟ้าอากาศแลเหลือง ธิบดินทร์เธอบรรเทือง
บรรทมฟื้นจากไสยา
ฯ เจรจา ฯ เกร็ดแนะครู
ครูชใี้ หนกั เรียนเห็นวา วรรณคดีไทย
จากบทประพันธ์นี้ กวีเลือกใช้ถ้อยค�าเพื่อสร้างภาพในจินตนาการของผู้อ่าน พรรณนา ตั้งแตยุครัชกาลที่ 2 ซึ่งมีสุนทรภูเปน
ให้เห็นบรรยากาศยามเช้าเมื่อพระรามตื่นจากบรรทมได้ทอดพระเนตรธรรมชาติยามเช้า แมลงและ กวีเอกประจํารัชสมัย นิยมใชกลอน
ผึ้งออกหาอาหาร นกนานาชนิดที่ส่งเสียงร้องก้องแนวป่า ทั้งเดือนและดวงดาวต่างดับแสงลงเมื่อ สุภาพประพันธรอยกรอง และนิยมใช
แสงอาทิตย์โผล่พ้นขอบฟ้า สัมผัสในอยางนอย 1 คูในวรรค เมื่อ
ส่ ว นบทพรรณนากองทั พ ของพระรามยั ง ได้ ส ร้ า งจิ น ตภาพความคึ ก คั ก ของการจั ด ประพันธรอ ยกรองดวยฉันทลักษณอนื่
กระบวนทัพ มีการใช้ค�าขยายให้เกิดความโอ่อ่างดงาม กวีจงึ ยังนิยมใหมเี สียงสัมผัสในภายใน
วรรคดวยเสมอ
อึงอินทเภรีตีระงม แตรสังข์เสียงประสม
ประสานเสนาะในไพร
เสียงพลโห่ร้องเอาชัย
พิภพเพียงท�าลาย
เลื่อนลั่นสนั่นใน นักเรียนควรรู
สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย
ฉิมพลี หรือสิมพลี สันนิษฐานวา
ประนอมประนมชมชัย น า จะปรากฏในวรรณคดี ไ ทยเป น
ครั้งแรกในไตรภูมิพระรวง ที่กลาววา
พสุธาอากาศหวาดไหว เนื้อนกตกใจ โลหสิมพลีนรก เปนนรกบาวคํารบ 15
ซุกซ่อนประหวั่นขวัญหนี ทางนรกใหญที่ชื่อสัญชีพนรก ตอมา
ลูกครุฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี “สิมพลี” ปรากฏในกากีกลอนสุภาพ
คาบช้างก็วางไอยรา ของเจาพระยาพระคลัง (หน) กลาวถึง
วานรส�าแดงเดชา หักถอนพฤกษา สิมพลีวา เปนวิมานทีอ่ ยูข องพญาครุฑ
ถือต่างอาวุธยุทธยง และเปนทีค่ บชูส ชู ายของนางกากีและ
นาฏกุเวรคนธรรพ ที่มาของชื่อวิมาน
จากบทประพันธ์นี้ได้แสดงให้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ของกองทัพของพระราม รวมถึงบุญ- สิมพลีนี้ คงเพราะตองการแนะวาผูที่
ญาธิการของพระองค์ ซึ่งความยิ่งใหญ่และเสียงโห่ร้องเอาฤกษ์เอาชัยในครั้งนี้สร้างความอกสั่นขวัญ ประพฤติผิดในกามจะตองตายไปตก
หายให้กับบรรดาสัตว์ป่าและนกนานาชนิด แม้กระทั่งนกหัสดีลิงค์ที่ก�าลังคาบช้างอยู่ยังตกใจจนปล่อย อยูในโลหสิมพลีนรก ดังนั้น “สิมพลี”
ช้างออกจากปาก พลทหารวานรต่างพากันฮึกเหิมหักโค่นต้นไม้มาเป็นอาวุธพร้อมรบ จึงเปนทัง้ ชือ่ นรกและวิมานในดินแดน
ที่หางไกลมนุษย
131

คูมือครู 131
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนักเรียนอธิบายการใชภาพพจน
ในบทพากยเอราวัณ
• นักเรียนพบโวหารภาพพจน ๒) การใช้ภาพพจน์ บทพากย์เอราวัณพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธ-
ชนิดใดบาง เลิศหล้านภาลัย ปรากฏลักษณะการใช้ภาพพจน์เพื่อสร้างจินตนาการให้แก่ผู้อ่าน ผู้ฟัง ดังต่อไปนี้
(แนวตอบ พบการใชภาพพจน ๒.๑) อติพจน์ คือการกล่าวเกินจริง วรรณคดีไทยกวีมักเลือกใช้โวหารอติพจน์หรือ
อติพจนและบุคคลวัต) การกล่าวเกินจริงในเรื่องที่ต้องการให้ผู้อ่านสัมผัสความยิ่งใหญ่ ซึ่งวรรณคดีเรื่องบทพากย์เอราวัณ
• การใชโวหารภาพพจนชนิดนั้น ปรากฏลักษณะเช่นนี้ ดังบทประพันธ์
สงผลตอเรื่องอยางไรบาง
เสียงพลโห่ร้องเอาชัย เลื่อนลั่นสนั่นใน
(แนวตอบ การใชโวหารภาพพจน
พิภพเพียงท�าลาย
อติพจน และบุคคลวัตทั้งหมดนี้
ทําใหผอู า นสรางภาพในจินตนา- จากบทประพันธ์ดังกล่าว กวีได้ใช้อติพจน์ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบเกินจริงเพื่อ
การไดชดั เจน แสดงความยิง่ ใหญ กล่าวว่า เมื่อกองทัพของพระลักษมณ์จะสู้รบกับกองทัพของอินทรชิตได้มีการเปล่งเสียงโห่ร้องของ
และสมจริ ง และการใช คํ า ซํ้ า ทหาร ซึ่งการโห่ร้องในครั้งนี้ท�าให้เกิดเสียงดังราวกับว่าจะท�าให้โลกพังทลายย่อยยับลง
ทําใหเกิดเสียงไพเราะ เชน เศียร
แม้บทประพันธ์นจี้ ะปรากฏค�าว่า “เพียง” ซึง่ เป็นค�าทีใ่ ช้ในการเปรียบเทียบ (อุปมา)
หนึ่งเจ็ดงา งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี
แต่หลักการใช้คา� เปรียบเทียบจะต้องมีตวั เทียบเพือ่ ให้เห็นความเหมือนระหว่างสองสิง่ วรรคทีว่ า่ “พิภพ
เจ็ดกออุบลบันดาล เปนตน)
เพียงท�ำลำย” จะไม่เห็นการเปรียบเทียบพิภพกับสิง่ ใด ในทีน่ กี้ ารใช้คา� ว่า “เพียง” จึงให้ความหมายว่า
ราวกับโลกจะถูกท�าลายให้พินาศย่อยยับ เป็นการเพิ่มกระบวนจินตภาพให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ขยายความเขาใจ ๒.๒) บุคคลวัต คือการสมมติหรือก�าหนดให้สิ่งไม่มีชีวิตสามารถแสดงอากัปกิริยา
ใหนักเรียนยกตัวอยางบทประพันธ ได้เช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิต เช่น ฟ้าร้องไห้ ภูเขายกมือไหว้ เป็นต้น บทพากย์เอราวัณใช้บุคคลวัต
ทีม่ กี ารใชภาพพจนและเสียงสัมผัสใน ดังบทประพันธ์
ทีช่ ว ยใหการอานมีความไพเราะ สัตภัณฑ์บรรพตทั้งหลาย อ่อนเอียงเพียงปลาย
(แนวตอบ เชน การใชภาพพจน ประนอมประนมชมชัย
บุคคลวัต
สัตภัณฑบรรพตทั้งหลาย จากบทประพันธ์กวีได้สมมติให้ภเู ขาทัง้ หลายแสดงอากัปกิรยิ าของมนุษย์ คือ อาการ
ออนเอียงเพียงปลาย พนมมือไหว้
ประนอมประนมชมชัย ๓) การเล่นเสียง ในวรรคแรกของเกือบทุกบททีก่ ล่าวถึงช้างเอราวัณ จะมีเสียงสัมผัสใน
ซึ่งปรากฏทั้งสัมผัสอักษรและสัมผัสสระ ช่วยให้การอ่านหรือการพากย์มีความไพเราะขึ้น เช่น
เปนตน)
“อินทรชิตบิดเบือนกายิน”
เสียงสัมผัสใน คือ ชิต - บิด (สัมผัสสระ) บิด - เบือน (สัมผัสอักษร)
เกร็ดแนะครู
ครู แ นะนํ า นั ก เรี ย นว า นอกจาก
ภาพพจนอติพจนที่เปนการกลาวเกิน 132
จริ ง เพื่ อ ให ผู  อ  า นเกิ ด จิ น ตภาพถึ ง
ความยิ่ ง ใหญ ม ากสุ ด ประมาณแล ว
ยั ง มี ภ าพพจน อ วพจน ซึ่ ง เป น การ
กล า วเปรี ย บเที ย บให น  อ ยเกิ น จริ ง
เป น การเน น ให เ ห็ น ความไม สํ า คั ญ
น อ ยนิ ด เช น บ า นของเขาเล็ ก กว า
รูหนู เปนตน

132 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Evaluate

อธิบายความรู
ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา
• ในสังคมไทยมีความเชื่อหรือ
“ช้างนิมิตฤทธิแรงแข็งขัน” ทัศนคติอยางไรตอชางเอราวัณ
เสียงสัมผัสใน คือ มิตร - ฤทธิ์ (สัมผัสสระ) ฤทธิ - แรง (สัมผัสอักษร) (แนวตอบ คนไทยมีคานิยมยกยอง
ชาง เพราะเปนสัตวใหญมีพลัง
๗.๓ คุณค่าด้านสังคมและสะท้อนวิถไี ทย เปนสัญลักษณของชาติ และถือวา
บทพากย์เอราวัณเป็นวรรณคดีที่นับได้ว่ามีความโดดเด่นทางด้านวรรณศิลป์อย่างเด่นชัด ชางเปนสัตวคบู ารมีของกษัตริยไ ทย
และในขณะเดียวกันยังได้สะท้อนให้เห็นสภาพสังคมของสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ดังต่อไปนี้ คนไทยสวนหนึ่งใหความเคารพ
๑) ความเชื่อในเรื่องเทพเจ้า ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เพราะเนื้อหาและเรื่องราว ชางเอราวัณ โดยปรากฏใหเห็น
วามีการสรางรูปเคารพชางเอราวัณ
ล้วนมีความเกี่ยวข้องกับพระอิศวร พระพรหม พระนารายณ์ พระอินทร์ บทพากย์เอราวัณได้สะท้อน
หรื อ สถาป ต ยกรรมที่ เ ป น รู ป ช า ง
ให้เห็นว่าในช่วงระยะเวลาดังกล่าวหรือก่อนหน้านั้น ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูได้เข้ามามีอิทธิพลต่อความ เอราวัณดวย)
คิดความเชื่อของสังคมไทย จนกระทั่งสะท้อนออกมาในรูปแบบของศิลปกรรม นาฏศิลป์ วรรณกรรม
๒) ความเชื่อในเรื่องโชคลาง ในบทพากย์เอราวัณ ซึ่งมีเนื้อหาพรรณนาให้เห็นภาพ
กองทัพของอินทรชิตและพระลักษมณ์ทพี่ ร้อมสูร้ บกัน ได้สะท้อนให้เห็นความเชือ่ บางประการทีม่ คี วาม ขยายความเขาใจ
เกี่ยวโยงกับศาสนาพราหมณ์-ฮินดู กล่าวคือ เมื่อกองทัพของพระลักษมณ์พร้อมที่จะสู้รบกับกองทัพ ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา
ของอินทรชิตได้มีการเป่าแตรและสังข์ พร้อมกับที่ทหารหาญโห่ร้องเอาชัย ดังบทประพันธ์ • ปจจุบันในสังคมไทยยังปรากฏ
ความเชื่อเรื่องเทพเจาอยูหรือไม
อึงอินทเภรีตีระงม แตรสังข์เสียงประสม สังเกตจากอะไร
ประสานเสนาะในไพร (แนวตอบ ยังปรากฏความเชื่อเรื่อง
เสียงพลโห่ร้องเอาชัย เลื่อนลั่นสนั่นใน เทพเจาอยู สังเกตไดจากรูปเคารพ
พิภพเพียงท�าลาย เทวรูปทีป่ ระดิษฐานอยูต ามสถานที่
ตางๆ)
จากบทประพันธ์กองทัพของพระลักษมณ์ได้มี
การเป่าแตรและสังข์ก่อนออกทัพ ซึ่งธรรมเนียมนิยมนี้ได้มา
จากศาสนาพราหมณ์-ฮินดู กล่าวคือ ตามวรรณคดีกล่าวไว้ว่า
พระอินทร์เป่าสังข์ปลุกพระนารายณ์ให้ตื่นจากบรรทมสินธุ์
ในสะดือทะเลเพื่อขึ้นมาปราบยุคเข็ญในโลก สังข์ตามลัทธิ
พราหมณ์ถือว่าเป็นมงคล ๓ ประการ คือ สังข์ถือก�ำเนิดจำก
พระพรหม ท้องสังข์เคยเป็นที่ซอนคัมภีร์พระเวท เพรำะใน
ครั้งหนึ่งขณะที่พระพรหมลงสรงน�้ำในพระมหำสุมทร ได้น�ำ
คัมภีร์พระเวทไปวำงไว้ที่ริมฝง สังขรอสูรคิดแกล้งพระพรหม
จึงกลืนคัมภีร์พระเวทลงไป เมื่อพระพรหมขึ้นมำจำกสรงน�้ำ พรำหมณ์หลวงผู้ท�ำพิธีในรำชส�ำนัก
133

คูมือครู 133
ขยายความเขาใจ
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Evaluate

ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


จากขอคิดควรใชชีวิตอยางมีสติ
ในบทพากยเอราวัณ นักเรียนชวยกัน
แสดงความคิดเห็นวา เห็นคัมภีร์พระเวทหำยไปจึงไปทูลพระอิศวรให้ทรงทรำบ พระอิศวรจึงให้พระนำรำยณ์เป็นผู้ไปปรำบ
• เหตุใดจึงควรนําขอคิดนี้ไปใช โดยพระองค์อวตำรเป็นปลำกรำย (มัจฉำอวตำร) เมื่อทรงได้รับชัยชนะจึงแหวกอกของสังขรอสูรน�ำ
ในชีวิตประจําวัน คัมภีร์พระเวทออกมำ และตัวสังข์มีรอยนิ้วพระหัตถ์ของพระนำรำยณ์ ในพิธีทางศาสนาพราหมณ์จึงมี
(แนวตอบ ควรใชชีวิตอยางมีสติ การเป่าสังข์เพื่อความเป็นสิริมงคล สังข์ถือเป็นเครื่องเป่าชนิดหนึ่งท�าจากเปลือกหอยสังข์ โดยน�ามา
เห็นไดจากพระลักษมณตองศร ขัดให้เกลีย้ งเกลาแล้วเจาะก้นหอยให้ทะลุเป็นช่องส�าหรับเป่า ซึง่ การเป่าสังข์ถอื ว่าเป็นของขลังศักดิส์ ทิ ธิ์
ของอินทรชิต เพราะความลุม หลง ใช้เฉพาะงานที่มีเกียรติสูงและให้เป่าคู่กับแตร
ในรูปไมมสี ติ ความห ลงมักทําให
ลืมตัวขาดสติจนเกิดภัยแก ๗.๔ ข้อคิดทีส่ ามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจ�าวัน
ตนเอง) บทพากย์เอราวัณเป็นวรรณคดีที่ถือก�าเนิดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความบันเทิงใจ แต่
อย่างไรก็ตามผู้อ่านยังสามารถพบข้อคิดที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าวันได้ ดังนี้
๑) การตั้งใจศึกษาเล่าเรียน กล่าวถึงภูมิหลังของอินทรชิตโอรสของทศกัณฐ์ที่มี
เกร็ดแนะครู ความสามารถเชี่ยวชาญทางด้านการรบ สามารถแปลงกายเป็นพระอินทร์ได้ เนื่องมาจากเมื่ออายุได้
๑๕ ปี ได้ลาพระบิดาเพื่อไปเรียนศิลปวิทยา บ�าเพ็ญพรตเพื่อขอพรและศรวิเศษจากพระอิศวร
ครูแนะนํานักเรียนวา หากมีโอกาส พระนารายณ์และพระพรหม ดังนั้นในชีวิตประจ�าวันเราจึงควรที่จะฝึกตนให้เป็นคนใฝ่รู้ใฝ่เรียนเพื่อ
ควรหาเวลาศึ ก ษาวรรณคดี เ รื่ อ ง
ประโยชน์ในอนาคต
ไตรภูมพิ ระรวง เนือ่ งจากเปนวรรณคดี
ที่สะทอนคติความเชื่อทางพระพุทธ- ๒) การให้อ�านาจแก่บุคคลใดควรไตร่ตรองให้ดี กล่าวคือ พระอิศวร พระนารายณ์
ศาสนาที่ไทยรับมาจากอินเดีย หาก และพระพรหมได้ประทานพรและศรวิเศษให้แก่อินทรชิต แต่อินทรชิตได้น�าไปใช้เพื่อการสงคราม
ศึกษาเรื่องนี้แลวก็จะเขาใจพื้นฐาน ท�าลายล้าง ก่อให้เกิดความสูญเสียเพราะอินทรชิตเป็นคนเหิมเกริม ไม่มีสติในการด�ารงชีวิต หากเทพ
ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติของกวีที่ ทั้งสามองค์ไตร่ตรองพิจารณาลักษณะนิสัยของอินทรชิตอย่างลึกซึ้งก็จะไม่ให้ตามค�าขอ สงครามก็จะ
ปรากฏในวรรณคดีเรือ่ งตางๆ ไดดขี นึ้ ไม่เกิดขึ้น
๓) การมีอ�านาจควรใช้ไปในทางที่ถูกต้อง เมื่ออินทรชิตได้รับพรและศรวิเศษจาก
เทพทั้งสามองค์จึงบังเกิดความเหิมเกริม ใช้ศรวิเศษไปในทางที่ผิด ในชีวิตประจ�าวันของเราก็เช่นกัน
ถ้าเรามีความรู้ ซึ่งเปรียบเหมือนเครื่องมือที่ใช้ในการประกอบอาชีพ แต่หากน�าไปใช้ในทางที่ผิด
ความรู้ก็จะกลายเป็นอาวุธร้ายท�าลายผู้อื่นและประเทศชาติ ศรวิเศษของอินทรชิตจึงเหมือนความรู้ที่
เป็นดาบสองคมต้องใช้ให้ถูกทาง
๔) การใช้ชีวิตอย่างมีสติ บทพากย์เอราวัณเป็นเรื่องราวตอนที่อินทรชิตแปลงตน
และกองทั พ ให้ เ ป็ น กองทั พ ของพระอิ น ทร์ เ พื่ อ ต่ อ สู ้ กั บ กองทั พ ของพระลั ก ษมณ์ ในที่ สุ ด แล้ ว
พระลักษมณ์ต้องศรพรหมาสตร์ของอินทรชิตซึ่งสาเหตุประการส�าคัญที่ท�าให้พระลักษมณ์ต้องศร
ก็เพราะว่า พระลักษมณ์เคลิ้มพระองค์ไปกับระบ�าที่อินทรชิตสั่งให้บริวารจัดให้ชม ดังบทประพันธ์

134

134 คูมือครู
ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู Expand Evaluate
Engage Explore Explain

ขยายความเขาใจ
นั ก เรี ย นนํ า ข อ คิ ด จากบทพากย
เอราวัณไปประยุกตใชในชีวิตประจํา
เมื่อนั้นอินทรชิตยักษี ตรัสสั่งเสนี วันไดในเรื่องใดบาง บันทึกลงสมุด
ให้จับระบ�าร�าถวาย (แนวตอบ
ให้องค์อนุชานารายณ์ เคลิบเคลิ้มวรกาย 1. เมือ่ นอยใหเรียนวิชา สะทอนจาก
จะแผลงซึ่งศัสตรศรพล อินทรชิตในวัยเยาว ไดศกึ ษาวิชา
ฯ เจรจา ฯ ตางๆ จนมีความสามารถ ชีวิต
อินทรชิตสถิตเหนือเอรา วัณทอดทัศนา ประจําวันของเราควรหมัน่ ฝกฝน
เห็นองค์พระลักษมณ์ฤทธิรงค์ ใฝรูใฝเรียน
... 2. ควรใชชีวิตอยางมีสติ รอบคอบ
ศรเต็มไปทั่วราศี ต้ององค์อินทรีย์ พิจารณาสิง่ ตางๆ อยางไตรตรอง
พระลักษมณ์ก็กลิ้งกลางพล ไมหลงเชือ่ อะไรงายๆ
ฯ เจรจา อินทรชิตกลับทัพ ฯ 3. ผูที่มีอํานาจควรใชอํานาจ
ฯลฯ ในทางที่ถูกที่ควร ไมนําไปใช
ในทางที่ผิด)
หากน�ามาเปรียบเทียบกับการใช้ชีวิตในปัจจุบันที่มากมายด้วยสิ่งอันล่อตาล่อใจ จะท�า
ให้ได้แง่คิดว่าควรใช้ชีวิตอย่างระมัดระวัง มีสติ หากไม่มีสติในการใช้ชีวิตแล้วจะเกิดความสูญเสีย ตรวจสอบผล
๕) สงครามคือความสูญเสีย บทพากย์เอราวัณได้น�าเนื้อเรื่องมาจากรามเกียรติ์ ซึ่ง 1. ครูสุมตัวอยางนักเรียนแตละคน
เป็นเรื่องราวการท�าสงครามระหว่างมนุษย์และยักษ์โดยมีสาเหตุมาจากการแย่งชิงนางสีดา สงคราม ในหองเรียนสรุปเรื่องยอวา ใคร
เกิดขึ้นบ่อยครั้งและในทุกครั้งก็ได้สร้างความเสียหายให้เกิดขึ้น เช่น หลังจากที่กุมภกรรณอนุชาของ ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร
ทศกัณฐ์ถกู สังหารไปแล้ว อินทรชิตจึงอาสาออกรบซึง่ สงครามในครัง้ นีพ้ ระลักษมณ์ตอ้ งศรของอินทรชิต แลวเขียนลงในสมุด
แต่ฝ่ายพระรามก็สามารถแก้พิษศรได้ เมื่ออินทรชิตออกรบอีกครั้งจึงถูกสังหาร จะเห็นว่าสงคราม 2. นักเรียนยกคําประพันธที่ใหคุณคา
ไม่ได้ท�าให้ใครได้รับประโยชน์ แม้กระทั่งผู้ก่อสงคราม ดังนั้นเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น ไม่ควรใช้ก�าลัง ดานวรรณศิลปและสังคม
ห�้าหั่นกันแต่ควรใช้สติปัญญาในการแก้ไขปัญหา 3. นักเรียนทองจําบทอาขยาน
ตามที่กําหนด
บทพากย์เอราวัณ เป็นบทพระราชนิพนธ์ที่เลือกลักษณะคÓประพันธ์ได้เหมาะสม 4. นักเรียนบอกขอคิดที่สามารถนําไป
กับเนือ้ หา กล่าวคือ ใช้กาพย์ฉบัง ๑๖ สÓหรับพรรณนาเรือ่ งราวทีก่ ระชับรวดเร็ว เช่น การ ปรับใชไดในชีวิตจริง
เดินทาง การรบ (ฉบัง หมายถึง การต่อสู้) อีกประการหนึ่ง คือกาพย์ฉบังมีฉันทลักษณ์ 5. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวย
ไม่ยาวนักซึ่งเหมาะสÓหรับผู้อ่านจะได้ลองฝึกพากย์ตามบท มีคุณค่าทางวรรณศิลป์ด้วย การเรียนรู
การใช้คÓที่เหมาะสมจนสามารถจดจÓกันได้โดยทั่วไป เหมาะสมสÓหรับเป็นบทพากย์
ในการแสดงโขนที่จะทÓให้ผู้ชมได้รับอรรถรส ความสนุกสนาน ชื่นชมความงามของ
ท่าทางร่ายรÓ ความอลังการของฉาก ทÓให้เกิดจินตนาการ เกิดความประทับใจในศิลป-
วัฒนธรรมที่ควรส่งเสริมและอนุรักษ์ไว้เป็นมรดกของชาติสืบไป
เกร็ดแนะครู
135 จากบทพากยเอราวัณ ปรากฏคํายืม
ที่เปนภาษาเขมร ไดแก คําวา ตรัส
ถวาย อํ า นาจ ครู ช วนนั ก เรี ย นหา
คําศัพททเี่ ปนคํายืมภาษาเขมรทีใ่ ชใน
ภาษาไทย เชน เสด็จ ตําบล บํานาญ
บําเหน็จ เปนตน

คูมือครู 135
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)
เกร็ดแนะครู
(แนวตอบ คําถามประจําหนวย
การเรียนรู
1. ชางเอราวัณมีลักษณะกายสีขาว ค�ำถำม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้
เหมือนสีสงั ข มีเศียรงามทัง้ 33 เศียร
โดยแตละเศียรมีงา 7 กิ่ง แตละกิ่ง ๑. ในจินตนาการของนักเรียน ช้างเอราวัณมีลักษณะอย่างไร ให้วาดภาพประกอบ
มีสระบัว 7 สระ แตละสระมีกอบัว ๒. บทประพันธ์ใดที่นักเรียนคิดว่ามีความไพเราะมากที่สุด เพราะเหตุใด
7 กอ แตละกอมีดอกบัว 7 ดอก แตละ ๓. ข้อคิดที่ได้รับจากบทพากย์เอราวัณเกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง
ดอกมีกลีบบัวบาน 7 กลีบ แตละกลีบ ๔. คุณค่าทางด้านใดของบทพากย์เอราวัณที่มีความโดดเด่นมากที่สุด
มีนางฟา 7 องค แตละองคมีบริวาร ๕. บทพากย์เอราวัณได้สะท้อนให้เห็นคุณค่าด้านสังคมและวิถีไทยเกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง
เปนหญิงงาม 7 นาง ที่เศียรชางทุก
เศียรมีบุษบกวิมาน
2. คําตอบขึ้นอยูกับความคิดของ
นักเรียน
3. ขอคิดที่ไดรับจากเรื่อง
1. สงครามทําใหเกิดความ
สูญเสียทั้ง 2 ฝาย
2. เมื่อนอยใหเรียนวิชา
3. การใหอํานาจแกบุคคลใด
ควรไตรตรองใหดี กิจกรรม สร้ำงสรรค์พัฒนำกำรเรียนรู้
4. เมื่อมีอํานาจควรใชในทางที่ถูก
กิจกรรมที่ ๑ ศกึ ษาบทพากย์โขนตอนอืน่ ๆ ทีน่ กั เรียนสนใจเปรียบเทียบกลวิธกี ารใช้ภาษาว่ามีความ
ที่ควร สอดคล้องกับเนื้อหา ฉาก และอารมณ์ความรู้สึกของตัวละครในเรื่องอย่างไร
4. คุณคาดานวรรณศิลป เพราะสะทอน กิจกรรมที่ ๒ นักเรียนอ่านบทพากย์เอราวัณในแบบท�านองเสนาะ ฝึกพากย์โขนแล้วลองสังเกต
ใหเห็นการสรรคําของกวี มีการใช เปรียบเทียบว่าแบบใดเกิดรสความ รสค�าไพเราะกว่ากัน
โวหารคมคาย ใชภาพพจนใหเห็น
ชัดเจน และมีการเลนสัมผัส ทั้ง
สัมผัสสระและสัมผัสอักษรใหเกิด
ความไพเราะ และเห็นการ
เคลื่อนไหวของตัวละครเดนชัด
5. สะทอนใหเห็นความเชือ่ ของคนไทย
ในเรื่องเทพเจา โชคลาง ศาสนา
เปนตน)

136
หลักฐาน
แสดงผลการเรียนรู
1. การสรุปเรื่องยอเปนแผนผัง
ความคิด
2. ตัวอยางคําประพันธที่มีคุณคา
ดานวรรณศิลปและสังคม
3. ทองจําบทประพันธตามที่กําหนด

136 คูมือครู
กระตุน ความสนใจ
Engage สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Explore Explain Expand Evaluate

เปาหมายการเรียนรู
ทองจําบทอาขยานและบอกคุณคา
บทอาขยาน บทอาขยานที่กําหนด

๑ การท่องจÓบทอาขยาน กระตุนความสนใจ
ค�ำว่ำ อาขยาน (อำ - ขะ - หฺยำน) ตำมควำมหมำยจำกพจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำน
พุทธศักรำช ๒๕๕๔ หมำยถึง บทท่องจ�ำ กำรเล่ำ กำรบอก กำรสวด เรื่อง นิทำน ครูสนทนาเกี่ยวกับการทองบท
อาขยานดวยคําถาม
ตั้งแต่พุทธศักรำช ๒๕๔๒ เป็นต้นมำ กระทรวงศึกษำธิกำรได้ก�ำหนดให้มีกำรท่องบทอำขยำน
• นักเรียนเคยทองบทอาขยาน
ในสถำนศึกษำขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนมีโอกำสท่องจ�ำบทร้อยกรองที่มีควำมไพเรำะ ให้คติสอนใจ
เรื่องใดบาง นักเรียนจําได
ซึ่งเป็นกำรส่งเสริมให้นักเรียนเกิดควำมซำบซึ้ง เห็นควำมงดงำมทำงภำษำและเห็นคุณค่ำของภำษำ หรือไม
และวรรณคดีไทยที่เป็นเอกลักษณ์และมรดกทำงวัฒนธรรมของชำติควรค่ำแก่กำรรักษำและสืบสำน • บทขยานใดที่นักเรียนชื่นชอบ
ให้คงอยู่ตลอดไป รวมทั้งยังช่วยกล่อมเกลำจิตใจให้น�ำไปสู่กำรด�ำเนินชีวิตที่ดีงำมอีกด้วย ประทับใจที่สุด พรอมใหเหตุผล
หลักการในการอ่านบทอาขยาน • นักเรียนชวยกันตอบวา
กำรอ่ำนบทอำขยำนส่วนใหญ่เป็นกำรอ่ำนออกเสียง คือ ผู้อ่ำนเปล่งเสียงออกมำดังๆ ในขณะ ทําอยางไรจึงจะอาน
ที่ใช้สำยตำกวำดไปตำมตัวอักษร ยึดหลักกำรอ่ำนออกเสียงเหมือนหลักกำรอ่ำนทั่วไป เพื่อให้กำรอ่ำน บทอาขยานไดไพเราะ
ออกเสียงมีประสิทธิภำพควรฝึกฝน ดังนี้
๑. กวำดสำยตำจำกค�ำต้นวรรคไปยังท้ำยวรรค และเคลือ่ นสำยตำไปยังวรรคถัดไปอย่ำงรวดเร็ว
โดยไม่ต้องส่ำยหน้ำ
๒. ฝึกเปล่งเสียงให้ดังพอประมำณโดยพิจำรณำถึงกลุ่มผู้ฟังและสถำนที่ แต่ไม่ตะโกน ควร
บังคับเสียง เน้นเสียง ปรับระดับเสียงสูง-ต�่ำ ให้สอดคล้องกับจังหวะ ลีลำ ท่วงท�ำนองและควำมหมำย
ของเนื้อหำที่อ่ำน
๓. อ่ำนด้วยเสียงที่ชัดเจน แจ่มใส ไพเรำะ มีกระแสเสียงเดียว ไม่แตกพร่ำ เปล่งเสียงจำก
ล�ำคอโดยตรงด้วยควำมมั่นใจ
๔. ควรทรงตัวและรักษำอำกัปกิรยิ ำให้ถกู วิธ ี จะช่วยให้ระบบกล้ำมเนือ้ ต่ำงๆ ท�ำงำนประสำนกัน
ท�ำให้เปล่งเสียงได้ดี มีท่วงท่ำน่ำเชื่อถือ ลักษณะกำรทรงตัวที่ถูกวิธีคือ ไม่ว่ำจะยืนหรือนั่งอ่ำน ล�ำตัว
ต้องตั้งตรงและอยู่ในอำกำรสมดุล ควรถือบทหรือหนังสือห่ำงจำกสำยตำประมำณหนึ่งฟุต ขณะอ่ำน
พยำยำมให้ล�ำคอตั้งตรง เงยหน้ำเล็กน้อย สบตำกับผู้ฟังเป็นระยะๆ
๕. อ่ำนออกเสียงให้ถูกอักขรวิธีหรือควำมนิยม และต้องเข้ำใจเนื้อหำของบทอำขยำน
๖. อ่ำนออกเสียง ร ล ค�ำควบกล�้ำให้ถูกต้องชัดเจน
๗. อ่ำนให้ถูกจังหวะและวรรคตอน
๘. พยำยำมอ่ำนให้ได้อำรมณ์และควำมรู้สึกตำมเนื้อหำ
137

คูมือครู 137
สํารวจคนหา อธิบายความรู
กระตุนความสนใจ Explore Explain ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Expand Evaluate

สํารวจคนหา (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)


ใหนกั เรียนเลือกทองจําคําประพันธ
ที่ ช อบพร อ มทั้ ง บอกเหตุ ผ ลที่ เ ลื อ ก
เพราะอะไร ๒ บทอาขยานระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๓
๒.๑ บทอาขยานหลัก
อธิบายความรู อิศรญาณภาษิต
1. ใหนักเรียนถอดคําประพันธเปน   ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสารโบราณว่า  น�้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าอัชฌาสัย
ภาษาของนักเรียนเอง 1 หัวขอ เราก็จิตคิดดูเล่าเขาก็ใจ  รักกันไว้ดีกว่าชังระวังการ
จากบทอาขยานหลักอิศรญาณ ผู้ใดดีดีต่ออย่าก่อกิจ  ผู้ใดผิดผ่อนพักอย่าหักหาญ
ภาษิตและบทพากยเอราวัณ สิบดีก็ไม่ถึงกับกึ่งพาล  เป็นชายชาญอย่าเพ่อคาดประมาทชาย
พรอมบอกความหมาย รักสั้นนั้นให้รู้อยู่เพียงสั้น  รักยาวนั้นอย่าให้เยิ่นเกินกฎหมาย
2. ใหนักเรียนทองคําประพันธที่เปน มิใช่ตายแต่เขาเราก็ตาย  แหงนดูฟ้าอย่าให้อายแก่เทวดา
บทหลักสลับคูก บั เพือ่ น บันทึกเสียง อย่าดูถูกบุญกรรมว่าท�าน้อย  น�้าตาลย้อยมากเมื่อไรได้หนักหนา
อย่านอนเปล่าเอากระจกยกออกมา  ส่องดูหน้าเสียทีหนึ่งแล้วจึงนอน
สงครู

บทพากย์เอราวัณ
  อินทรชิตบิดเบือนกายิน  เหมือนองค์อมรินทร์
เกร็ดแนะครู ทรงคชเอราวัณ
ครูใหนกั เรียนมีสว นรวมในการทอง   ช้างนิรมิตฤทธิแรงแข็งขัน  เผือกผ่องผิวพรรณ
จําบทรอยกรองทีเ่ กิดจากความซาบซึง้ สีสังข์สะอาดโอฬาร์
โดยเลือกบทประพันธตอนใดเรื่องใด   สามสิบสามเศียรโสภา  เศียรหนึ่งเจ็ดงา
ก็ไดที่ชอบมาอานใหครูและเพื่อนๆ ดังเพชรรัตน์รูจี
ฟงหนาชั้นเรียน   งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี  สระหนึ่งย่อมมี
เจ็ดกออุบลบันดาล
  กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย์  ดอกหนึ่งแบ่งบาน
มีกลีบได้เจ็ดกลีบผกา
  กลีบหนึ่งมีเทพธิดา  เจ็ดองค์โสภา
แน่งน้อยล�าเพานงพาล
  นางหนึ่งย่อมมีบริวาร  อีกเจ็ดเยาวมาลย์
ล้วนรูปนิรมิตมารยา
  จับระบ�าร�าร่ายส่ายหา  ช�าเลืองหางตา
ท�าทีดังเทพอัปสร
  มีวิมานแก้วงามบวร  ทุกเกศกุญชร
ดังเวไชยันต์อมรินทร์

138

138 คูมือครู
อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา Explain Expand Evaluate
Engage Explore

อธิบายความรู
นักเรียนคิดวาบทประพันธ
พระอภั ย มณี ตอนพระอภั ย มณี ห นี
๒.๒ บทอาขยานเลือก นางผีเสือ้ ทีย่ กมาเปนบทอาขยานเลือก
มี ลั ก ษณะเด น ที่ เ หมาะสํ า หรั บ การ
พระอภัยมณี ทองจําอยางไร
ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ (แนวตอบ บทที่คัดเลือกมาเปนบท
พระโฉมยงองค์อภัยมณีนาถ เพลินประพาสพิศดูหมู่มัจฉา พรรณนาฉากมหาสมุทรที่มีสิ่งมีชีวิต
เหล่าฉลามล้วนฉลามตามกันมา ค่อยเคลื่อนคลาคล้ายคล้ายในสายชล หลายชนิดแสดงกิริยาอาการตางๆ
ฉนากอยู่คู่ฉนากไม่จากคู่ ขึ้นฟ่องฟูพ่นฟองละอองฝน ที่ น  า เพลิ ด เพลิ น และพรรณนาให
เห็นภาพรอบเกาะ เปนบทประพันธ
ฝูงพิมพาพาฝูงเข้าแฝงวน บ้างผุดพ่นฟองน�้าบ้างด�าจร
ที่มีความเดนทางดานวรรณศิลป กวี
กระโห้เรียงเคียงกระโห้ขึ้นโบกหาง ลอยสล้างกลางกระแสแลสลอน
เลื อ กสรรถ อ ยคํ า ที่ ไ พเราะเสนาะหู
มังกรเกี่ยวเลี้ยวลอดกอดมังกร ประชุมซ่อนแฝงชลขึ้นวนเวียน เลนเสียงสัมผัสคลองจอง ทําใหงาย
ฝูงม้าน�้าท�าท่าเหมือนม้าเผ่น ขึ้นลอยเล่นเลี้ยวลัดฉวัดเฉวียน ตอการทองจํา เกิดเสียงไพเราะจาก
ตะเพียนทองท่องน�้าน�าตะเพียน ดาษเดียรดูเพลินจนเกินมา รสคํา ซาบซึ้งในรสความ และเขาถึง
เห็นละเมาะเกาะเขาเขียวชอุ่ม โขดตะคุ่มเคียงเคียงเรียงรุกขา อารมณของตัวละครเอกอยาง
จะเหลียวซ้ายสายสมุทรสุดสายตา จะแลขวาควันคลุ้มกลุ้มโพยม พระอภัยมณี)
จะเหลียวดูสุริย์แสงเข้าแฝงเมฆ ให้วิเวกหวาดองค์พระทรงโฉม
ฟังส�าเนียงเสียงคลื่นดังครื้นโครม ยิ่งทุกข์โทมนัสในฤทัยทวี
ขยายความเขาใจ
นักเรียน อานและทองจํา
การท่องจ�าบทอาขยาน นับได้ว่ามีส่วนส�าคัญที่ช่วยกระตุ้นการเรียนการสอนภาษาไทยเป็น บทอาขยานเลือก พระอภัยมณีตอน
อย่างยิ่ง เพราะการท่องจ�าบทอาขยานจะท�าให้นักเรียนได้รับรู้ถึงความไพเราะของบทประพันธ์ สัมผัส พระอภั ย มณี ห นี น างผี เ สื้ อ แล ว ให
ที่คล้องจองกันอย่างลงตัว รวมถึงการได้ข้อคิดคติสอนใจจากบทอาขยานต่างๆ ที่ได้น�ามาท่อง ทั้งนี้ นั ก เรี ย นบรรยายอารมณ ค วามรู  สึ ก
บทอาขยานโดยส่วนใหญ่ทคี่ ดั เลือกให้นกั เรียนท่องจ�าล้วนมีความโดดเด่นทัง้ ด้านวรรณศิลป์และเนือ้ หา ของพระอภั ย มณี ต ามบทประพั น ธ
ซึ่งนักเรียนจะได้รับรู้ถึงคุณค่าของบทประพันธ์ด้วยการท่องจ�า และชวยกันตอบคําถาม
( แนวตอบ พระอภั ย มณี กํ า ลั ง รู  สึ ก
เปลาเปลี่ยว หวั่นใจ ทุกขใจ ดังวา
“ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม...ยิ่ง
ทุกขโทมนัสในฤทัยทวี”)
• ในบทอาขยานที่เลือกมีสิ่งมีชีวิต
อะไรบาง
(แนวตอบ ฉลาม ฉนาก พิมพา
ปลากระโห มังกร มานํ้า
139 ตะเพียนทอง)

ตรวจสอบผล
หลักฐาน 1. นักเรียนทองบทอาขยานหลัก
แสดงผลการเรียนรู ตามที่กําหนด
2. นักเรียนเลือกทองคําประพันธ
1. ทองจําบทอาขยานหลัก
ที่ชอบ พรอมทั้งบอกเหตุผล
2. ถอดคําประพันธบทอาขยานหลัก

คูมือครู 139
กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล
Engage Explore Explain Expand Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

บรรณานุกรม
กระแสร์ มาลยาภรณ์. (๒๕๑๖). วรรณคดีเปรียบเทียบเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : โรงเรียนสตรีเนติศึกษา แผนกการพิมพ์.
กริสโวลด์, เอ.บี. (๒๕๐๘). พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้ากรุงสยาม. แปลจาก King Mongkut of Siam โดย
ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (๑๕๑๔). พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ ๕ พระราชทานแด่พระเจ้า-
ลูกยาเธอ. พระนคร : โรงพิมพ์บรรณาคาร.
ฐะปะนีย์ นาครทรรพ และคณะ. (๒๕๕๓). ภาษาไทย ม.๒. พิมพ์ครั้งที่ ๑๙. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
ด�ารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (๒๕๑๖). ชีวิตและผลงานของสุนทรภู่. พิมพ์ครั้งที่ ๕.
พระนคร : บรรณศิลป์.
ต�ารา ณ เมืองใต้ (นามแฝง). (๒๕๑๕). ภาษาและวรรณคดี. กรุงเทพฯ : บ�ารุงสาส์น.
บุญเหลือ เทพยสุวรรณ. (๒๕๑๑). แนะแนวทางการเรียนวรรณกรรมวิจักษ์และวรรณคดีวิจารณ์. นครปฐม :
คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ประสิทธิ์ กาพย์กลอน. (๒๕๒๓). แนวทางการศึกษาวรรณคดี ภาษากวี การวิจักษณ์ และการวิจารณ์. กรุงเทพฯ :
ไทยวัฒนาพานิช.
เปลื้อง ณ นคร. (๒๕๐๖). ประวัติวรรณคดีส�าหรับนักศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
. (๒๕๐๙). เล่าเรื่อง พระอภัยมณีค�ากลอน วรรณกรรมเอกของสุนทรภู่. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วัฒนาพานิช.
ไพรถ เลิศพิริยกมล. (๒๕๔๒). วรรณกรรมปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (๒๕๐๓). บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์รัชดารมภ์.
มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์. (๒๕๓๕). ลักษณะของวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เยาวลักษณ์ ชาติสุขศิริเดช และบุญลักษณ์ เอี่ยมส�าอางค์. (๒๕๕๓). เรียงถ้อยร้อยกรอง. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ :
อักษรเจริญทัศน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์
พับลิเคชั่นส์.
. (๒๕๕๐). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ภาคฉันทลักษณ์. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
. (๒๕๔๗). ใต้รม่ พระบารมีจกั รีนฤบดินทร์ สยามินทราธิราช. กรุงเทพฯ : คณะบรรณาธิการจัดท�าสารานุกรม
ประวัติศาสตร์ไทย.
วัชรี รมยะนันทน์. (๒๕๓๘). วิวัฒนาการวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ : โครงการต�าราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
วิญญู บุญยงค์. (๒๕๔๒). ยักษ์ในรามเกียรติ์. กรุงเทพฯ : เวิลด์มีเดีย ๒๐๒๐.
ศิลปากร, กรม. (๒๕๔๘). สุภาษิตพระร่วง และสุภาษิตอิศรญาณ. พิมพ์ครั้งที่ ๑๑. กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (๒๕๔๔). อ่านอย่างไรให้ได้รส. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (๒๕๕๒). วรรณคดีวิจักษ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒. พิมพ์ครั้งที่ ๘.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
. (๒๕๔๘). แนวการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม เล่ม ๓. กรุงเทพฯ : สถาบันภาษาไทย ส�านักวิชาการ
และมาตรฐานการศึกษา ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
. (๒๕๔๘). บทอาขยานภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ส�านักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ. (๒๕๓๗). ราชาศัพท์. กรุงเทพฯ : ฉลองรัตน์.
สิทธา พินิจภูวดล. (๒๕๓๕). วรรณคดีวิจารณ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
140

140 คูมือครู
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน
เนนการคิด
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนอานออก เขียนได คิดคํานวณเปน มุงใหเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต
เตรียมตัวเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแขงขันไดในอนาคต การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดมุงหมายดังกลาว
จึงควรใหผูเรียนฝกฝนการนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาได ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของผูเรียน ทางโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด จึงไดจัดทําแบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด
โดยดําเนินการวิเคราะหสาระการเรียนรูที่สําคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นป แลวนํามากําหนดเปนระดับพฤติกรรมการคิด
เพื่อสรางแบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ดังน�้
1 วัดผลการเรียนรู 2 เนนใหผูเรียนเกิดการคิด ผูสอนสามารถนําแบบทดสอบน�้ไปใชเปนเครื่องมือวัด
และประเมินผล รวมทั้งเปนเครื่องบงชี้ความสําเร็จและรายงาน
คุณภาพของผูเรียนแตละคน เพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของนักเรียนใหมีความสามารถในดานการใชภาษา ดานการ
คิดคํานวณ และดานเหตุผล สําหรับรองรับการประเมินผลผูเ รียน
ที่สอดคลองกับมาตรฐาน ตามระดับพฤติกรรมการคิด ในระดับประเทศ (NT) และระดับนานาชาติ (PISA) ตอไป
ตัวชี้วัดชั้นปทุกขอ ที่ระบุไวในตัวชี้วัด

แบบทดสอบ
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด ที่จัดทําโดย โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ประกอบดวย
แบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 1 และแบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 2 ซึ�งแตละภาคเรียนจะมีแบบทดสอบ 2 ชุด แตละชุดมีทั้ง
แบบทดสอบปรนัย และแบบทดสอบอัตนัย โดยวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด และระดับพฤติกรรมการคิดที่สัมพันธกับแบบทดสอบไวอยาง
ชัดเจน เพื่อใหผูสอนนําไปใชเปนเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ

โครงการบูรณาการ
ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ ภาคเรียนที่ 1
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
ระดับ ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ชุดที่ มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด พฤติกรรม ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
การคิด
1 1 - 3, 9 - 13, 23 - 27 A ความรู ความจํา 1, 9, 14, 23 - 24 5
2 4 - 5, 14 - 18, 28 - 33 B ความเขาใจ 2, 10 - 11, 25 4

1 ท 5.1
3
4
6 - 7, 19 - 22, 34 - 35
8, 36 - 40
C การนําไปใช
D การวิเคราะห
3, 15, 19, 26, 28
8, 16 - 17, 27, 29 - 31, 34, 36 - 37
5
10
E การสังเคราะห 6 - 7, 18, 20 - 21, 32 - 33, 38 8
F การประเมินคา 4 - 5, 12 - 13, 22, 35, 39 - 40 8
1 1 - 2, 9 - 11, 23 - 26 A ความรู ความจํา 9 1
2 3 - 4, 12 - 16, 27 - 30 B ความเขาใจ 1, 10 - 12, 27, 31, 36 7

2 ท 5.1
3
4
5 - 8, 17 - 22, 31 - 35
36 - 40
C การนําไปใช
D การวิเคราะห
2 - 3, 17, 23, 32, 37 - 38
5 - 6, 13 - 14, 18, 28 - 29, 33, 39 - 40
7
10
E การสังเคราะห 7, 15, 19, 24, 30, 34 6
F การประเมินคา 4, 8, 16, 20 - 22, 25 - 26, 35 9

หมายเหตุ : มีเฉลยและคําอธิบายเชิงวิเคราะห อยูทายแบบทดสอบภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2

(1) โครงการวัดและประเมินผล
แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1 ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ

ชุดที่ 1
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 40

1. “งานประพันธที่มีรูปแบบเหมาะกับเนื้อหา มีศิลปะ 4. “วรรณคดีไทยคือกระจกเงาสะทอนสังคมในยุคนั้นๆ”


A การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และ F
ขอใดสอดคลองกับคํากลาวนี้มากที่สุด
แบบทดสอบ

จินตนาการของมนุษยเปนเรื่องราวที่นาสนใจได”
1. วรรณคดีไทยกลาวถึงประวัติของชนชาติไทย
ขอความนี้เปนลักษณะของคําในขอใด 2. วรรณคดีไทยกลาวถึงประวัติของกวีแตละสมัย
1. วรรณคดี 3. วรรณคดีไทยกลาวถึงความคิดเห็นของคนไทย
2. วรรณศิลป 4. วรรณคดีไทยกลาวถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรมในอดีต
3. วรรณกรรม 5. วรรณคดีใหคุณคาทางดานสังคมอยางไร
โครงการบูรณาการ

4. ฉันทลักษณ F 1. ใหความเพลิดเพลิน
2. ใหความเขาใจในชีวิต
2. “งานประพันธที่มีเนื้อหาพรรณนาถึงการเดินทาง 3. ใหแนวคิดและกลวิธีในการนําเสนอ
B และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก 4. ใหประสบการณที่สามารถนําไปประยุกตใชได
ตลอดการเดินทาง”
6. ครืนครืนใชฟารอง เรียมครวญ
ขอความนี้เปนลักษณะของคําประพันธชนิดใด E
1. ฉันท บทประพันธในขอใดมีลักษณะการใชภาพพจน ตรงกับ
2. ลิลิต บทประพันธขางตน
3. นิราศ 1. เสียงรํ่าไหสนั่นกอง กังวาน
4. กาพย 2. เรียมรํ่านํ้าเนตรถวม ถึงพรหม
3. การแบงประเภทของวรรณคดีตามลักษณะของเนือ้ หา 3. วังเอยวังเวง หงางเหงงยํ่าคํ่าระฆังขาน
B ขอใดกลาวถูกตอง 4. แมวเอยแมวเหมียว รูปรางปราดเปรียวเปนนักหนา
1. โคลงโลกนิติจัดเปนวรรณคดีคําสอน 7. ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากขออื่น
2. ลิลิตนารายณสิบปางจัดเปนวรรณคดีการละคร E 1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง
3. ไตรภูมิพระรวงจัดเปนวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ 2. กระแหแหหางชาย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม
4. เสภาพระราชพงศาวดารจัดเปนวรรณคดี 3. เพียนทองงามดั่งทอง ไมเหมือนนองหมตาดพราย
ขนบธรรมเนียมประเพณี 4. ลูกผูชายลายมือนั้นคือยศ เจาจงอตสาหทาํ สมํา่ เสมียน
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F

โครงการวัดและประเมินผล (2)
8. ดูหนูสูรูงู งูสุดสูหนูสูงู 13. พระยาภักดีเสนอเ
สนอเงินจํานวนหนึ่งรอยชั่งใหแกนายลํ้า
D หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู F เพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออ
จากการกระทํานีแ้ สดงใหเห็นวาพระยาภักดีมลี กั ษณะนิสยั
บทประพันธขางตนมีความดีเดนทางดานวรรณศิลป อยางไร
อยางไร 1. ดูถูกคนยากจน
1. มีการเลนคํา 2. โออวดความรํ่ารวย
2. มีการเลนเสียงสระ 3. มีความรักและหวังดีตอลูก
3. มีการเลนเสียงพยัญชนะ 4. มีนํ้าใจชอบชวยเหลือคนยากจน
4. มีการเลนเสียงวรรณยุกต 14. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก สํานวนภาษาใดที่ไมนิยม
9. นายลํ้ามอบสิ่งใดเปนของขวัญวันแตงงานแกแมลออ A ใชในปจจุบัน
A 1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อให 1. คุณจะใหผมขายลูกผมยังงั้นหรือ
2. แหวนรักของนายลํ้าที่ใสมาตั้งแตยังหนุม 2. แมลออก็จะมีเหยามีเรือนอยูแลว
3. สรอยที่แมนวลซื้อใหนายลํ้ากอนเสียชีวิต 3. ก็แนละ ไมมีเงินก็อดตายเทานั้นเอง
4. แหวนของแมนวลที่นายลํ้าเก็บไวดูตางหนา 4. แกไดพยายามที่จะสําแดงใหปรากฏอยางไรบาง
15. รัชกาลที่ 6 ทรงพระราชนิพนธบทละครพูดไวเปน

แบบทดสอบ
10. “ไมใชวาใครๆ เขาจะพากันคอยตัดรอนไมใหมีการ C จํานวนมาก แตบทละครพูดเรือ่ งเห็นแกลกู มีลกั ษณะพิเศษที่
B ผงกหัวไดอีก” ตางจากบทละครพูดเรื่องอื่นๆ อยางไร
1. เปนละครพูดที่มีองกเดียวและฉากเดียว
คําวา “ผงกหัว” ในบทสนทนานี้มีความหมายโดยนัยวา 2. เปนละครพูดที่มีขนาดยาวกวาละครพูดเรื่องอื่นๆ
อยางไร 3. เปนละครพูดที่ไมมีเคาโครงเรื่องมาจากตางประเทศ

โครงการบูรณาการ
1. พยักหนา 4. เปนละครพูดที่มุงแสดงคุณธรรมใหคนทั่วไปไดยึดถือ
2. กมศีรษะเบาๆ และปฏิบัติตาม
3. กลับตัวกลับใจ 16. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก นักเรียนคิดวาลักษณะ
4. ยอมรับความผิด D ของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่อง
11. ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหนายลํ้ามาแสดงตัวในบาน 1. นายลํ้า 2. อายคํา
B ของพระยาภักดี 3. แมลออ 4. พระยาภักดี
1. เพราะไมมีทางทํามาหากิน 17. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้ายอมกลับ
2. เพราะตั้งใจจะมาพึ่งพาลูกสาว D โดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญ
3. เพราะเปนหวงลูกสาวที่กําลังจะแตงงาน 1. เพื่อพิสูจนความเปนชายชาตรี
4. เพราะตองการแสดงความรักของพอที่มีตอลูก 2. เพื่อใหแมลออมีชีวิตที่สุขสบาย
3. เพื่อแสดงใหเห็นวาตนมีศักดิ์ศรี
12. “ดิฉันจะเขาไปในเรือนเสียทีคะ คุณพอกับคุณอา 4. เพื่อตองการเอาชนะคําสบประมาทของพระยาภักดี
F คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา” 18. ในบทละครพูดเรือ่ งเห็นแกลกู จากคํากลาวของอายคําทีว่ า
E “ผมบอกวาใตเทายังไมกลับจากออฟฟศ ก็ไมยอมไป”
จากบทสนทนานี้แสดงวาแมลออเปนคนเชนไร สะทอนลักษณะการใชภาษาในสมัยนั้นอยางไร
1. เปนคนขี้อาย 1. ภาษาแสดงความเจริญทางวัฒนธรรม
2. เปนคนรูจักกาลเทศะ 2. คนรับใชใชภาษาระดับเดียวกับเจานาย
3. เปนคนสุภาพออนหวาน 3. ภาษาตางประเทศมีใชในภาษาพูดของคนไทย
4. เปนคนไมกลาสูหนาคน 4. คนทุกชนชั้นมีความรูทางดานภาษาตางประเทศ

(3) โครงการวัดและประเมินผล
19. ในบทละค
ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก บทสนทนาในขอใด 25. คําศัพทในข
นขอใดมีความหมายตางจากขออื่น
C แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดี B 1. ชลาลัย ชลธี
1. แกรับเงินรอยชั่งแลวรีบไปเสียเถอะ 2. คงคา นที
2. ก็ถาพูดกันดีๆ ไมชอบก็ตองพูดกันอยางเดียรฉาน 3. สายชล วารี
3. แกสูฉันไมไดหรอก ฤทธิ์เหลามันฆากําลังแก 4. นภาพร อัมพร
เสียหมดแลว 26. วรรณคดีเรื่องพระอภัยมณีมีลักษณะที่แตกตางจาก
4. เงินนะไมเสียดายหรอก ฉันเสียดายชื่อและความสุข C วรรณคดีเรื่องอื่นอยางไร
ของแมลออ 1. ตัวเอกมีภรรยาหลายคน
20. “นํ้าเหลืองๆ ไมมีหรือครับ มันคอยชื่นอกชื่นใจ 2. ตัวเอกมักถูกยักษหรือโจรลักพาไป
E หนอยหนึ่ง?” 3. แสดงแนวคิดที่แปลกใหมของตัวละคร
4. ตัวเอกเปนโอรสกษัตริยตองไปเรียนวิชาตางๆ
จากบทสนทนานี้ จัดเปนบทสนทนาทีเ่ หมาะสมกับตัวละคร 27. ผลงานที่แสดงประวัติชีวิตของสุนทรภูไดชัดเจนที่สุดคือ
ในดานใด D ผลงานประเภทใด
1. บทสนทนาที่เหมาะสมกับนิสัยตัวละคร 1. นิราศ
2. บทสนทนาที่เหมาะสมกับอายุตัวละคร 2. นิทาน
แบบทดสอบ

3. บทสนทนาที่เหมาะสมกับฐานะตัวละคร 3. บทละคร
4. บทสนทนาที่เหมาะสมกับสถานภาพตัวละคร 4. บทเสภา
21. ใจความสําคัญของบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก คือขอใด 28. นิราศสุพรรณมีลักษณะพิเศษแตกตางจากนิราศเรื่องอื่น
E 1. คนเปนพอไมควรทําลายลูก C ของสุนทรภูในขอใด
2. จิตผองใสนํามาซึ่งความสุข
3. พอในอุดมคติของลูกทุกคน 1. ที่มาของเรื่อง
โครงการบูรณาการ

4. จิตใจที่บริสุทธิ์ของพอที่มีตอลูก 2. เนื้อหาของเรื่อง
22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แสดงแนวคิดสําคัญในขอใด 3. ลักษณะคําประพันธ
F เดนชัดที่สุด 4. จุดมุงหมายในการแตง
1. ความหวงใยของพอที่มีตอลูก 29. ลักษณะคําประพันธของสุนทรภูม ลี กั ษณะพิเศษซึง่ แตกตาง
2. ความเสียสละของพอที่มีตอลูก D จากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไร
3. ความปรารถนาดีของพอที่มีตอลูก 1. แสดงแนวคิดของผูแตงชัดเจน
4. ความรักที่ยิ่งใหญของพอที่มีตอลูก 2. เครงครัดเรื่องคําและความหมาย
23. สุนทรภูแตงนิทานคํากลอนเรื่องพระอภัยมณี 3. มีความไพเราะในรสคําและรสความ
A โดยใชเคาโครงจากแหลงใด 4. มีสัมผัสในทุกวรรคทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร
1. นิทานชาดก 2. นิทานมุขปาฐะ 30. จากเรื่องพระอภัยมณี บทประพันธในขอใดตอไปนี้
3. นิทานสุภาษิต 4. จินตนาการของทานเอง D ไมได สะทอนความเชื่อของคนไทย
1. พอมอยหลับกลับจิตนิมิตฝน
24. พระยินดีชี้บอกสินสมุทร วาเทวัญที่เกาะนั้นเหาะเหิน
A โนนแนกุฏิ์มุงกระเบื้องเหลืองสลับ
2. ดวยโยคีมีมนตดลวิชา
คําวา “กุฏิ์” ในคําประพันธขางตน หมายถึงขอใด ปราบบรรดาภูติพรายไมกรายไป
1. ศาลาวัด 3. นึกจะใครสะเดาะพระเคราะหเจา
2. ที่อยูของนักบวช พอบรรเทาโทษาที่อาสัญ
3. บานพักของโยคีบนภูเขา 4. เจียระบาดคาดองคก็ทรงเปลื้อง
4. ศาลาสรางเปนหลังเรียงกันเปนแนวรอบโบสถ ใหเปนเครื่องนุงหมโอรสา

โครงการวัดและประเมินผล (4)
31. จึงบัญชาวาเจาสินสมุทร 37. พอมอยหลับกลับจิตนิมิตฝน
D ไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขา D วาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหิน
ขอสมาตาปูอยาดูเบา มาสังหารผลาญถํ้าระยําเยิน
ชวยอุมเอาแกออกไปใหสบาย แกวงพะเนินทุบนางแทบวางวาย
คําประพันธขางตนสะทอนวัฒนธรรมไทยในเรื่องใด ความฝนของนางผีเสื้อสมุทรในคําประพันธขางตน
1. ความมีนํ้าใจ เปนความฝนลักษณะใด
2. ความออนโยน 1. บุรพนิมิต
3. ความกตัญูกตเวที 2. จิตนิวรณ
4. การมีสัมมาคารวะตอผูใหญ 3. เทพสังหรณ
32. เหตุใดจึงมีคํากลาววา “สุนทรภูคือผูใชชีวิตอยางแทจริง” 4. ธาตุโขภะ
E 1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรู
2. ชีวิตของสุนทรภูมีอุปสรรคแตทานกลับไมทอถอย 38. พระโฉมยงองคอภัยมณีนาถ
3. ชีวติ ของสุนทรภูม ตี งั้ แตรงุ เรืองสูงสุดจนถึงขัน้ ตกตํา่ สุด E เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา
4. ทุกขอที่กลาวมาถูกตอง
33. เพราะเหตุใดเรือ่ งพระอภัยมณีจงึ ถือเปนวรรณคดีเรือ่ งเดน บทประพันธนมี้ คี าํ ยืมทีเ่ ปนทัง้ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต

แบบทดสอบ
E และไดรับความนิยมมากของสุนทรภู กี่คํา
1. กลอนไพเราะ เนื้อเรื่องดี แทรกประสบการณ 1. 1 คํา
2. ภาษาเขาใจงาย ไมใชศัพทสูง แฝงคติเตือนใจ 2. 2 คํา
3. กลอนไพเราะ เนื้อเรื่องสนุก จินตนาการแปลกใหม 3. 3 คํา
4. ผูกเรื่องขึ้นเองจากจินตนาการ เนื้อเรื่องสนุกตื่นเตน 4. 4 คํา

โครงการบูรณาการ
34. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ 39. บทกลอนในขอใดใชกลวิธีการประพันธแตกตางขออื่น
D ตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตย F 1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู
1. พระโยคี 2. เงือกนํ้า ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน
3. สินสมุทร 4. พระอภัยมณี 2. ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน
35. ขอใดเปนแนวคิดสําคัญของเรื่องพระอภัยมณี บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร
F ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ 3. กระโหเรียงเคียงกระโหขึ้นโบกหาง
1. ความรักชนะทุกอยาง ลอยสลางกลางกระแสแลสลอน
2. ความรักกอใหเกิดทุกข 4. เหลาฉลามลวนฉลามตามกันมา
3. ความรักคือการเสียสละ คอยเคลื่อนคลาคลายคลายในสายชล
4. ความรักแบบไมเต็มใจยอมไมยั่งยืน
36. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ 40. จะเหลียวดูสุริยแสงเขาแฝงเมฆ
D คําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทย F ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม
1. ทั้งนี้เพราะเคราะหกรรมทําใหวุน ฟงสําเนียงเสียงคลื่นดังครื้นโครม
จึงสิ้นบุญวาสนานิจจาเอย ยิ่งทุกข โทมนัสในฤทัยทวี
2. อยาฆาสัตวตัดชีวิตพิษฐาน
หมายวิมานเมืองแมนแดนสวรรค คําประพันธขา งตนแสดงบุคลิกลักษณะใดของพระอภัยมณี
3. เราลงเลขเสกทําไวสําเร็จ 1. หวาดกลัว ขี้ขลาด
ดังเขื่อนเพชรภูตปศาจไมอาจใกล 2. ออนแอ วิตกกังวล
4. ดวยองคพระชนนีเปนผีเสื้อ 3. หวาดกลัว ทุกขใจ
อันชาติเชื้ออยูถํ้าลําละหาร 4. ออนแอ ขาดความมั่นใจ
(5) โครงการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 3 ขอ 10 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10

1. เพราะเหตุใดวรรณคดีไทยสวนใหญจึงเปนผลงานการประพันธของผูประพันธชาย (3 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบทดสอบ

2. จากบทละครพูดเรือ่ งเห็นแกลกู แสดงใหเห็นถึงสัจธรรมของมนุษยไวอยางไรบาง อธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ (4 คะแนน)


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
โครงการบูรณาการ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ ตัวละครใดมีความนาเห็นใจมากที่สุด เพราะเหตุใด (3 คะแนน)


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โครงการวัดและประเมินผล (6)
แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1 ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ

ชุดที่ 2
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 40

1. “การใชเหตุผลอธิบายแสดงความคิดเห็นตอเนื้อหา 5. วรรณ
วรรณคดีเรื่องใดแสดงแนวคิดที่วา “ธรรมะยอมชนะ
B รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม” D อธรรม”

แบบทดสอบ
1. รามเกียรติ์
คํากลาวนี้มีความหมายตรงกับขอใดมากที่สุด 2. พระอภัยมณี
1. การวิจารณวรรณคดี 3. ขุนชางขุนแผน
2. การวิพากษวรรณคดี 4. พระราชพิธีสิบสองเดือน
3. การวิเคราะหวรรณคดี 6. บทประพันธในขอใดมีวรรณศิลปดานการเลนเสียง
D พยัญชนะเดนชัดที่สุด

โครงการบูรณาการ
4. การสังเคราะหวรรณคดี
2. ขอใดไมใชคุณสมบัติของวรรณคดี 1. เห็นหรุมรุมทรวงเศรา รุมรุมเราคือไฟฟอน
C 1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม 2. เทโพพื้นเนื้อทอง เปนมันยองลองลอยมัน
2. เปนมรดกทางวัฒนธรรม 3. นวลจันทรเปนนวลจริง เจางามพริ้งยิ่งนวลปลา
3. มีคุณคาควรแกการจดจํา 4. ทองหยอดทอดสนิท ทองมวนมิดคิดความหลัง
4. มีการสืบทอดกันมายาวนาน 7. บทประพันธในขอใดใหจินตภาพตางจากขออื่น
E 1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่า
3. คําในขอใดมีความหมายเหมือนกันทุกคํา
C 1. รัชนี ศศิธร โสม 2. ทั้งทุมตํ่ารํ่าเรื่อยจะเจื้อยแจว
3. วะแววเพียงเสียงพอซอสายเอก
2. วารี ธารา นภาพร 4. ประกายพรึกกะพริบพลิ้วพนทิวไม
3. พสุธา ธาตรี สายชล 8. ขอใดกลาวไมถูกตอง
4. กัญญา นงราม คัคนานต F 1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่ง
4. คุณคาที่สําคัญที่สุดของวรรณคดีคือคุณคาทางดานใด 2. เพลงพื้นบานไทยเปนวรรณกรรมที่ควรอนุรักษ ไว
F 1. คุณคาทางดานสังคม 3. คุณคาทางวรรณศิลปของวรรณกรรมคือชวยจรรโลงใจ
2. คุณคาทางดานความรู ผูอาน
3. คุณคาทางดานความคิดและอารมณ 4. รูปแบบของงานเขียนเชิงสรางสรรค ไมจําเปนตอง
4. คุณคาทางดานขนบธรรมเนียมประเพณี สอดคลองกับเนื้อหา
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F

(7) โครงการวัดและประเมินผล
9. “หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึน้ ไวในใจเปนคนดี 15. ขอใดแสดงวัฒนธรร นธรรมไทยที่ปรากฏในบทละครพูด
A ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย” E เรือ่ งเห็นแกลูกเดนชัดที่สุด
1. การจัดพิธีแตงงาน
ผูกลาวขอความนี้คือใคร 2. การตอนรับผูมาเยือน
1. นายทองคํา 3. การแบงชนชั้นในสังคม
2. เจาคุณรณชิต 4. การเคารพนับถือผูอาวุโส
3. นายลํ้า ทิพเดชะ 16. คําพูดของตัวละครในขอใดที่สอดคลองกับชื่อของ
4. พระยาภักดีนฤนาถ F บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก
10. วรรณคดีประเภทบทละครพูดมีลกั ษณะเดนในขอใดมากทีส่ ดุ 1. หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึ้นในใจเปนคนดี
B 1. ฉากดี มีตัวละครมาก ไมมีที่ติ
2. ใหขอคิดในการดําเนินชีวิต 2. เด็กคนนี้ดีเกินที่จะเปนลูกของผม ผมมันเลวทราม
3. มีบทรักโศก ใหอารมณสะเทือนใจ เกินที่จะเปนพอของเขา
4. เรื่องสนุก คําพูดของตัวละครคมคายใหแงคิด 3. อยาไดบอกความจริงแกแมลออเลย ใหเขานับถือ
รูปผมอันเกานั้นวาเปนพอของเขา
11. “ฉันหมายจะกลับมาใหทันคุณพอกลับทีเดียว” 4. พอถึงวันแตงงานของแมลออเจาคุณไดโปรดใหแหวน
B แกเขา บอกวาเปนของรับไหวของผม
แบบทดสอบ

จากขอความขางตนคําวา “หมาย” มีความหมายตรงกับ 17. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีกลวิธีการเขียนแตกตาง


ขอใด C จากวรรณกรรมปจจุบันอยางไร
1. ตั้งใจ 2. คิดฝน 1. การนําเสนอเรื่อง
3. กําหนด 4. คาดหวัง 2. การใชคําสรรพนาม
12. การที่อายคําไมไวใจนายลํ้าเมื่อพบกันครั้งแรก 3. การใชเครื่องหมายวรรคตอน
โครงการบูรณาการ

B เพราะเหตุใด 4. การเรียงลําดับคําเขาประโยค
1. นายลํ้ามีอาการมึนเมา 18. เมื่อนายลํ้ามาพบพระยาภักดี และแสดงความประสงค
2. นายลํ้ามีกิริยาทาทางนากลัว D จะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวา
3. นายลํ้าแตงกายคอนขางจะปอนๆ นายลํ้ามีลักษณะที่ไมควรนําเปนแบบอยางในขอใด
4. นายลํ้าหนาแก ผมหงอก หนายน 1. ความเห็นแกตัว
2. ความโกรธเคือง
13. “เครื่องประดับประดาไมเปนของมีคาแตใชไดดี” 3. ความใจรอน ไมรอบคอบ
D 4. ความรักตนเอง ไมกลัวใคร
จากขอความขางตนแสดงวาผูพูดเปนคนมีลักษณะนิสัย 19. ลักษณะนิสัยของแมลออในขอใดที่ควรนํามาเปน
อยางไร E แบบอยางมากที่สุด
1. สมถะ 2. ยากจน 1. การมีวาจาที่สุภาพ
3. ไมฟุมเฟอย 4. ตระหนี่ถี่เหนียว 2. การมีนํ้าใจตอผูอื่น
3. การเคารพนับถือผูใหญ
14. “ถึงการฉอโกงก็มีหลายชนิดหลายชั้นเหมือนกัน 4. การกตัญูตอผูมีพระคุณ
D ถาไมยั งงั้ น คุ ณ เองจะได ม าลอยหน า เปนพระยา 20. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้าตองเปน
อยูหรือ” F ฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใด
1. แพภัยตนเอง
จากบทสนทนานี้ แสดงวาผูพูดเปนคนเชนไร 2. แพความดีของแมลออ
1. พูดปด 2. พูดโออวด 3. แพความดีของพระยาภักดี
3. พูดเพอเจอ 4. พูดสอเสียด 4. แพคุณธรรมประจําใจตนเอง

โครงการวัดและประเมินผล (8)
21. บทบรรยายที่มีในบทละครพูดมีประโยชนตอเนือ้ เรื่อง 27. เหลาฉลามลวนฉลามตามกันมา
F ของบทละครอยางไร B นคลาคลายคลายในสายชล
คอยเคลื่อนคลา
1. เสริมความเขาใจ 2. เสริมบทสนทนา
3. เชื่อมบทสนทนา 4. กํากับบทใหตวั ละครแสดง จากบทประพันธนี้ คําวา “คลายคลาย” มีความหมาย
22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ใหประโยชนในขอใด ตรงกับขอใด
F มากที่สุด 1. เกือบเหมือนกัน
1. ใหความสนุกสนานเพลิดเพลิน 2. จําไดอยางลางเลือน
2. ใหขอคิดคติธรรมในการดําเนินชีวิต 3. เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ
3. ใหความรูในการประกอบอาชีพสุจริต 4. วายไปมาเปนจํานวนมาก
4. ใหความรูเกี่ยวกับลักษณะของวรรณคดีการละคร 28. ขอใดมีภาพพจนทั้งอุปมาและอติพจน
D 1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดัง
23. คิดถึงนองสองชนกที่ปกเกลา นอยหรือยังโหยกเหยกเด็กเกเร
C จะสรอยเศราโศกานาสงสาร 2. อสุรีผีเสื้อเหลือจะอด
บทประพันธขางตน คําวา “นอง” หมายถึงตัวละครใด แคนโอรสราวกับไฟไหมมังสา
3. ขาจะพาไปจับจงกลับหลัง

แบบทดสอบ
1. นางเงือก 2. ศรีสุวรรณ
3. นางผีเสื้อสมุทร 4. นางสุวรรณมาลี ใหไดดังมุงมาดปรารถนา
24. เพราะเหตุใดผูอานเรื่องพระอภัยมณีจึงจําบทกลอน 4. ไมพบเห็นเปนเพลาเขาราตรี
E ที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอน อสุรีเหลือแคนแนนอุรา
1. เพราะผูอานเคารพและชื่นชมสุนทรภู 29. คํากลอนในขอใดเปนลักษณะคติชาวบานคือผัวเมีย
2. เพราะมีการบังคับใหทองเปนบทอาขยาน D ตองรวมทุกขรวมสุขดวยกัน

โครงการบูรณาการ
3. เพราะถอยคําเปนคําสอนที่ตองตีความมาก 1. อยูดีดีหนีเมียมาเสียได
4. เพราะทั้งรสคําและรสความมีความไพเราะ เสียนํ้าใจนองรักเปนหนักหนา
และความหมายดี 2. พระเสด็จไปไหนจะไปดวย
25. การที่ปของพระอภัยมณี เปนเครื่องดนตรีชิ้นสําคัญ เปนเพื่อนมวยภัสดาจนอาสัญ
F ที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้น 3. พี่มนุษยสุดสวาทเปนชาติยักษ
เพลงปของพระอภัยมณีจึงถือเปนสัญลักษณที่เทียบได จงคิดหักความสวาทใหขาดสูญ
กับสิ่งใด 4. จงตัดบวงหวงใยอาลัยลาญ
1. พลังอํานาจ 2. ความเปนศิลปน อยาปองผลาญลูกผัวของตัวเลย
3. ถอยคําหรือคําพูด 4. ความรูสึกออนไหว 30. บทประพันธในขอใดแสดงธรรมเนียมการประพฤติ
E อยางไทย
26. จะไปไหนไมพนผีเสื้อนํ้า
F 1. พงศกษัตริยตรัสชวนสินสมุทร
วิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผี
สอนใหบุตรขอสมาอัชฌาสัย
ทานสงเราเขาที่เกาะละเมาะนี้
2. พงศกษัตริยทัศนานางเงือกนอย
แลวรีบหนีไปในนํ้าแตลําพัง
ดูแชมชอยโฉมเฉลาทั้งเผาผม
จากบทประพันธนี้การกระทําของพระอภัยมณีแสดงให 3. พระโฉมยงองคอภัยมณีนาถ
เห็นถึงคุณธรรมในขอใดชัดเจนที่สุด เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา
1. กลาหาญ 2. เสียสละ 4. ฝายองคพระอภัยวิไลโฉม
3. กตัญู 4. เห็นอกเห็นใจผูอื่น ปลอบประโลมลูกชายจะผายผัน

(9) โครงการวัดและประเมินผล
31. บทประพันธในนขอใดมีชื่อเทือกเขาที่ลอมรอบเขา 36. กระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหมีการทองบทอายาน
B พระสุเมรุ B โดยมีจุดมุงหมายในขอใด
1. อันถํ้านี้มีนามตามบุราณ 1. เพื่อใหนักเรียนออกเสียงภาษาไทยไดถูกตอง
อโนมานเคียงกันสีทันดร 2. เพื่อฝกใหนักเรียนเปนผูมีความมั่นใจในตนเอง
2. นางผีเสื้อเหลือโกรธโลดทะลึ่ง 3. เพือ่ ใหสอดคลองตามหลักสูตรการศึกษาปพุทธศักราช
โตดั่งหนึ่งยุคุนธรขุนไศล 2542
4. เพื่อใหนักเรียนเกิดความซาบซึ้งเห็นความงดงาม
3. แลวขึ้นยืนชะโงกโยกสิงขร ทางภาษาและเห็นคุณคาของวรรณคดีไทย
จนโคลงคลอนเคลื่อนดังทั้งภูเขา 37. ขอใดกลาววไม ถูกตองเกี่ยวกับบทอาขยาน
4. เปนเขตแควนแดนที่นางผีเสื้อ C 1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียง
ขางฝายเหนือถึงมหิงษะสิงขร 2. บทอาขยานจะเปนบทรอยกรองหรือบทรอยแกวก็ได
32. นางผีเสื้อสมุทร นางเงือก และพระฤๅษี ตัวละคร 3. บทอาขยานจะตองมีความไพเราะ และมีเนื้อหา
C ทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใด ใหคติสอนใจ
1. ตัว ตัว ตน 4. เวลาอานบทอาขยานจะตองอานตัว ร, ล ควบกลํ้า
2. ตน ตัว ตน ใหถูกตองชัดเจน
แบบทดสอบ

3. ตน ตน ตน 38. จะเหลียวซายสายสมุทรสุดสายตา
4. ตัว ตัว ตัว C จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม
33. บทประพันธในขอใดแสดงความรักอันลึกซึ้งระหวาง
D ชายหญิง จากบทประพันธคําที่ขีดเสนใตมีความหมายเหมือนกับ
1. เสียแรงรักหนักหนาอุตสาหถนอม ขอใด
โครงการบูรณาการ

สูอดออมสารพัดไมขัดขืน 1. รัชนี 2. ศศิธร


2. เห็นมิไดไปอยูเปนคูเชย 3. คัคนานต 4. โคมรัตติกาล
ดวยสองเคยปลูกเลี้ยงกันเพียงนั้น 39. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู
3. ชางกระไรใจจืดไมยืดยืน D ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน
นางสะอื้นอาปากจนรากเรอ ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน
4. จะเกิดไหนขอใหไดประสบกัน บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร
อยาโศกศัลยแคลวคลาดเหมือนชาตินี้
จากบทประพันธขางตนนี้ ตรงกับรสวรรณคดีในขอใด
34. บทประพันธในขอใดไมปรากฏคํายืมภาษาบาลี 1. เสาวรจนี 2. นารีปราโมทย
E และสันสกฤต
3. พิโรธวาทัง 4. สัลลาปงคพิสัย
1. ก็ฟูมฟายชลนาโศกาลัย
2. พระโอรสรูแจงไมแคลงจิต 40. จะเหลียวซายสายสมุทรสุดสายตา
3. รําคาญคิดเสียใจไมใครหาย D จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม
4. ดวยแมกลับอัปลักษณเปนยักษราย จะเหลียวดูสุริยแสงเขาแฝงเมฆ
35. คําที่ขีดเสนใตในขอใดอานตามหลักการอานเรียงพยางค ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม
F 1. มิใชจักลืมคุณกรุณา จากบทประพันธนี้วรรคใดมีการเลนเสียงสัมผัสพยัญชนะ
2. เงือกผูเฒาเคารพอภิวาท มากที่สุด
3. พระลูกใหบิตุรงคทรงเสวย 1. วรรคที่ 1 2. วรรคที่ 2
4. ฝายเงือกนํ้าคํานับอภิวาท 3. วรรคที่ 3 4. วรรคที่ 4

โครงการวัดและประเมินผล (10)
ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 3 ขอ 10 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10

1. ภาษาที่ใชในวรรณคดีมีลักษณะแตกตางจากภาษาที่ใชสื่อสารกันในปจจุบันอยางไร (3 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบ
2. เพราะเหตุใดจึงมีคํากลาววา “ในชวงรัชกาลที่ 6 เปนยุคทองแหงการเขียนบทละครพูด” (3 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โครงการบูรณาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ นักเรียนชอบคําประพันธตอนใดมากที่สุด ยกตัวอยางคําประพันธ


พรอมบอกเหตุผล (4 คะแนน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(11) โครงการวัดและประเมินผล
เฉลยแบบทดสอบ ภาคเร�ยนที่ 1
ชุดที่ 1
ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 1. วรรณคดี
วรรณคดี หมายถึง งานประพันธที่มีรูปแบบเหมาะกับเนื้อหา มีศิลปะการประพันธชั้นสูงสามารถถายทอด
อารมณและจินตนาการของมนุษยเปนเรื่องราวที่นาสนใจได
ขอ 2. วรรณศิลป หมายถึง ศิลปะในการแตงหนังสือ การรูจักตกแตงถอยคําใหไพเราะสละสลวย และทําให
ผูอานเกิดความสะเทือนอารมณ
ขอ 3. วรรณกรรม หมายถึง งานประพันธทุกชนิดทั้งรอยแกวและรอยกรอง
ขอ 4. ฉันทลักษณ หมายถึง ลักษณะบังคับของการแตงคําประพันธ ไทย
2. ตอบ ขอ 3. นิราศ
นิราศ หมายถึง งานประพันธที่มีเนื้อหาในเชิงพรรณนาถึงการเดินทางเปนหลัก มักกลาวถึงเสนทางการ
เดินทาง และบอกเลาสิ่งที่พบเห็นระหวางการเดินทาง ขณะเดียวกันก็มักสอดแทรกความรูสึกครํ่าครวญถึง
นางอันเปนที่รักดวย
แบบทดสอบ

ขอ 1. ลิลิต หมายถึง งานประพันธที่แตงดวยรอยกรองประเภทโคลงและราย โดยแตงสลับกันเปนชวงๆ


ขอ 3. คําฉันท หมายถึง งานประพันธที่แตงดวยรอยกรองชนิดฉันท มีลักษณะบังคับเสียงหนัก-เสียงเบา
ของพยางค
ขอ 4. กาพยเหเรือ หมายถึง งานประพันธทแี่ ตงดวยรอยกรองชนิดโคลงสีส่ ภุ าพและกาพยยานี 11 ใชสาํ หรับ
ขับรองเหในกระบวนเรือ
โครงการบูรณาการ

3. ตอบ ขอ 1. โคลงโลกนิติจัดเปนวรรณคดีคําสอน


วรรณคดีเรื่องโคลงโลกนิติ มีจุดมุงหมายในการแตงเพื่อใชเปนแนวทางใหผูอานนําไปปฏิบัติเพื่อใหเกิดผลดี
กับตนเอง
ขอ 2. ลิลิตนารายณสิบปางและขอ 3. ไตรภูมิพระรวง จัดเปนวรรณคดีศาสนา ซึ่งเปนวรรณคดีที่มีเนื้อหา
แสดงถึงความเชื่อ ความศรัทธาเกี่ยวกับศาสนา
ขอ 4. เสภาพระราชพงศาวดาร จัดเปนวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเปนวรรณคดีที่มีเนื้อหาในเชิง
ประวัติศาสตรที่เกี่ยวกับความสําคัญของบานเมือง
4. ตอบ ขอ 4. วรรณคดีไทยกลาวถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรมในอดีต
วรรณคดีไทยจะทําหนาที่บันทึกเรื่องราวบานเมืองในแตละยุคแตละสมัยไว ซึ่งหากเราตองการศึกษา
สภาพสังคมหรือวัฒนธรรมไทยในอดีต เราสามารถศึกษาไดจากวรรณคดีไทยในสมัยนั้นๆ
5. ตอบ ขอ 2. ใหความเขาใจในชีวิต
ผูแตงวรรณคดีมักสอดแทรกความรูและสะทอนวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี และคานิยมในยุคนั้นๆ
เพื่อใหผูอานรูจักชีวิตและเขาใจชีวิตมากขึ้น
คุณคาของวรรณคดี แบงได 4 ประเภท ดังนี้
1. คุณคาดานวรรณศิลป
2. คุณคาดานเนื้อหาสาระ
3. คุณคาดานสังคม
4. คุณคาดานการนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ขอ 1. ใหความเพลิดเพลิน จัดเปนคุณคาดานวรรณศิลป
ขอ 3. ใหแนวคิดและกลวิธีในการนําเสนอ จัดเปนคุณคาดานเนื้อหาสาระ
ขอ 4. ใหประสบการณทสี่ ามารถนําไปประยุกตใชได จัดเปนคุณคาดานการนําไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน

โครงการวัดและประเมินผล (12)
6. ตอบ ขอ 3. วังเอยวังเวง หงางเหงงยํ่าคํ่าระฆังขาน
คําวา “หงางเหงง” เปนคําสัทพจน ซึ่งหมายถึง คําเลียนเสียงธรรมชาติ คือ เลียนเสียงระฆัง ซึ่งตรงกับ
คําประพันธขางตนที่มีการใชคําสัทพจน คือ “ครืนครืน”
สวนในขอ 1., 2. และ 4. นั้นไมปรากฏการใชคําสัทพจนดังกลาว
7. ตอบ ขอ 4. ลูกผูชายลายมือนั้นคือยศ เจาจงอตสาหทําสมํ่าเสมียน
บทประพันธนี้ใชภาพพจนอุปลักษณ คือ การเปรียบสิ่งหนึ่งเปนอีกสิ่งหนึ่ง โดยมักใชคําวา “เปน” หรือ “คือ”
ขอ 1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง
ขอ 2. กระแหแหหางชาย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม
ขอ 3. เพียนทองงามดั่งทอง ไมเหมือนนองหมตาดพราย
ทั้ง 3 ขอนี้ใชภาพพจนอุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งใหคลายหรือเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง โดยมักใชคําวา
“เหมือน” หรือ “ดั่ง”
8. ตอบ ขอ 2. มีการเลนเสียงสระ
การเลนเสียงสระ หมายถึง คําประพันธที่มีเสียงคลองจองกันดวยเสียงสระ โดยในบทประพันธนี้เปน
กาพยยานี 11 ที่มีการเลนเสียงสระอู สังเกตจากมีคําที่ประสมดวยสระ อู และไมมีเสียงพยัญชนะสะกดถึง
9 คํา ไดแก ดู หนู สู รู งู สู อยู ทู และมูทู

แบบทดสอบ
ขอ 1. การเลนคํา หมายถึง การใชคําคําเดียวกันซํ้าในคําประพันธ แตความหมายของคําจะแตกตางกันไป
ขอ 3. การเลนเสียงพยัญชนะ หมายถึง คําประพันธที่มีเสียงคลองจองกันดวยเสียงพยัญชนะตน
ขอ 4. การเลนเสียงวรรณยุกต หมายถึง การใชเสียงวรรณยุกตทแี่ ตกตางกัน ในคําทีม่ พี ยัญชนะตน สระ และ
พยัญชนะสะกดเหมือนกัน โดยไลเรียงไปตามระดับเสียงวรรณยุกต
9. ตอบ ขอ 4. แหวนของแมนวลที่นายลํ้าเก็บไวดูตางหนา

โครงการบูรณาการ
นายลํ้ามอบแหวนของแมนวลเพื่อเปนของขวัญรับไหววันแตงงานแมลออ ดังคําพูดของนายลํ้าที่วา
“นีแ่ นะครับ แหวนนีเ้ ปนของแมนวล ผมไดตดิ ไปดวยสิง่ เดียวเทานีแ้ หละ… พอถึงวันแตงงานแมลออ เจาคุณ
ไดโปรดใหแหวนนี้แกเขา”
10. ตอบ ขอ 3. กลับตัวกลับใจ
เนื้อเรื่องในตอนนี้พระยาภักดีมีจุดประสงคจะบอกแกนายลํ้าวาคนที่เคยไดรับพระราชอาญานั้น ไมใชวาใคร
จะพากันตัดรอนไมใหความชวยเหลือ ตรงกันขามคนผูนั้นกลับมีโอกาสกลับตัวกลับใจ ทํามาหากินอยาง
สุจริตตอไปได
11. ตอบ ขอ 2. เพราะตั้งใจจะมาพึ่งพาลูกสาว
สังเกตจากคําพูดของนายลํา้ ทีว่ า “ผูท จี่ ะมาเปนลูกเขยของผมนะ เขาก็มงั่ มีพออยูไ มใชหรือ เขาจะเลีย้ งผมไว
สักคนไมไดเชียวหรือ” คําพูดดังกลาวนี้ แสดงใหเห็นวานายลํา้ มาหาพระยาภักดีเพราะมีเจตนาทีจ่ ะมาพึง่ พา
แมลออใหชวยเลี้ยงดูตนเองซึ่งกําลังตกอับ
12. ตอบ ขอ 2. เปนคนรูจักกาลเทศะ
แมลออเห็นวานายลํ้ากับพระยาภักดีไมไดพบกันนาน คงอยากคุยกันตามประสาคนวัยเดียวกันมากกวา
13. ตอบ ขอ 3. มีความรักและหวังดีตอลูก
พระยาภักดีเกรงวานายลํ้าจะบอกความจริงกับแมลออวานายลํ้าเปนพอที่แทจริงของแมลออ พระยาภักดี
จึงเสนอเงินจํานวนหนึ่งรอยชั่งใหนายลํ้าเพื่อเปนขอแลกเปลี่ยน ซึ่งการกระทํานี้แสดงใหเห็นวาพระยาภักดี
มีความรักและความหวังดีตอแมลอออยางแทจริง
14. ตอบ ขอ 4. แกไดพยายามที่จะสําแดงใหปรากฏอยางไรบาง
สํานวน “สําแดงใหปรากฏ” เปนสํานวนภาษาที่ไมนยิ มใชในปจจุบนั โดยปจจุบนั นิยมใชคาํ วา “แสดงออก” แทน

(13) โครงการวัดและประเมินผล
15. ตอบ ขอ 3. เปนละครพูดที่ไมมีเคาโครงเรื่องมาจากตางประเทศ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงพระราชนิพนธบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกขึ้นเอง โดยมิได
แปลหรือดัดแปลงมาจากบทละครตางประเทศเหมือนบทละครพูดเรื่องอื่นๆ
16. ตอบ ขอ 1. นายลํ้า
วรรณคดีเรื่องนี้แสดงใหเห็นถึงคุณธรรมความรักอันยิ่งใหญของพอที่มีตอลูก คือ ความรักและความเสียสละ
ที่นายลํ้ามีใหแมลออ ซึ่งเปนพฤติกรรมที่สัมพันธกับชื่อเรื่องของบทละครพูด คือ “เห็นแกลูก”
17. ตอบ ขอ 2. เพื่อใหแมลออมีชีวิตที่สุขสบาย
ขอนี้ไดสะทอนคานิยมของคนไทยที่นับถือรูปสมบัติภายนอก เพราะถาทุกคนทราบวาแมลออมีพอเปน
คนไมดี ทุกคนคงไมยกยองใหเกียรติและอาจพากันรังเกียจแมลออได
18. ตอบ ขอ 3. ภาษาตางประเทศมีใชในภาษาพูดของคนไทย
ในสมัยรัชกาลที่ 6 คนไทยนิยมเดินทางไปศึกษายังตางประเทศมากขึ้น ทําใหมีการนําเอาภาษาอังกฤษ
ซึ่งเปนภาษากลางในการสื่อสารมาใชในภาษาพูดมากขึ้น จนมีคํากลาวที่วา “พูดไทยคําอังกฤษคํา”
19. ตอบ ขอ 4. เงินนะไมเสียดายหรอก ฉันเสียดายชื่อและความสุขของแมลออ
บทสนทนานี้เปนการแสดงความรักและความหวังดีอยางแทจริงของพระยาภักดีที่มีตอแมลออ ถึงขนาด
แบบทดสอบ

ยอมสละทรัพยสินสวนตัวเปนจํานวนมากใหแกนายลํ้า เพื่อแลกกับความสุขของแมลออ
20. ตอบ ขอ 1. บทสนทนาที่เหมาะสมกับนิสัยตัวละคร
คําวา “นํ้าเหลืองๆ” ในขอความนี้ หมายถึง สุรา ซึ่งแสดงใหเห็นถึงลักษณะนิสัยของนายลํ้าที่เปนคนติดสุรา
21. ตอบ ขอ 4. จิตใจที่บริสุทธิ์ของพอที่มีตอลูก
ใจความสําคัญของเรือ่ ง หมายถึง ทัศนะหรือเจตนารมณทกี่ วีตอ งการนําเสนอตอผูอ า นโดยแฝงอยูในเนือ้ หา
โครงการบูรณาการ

ของเรือ่ ง ซึง่ ในเรือ่ งนีท้ งั้ พระยาภักดีและนายลํา้ ตางก็มคี วามรักทีบ่ ริสทุ ธิต์ อ แมลออ และดวยความรักทีบ่ ริสทุ ธิ์
ของทั้งสองคนนี้ก็ทําใหเรื่องราวจบลงอยางมีความสุข
22. ตอบ ขอ 4. ความรักที่ยิ่งใหญของพอที่มีตอลูก
นายลํา้ รักแมลออมากจึงยอมทีจ่ ะไมเปดเผยวาตนเปนพอทีแ่ ทจริงของแมลออ เพราะเกรงวาแมลออจะเสียใจ
และผิดหวังกับภาพพอที่แมลออเคยวาดไวในใจ
23. ตอบ ขอ 4. จินตนาการของทานเอง
วรรณคดีเรื่องพระอภัยมณีนี้มีความดีเดนอยางมากในดานจินตนาการของผูแตง คือ ทานสุนทรภู ตัวอยาง
เชน ปรากฏตัวละครอมนุษยมากมายทั้งเงือก ยักษ ผีดิบ รวมไปถึงอาวุธที่ใชในเรื่องก็เปนของแปลกใหม
เชน ตราราหู สายกวิน ทุรัน ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้แสดงใหเห็นถึงอัจฉริยภาพ
24. ตอบ ขอ 2. ที่อยูของนักบวช
บทประพันธนี้กลาวถึงตอนที่พระอภัยมณีเกาะหลังนางเงือกมาจนถึงเกาะแกวพิสดารแลวเห็นที่อยูของ
นักบวช คือ พระฤๅษี จึงชี้บอกสินสมุทรผูเปนบุตรชาย
25. ตอบ ขอ 4. นภาพร อัมพร
นภาพรและอัมพร หมายถึง ทองฟา
ขอ 1. ชลาลัย ชลธี
ขอ 2. คงคา นที
ขอ 3. สายชล วารี
คําศัพททั้ง 3 ขอนี้ มีความหมายวา แมนํ้าหรือสายนํ้า

โครงการวัดและประเมินผล (14)
26. ตอบ ขอ 3. แสดงแนวคิดที่แปลกใหมของตัวละคร
เรื่องพระอภัยมณีไดแสดงแนวคิดที่แปลกใหมของตัวละคร เชน การมีภรรยาเปนชาวตางชาติ (นางละเวง)
การยกยองสตรีใหเปนผูนําในสังคม และตัวละครเอกของเรื่องมีความสามารถทางดานดนตรี คือ การเปาป
เปนตน
27. ตอบ ขอ 1. นิราศ
นิราศของสุนทรภูเปนการนําเอาวิธีการแตงกลอนเพลงยาวมาปรับปรุง และเพิ่มเติมวิธีการบรรยาย
และพรรณนาสถานที่ที่เดินทางผาน พรอมทั้งสอดแทรกบทครํ่าครวญอาลัยถึงนางอันเปนที่รัก โดยนิราศ
ของสุนทรภูในแตละเรือ่ ง จะบอกเลาประวัตชิ วี ติ ของทานทัง้ ตอนรุง เรือง ตอนมีความรัก กระทัง่ ถึงตอนตกอับ
จนมีคํากลาววา “นิราศคือชีวิตของสุนทรภู”
28. ตอบ ขอ 3. ลักษณะคําประพันธ
วรรณคดีเรื่องนิราศสุพรรณแตงดวยคําประพันธประเภทโคลงสี่สุภาพ เนื่องจากเหตุผลที่วาสุนทรภูตองการ
ใหผอู า นทราบวาทานมีความสามารถแตงโคลงสีส่ ภุ าพไดและตองการใหมผี ลงานประเภทโคลงปรากฏอยูด ว ย
สวนนิราศอีก 8 เรื่องของทานนั้น ใชคําประพันธประเภทกลอนนิราศ คือ มีลักษณะคลายคลึงกับกลอน
สุภาพ แตจะเริ่มดวยวรรครับ และวรรคสุดทายจะลงทายดวยคําวา เอย
29. ตอบ ขอ 4. มีสัมผัสในทุกวรรคทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร

แบบทดสอบ
ในเรือ่ งสัมผัสในนีส้ นุ ทรภูเ ปนผูร เิ ริม่ ขึน้ ทัง้ สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะจนถือเปนแบบอยางในการพิจารณา
กลอนที่ไพเราะมาจนปจจุบัน
30. ตอบ ขอ 4. เจียระบาดคาดองคก็ทรงเปลื้อง ใหเปนเครื่องนุงหมโอรสา
ขอนี้เปนการบรรยายการแตงกายของตัวละคร มิไดมีเนื้อหาเกี่ยวกับความเชื่อของคนไทย
ขอ 1. พอมอยหลับกลับจิตนิมิตฝน วาเทวัญที่เกาะนั้นเหาะเหิน

โครงการบูรณาการ
สะทอนความเชื่อของคนไทยในเรื่องการทํานายความฝนและโชคลาง
ขอ 2. ดวยโยคีมีมนตดลวิชา ปราบบรรดาภูตพรายใหกรายไป
สะทอนความเชื่อของคนไทยในเรื่องวิชาอาคมที่สามารถปราบภูตผีปศาจได
ขอ 3. นึกจะใครสะเดาะพระเคราะหเจา พอบรรเทาโทษาที่อาสัญ
สะทอนความเชื่อของคนไทยในเรื่องการสะเดาะเคราะห
31. ตอบ ขอ 4. การมีสัมมาคารวะตอผูใหญ
บทประพันธนี้เปนตอนที่พระอภัยมณีสั่งสินสมุทรซึ่งเปนเด็กใหขอโทษ (ขอสมา) เงือกพอเงือกแมซึ่งเปน
ผูอาวุโสกวากอนที่จะชวยอุมออกไป
32. ตอบ ขอ 4. ทุกขอที่กลาวมาถูกตอง
เพราะสุนทรภูนั้นทานเกิดในสมัยรัชกาลที่ 1 เจริญกาวหนาในสมัยรัชกาลที่ 2 และมีชีวิตที่ตกอับในสมัย
รัชกาลที่ 3 แตสุนทรภูก็ยังแตงวรรณคดีอีกหลายเรื่อง ซึ่งเปนผลงานใหชนรุนหลังไดศึกษา
33. ตอบ ขอ 3. กลอนไพเราะ เนื้อเรื่องสนุก จินตนาการแปลกใหม
เรื่องพระอภัยมณีมีบทกลอนที่ ไพเราะ มีสัมผัสในแพรวพราวทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร มีเนื้อหา
แปลกใหมสนุกสนาน ประกอบกับจินตนาการอันกาวหนาของกวีที่ไดสรางสรรคตัวละครและองคประกอบ
ตางๆ ของเรื่องใหผสมผสานกันอยางลึกซึ้งกลมกลืน
34. ตอบ ขอ 2. เงือกนํ้า
ตามเนื้อเรื่อง พระอภัยมณีไดชวยชีวิตเงือกนํ้าไว เงือกนํ้าจึงสัญญาวาจะชวยเหลือพระอภัยมณีใหหนี
จากนางผีเสื้อสมุทร โดยยอมสละชีวิตเพื่อหลอกลอนางผีเสื้อสมุทรไว เพื่อใหสินสมุทรและนางเงือกพา
พระอภัยมณีหนีไปยังเกาะแกวพิสดารได

(15) โครงการวัดและประเมินผล
35. ตอบ ขอ 4. ความรักแบบไมเต็มใจยอมไมยั่งยืน
ตามเนือ้ เรือ่ ง ตัวเอกของเรือ่ ง คือ พระอภัยมณีไมไดมคี วามรักความเสนหาในตัวนางผีเสือ้ สมุทรเลยตัง้ แตตน
แตตองมาใชชีวิตคูรวมกันก็เปนเพราะถูกบังคับลักพามา ภายหลังจึงคิดหนี กระทั่งนํามาซึ่งความตายของ
นางผีเสื้อสมุทร จากเพลงปของพระอภัยมณีเอง
36. ตอบ ขอ 4. ดวยองคพระชนนีเปนผีเสื้อ อันชาติเชื้ออยูถํ้าลําละหาร
กลอนบทนี้มีเนื้อหาวา สินสมุทรกลาวถึงนางผีเสื้อสมุทรวามิใชมนุษยตองอยูตามถํ้า ซึ่งมิไดสะทอน
ความเชื่อแตอยางใด
ขอ 1. ทั้งนี้เพราะเคราะหกรรมทําใหวุน จึงสิ้นบุญวาสนานิจจาเอย
สะทอนความเชื่อของคนไทยในเรื่องเคราะหกรรมและบุญวาสนาที่ไดกระทํามา
ขอ 2. อยาฆาสัตวตัดชีวิตพิษฐาน หมายวิมานเมืองแมนแดนสวรรค
สะทอนความเชื่อของคนไทยในเรื่องนรกสวรรคและผลกรรมจากการฆาสัตว
ขอ 3. เราลงเลขเสกทําไวสําเร็จ ดังเขื่อนเพชรภูตปศาจไมอาจใกล
สะทอนความเชื่อของคนไทยในเรื่องไสยศาสตรการลงอาคมปองกันภูตผีปศาจ
37. ตอบ ขอ 2. จิตนิวรณ
จิตนิวรณ คือ ความฝนที่เกิดจากอารมณผูกพันหรือการฝกใฝจดจอกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง รวมไปถึงเรื่องที่พบเห็น
แบบทดสอบ

แลวจดจําได กลาวคือ นางผีเสื้อสมุทรไมสบายใจ เมื่อเห็นพระอภัยมณีมีความทุกข ทําใหกังวลใจกระทั่ง


เก็บไปฝน
ขอ 1. บุรพนิมติ คือ ความฝนทีเ่ กิดจากอํานาจกุศลจิตและอกุศลจิตของผูฝ น เอง เปนเรือ่ งราวของอดีตทีม่ า
ปรากฏในฝนบอกเหตุการณที่จะเกิดขึ้น ไมวาจะเปนลางรายหรือโชคลาภในอนาคต
ขอ 3. เทพสังหรณ คือ ความฝนที่เกิดขึ้นจากเทวดาบันดาล เพื่อสําแดงแจงเหตุการณลวงหนา เนนเรื่อง
มงคล แตถาเปนฝนรายเรื่องรายก็เปนเหมือนการตักเตือนผูฝนใหระวังและปองกันภัย
โครงการบูรณาการ

ขอ 4. ธาตุโขภะ คือ ความฝนทีเ่ กิดเพราะธาตุพกิ าร คือ กายไมปกติ เชน กินมาก นอนมาก ความฝนลักษณะนี้
เปนฝนที่ไรสาระไมมีมูลความจริง ไมใหประโยชน ซึ่งโดยมากจะเปนความฝนไมคอยดี
ซึ่งจากบทกลอนนี้ยังใหคุณคาในดานสะทอนความเชื่อเรื่องความฝนและโชคลางของคนไทยอีกดวย
38. ตอบ ขอ 2. 3 คํา
บทประพันธนี้มีคํายืมที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตใชรวมกัน 3 คํา ไดแก องค อภัย และนาถ
39. ตอบ ขอ 2. ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร
ขอ 1., 3. และ 4. ใชกลวิธีการประพันธแบบซํ้าคํา คือ
ขอ 1. ซํ้าคําวา ฉนาก
ขอ 3. ซํ้าคําวา กระโห
ขอ 4. ซํ้าคําวา ฉลาม
ซึ่งกลวิธีการแตงแบบซํ้าคําเชนนี้ ถือวามีความดีเดนดานวรรณศิลปคือความประณีตในการเลือกสรรถอยคํา
อันแสดงใหเห็นถึงอัจฉริยภาพทางภาษาของกวี
40. ตอบ ขอ 3. หวาดกลัว ทุกขใจ
สังเกตจากขอความที่วา “หวาดองคพระทรงโฉม” และ “ทุกขโทมนัสในฤทัยทวี” ซึ่งเปนตอนที่กลาวถึง
พระอภัยมณีกับนางเงือกกําลังหนีนางผีเสื้อสมุทร โดยบรรยายวาพระอภัยมณีมองเห็นแตมหาสมุทร
กวางใหญสุดสายตา บรรยากาศรอบตัวก็มืดมัว พระอาทิตยถูกบดบังดวยกลุมเมฆ และคลื่นลมมีความ
รุนแรง พระองคจึงทรงมีความรูสึกหวาดกลัวและทุกขใจ

โครงการวัดและประเมินผล (16)
ตอนที่ 2
1. แนวตอบ ประการแรก ขนบธรรมเนียมประเพณีสมัยกอนสอนใหผูหญิงรูจักสงบเสงี่ยม จนมีการกีดกันการศึกษา
เลาเรียนทางหนังสือเพราะถือวาเปนเรื่องและหนาที่ของผูชาย ซึ่งจะเปนผูนําของครอบครัว ถึงกับกลาววา
ผูห ญิงเปนเพียงชางเทาหลังทีม่ หี นาทีป่ ฏิบตั ติ ามแตเพียงประการเดียว นอกจากนีก้ ารศึกษาเลาเรียนหนังสือ
ถาไมอยูในรั้วในวังแลวสถานที่แหงเดียวที่สอนหนังสือก็คือวัด การที่ผูหญิงเขาไปคลุกคลีในวัดเปนการ
ไมเหมาะสมจึงเทากับเปดโอกาสใหผูชายเทานั้น เพราะถือวาเปนผูมีโอกาสบวชเรียน
ประการที่สอง เรื่องในวรรณคดียังเปนเรื่องของศาสนาและความรัก สมัยนั้นเห็นวาไมสมควรที่ผูหญิง
จะเขียนถึงหรือใหความสนใจ เรื่องศาสนาเปนเรื่องของผูชาย สวนเรื่องรักๆ ใครๆ ก็เปนเรื่องที่ผูชายเทานั้น
ที่จะแสดงออกได ผูหญิงไดรับการสั่งสอนใหรูจักปกปดสงบเสงี่ยม ดังเชนในสุภาษิตสอนหญิงที่สอนเรื่องนี้
ไววา
อันที่จริงหญิงชายยอมหมายรัก มิใชจักตัดทางที่สรางสม
แมนจักรักรักไวในอารมณ อยารักชมนอกหนาเปนราคี
2. แนวตอบ จากบทละครพูดเรือ่ งเห็นแกลกู ไดแสดงสัจธรรมของมนุษย อันไดแก มนุษยทกุ คนยอมมีความเห็นแกตนเอง
รักตนเอง และยึดถือตนเองเปนทีต่ งั้ แตเหนือสิง่ อืน่ ใดคนทีเ่ ปนพอแมยอ มเห็นแกลกู มากกวาตนเอง ตองรัก

แบบทดสอบ
และเสียสละทุกอยางเพื่อลูก ดังเชน นายลํ้า ตัวละครเอกในบทละครพูดเรื่องนี้ ที่มีนิสัยเห็นแกตนเอง
โดยที่แตเดิมตั้งใจจะมาแสดงตนวาเปนพอที่แทจริงของแมลออเพื่อหวังใหแมลออเลี้ยงดูยามตกอับ แตเมื่อ
ไดพบและสนทนากับแมลออแลว นายลํ้ากลับตองเปลี่ยนความคิดดวยความที่เห็นแกลูกจึงไมเปดเผยวา
ตนเองเปนใคร ดังบทสนทนาระหวางนายลํ้ากับพระยาภักดีที่วา “หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึน้ ไวในใจ
วาเปนคนดีอยางไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย” การกระทําเชนนี้ของนายลํ้า จึงนับเปนเรื่องที่

โครงการบูรณาการ
นายกยองสอดคลองกับหลักสัจธรรมและชื่อเรื่องของบทละครพูด คือ “เห็นแกลูก”
3. แนวตอบ ตัวละครที่นาเห็นใจมากที่สุด คือ สินสมุทร เพราะ
ประการแรก สินสมุทรเปนบุตรทีม่ ารดาไมรกั กลาวคือ สินสมุทรเปนบุตรของพระอภัยมณีกบั นางผีเสือ้ สมุทร
แตในเนื้อเรื่องกลาววานางผีเสื้อสมุทรรักพระอภัยมณีมาก แตกลับไมรักไมเอาใจใสสินสมุทรผูเปนบุตรชาย
มากนัก อีกทั้งยังดุวาและเฆี่ยนตีสินสมุทรอยูบอยครั้ง จนสินสมุทรมีความรูสึกกลัวมากกวาที่จะเคารพรัก
มารดา ดังคําประพันธที่วา
จึงกราบกรานมารดาแลววาไป จะเขาใกลทูนหัวลูกกลัวนัก
เมื่อวานนี้ตีขานอยไปหรือ ระบมมือเหมือนกระดูกลูกจะหัก
และ
ฝายกุมารสินสมุทรสุดสวาท ไมหางบาทบิดาอัชฌาสัย
ความรักพอยิ่งกวาแมมาแตไร ดวยมิไดขูเข็ญเชนมารดา
ประการที่สอง สินสมุทรเกิดความลําบากใจเมื่อตองเลือกระหวางบิดากับมารดา กลาวคือ สินสมุทรมีความ
รูสึกลําบากใจมากที่ตองเลือกระหวางบิดากับมารดาวาตนจะเลือกอยูกับผูใด โดยในเนื้อเรื่องกลาวถึงความ
รูสึกของสินสมุทรวารักพระอภัยมณีผูเปนบิดามากและอยากชวยเหลือใหหนีจากนางผีเสื้อสมุทรเพื่อกลับ
ไปหาญาติพี่นอง แตอีกใจสินสมุทรก็มีความเห็นใจนางผีเสื้อสมุทรผูเปนมารดามากเชนกัน ดังนั้นสินสมุทร
จึงถือเปนตัวละครที่นาเห็นใจมากที่สุดในเนื้อเรื่องตอนนี้

(17) โครงการวัดและประเมินผล
เฉลยแบบทดสอบ ภาคเร�ยนที่ 1
ชุดที่ 2
ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 1. การวิจารณวรรณคดี
การวิจารณวรรณคดี หมายถึง การใชเหตุผลอธิบาย หรือแสดงความคิดเห็นตอกลวิธีการแตง การใชภาษา
รูปแบบคําประพันธ เนื้อหา หรือแนวคิด เปนตน
ขอ 2. การวิพากษวรรณคดี หมายถึง การแสดงความรูสึกอยางมีเหตุผลวาชอบหรือไมชอบวรรณคดีเรื่อง
นั้นๆ เพราะอะไร
ขอ 3. การวิเคราะหวรรณคดี หมายถึง การแยกแยะรายละเอียดของวรรณคดีออกเปนสวนๆ เพื่อศึกษา
ใหถองแท
ขอ 4. การสังเคราะหวรรณคดี หมายถึง การรวบรวมรายละเอียดของวรรณคดีเพื่อศึกษาอยางเปนระบบ
2. ตอบ ขอ 1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม
วรรณคดีคือหนังสือที่ไดรับการยกยองวาแตงดี เปนมรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมายาวนาน มีขึ้น
แบบทดสอบ

ตั้งแตสมัยสุโขทัยเรื่อยมาจนสิ้นสุดในสมัยรัชกาลที่ 6
3. ตอบ ขอ 1. รัชนี ศศิธร โสม
ในขอนี้ทั้งสามคํามีความหมายเหมือนกัน คือ ดวงจันทร
ขอ 2. วารี และ ธารา หมายถึง นํ้า สวน นภาพร หมายถึง ทองฟา
ขอ 3. พสุธา และ ธาตรี หมายถึง แผนดิน สวน สายชล หมายถึง นํ้า
โครงการบูรณาการ

ขอ 4. กัญญา และ นงราม หมายถึง หญิงสาวหรือสาวงาม สวน คัคนานต หมายถึง ทองฟา
4. ตอบ ขอ 3. คุณคาทางดานความคิดและอารมณ
การศึกษาวรรณคดีนั้นยอมไดรับคุณคาทั้งทางดานความรู ความคิด และคุณคาทางดานอารมณ คือ ทัศนะ
ของกวีที่สรางสรรคงานใหกระทบใจผูอานจนมีอารมณรวมไปกับงานชิ้นนั้นๆ
5. ตอบ ขอ 1. รามเกียรติ์
วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์กลาวถึงการที่พระรามซึ่งเปนมนุษยสามารถใชความดีและความสามารถเอาชนะ
ทศกัณฐซึ่งเปนยักษที่มีอํานาจและพละกําลังมากได
6. ตอบ ขอ 1. เห็นหรุมรุมทรวงเศรา รุมรุมเราคือไฟฟอน
บทประพันธนี้มีเสียงพยัญชนะ /ร/ ซํ้ากัน 5 คํา คือ หรุม รุม รุม รุม เรา
มีเสียงพยัญชนะ /ซ/ ซํ้ากัน 2 คํา คือ ทรวง เศรา
มีสียงพยัญชนะ /ฟ/ ซํ้ากัน 2 คํา คือ ไฟ ฟอน
7. ตอบ ขอ 4. ประกายพรึกกะพริบพลิ้วพนทิวไม
บทประพันธนเี้ ปนจินตภาพที่ไดจากการมองเห็น สวนขอ 1., 2. และ 3. เปนจินตภาพที่ไดจากการไดยินเสียง
สังเกตจากคําวา “เสนาะเสียง” “ทุมตํ่า” และ “แววเพียงเสียง” ตามลําดับ
8. ตอบ ขอ 4. รูปแบบของงานเขียนเชิงสรางสรรค ไมจําเปนตองสอดคลองกับเนื้อหา
คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมเชิงสรางสรรคนั้น จะเกิดขึ้นไดก็ตองมีรูปแบบที่สอดคลองกับเนื้อหา
เปนสําคัญ

โครงการวัดและประเมินผล (18)
9. ตอบ ขอ 3. นายลํ้า ทิพเดชะ
นายลํ้า ทิพเดชะ เปนผูกลาวในตอนที่แมลออออกมาพบแลวสนทนากับนายลํ้าวาบุคลิกลักษณะของพอที่
แมลออคิด คือ เปนคนซื่อ ใจคอกวางขวาง
10. ตอบ ขอ 4. เรื่องสนุก คําพูดของตัวละครคมคายใหแงคิด
บทละครพูดจะมีลักษณะคลายเรื่องสั้น คือ มีการเปดเรื่อง ดําเนินเรื่อง คลี่คลาย และจุดจบของเรื่อง ดังนั้น
บทละครพูดจึงมีภาษาที่ลึกซึ้งคมคายใหแงคิด ซึ่งสิ่งเหลานี้สงผลใหเนื้อเรื่องมีความนาสนใจ นาติดตาม
11. ตอบ ขอ 1. ตั้งใจ
คําเต็มของคําวา “หมาย” ในที่นี้คือ “หมายใจ” ซึ่งเปนสํานวนภาษาในสมัยรัชกาลที่ 6 โดยมีความหมาย
ตรงกับความหมายในปจจุบันวา “ตั้งใจ”
12. ตอบ ขอ 3. นายลํ้าแตงกายคอนขางจะปอนๆ
ขอนี้สะทอนคานิยมในสังคมสมัยนั้นที่วา บุคลิกการแตงกายเปนสิ่งแรกที่คนจะมองเห็นและเปนสิ่งซึ่งแสดง
ถึงบุคลิกลักษณะของคนผูนั้น ดังนั้นอายคําจึงไมไวใจนายลํ้าที่แตงตัวปอนๆ หรือแตงตัวไมดี
13. ตอบ ขอ 3. ไมฟุมเฟอย
จากขอความขางตนเปนคําพูดของพระยาภักดีซึ่งเปนผูมียศถาบรรดาศักดิ์และมีฐานะดี แตกลับใชของใช

แบบทดสอบ
หรือเครื่องประดับที่เปนของไมคอยมีราคาสูง สิ่งนี้ยอมแสดงใหเห็นวาพระยาภักดีเปนคนไมฟุมเฟอย
14. ตอบ ขอ 4. พูดสอเสียด
จากบทสนทนาขางตนเปนบทสนทนาระหวางนายลํา้ กับพระยาภักดี ซึง่ นายลํา้ พูดโดยมีเจตนาประชดประชัน
สอเสียดใหผูฟงรูสึกไมพอใจและทําใหผูฟงเสื่อมเสียชื่อเสียง
15. ตอบ ขอ 2. การตอนรับผูมาเยือน

โครงการบูรณาการ
เนื้อเรื่องกลาวถึง อายคําคนรับใชของพระยาภักดีออกมาตอนรับนายลํ้าผูเปนแขก และดูแลเชิญใหนั่ง
พรอมทั้งหานํ้าดื่มมาให กอนที่พระยาภักดีจะออกมาพบ
16. ตอบ ขอ 3. อยาไดบอกความจริงแกแมลออเลย ใหเขานับถือรูปผมอันเกานั้นวาเปนพอของเขา
บทสนทนานี้แสดงใหเห็นวานายลํ้าไมตองการบอกความจริงแกแมลออวาตนเปนพอ เพราะคิดวาตนเอง
ไมดีพอที่จะเปนพอของแมลออและอาจทําใหแมลออเสียเกียรติและอับอายได
17. ตอบ ขอ 2. การใชคําสรรพนาม
บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก มีลักษณะการใชคําสรรพนามที่แตกตางจากปจจุบันมาก เชนคําวา ใตเทา
เกลาผม เจาคุณ เปนตน
18. ตอบ ขอ 1. ความเห็นแกตัว
การที่นายลํ้าตองการพบแมลออทันทีนั้น มีเหตุผลเนื่องมาจากตองการมาพึ่งพาลูกสาว เพราะหมดทาง
ทํามาหากินแลว
19. ตอบ ขอ 4. การกตัญูตอผูมีพระคุณ
สังเกตจากบทสนทนาที่วา “ถาใครบอกดิฉันวาเปนคนไมดี ดิฉันไมยอมเชื่อเปนอันขาดเทียว บทสนทนา
ดังกลาวแสดงใหเห็นถึงความกตัญูของแมลออที่มีตอพอ เพราะแมจะไมเคยพบหนาพอที่แทจริงเลย
แตแมลออก็ยังรักและเคารพพออยูเสมอ
20. ตอบ ขอ 4. แพคุณธรรมประจําใจตนเอง
นายลํ้าพายแพตอคุณธรรมประจําใจของตนเอง คือ ความไมเห็นแกตัว คุณธรรมของความเปนพอที่รัก
และหวังดีตอลูกอยางแทจริง

(19) โครงการวัดและประเมินผล
21. ตอบ ขอ 4. กํากับบทใหตัวละครแสดง
บทละครพูดของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวนั้น จะมีการบรรยายกิริยาทาทางของตัวละคร
แตละตัวไวอยางละเอียด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยใหนักแสดงไดแสดงตามบทบาทใหสมบทบาทยิ่งขึ้น
22. ตอบ ขอ 2. ใหขอคิดคติธรรมในการดําเนินชีวิต
บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกนี้ นอกจากใหความสนุกสนานเพลิดเพลินแลว ประโยชนประการสําคัญ คือ
ใหขอ คิดและคติธรรมในการดําเนินชีวติ เพราะเปนการสะทอนคุณธรรมในขอความไมเห็นแกตวั อันเกิดจาก
ความรักที่ยิ่งใหญของพอที่มีตอลูก
23. ตอบ ขอ 2. ศรีสุวรรณ
บทประพันธนเี้ ปนตอนทีพ่ ระอภัยมณีออ นวอนตอนางผีเสือ้ สมุทรวาพระองคพลัดพรากจากนอง (ศรีสวุ รรณ)
และพระบิดาพระมารดามานาน อยากจะกลับไปหา ขอใหนางผีเสื้อสมุทรเห็นใจและอยาโกรธเลย
24. ตอบ ขอ 4. เพราะทั้งรสคําและรสความมีความไพเราะและความหมายดี
ผลงานของสุนทรภูม กั เปนทีจ่ ดจําของผูอ า นมากมาย เพราะมีความดีเดนทัง้ ทางดานวรรณศิลปและทางดาน
เนื้อหาสาระ ขอคิดสอนใจ เชน ไมเมาเหลาแลวแตเรายังเมารัก มีสลึงพึงบรรจบใหครบบาท ถึงบางพูด
พูดดีเปนศรีศักดิ์ เปนตน
25. ตอบ ขอ 3. ถอยคําหรือคําพูด
แบบทดสอบ

จากเนื้อเรื่อง เพลงปของพระอภัยมณีมีบทบาทที่สําคัญมากตั้งแตตอนตนเรื่องอันเปนชนวนของเรื่องราว
ทั้งหมด คือ การที่นางผีเสื้อสมุทรไดยินเพลงปของพระอภัยมณี จึงตามเสียงมาจนพบและเกิดความรูสึก
รักใคร จึงลักพาพระอภัยมณีมาเปนสามีของนาง และในตอนทายของตอนนี้คือ กลาวถึง พระอภัยมณี
หนีนางผีเสือ้ สมุทร มายังเกาะแกวพิสดาร แลวตัดสินใจบรรเลงเพลงป อันเปนเหตุใหนางผีเสือ้ สมุทรสิน้ ชีวติ
จากเนือ้ เรือ่ งดังกลาวนีแ้ สดงใหเห็นวา เพลงปข องพระอภัยมณีจะถูกใชเพือ่ ประโยชนในดานการเปนตัวแปร
ใหเกิดเหตุการณตางๆ และเปนตัวชวยคลี่คลายปญหา ดังนั้นเพลงปของพระองคจึงเปรียบไดกับถอยคํา
โครงการบูรณาการ

หรือคําพูดของมนุษย เพราะถึงแมวาจะเปนเพียงเสียงหรือทวงทํานองของเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง แตก็


มีคุณสมบัติ เชนเดียวกับถอยคําที่แยบคายใหขอคิดเตือนใจ หรืออาจเปนถอยคําอันเฉียบคมที่สามารถ
เชือดเฉือนคนฟงใหตายได
26. ตอบ ขอ 3. กตัญู
บทประพันธนี้เปนตอนที่พระอภัยมณีกลาวกับเงือกพอเงือกแมวาใหรีบหนีไปกอนที่นางผีเสื้อสมุทรจะตาม
มาทัน แสดงใหเห็นวาพระอภัยมณีมีความกลาหาญ เสียสละ และเห็นอกเห็นใจผูอื่น ซึ่งลักษณะดังกลาว
ทั้งหมดนี้รวมแสดงใหเห็นถึงคุณธรรมที่ชื่อวาความกตัญู
27. ตอบ ขอ 3. เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ
คําประพันธนี้กลาวถึงปลาฉลามที่วายตามกันไปเรื่อยๆ ในลํานํ้าสายนี้
28. ตอบ ขอ 2. อสุรีผีเสื้อเหลือจะอด แคนโอรสราวกับไฟไหมมังสา
มีภาพพจนอุปมา สังเกตจากคําวา “ราวกับ” และมีภาพพจนอติพจน โดยสังเกตจากเนื้อความที่วา “ไฟไหม
มังสา” แปลวา โกรธมากราวกับไฟอันรอนแรงที่สามารถแผดเผารางกายได
29. ตอบ ขอ 2. พระเสด็จไปไหนจะไปดวย เปนเพื่อนมวยภัสดาจนอาสัญ
เปนตอนที่นางผีเสื้อสมุทรกลาววา ถาพระอภัยมณีเสด็จไหน นางผีเสื้อสมุทรก็จะตามไปดวย คอยดูแล
ปรนนิบัติเปนคูชีวิตกันไปจนวันตาย ซึ่งเปนลักษณะของครอบครัวคูสามี-ภรรยาที่รวมทุกขรวมสุขดวยกัน
30. ตอบ ขอ 1. พงศกษัตริยตรัสชวนสินสมุทร สอนใหบุตรขอสมาอัชฌาสัย
คําวา “ขอสมา” หมายถึง ขอโทษ โดยในบทประพันธนเี้ ปนตอนทีพ่ ระอภัยมณีสอนใหสนิ สมุทร กลาวขอโทษ
เงือกพอกอนที่จะขึ้นบาเพื่อเปนการแสดงความเคารพผูอาวุโสกวา ซึ่งการกระทําดังกลาวถือเปนธรรมเนียม
ปฏิบัติของคนไทย

โครงการวัดและประเมินผล (20)
31. ตอบ ขอ 2. นางผีเสื้อเหลือโกรธโลดทะลึ่ง โตดั่งหนึ่งยุคุนธรขุนไศล
ยุคุนธรหรือยุคนธรเปนหนึ่งในเทือกเขาที่ลอมรอบเขาพระสุเมรุ ซึ่งมีทั้งหมด 7 เทือกเขา ไดแก ยุคนธร
อิสินธร กรวิก สุทัสนะ เนมินธร วินตกะ และอัสกัณ เรียกรวมวา เขาสัตบริภัณฑ
32. ตอบ ขอ 3. ตน ตน ตน
ภาษาไทยกําหนดลักษณนามของคํานามพวกอมนุษยใหใชวา “ตน”
33. ตอบ ขอ 4. จะเกิดไหนขอใหไดประสบกัน อยาโศกศัลยแคลวคลาดเหมือนชาตินี้
คําประพันธบทนี้เปนตอนที่พระอภัยมณีกลาวเสแสรงวารักนางผีเสื้อสมุทรมาก
34. ตอบ ขอ 3. รําคาญคิดเสียใจไมใครหาย
ไมปรากฏคํายืมภาษาบาลีและสันสกฤตเลย
ขอ 1. ปรากฏคําวา “ชลนา” เปนภาษาบาลี-สันสกฤต คําวา “โศกาลัย” เปนภาษาสันสกฤต
ขอ 2. ปรากฏคําวา “พระ” เปนภาษาสันสกฤต คําวา “โอรส” และ “จิต” เปนภาษาบาลี
ขอ 4. ปรากฏคําวา “โอรส” เปนภาษาบาลี คําวา “ยักษ” เปนภาษาสันสกฤต
35. ตอบ ขอ 3. พระลูกใหบิตุรงคทรงเสวย
ขอนี้อานตามหลักการอานเรียงพยางค คือ อานวา บิ-ตุ-รง
สวนขอ 1., 2. และ 4. นั้น อานตามหลักการประพันธ คือ อานเนื่องสัมผัสกัน ดังนี้

แบบทดสอบ
ขอ 1. กรุณา อานวา กะ-รุน-นา เพื่อใหสัมผัสกับ “คุณ”
ขอ 2. อภิวาท อานวา อบ-พิ-วาด เพื่อใหสัมผัสกับ “เคารพ”
ขอ 4. อภิวาท อานวา อับ-พิ-วาด เพื่อใหสัมผัสกับ “คํานับ”
36. ตอบ ขอ 4. เพื่อใหนักเรียนเกิดความซาบซึ้งเห็นความงดงามทางภาษาและเห็นคุณคาของวรรณคดีไทย
ตั้งแตปพุทธศักราช 2542 เปนตนมา กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดใหมีการทองบทอาขยานใน

โครงการบูรณาการ
สถานศึกษาขึ้น โดยมีจุดมุงหมายดังกลาวขางตน
37. ตอบ ขอ 2. บทอาขยานจะเปนบทรอยกรองหรือบทรอยแกวก็ได
ขอความนี้ไมถูกตอง เพราะบทอาขยานหรือบททองจํานั้นจะตองมีลักษณะคําประพันธประเภทรอยกรอง
เทานั้น เนื่องจากจุดมุงหมายของการทองจําบทอาขยาน คือ ใชเพื่อฝกอานทํานองเสนาะ
38. ตอบ ขอ 3. คัคนานต
คัคนานต หมายถึง ทองฟา ซึ่งมีความหมายเดียวกับ โพยม ที่แปลวา ทองฟา เชนกัน
ขอ 1. รัชนี ขอ 2. ศศิธร และขอ 4. โคมรัตติกาล หมายถึง ดวงจันทร
39. ตอบ ขอ 1. เสาวรจนี
เสาวรจนี คือ บทชมโฉมหรือชมความงามของธรรมชาติ จากบทประพันธเปนตอนที่พระอภัยมณีกลาวชม
ปลาในขณะเดินทางไปเกาะแกวพิสดาร
ขอ 2. นารีปราโมทย คือ บทเกี้ยวพาราสี
ขอ 3. พิโรธวาทัง คือ บทโกรธ ขัดเคือง ตัดพอ
ขอ 4. สัลลาปงคพิสัย คือ บทโศกเศรา เสียใจ ครํ่าครวญ
40. ตอบ ขอ 1. วรรคที่ 1
วรรคที่ 1 มีการเลนเสียงพยัญชนะ คือ เสียง /s/ 5 คํา ไดแก ซาย สาย สมุทร สุด สาย
ขอ 2. วรรคที่ 2 มีการเลนเสียงพยัญชนะ คือ เสียง /kh/ 3 คํา ไดแก ขวา ควัน คลุม
ขอ 3. วรรคที่ 3 มีการเลนเสียงพยัญชนะ คือ เสียง /s/ 2 คํา ไดแก สุ(ริย) แสง
ขอ 4. วรรคที่ 4 มีการเลนเสียงพยัญชนะ คือ เสียง /w/ 3 คํา ไดแก วิ เวก หวาด

(21) โครงการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2
1. แนวตอบ ภาษาที่ใชในวรรณคดีเปนภาษาที่แสดงความงามผานทางถอยคํา และความหมายของถอยคําที่เกิดจาก
ความรูสึกนึกคิดอันละเอียดออนแตลึกซึ้งกวางไกล ภาษาของวรรณคดีเปนภาษาที่ไดรับการกลั่นกรองแลว
ซึ่งในบางครั้งนักประพันธอาจจะไมใชภาษาที่ใชกันอยูในชีวิตประจําวันแตเลือกเฟนถอยคําสํานวนเพื่อให
เกิดความไพเราะ หรือเพื่อแสดงออกซึ่งความรูสึกนึกคิดและอารมณของตน จึงตองสรางสรรควรรณคดี
ดวยภาษาที่มีลักษณะและคุณคาทางสุนทรียะ ผูอานจึงจําเปนตองใชความรูความสามารถในทางภาษาและ
วิจารณญาณพอสมควร จึงจะเขาใจวรรณคดีเรื่องนั้นๆ ได ภาษาที่ใชในทางวรรณคดีจึงเปนภาษาพิเศษ
กวาภาษาธรรมดาที่ใชสื่อสารกันในปจจุบัน ซึ่งเปนเพียงเครื่องสื่อความหมายใหเขาใจของมนุษย ดังนั้น
การศึกษาวรรณคดีใหเขาใจลึกซึ้งจึงอยูที่ความเขาใจในภาษาของวรรณคดีเปนสําคัญ
2. แนวตอบ ในชวงสมัยรัชกาลที่ 6 ตางเปนที่ยอมรับกันทั่วไปวา การเขียนบทละครพูดในยุคนี้ดีทั้งในดานปริมาณ
และคุณภาพ เพราะการเขียนบทละครพูดของยุคนี้ไมไดมุงเขียนเพื่อใชแสดงละครเวทีแตเพียงอยางเดียว
เทานั้น หากแตเขียนเพื่อใหเปนวรรณกรรมสําหรับอานดวย ในยุคนี้จึงมีการพิมพตนฉบับวรรณกรรม
บทละครออกแพรหลาย และมีตนฉบับสืบตอมาจนถึงยุคปจจุบัน ซึ่งตางไปจากการเขียนบทละครในสมัย
ตอมา เพราะการเขียนบทละครในชวงหลังจากรัชกาลที่ 6 เปนตนมาแลว มักเขียนเพือ่ ใชแสดงละครแตเพียง
แบบทดสอบ

อยางเดียว ดังนั้นจึงไมปรากฏวามีการพิมพตนฉบับออกเผยแพรมากนัก นอกจากนี้ในชวงรัชกาลที่ 7


และชวงกอนสงครามโลกยังเปนชวงที่การแสดงและการเขียนบทละครพูดอยูในระยะซบเซา เพราะชวงนี้
คนสวนใหญใหความสนใจกับการแสดงภาพยนตรของฝรั่งแทน
3. แนวตอบ ตัวอยางคําประพันธที่ชื่นชอบมากที่สุด คือ บทชมปลา ดังคําประพันธที่วา
โครงการบูรณาการ

พระโฉมยงองคอภัยมณีนาถ เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา
เหลาฉลามลวนฉลามตามกันมา คอยเคลื่อนคลาคลายคลายในสายชล
ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน
ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร
กระโหเรียงเคียงกระโหขึ้นโบกหาง ลอยสลางกลางกระแสแลสลอน
มังกรเกี่ยวเลี้ยวลอดกอดมังกร ประชุมซอนแฝงชลขึ้นวนเวียน
ฝูงมานํ้าทําทาเหมือนมาเผน ขึ้นลอยเลนเลี้ยวลัดฉวัดเฉวียน
ตะเพียนทองทองนํ้านําตะเพียน ดาษเดียรดูเพลินจนเกินมา
เหตุผลทีช่ นื่ ชอบคําประพันธบทนี้ เพราะเปนบททีม่ คี วามดีเดนทางดานวรรณศิลปในการใชคาํ กลาวคือ
มีการซํ้าคําเพื่อใหเกิดความไพเราะ สังเกตไดจากเกือบทุกวรรคของคําประพันธนี้ กวีจะใชคําที่เปนชื่อปลา
ซํ้ากัน เชน ฉลาม-ฉลาม ฉนาก-ฉนาก กระโห-กระโห โดยคําประพันธที่มีกลวิธีการใชคําซํ้าเชนนี้
แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการเลือกสรรคําของกวีคือสุนทรภูไดอยางชัดเจน

โครงการวัดและประเมินผล (22)
ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ ภาคเรียนที่ 2
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
ระดับ ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ชุดที่ มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด พฤติกรรม ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
การคิด
1 1 - 3, 5, 13 - 15, 26, 28 - 29 A ความรู ความจํา - -
2 4, 6 - 9, 16 - 19, 30 - 33 B ความเขาใจ 1, 2, 13, 24, 28, 30 6

1 ท 5.1
3
4
10 - 12, 20 - 23, 34 - 37
24 - 25, 27, 38 - 40
C การนําไปใช
D การวิเคราะห
3 - 4, 10, 16 - 18, 25 - 26, 31 - 32, 34
5 - 7, 19 - 22, 29, 35 - 36, 38
11
11
E การสังเคราะห 8, 11, 14, 23, 37, 39 6
F การประเมินคา 9, 12, 15, 27, 33, 40 6
1 1 - 5, 15 - 17, 28 - 30 A ความรู ความจํา - -
2 6 - 10, 18 - 21, 31 - 33 B ความเขาใจ 1 - 2, 6 - 7, 18, 22, 28 - 29 8

2 ท 5.1
3
4
11 - 14, 22 - 24, 34 - 37
25 - 27, 38 - 40
C การนําไปใช
D การวิเคราะห
3 - 4, 8, 15 - 16, 19, 31, 34, 38
5, 9, 11 - 12, 17, 20, 25, 30, 32 - 33
9
10
E การสังเคราะห 10, 23, 26 - 27, 35 - 36, 39 7

แบบทดสอบ
F การประเมินคา 13 - 14, 21, 24, 37, 40 6

โครงการบูรณาการ

(23) โครงการวัดและประเมินผล
แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 2 ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ

ชุดที่ 1
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 40

1. ขอใด
ใดไมใช พระนามของพระเจาลูกยาเธอที่ทรงไป 5. เพราะเหตุใดพดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
B ศึกษาตอยังตางประเทศในเรื่องพระบรมราโชวาท D จึงทรงใชเงินพระคลังขางที่ เปนคาใชจายในการศึกษา
แบบทดสอบ

1. พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจารพีพัฒนศักดิ์ ของพระราชโอรส


2. พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาจิรประวัติวรเดช 1. เพราะเปนการเงินตามกฎมณเฑียรบาล
3. พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาประวิตรวัฒโนดม 2. เพราะรัชกาลที่ 5 ไมอยากใหผูอื่นติเตียน
4. พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาอาภากรเกียรติวงศ 3. เพราะตองนําความรูที่ไดศึกษามาใชใหเปนประโยชน
2. ลักษณะคําประพันธที่ใชในเรื่องพระบรมราโชวาท ตอประเทศชาติ
B ตรงกับขอใด 4. เพราะเงินพระคลังขางที่เปนเงินในสวนที่ใชสําหรับ
โครงการบูรณาการ

1. รอยแกวเชิงสาธกโวหาร คาใชจายเพื่อการศึกษาของพระโอรส
2. รอยแกวเชิงเทศนาโวหาร 6. พระบรมราโชวาทผลงานพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จ
3. รอยแกวเชิงบรรยายโวหาร D พระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั นีเ้ หมาะสมทีจ่ ะใชสงั่ สอนบุคคล
4. รอยแกวเชิงพรรณนาโวหาร ในสถานภาพใดมากที่สุด
1. ประชาชนทั่วประเทศ
3. ขอใดเปนพระราชกรณียกิจที่สําคัญที่สุดของพระบาท- 2. บุคคลที่กําลังสําเร็จการศึกษา
C สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว 3. บุคคลที่ตองการประกอบอาชีพ
1. ทรงกอตั้งโบราณคดีสโมสร 4. บุคคลที่อยูในวัยศึกษาเลาเรียน
2. ทรงพระราชนิพนธพระราชหัตถเลขา 7. คําสอนในพระบรมราโชวาทในขอใดมีแนวคิดที่แตกตาง
3. ทรงกอตั้งโรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบ D จากขออื่น
4. ทรงประกาศเลิกทาสโดยปราศจากเหตุการณวุนวาย 1. จงเปนคนออนนอมวานอนสอนงาย
4. สํานวนสุภาษิตในขอใดไมสอดคลองสัมพันธกับเรื่อง 2. จงประพฤติตัวหันมาทางที่ชอบที่ถูกอยูเสมอ
C พระบรมราโชวาท เปนนิจเถิด
1. นํ้าลดตอผุด 3. จงละเวนเวลาที่ชั่วซึ่งรูไดเองแกตัว หรือผูตักเตือน
2. รักวัวใหผูก รักลูกใหตี แนะนําใหอยูแลว
3. อยาไวใจทาง อยาวางใจคน 4. จงอุตสาหะที่จะเรียนวิชาเขาเปนกําลังที่จะทําตัว
4. มีวิชาเหมือนมีทรัพยอยูนับแสน ใหดีกวาสัตวเดรัจฉาน
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F

โครงการวัดและประเมินผล (24)
8. ขอใดแสดงใหเห็นถึงพระปรีชาญาณในดานวิสัยทัศน 13. วรรณคดีเรื่องงอิศรญาณภาษิตมีลักษณะสอดคลองกับ
E เรือ่ งการพัฒนาบานเมืองของพระบาทสมเด็จ B วรรณคดีในขอใด
พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว 1. สวัสดิรักษา
1. ทรงเห็นความสําคัญของภาษาไทย 2. ไตรภูมิพระรวง
2. ทรงแยกเงินสวนพระองคออกจากเงินแผนดิน 3. เสภาพระราชพงศาวดาร
3. ทรงจํากัดสิทธิของเจานายไวเสมอกับราษฎรทั่วไป
4. ทรงสงคนไทยไปศึกษาวิชาการยังประเทศยุโรป 4. โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณมหาราช
เพื่อกลับมารับราชการ 14. บทประพันธในขอใดไมมีนํ้าเสียงประชดประชันผูมีอํานาจ
9. เรื่องพระบรมราโชวาทนี้มีประโยชนตอบุคคลใดมากที่สุด E ในสังคม
F 1. ผูที่เขารับราชการ 1. คอยดําเนินตามไตผูไปหนา
2. ชนชั้นสูงในสังคมไทย 2. พอแมเลี้ยงปดปกเปนกกกอ
3. ทุกคนที่ประพฤติตาม 3. เดินตามรอยผูใหญหมาไมกัด
4. ผูที่กําลังจะไปศึกษาตอตางประเทศ 4. ของสิ่งใดเจาวางามตองตามเจา
10. จากเรือ่ งพระบรมราโชวาทคําทับศัพทในขอใดทีไ่ มนยิ มใช
C ในปจจุบัน 15. ลองูเหาก็ไดใจกลากลา
1. แบงก 2. ปอนด F แตวาอยายักเยื้องเขาเบื้องหาง

แบบทดสอบ
3. มิสเตอร 4. เอสไควร ตองวองไวในทํานองคลองทาทาง
11. “สัตวดิรัจฉานมันเกิดมากินๆ นอนๆ แลวก็ตาย ตบหัวผางเดียวมวนจึงควรลอ
E แตสัตวบางอยางยังมีเขามีกระดูก เปนประโยชน บทประพันธในอิศรญาณภาษิตบทนี้เตือนใจเกี่ยวกับ
ไดบาง” เรื่องใด

โครงการบูรณาการ
พระบรมราโชวาทตอนนี้สอดคลองกับบทประพันธ 1. การประเมินกําลังของศัตรู
ในขอใด 2. การวางตัวของผูนอยตอผูใหญ
1. รูนอยวามากรู เริงใจ 3. การประกอบอาชีพที่เปนอันตราย
กลกบเกิดอยูใน สระจอย 4. การลอเลียนกับสิ่งที่เปนอันตรายอยางงูเหา
2. หามเพลิงไวอยาให มีควัน 16. บทประพันธในขอใดมีความหมายสอดคลองกับสํานวน
หามสุริยแสงจันทร สองไซร C “คมในฝก”
3. พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง 1. อันเสาหินแปดศอกตอกเปนหลัก
โททนตเสนงคง สําคัญหมายในกายมี
4. อันดีชั่วตัวตายเมื่อภายหลัง ไปมาผลักบอยเขาเสายังไหว
ชื่อก็ยังยืนอยูมิรูหาย 2. คอยดําเนินตามไตผูไปหนา
เหมือนดวงตาตอกประทับติดกับกาย ใจความวาผูมีคุณอยาหุนหวน
เปนเครื่องหมายบอกทั่วทุกตัวคน 3. สูงอยาสูงกวาฐานนานไปลม
12. พระบรมราโชวาทในขอใดที่สามารถใชเปนแนวทาง จะเรียนคมเรียนเถิดอยาเปดฝก
F ในการแกปญหาไดจนถึงปจจุบัน 4. ถึงบุญมีไมประกอบชอบไมได
1. จงรูไวเถิดวาทําผิดเมื่อใดจะไดรับโทษทันที ตองอาศัยคิดดีจึงมีผล
2. พึงรูวาตองใชหนี้เมื่อใด ก็ตองรับโทษเมื่อนั้น
พรอมกัน 17. อันเพชรดีมีคาราคายิ่ง สงใหลิงจะรูคาราคาหรือ
3. ไปอยูโรงเรียนใดก็ประพฤติตนใหเรียบรอย C
ตามแบบอยางที่เขาตั้งลงไว บทประพันธขางตนไม สัมพันธกับสํานวนในขอใด
4. การไปเรียนครั้งนี้มุงหมายใหไปเรียนวิชาอยางเดียว 1. ไกไดพลอย 2. วานรไดแกว
ไมมั่นหมายใหมีเกียรติยศชื่อเสียง 3. กิ้งกาไดทอง 4. ตาบอดไดแวน

(25) โครงการวัดและประเมินผล
18. บทประพันธจากวรรณคดีเรื่องงอิศรญาณภาษิต 23. อันเสาหินแปดศอกตอกเปนหลัก
C ไมสอดคลองกับสํานวนในขอใด E ไปมาผลักบอยเขาเสายังไหว
1. นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปา
2. ฆาควายเสียดายพริก บทประพันธขางตนมีความหมายตรงกับขอใดตอไปนี้
3. เดินตามผูใหญหมาไมกัด 1. หนึ่งอยาไวใจทะเลทุกเวลา
4. ไปเห็นนํ้าตัดกระบอก ไปเห็นกระรอกโกงหนาไม สองสัตวเขี้ยวเล็บงาอยาไวใจ
2. อันออยตาลหวานลิ้นแลวสิ้นซาก
19. อยาคบมิตรจิตพาลสันดานชั่ว แตลมปากหวานหูมิรูหาย
D จะพาตัวใหเสื่อมที่เลื่อมใส 3. เกิดเปนคนอยาเห็นแกตนแหละดี
คบนักปราชญนั่นแหละดีมีกําไร ถึงจะมีรํ่ารวยสุขสันต
ทานยอมไดความสบายหลายประตู 4. นํ้าหยดลงหินทุกวันหินมันยังกรอน
แตหัวใจออนออนของเธอทําดวยอะไร
บทประพันธนี้ใหแงคิดตรงกับขอใด
1. การวางตัว 2. การคบมิตร 24. อยานอนเปลาเอากระจกยกออกมา
3. การแสวงหาความรู 4. การพึ่งพาตนเอง B สองดูหนาเสียทีหนึ่งแลวจึงนอน
แบบทดสอบ

20. ตาก็มัวหัวก็ขาวเปนคราวครํ่า บทประพันธขางตนมีความหมายอยางไร


D หูก็ซํ้าไมไดยินเอาสิ้นสวย 1. สอนใหดูแลหนาตาตนเองใหสะอาดสะอานงดงาม
แรงก็นอยถอยกําลังนั่งก็งวย ตลอดเวลา
ฟนก็หักไปเสียดวยไมทันตาย 2. เปรียบเทียบวาใหสํานึกตนเองอยูเสมอวาเกิดใน
ตระกูลสูงหรือตํ่า
โครงการบูรณาการ

กลอนสุภาษิตบทนี้ มีความดีเดนดานวรรณศิลปตรงกับ 3. เปรียบเทียบวาเราควรสํารวจจิตใจตนเองอยูเปนนิจ


ขอใด วาคิดดี ใฝดีอยูหรือเปลา
1. การสรรคํา 4. สอนใหรูจักใชเวลาวางใหเกิดประโยชนแมเวลา
2. โวหารภาพพจน จะนอนก็สามารถดูแลตนเองได
3. พรรณนาความชัดเจน
4. กลวิธีในการเรียบเรียงถอยคํา 25. ชายขาวเปลือกหญิงขาวสารโบราณวา
21. อิศรญาณภาษิตมุงแสดงขอคิดที่มีคุณคาอยางไร C นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปาอัชฌาสัย
D 1. การจะทําสิ่งใดไมควรเสียเปรียบผูอื่น เราก็จิตคิดดูเลาเขาก็ใจ
2. ควรครองตนใหอยูในกรอบประเพณีไทย รักกันไวดีกวาชังระวังการ
3. การจะทําสิ่งใดควรคิดใหรอบคอบเสียกอน บทประพันธนี้ตรงกับสุภาษิตในขอใด
4. กวีไทยมักมีความสามารถในการแตงคําประพันธ 1. นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปา
ประเภทสุภาษิต 2. รักกันไวดีกวาชังกัน
22. คอยดําเนินตามไตผูไปหนา 3. เอาใจเขามาใสใจเรา
D ใจความวาผูมีคุณอยาหุนหวน 4. นํ้าลึกหยั่งได นํ้าใจหยั่งยาก
26. เหตุที่พระลักษมณตองศรของอินทรชิตเพราะเหตุใด
บทประพันธนี้สะทอนคานิยมของสังคมไทยสมัยโบราณ C 1. ไวใจศัตรู
ในขอใด 2. ไมทันระวังตัว
1. รูจักกาลเทศะ 2. อยาเปนคนใจรอน 3. มีอาวุธนอยกวา
3. ตองเปนคนนอบนอม 4. ใหความสําคัญกับผูใหญ 4. พระรามไมชวย

โครงการวัดและประเมินผล (26)
27. บทประพันธในขอใดไมมีนํ้าเสียงเสียดสีประชดประชัน 33. บทประพันธในขอใดมีความดีเดนในดานสัมผัสอักษร
F 1. ชายขาวเปลือกหญิงขาวสารโบราณวา F หรือสัมผัสพยัญชนะมากที่สุด
นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปาอัชฌาสัย 1. สัตภัณฑบรรพตทั้งหลาย ออนเอียงเพียงปลาย
2. ของสิ่งใดเจาวางามตองตามเจา ประนอมประนมชมชัย
ใครเลยเลาจะไมงามตามเสด็จ 2. พสุธาอากาศหวาดไหว เนื้อนกตกใจ
3. เดินตามรอยผูใหญหมาไมกัด
ซุกซอนประหวั่นขวัญหนี
ไปพูดขัดเขาทําไมขัดใจเขา
4. วาสนาไมคูเคียงเถียงเขายาก 3. ลูกครุฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี
ถึงมีปากมีเสียเปลาเหมือนเตาหอย คาบชางก็วางไอยรา
28. ขอใดกลาวไมถูกตอง 4. วานรแผลงฤทธิ์เดชา หักถอนพฤกษา
B 1. บทพากยเอราวัณเปนพระราชนิพนธในรัชกาลที่ 1 ถือตางอาวุธยุทธยง
2. บทพากยเอราวัณมาจากรามเกียรติ์ตอนศึกอินทรชิต 34. บทพากยเอราวัณมีคุณคาทางวรรณศิลปขอใดเดนชัด
3. บทพากยเอราวัณใชลักษณะคําประพันธประเภท C ที่สุด
กาพยขับไม 1. การใชสาธกโวหาร
4. บทพากยเอราวัณนี้ เปนตอนที่อินทรชิตแผลงศร 2. การใชอุปมาโวหาร

แบบทดสอบ
พรหมมาสตร 3. การใชเทศนาโวหาร
29. คําประพันธในขอใด ใดไมใช ลักษณะคําประพันธที่ปรากฏ 4. การใชพรรณนาโวหาร
D ในบทพากยเอราวัณ
1. สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา 35. บทพากยเอราวัณ มีลักษณะการประพันธที่มีความ
ดังเพชรรัตนรูจี D โดดเดนในดานใด
2. เขาสูงฝูงหงสลงเรียง เริงรองซองเสียง 1. การใชภาษาสวยงามในการเลาเรือ่ งหรือการดําเนินเรือ่ ง

โครงการบูรณาการ
สําเนียงนาฟงวังเวง 2. การใชภาษาในการถายทอดความรูสึกนึกคิด
3. ธรรมะคือคุณากร สวนชอบสาทร ของตัวละคร
ดุจดวงประทีปชัชวาล 3. การใชภาษาที่มีความหมายลึกซึ้งในการบรรยายเรื่อง
4. วันนั้นจันทร มีดารากร เปนบริวาร ที่มีความยิ่งใหญอลังการ
30. บทประพันธในขอใดมิไดมีความหมายกลาวถึงพระอินทร 4. การใชภาษาแสดงใหเห็นลีลาการเคลื่อนไหว
B 1. เหมือนองคอมรินทร ของตัวละครและรายละเอียดของฉาก
2. เสด็จทรงรถแกวโกสีย 36. คําที่ขีดเสนใตในขอใดเปนคํายืมที่มีที่มาจากภาษา
3. เรงพลโยธาพานรินทร D ตางประเทศแตกตางจากขออื่น
4. เหตุไฉนสหัสนัยนเสด็จผล
1. ทัพหนาอารักษ
31. สัตภัณฑบรรพตทั้งหลาย ออนเอียงเพียงปลาย 2. ทัพหลังสุบรรณ
C 3. ยังมีโยธาจตุรงค
ขอใดไมเกี่ยวของกับคําที่ขีดเสนใตในคําประพันธขางตน 4. ปกซายภาษิตวิทยา
1. ยุคนธร อิสินธร 2. กรวิก สุทัสนะ
3. เนมินธร วินตกะ 4. โกสีย เวไชยันต 37. คําศัพทในบทพากยเอราวัณขอใดมีการสรางคําตางจาก
32. คําที่ขีดเสนใตขอใดมีความหมายตางจากขออื่นๆ E ขออื่น
C 1. ทัพหลังสุบรรณ 1. เทพอัปสร
2. เปนเทพไทเทวัญ 2. ธรณินทร
3. เปนเทพบุตรครวญ 3. ธิบดินทร
4. ทัพหนาอารักษไพรสัณฑ 4. พานรินทร

(27) โครงการวัดและประเมินผล
38. อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองคอมรินทร 40. ขอใดแบงวรรคในการอานคําประพันธประเภทรอยกรอง
D ทรงคชเอราวัณ F ไมถูกตอง
1. อินทรชิต / บิดเบือน / กายิน
คําวา “อมรินทร” เปนการสรางคําสมาสแบบมีสนธิ เหมือนองค / อมรินทร
ขอใดแยกคําศัพทไดถูกตอง 2. พระโฉมยง / องคอภัย / มณีนาถ
1. อ + มรินฺทฺร เพลินประพาส / พิศดู / หมูมัจฉา
2. อมร + อินฺทฺร 3. เหลาฉลาม / ลวนฉลาม / ตามกันมา
3. อ + มร + อินฺทฺร คอยเคลื่อนคลา / คลายคลาย / ในสายชล
4. อ + มรินฺ + อินฺทฺร 4. สิบดี / ก็ไมถึงกับ / กึ่งพาล
39. อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองคอมรินทร เปนชายชาญ / อยาเพอคาด / ประมาทชาย
E ทรงคชเอราวัณ
ขอใดกลาวสรุปความจากบทประพันธนี้ไดถูกตองที่สุด
1. รณพักตรแปลงกายเปนพระอินทรทรงชาง
ชื่อเอราวัณ
แบบทดสอบ

2. รณพักตรเปลี่ยนแปลงรางกายใหเหมือนพระอินทร
ทรงชางชื่อเอราวัณ
3. อินทรชิตรับพรจากพระอิศวรไดแปลงกาย
เปนพระอินทรทรงชางเอราวัณ
4. อินทรชิตไดรับพระเวทจากพระอิศวรแปลงกาย
โครงการบูรณาการ

เปนพระอินทรทรงชางชื่อเอราวัณ

โครงการวัดและประเมินผล (28)
ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 3 ขอ 10 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10

1. ผูที่มีฐานะดีในสังคมจะมีวิธีสั่งสอนบุตรธิดาอยางไรจึงจะสอดคลองกับพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัว (3 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบ
2. เนื้อหาของอิศรญาณภาษิตตอนใดที่สามารถนําไปใชในการพัฒนาตนเองได ยกตัวอยางพรอมเหตุผลประกอบใหชัดเจน
(3 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โครงการบูรณาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. จากวรรณคดีเรื่องบทพากยเอราวัณไดสะทอนความเชื่อในเรื่องใด อธิบายใหเห็นชัดเจน พรอมยกตัวอยางประกอบ


(4 คะแนน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(29) โครงการวัดและประเมินผล
แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 2 ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ

ชุดที่ 2
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 50

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..


เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด

ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ


¤Ðá¹¹àµçÁ
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 40

1. ขอใด
ใดไมใช เนือ้ ความในพระบรมราโชวาท 4. “กลับเห็นเปนการเกการกี๋อยางเชนนักเรียนบางคน
B 1. ใหรูจักการวางตน C มักจะเห็นผิดไปดังนั้น”
แบบทดสอบ

2. ใหรูจักรักษาชื่อเสียงวงศตระกูล
3. ใหรูจักการเขาสังคมอยางตะวันตก ขอความนี้สอดคลองกับหลักคําสอนในขอใด
4. ใหเห็นความสําคัญของภาษาอื่น แตไมทิ้งภาษาไทย 1. การวางตน
2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราช- 2. การตั้งใจศึกษาเลาเรียน
B นิพนธพระบรมราโชวาทโดยมีจุดมุงหมายใด 3. การใชพระราชทรัพยใหเปนประโยชน
โครงการบูรณาการ

1. เพื่อพระราชทานแกประชาชนทั้งประเทศ 4. การเห็นความสําคัญและไมละทิ้งภาษาไทย
2. เพื่อพระราชทานแกพระราชวงศบางพระองค 5. คนไทยทีไ่ ปศึกษาตอยังตางประเทศนัน้ ควรตองรูภ าษาไทย
3. เพื่อพระราชทานแกนักเรียนทุนเลาเรียนหลวง D ใหแตกฉานเพราะเหตุใด
4. เพื่อพระราชทานแกพระเจาลูกยาเธอทั้งสี่พระองค 1. เพื่อรักษาความเปนคนไทยไว
ที่จะเสด็จไปศึกษาตอยังตางประเทศ 2. เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาภาษาอื่นๆ
3. เพื่อนําความรูจากตางประเทศมาใชใหเกิดประโยชน
3. “ภาษาไทยและหนังสือไทยซึ่งเปนภาษาของตัว 4. เพื่อแปลตําราวิชาการที่แตงดวยภาษาตางประเทศ
C หนังสือของตัว คงจะตองใชอยูเปนนิจ” ออกเปนภาษาไทยที่ดี
จากขอความตอนนี้ ขยายความไดวาอยางไร 6. “จะใชเงินพระคลังขางที่ คือเงินที่เปนสวนสิทธิ์ขาด
1. ภาษาไทยมีความสําคัญกวาภาษาอื่นๆ B แกตัวพอเอง” คําที่ขีดเสนใตหมายความวาอยางไร
2. ภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติที่จําเปนตองศึกษา 1. เงินของแผนดิน
3. แมจะศึกษาภาษาอื่นๆ ก็จะตองใชภาษาไทย 2. เงินที่จายเบี้ยหวัดกลางป
ใหกวางขวางออกไป 3. เงินที่กําหนดจายเปนรายปใหแกพระบรมวงศานุวงศ
4. ไมวาจะเปนชนชาติใด ก็ควรศึกษาภาษาประจําชาติ 4. เงินสวนที่ถวายพระมหากษัตริยเพื่อทรงใช
ของตนใหเขาใจอยางถองแท ในพระราชกิจตางๆ
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F

โครงการวัดและประเมินผล (30)
7. ขอกําหนดทีพ่ ระบาท
ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ทรง 12. พระบรมร
พระบรมราโชวาทขอใดมีแงคิดตางจากขออื่น
B กําหนดใหพระราชโอรสปฏิบตั เิ ปนประจําทุกเดือนคือขอใด D 1. จงอุตสาหะเลาเรียนดวยความเพียรอยางยิ่ง
1. เลาประสบการณ 2. อยาไปอวดมั่งอวดมี ทําเทียบเทียมเขาใหฟุงซาน
2. รายงานผลการเรียน เปนอันขาด
3. เขียนจดหมายถึงพอ 3. อยาทํามือโตใจโตสุรุยสุรายโดยถือตัววาเปนเจานาย
4. ตั้งใจศึกษาเลาเรียน มั่งมีมาก
4. จงจําไวตั้งใจอยูใหเสมอวาตองเปนคนจน มีเงินใช
8. “ทีต่ อ งการนัน้ ตองการใหกลับแปลภาษาตางประเทศ เฉพาะจะรักษาความสุขของตัวพอสมควรเทานั้น
C ลงเปนภาษาไทยได แปลภาษาไทยออกเปนภาษา 13. พระบรมราโชวาทใหขอคิดใดที่เปนประโยชนตอชาติ
ตางประเทศไดจึงจะนับวาเปนประโยชน” F บานเมืองมากที่สุด
1. การศึกษาเลาเรียนเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด
ขอความขางตนมีความหมายตรงกับคําราชาศัพทในขอใด 2. ความประหยัดเปนสิ่งจําเปนและมีคุณประโยชน
1. พระราชดําริ 2. พระราชดํารัส 3. การเปนคนออนนอมยอมมีคนยกยองสรรเสริญ
3. พระราชประสงค 4. พระราชปณิธาน 4. คนที่มียศถาบรรดาศักดิ์ไมควรวางตัวเหนือคนอื่น
14. นักเรียนคิดวาพระบรมราโชวาทขอใดสําคัญตอตนเอง
9. “เจ า เกิ ด มาเป น เจ า นายมี ย ศถาบรรดาศั ก ดิ์ ม าก F มากที่สุด

แบบทดสอบ
D จริงอยู แตไมเปนการจําเปนเลยที่ผูเปนเจาแผนดิน 1. ประพฤติตนใหอยูในกรอบประเพณีอันดีงาม
จะตองใชราชการอันเปนชองทางที่จะหาเกียรติยศ 2. ปฏิบัติตนเปนผูสุภาพออนนอม ไมมีทิฐิมานะ
ชื่อเสียงและทรัพยสมบัติ” 3. ใชวิชาความรูอันเปนทรัพยมรดกซึ่งเปนสมบัติติดตัว
4. ตองศึกษาใหจบดวยความตั้งใจและนําความรู
พระบรมราโชวาทที่ยกมานี้ เนนคุณธรรมขอใดมากที่สุด มาพัฒนาตนเองและประเทศชาติ
1. ความเมตตา 2. ความซื่อสัตย

โครงการบูรณาการ
3. ความกตัญู 4. การรับราชการ 15. ของสิ่งใดเจาวางามตองตามเจา
10. คําสอนในพระบรมราโชวาทขอใดมีลักษณะเปน C
บทประพันธจากวรรณคดีเรื่องอิศรญาณภาษิตวรรคนี้
E พระราชดําริมากกวาพระราชดํารัสสั่ง มีความหมายสอดคลองกับขอใดมากที่สุด
1. ขอบังคับวาตองเขียนจดหมายถึงพอทุกคน 1. เธอคิดวาสิ่งใดดีก็ตามใจเธอ
อยางนอยเดือนละฉบับ 2. นองคิดวาสิ่งใดงาม พี่ก็เห็นงามดวย
2. เมื่อไปอยูโรงเรียนแหงใดจงประพฤติการใหเรียบรอย 3. เจานายวาอะไรดี ลูกนองควรเห็นดีดวย
ตามแบบอยางซึ่งเขาตั้งลงไว 4. พระมหากษัตริยคิดวาสิ่งใดถูกตอง เราก็ควรเห็นวา
3. ถาจะใชเงินแผนดินสําหรับใหไปเลาเรียนแกผูซึ่ง ถูกตองดวย
ไมมสี ติปญ ญาเฉลียวฉลาดก็จะเปนการเปลาประโยชน
4. จงตั้งใจเสมอวาตัวเปนคนจน ไมมั่งมีเหมือนคนอื่น 16. เห็นตอหลักปกขวางหนทางอยู
อยาอวดมั่งอวดมีทําเทียบเทียมเขาใหฟุงซาน C พิเคราะหดูควรทิ้งแลวจึงถอน
เปนอันขาด เห็นเต็มตาแลวอยาอยากทําปากบอน
ใดไมได สะทอนสภาพสังคมไทยในสมัยรัชกาลที่ 5
11. ขอใด ตรองเสียกอนจึงคอยทํากรรมทั้งมวล
D ที่ปรากฏอยูในพระบรมราโชวาท บทประพันธขางตนสอนเกี่ยวกับเรื่องใด
1. ความสัมพันธกับตางประเทศ 1. ใหกลาหาญที่จะตอสูกับผูที่ขัดขวางการทํางาน
2. คานิยมการสงบุตรหลานไปศึกษาตอตางประเทศ 2. ใหรูจักทําความสะอาดหนทางสัญจรใหเรียบรอย
3. การเตรียมความพรอมเพื่อรับอารยธรรมตะวันตก 3. ใหรจู กั คิดใครครวญ ไตรตรองกอนทีจ่ ะพูดหรือทําสิง่ ใด
4. ระบบบริหารราชการแผนดินที่เกี่ยวของกับ 4. ใหพิจารณาวาควรจะกลาวหาผูอื่นโดยไมมีความผิด
พระราชสํานัก หรือไม

(31) โครงการวัดและประเมินผล
17. ขอใด
ใดไมใช กลวิธที หี่ มอมเจาอิศรญาณทรงใชในการนิพนธ 22. แมพลั้งปากเสียศีลพลาดตีนแพลง
D วรรณคดีเรื่องอิศรญาณภาษิต B มีระแวงขางโทษประโยชนนอย
1. สั่งสอนดวยการกลาวตรงๆ
2. ใชคําเสียดสีประชดประชัน บทประพันธนี้ตรงกับสุภาษิตในขอใด
3. โนมนาวเพื่อความจรรโลงใจ 1. พลั้งปากเสียศีล อยาหมิ่นคนจน
2. พลั้งปากเสียศีล พลั้งจิตเสียธรรม
4. ยกโวหารอุปมาขึ้นมาเปรียบเทียบ
3. พลั้งปากเสียศีล พลั้งตีนตกตนไม
18. สํานวนไทยในขอใด ใดไม ตรงกับคํากลอนในอิศรญาณภาษิต
4. พลั้งปากเสียศีล พลั้งพลาดเสียคน
B 1. ผีเรือนตัวไมดีผีอื่นพลอย - ผีซํ้าดํ้าพลอย
2. จะเรียนคมเรียนเถิดอยาเปดฝก - คมในฝก 23. สําหรับคนเจือจิตจริตเขลา
3. ถึงมีปากมีเสียเปลาเหมือนเตาหอย - ปากหอยปากปู E ดวยมัวเมาโมหมากในซากผี
4. อยาเพลิดเพลินคนชังนักคนรักนอย - คนรักเทาผืนหนัง ตองหามามโนมัยใหญยาวรี
คนชังเทาผืนเสื่อ สําหรับขี่เปนมาอาชาไนย
19. คนสามขามีปญญาหาไวทัก คําที่ขีดเสนใตใชเปรียบเทียบแทนสิ่งใด
C 1. ใจที่รูเทาทันกิเลส
แบบทดสอบ

ในกลอนสุภาษิตบทนี้คําวา “คนสามขา” มีความหมาย 2. ขารับใชที่มีความสามารถ


ตรงกับขอใด 3. สัตวพาหนะที่รูใจของเจาของ
1. คนที่มีลักษณะพิเศษ 4. สามีที่มีความรับผิดชอบครอบครัว
2. ชายชราที่ถือไมเทาเดิน 24. เรื่องนกกระจาบ ที่กลาวไวในอิศรญาณภาษิต
3. คนที่มีประสบการณมาก F มีเนือ้ หาสาระที่มุงใหขอคิดในเรื่องใดเปนสําคัญ
โครงการบูรณาการ

4. คําเปรียบเทียบวาเกงเกินคน 1. การมีสติ
2. การคบมิตร
20. ถึงรูจริงนิ่งไวอยาไขรู 3. การมีความสามัคคี
D 4. การมีความกตัญูกตเวที
กลอนอิศรญาณภาษิตวรรคนี้ เปนคําสอนใหประพฤติตน
อยางไร 25. ขอใดใดไมใช คําสอนเกี่ยวกับการคบมิตร
1. สอนใหรูจริง ไมโออวด D 1. เราก็จิตคิดดูเลาเขาก็ใจ
2. สอนใหรูจักคิดใครครวญ รักกันไวดีกวาชังระวังการ
3. สอนใหตั้งใจศึกษาหาความรู 2. ผูใดดีดีตออยากอกิจ
4. สอนใหเปนคนมีปญญา แตไมอวดรู ผูใดผิดผอนพักอยาหักหาญ
3. ตอผูดีมีปญญาจึงหารือ
21. ถึงบุญมีไมประกอบชอบไมได ใหเขาลือเสียวาชายนี้ขายเพชร
D ตองอาศัยคิดดีจึงมีผล 4. รักสั้นนั้นใหรูอยูเพียงสั้น
รักยาวนั้นอยาใหเยิ่นเกินกฎหมาย
บทประพันธนี้มีความหมายสอดคลองกับขอใด 26. แนวปฏิบตั ใิ นอิศรญาณภาษิตขอใดทีย่ งั ใชไดจนถึงปจจุบนั
1. พูดดี ทําดี คิดดี E 1. รักสั้นใหรูอยูเพียงสั้น
2. ทําดี คิดดี ผลดี 2. หญิงเรียกแมชายเรียกพอยอไวใช
3. บุญดี พูดดี คิดดี 3. อยานอนเปลาเอากระจกยกออกมา
4. บุญดี ทําชอบดี ผลดี 4. ชายชาวเปลือกหญิงขาวสารโบราณวา

โครงการวัดและประเมินผล (32)
27. บทประพันธในขอใดตอไปนี้ไมมี คํายืมภาษาตางประเทศ 33. บทประพันธในขอใดกลาวถึงความยิ่งใหญของกองทัพ
E ปรากฏอยูเ ลย D พระรามไดถูกตองที่สุด
1. อยาดูถูกบุญกรรมวาทํานอย 1. เพลารอยพลอยประดับดุมวง กึกกองกํากง
2. สองดูหนาเสียทีหนึ่งแลวจึงนอน กระทบกระทั่งธรณี
3. สําหรับขี่เปนมาอาชาไนย 2. พสุธาอากาศหวาดไหว เนื้อนกตกใจ
4. อยานอนเปลาเอากระจกยกออกมา ซุกซอนประหวั่นขวัญหนี
3. เสียงพลโหรองเอาชัย เลื่อนลั่นสนั่นใน
28. ศรเต็มไปทั่วราศี ตององคอินทรีย พิภพเพียงทําลาย
B พระลักษมณก็กลิ้งกลางพล 4. บรรดาโยธาจตุรงค เปลี่ยนแปลงกายคง
เปนเทพไทเทวัญ
จากบทประพันธขางตนคําวา “ศร” ในที่นี้มีความหมาย
ตรงกับขอใด 34. สัตภัณฑบรรพตทั้งหลาย ออนเอียงเพียงปลาย
1. ศรนาคบาศ C ประนอมประนมชมชัย
2. ศรนารายณ
3. ศรอินทรชิต บทประพันธนี้ปรากฏภาพพจนตรงกับขอใด

แบบทดสอบ
4. ศรพรหมาสตร 1. ภาพพจนอธิพจน
29. บทพากยเอราวัณบรรยายเหตุการณจากบทละคร 2. ภาพพจนบุคคลวัต
B เรื่องรามเกียรติ์ตอนใด 3. ภาพพจนอุปลักษณ
1. ศึกไมยราพ 2. ศึกกุมภกรรณ 4. ภาพพจนสัญลักษณ
3. ศึกอินทรชิต 4. ศึกนางสีดา 35. การที่อินทรชิตไดรับศรแลวแผลงไปยังพระลักษมณ
E

โครงการบูรณาการ
30. บทประพันธในขอใดไมแสดงโวหารภาพพจน จนลมลงนั้น สะทอนแงคิดขอใดชัดเจนที่สุด
D 1. ลูกครุฑพลัดตกฉิมพลี หัสดินอินทรี 1. การใชชีวิตอยางมีสติ
คาบชางก็วางไอยรา 2. สงครามคือความสูญเสีย
2. เสียงพลโหรองเอาชัย เลื่อนลั่นสนั่นใน 3. ความกตัญูคือเครื่องหมายของคนดี
พิภพเพียงทําลาย 4. การใหอํานาจแกบุคคลใดควรไตรตรองใหดี
3. สัตภัณฑบรรพตทั้งหลาย ออนเอียงเพียงพลาย 36. วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ มีกลวิธีการประพันธอยางไร
E 1. แตงเปนบทละครตั้งแตตนจนจบ
ประนอมประนมชมชัย
4. อึงอินทเภรีตีระงม แตรสังขเสียงประสม 2. คัดเลือกบางตอนมาแตงบทละคร
3. กษัตริยและกวีทั้งหลายชวยกันแตงบางตอน
ประสานเสนาะในไพร
4. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก
31. ใดมิได หมายถึงพระอินทร
คําศัพทในขอใด
C ทรงพระราชนิพนธเพียงพระองคเดียว
1. โกสีย 2. สหัสนัยน
37. จากวรรณคดีเรื่องบทพากยเอราวัณ ไดแสดงคุณคา
3. อมรินทร 4. เวไชยันต F ของวรรณคดีในขอใดเดนชัดที่สุด
32. ทรงเครื่องศัสตราแยงยล ฤๅจะกลับเปนกล 1. ชี้ใหเห็นบาปบุญคุณโทษ
D ไปเขาดวยราพณอาธรรม 2. แสดงบุญญาธิการของรัชกาลที่ 1
3. แสดงใหเห็นวาความสงบของบานเมือง
บทประพันธนเี้ ปนคํากลาวของตัวละครใดในเรือ่ งรามเกียรติ์ จะสงผลใหวรรณคดีรุงเรือง
1. สุครีพ 2. ทศกัณฐ 4. เปนตนแบบทางดานกลวิธีการประพันธ
3. อินทรชิต 4. พระอินทร ใหแกวรรณคดีในยุคหลัง

(33) โครงการวัดและประเมินผล
38. อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองคอมรินทร 40. คําประพันธในขอใดมีความดีเดนดานการสรรคํามากที่สุด
C ทรงคชเอราวัณ F 1. กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองคโสภา
แนงนอยลําเพานงพาล
จากบทประพันธขางตน ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับ 2. งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี สระหนึ่งยอมมี
อินทรชิต เจ็ดกออุบลบันดาล
1. อินทรชิตทรงชางชื่อเอราวัณ 3. นางหนึ่งยอมมีบริวาร อีกเจ็ดเยาวมาลย
2. อินทรชิตหมายถึงชนะพระอินทร ลวนรูปนิรมิตมายา
3. อินทรชิตเปนโอรสของทศกัณฐกับนางสวาหะ 4. กอหนึ่งเจ็ดดอกเยาวมาลย ดอกหนึ่งเบงบาน
4. พระอิศวรประทานพรใหแปลงเปนพระอินทร ได มีไดเจ็ดกลิ่นผกา
39. มีวิมานแกวบวร ทุกเกศกุญชร
E ดังเวไชยันตอมรินทร
ลักษณะคําประพันธขางตนตรงกับคําประพันธในขอใด
1. พวกหนูนักเรียนทั้งหลาย อยานอนตื่นสาย
เปนเด็กเกียจคราน
แบบทดสอบ

2. พวกเรานักเรียนทั้งหลาย อยานิ่งดูดาย
ฝกฝนอานเขียนคําไทย
3. หญิงไมอยากมีสามี หาในโลกนี้หาไหน
อันพวงบุปผามาลัย
4. คืนนั้นจันทรานี้ เปลงแสงแรงไกล
โครงการบูรณาการ

ไปยังพื้นโลกงดงาม

โครงการวัดและประเมินผล (34)
ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 3 ขอ 10 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10

1. คานิยมของคนไทยในปจจุบนั ทีส่ อดคลองกับเรือ่ งพระบรมราโชวาทคือคานิยมเกีย่ วกับเรือ่ งใด อธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ


ใหชัดเจน (3 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

แบบทดสอบ
2. ใหรวบรวมประเด็นคําสอนทีน่ า สนใจจากวรรณคดีเรือ่ งอิศรญาณภาษิต พรอมทัง้ อธิบายความหมายของคําสอนนัน้ ตามความ
เขาใจของนักเรียน โดยเลือกมา 4 คําสอน (3 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โครงการบูรณาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. จากวรรณคดีเรื่องบทพากยเอราวัณ นักเรียนชอบบทประพันธตอนใดมากที่สุด ยกตัวอยางบทประพันธ พรอมบอกเหตุผล


(4 คะแนน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(35) โครงการวัดและประเมินผล
เฉลยแบบทดสอบ ภาคเร�ยนที่ 2
ชุดที่ 1
ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 4. พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาอาภากรเกียรติวงศ
พระเจาบรมวงศเธอ พระองคเจาอาภากรเกียรติวงศ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ไมไดเสด็จไปในการ
นี้ดวย โดยในเนื้อหาของพระบรมราโชวาท รัชกาลที่ 5 ทรงพระราชนิพนธเพื่อพระราชทานแกพระเจา
ลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค ไดแก พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจารพีพัฒนศักดิ์ พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจา
ประวิตรวัฒโนดม พระเจาลูกยาเธอ พระองคเจาจิรประวัติวรเดช และพระเจาลูกยาเธอ พระองคเจา
กิติยากรวรลักษณ
2. ตอบ ขอ 2. เปนรอยแกวเชิงเทศนาโวหาร
เรื่องพระบรมราโชวาทนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว มีพระราชประสงคที่จะสั่งสอนให
พระราชโอรสเห็นความสําคัญของการที่พระองคทรงสงพระราชโอรสไปศึกษาเลาเรียนยังตางประเทศ
จึงตองประพฤติตนใหดีงามและใชเงินอยางประหยัด
แบบทดสอบ

3. ตอบ ขอ 4. ทรงประกาศเลิกทาสโดยปราศจากเหตุการณวุนวาย


การประกาศเลิกทาสถือเปนพระราชกรณียกิจอันสําคัญยิ่งของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
เปนการยกเลิกระบบที่คนชนชั้นสูงตั้งขึ้น เพื่อกดขี่ราษฎรใหทํางานรับใชหรือสงทรัพยสินใหโดยไมมี
กําหนดวาระสิ้นสุด
โครงการบูรณาการ

4. ตอบ ขอ 3. อยาไวใจทาง อยาวางใจคน


สํานวนนี้ไมปรากฏในเนื้อเรื่อง เพราะในเรื่องพระบรมราโชวาทนั้น รัชกาลที่ 5 ทรงสงพระราชโอรสไป
ศึกษาตอยังตางประเทศ แสดงใหเห็นวาพระองคทรงใหความสําคัญกับการศึกษาอยางยิ่ง ตรงกับสํานวน
สุภาษิตวา “มีวิชาเหมือนมีทรัพยอยูนับแสน” และทรงสั่งสอนพระโอรสอีกหลายประการ ถาไมทําตามจะถูก
ลงโทษ ตรงกับสํานวนสุภาษิตวา “รักวัวใหผูก รักลูกใหตี” และในขอความที่วา “ถาประพฤติชั่วเสียแตเวลา
ที่พออยูแลว เวลาไมมีพอความชั่วก็คงปรากฏเปนโทษติดตัว เหมือนเงาตามหลังอยูไมขาด…” ตรงกับ
สํานวนสุภาษิตวา “นํ้าลดตอผุด”
5. ตอบ ขอ 3. เพราะตองนําความรูที่ไดศึกษามาใชใหเปนประโยชนตอประเทศชาติ
พระองคดาํ ริวา การศึกษานัน้ เปนทรัพยอนั ประเสริฐกวาทรัพยสนิ เงินทองทัง้ ปวง เนือ่ งจากการศึกษาจะทําให
คนเฉลียวฉลาด อันสงผลใหประเทศชาติเจริญ
6. ตอบ ขอ 4. บุคคลที่อยูในวัยศึกษาเลาเรียน
พระบรมราโชวาทนีม้ เี นือ้ หามุง ใหขอ คิดในการอบรมสัง่ สอนลูกใหประพฤติปฏิบตั ิในทางทีด่ ี เชน ใหประหยัด
ใหประพฤติดี และรูจักรักษาวัฒนธรรม เปนตน
7. ตอบ ขอ 4. จงอุตสาหะที่จะเรียนวิชาเขาเปนกําลังที่จะทําตัวใหดีกวาสัตวเดรัจฉาน
แนวคิดในขอนีส้ งั่ สอนเกีย่ วกับเรือ่ งการศึกษาเลาเรียน สวนในขออืน่ เปนคําสอนเกีย่ วกับเรือ่ งความประพฤติ
8. ตอบ ขอ 4. ทรงสงคนไทยไปศึกษาวิชาการยังประเทศยุโรปเพื่อกลับมารับราชการ
รัชกาลที่ 5 ทรงเล็งเห็นวาประเทศไทยกําลังไดรับอิทธิพลจากวัฒนธรรมตะวันตกมาก ประเทศไทยจึง
ตองการคนที่มีความรู ความสามารถ เพื่อมาพัฒนาประเทศชาติใหกาวหนา ทันตอการเปลี่ยนแปลง

โครงการวัดและประเมินผล (36)
9. ตอบ ขอ 3. ทุกคนที่ประพฤติตาม
เรื่องพระบรมราโชวาทนี้มีลักษณะเปนวรรณกรรมคําสอนที่มุงใหผูอานไดรับความรูและนําความรูที่ไดนั้น
ไปพัฒนาตนเองใหเกิดประโยชน
10. ตอบ ขอ 4. เอสไควร
เอสไควร มาจากคําวา Esquire เปนคําใชเขียนหลังชื่อของเพศชายในประเทศอังกฤษ ซึ่งแสดงวาเปนผูมี
ฐานะดี
11. ตอบ ขอ 3. พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง
โททนตเสนงคง สําคัญหมายในกายมี
บทประพันธขา งตน มีความหมายวา โค กระบือ และชางทีต่ ายไปแลว แตเขาและงาก็ยงั มีประโยชนตอ มนุษย
ซึ่งเนื้อความนี้ตรงกับพระบรมราโชวาทที่ยกมา
12. ตอบ ขอ 3. ไปอยูโรงเรียนใดก็ประพฤติตนใหเรียบรอยตามแบบอยางที่เขาตั้งลงไว
ขอนี้เปนคําสั่งสอนที่สามารถนําไปสั่งสอนนักเรียนไมใหประพฤติตนผิดระเบียบวินัยของโรงเรียนได
13. ตอบ ขอ 1. สวัสดิรักษา

แบบทดสอบ
วรรณคดีเรื่องอิศรญาณภาษิตและเรื่องสวัสดิรักษา เปนวรรณคดีคําสอนที่มีเนื้อหามุงสอนใหขอคิดคติ
สอนใจผูคนในสมัยกอน มีขอคิดเกี่ยวกับการดําเนินชีวิต การปฏิบัติตนในดานตางๆ เชน สอนใหมีปญญา
ไมโออวด และรูจักคิดไตรตรองกอนทําสิ่งใด เปนตน
14. ตอบ ขอ 2. พอแมเลี้ยงปดปกเปนกกกอ
บทประพันธนี้ไมมีลักษณะประชดประชัน เพราะมีเนื้อความกลาวถึง พอแมที่เลี้ยงลูกแลวตามใจหรือ

โครงการบูรณาการ
ทะนุถนอมมากไป ลูกจึงชวยเหลือตนเองไมไดเมื่อเปนผูใหญ สวนขอ 1., 3. และ 4. กลาวถึงการที่ผูนอย
จะตองเชื่อฟงและปฏิบัติตามผูใหญเสมอ
15. ตอบ ขอ 1. การประเมินกําลังของศัตรู
บทประพันธนี้มีจุดประสงคเพื่อเตือนใจใหผูอานระวังตัว และประเมินสถานการณกอนคิดตอสูกับคูตอสู
ที่มีความสามารถมากกวา
16. ตอบ ขอ 3. สูงอยาสูงกวาฐานนานไปลม จะเรียนคมเรียนเถิดอยาเปดฝก
บทประพันธนี้ หมายถึง การสรางสิ่งกอสรางอยาสรางสูงกวาฐานอาจเสียหาย คือ สอนใหรูจักประมาณตน
และควรเรียนรูใหมาก แตอยาอวดรู
17. ตอบ ขอ 3. กิ้งกาไดทอง
สํานวน กิ้งกาไดทอง มีความหมายวา คนที่มีลาภยศ แลวลืมฐานะของตนเอง สวนขอ 1., 2. และ 4.
มีความหมายวาไดสิ่งของมาแตไมรูคุณคาหรือใชประโยชน ไมได
18. ตอบ ขอ 4. ไปเห็นนํ้าตัดกระบอก ไปเห็นกระรอกโกงหนาไม
สํานวนนี้ไมปรากฏในเนือ้ เรือ่ งอิศรญาณภาษิต ในอิศรญาณภาษิตเปนสุภาษิตทีม่ งุ สอนแบบเตือนสติ แนะนํา
การประพฤติตนใหเปนที่พอใจของผูอื่น เชน คบคนใหดูหนา ซื้อผาใหดูเนื้อ พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสีย
ตําลึงทอง วานรไดแกว นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปา เปนตน
สวนสํานวน ไปเห็นนํ้าตัดกระบอก ไปเห็นกระรอกโกงหนาไม มีความหมายวา ดวนทําไปกอนทั้งๆ ที่ยัง
ไมถึงเวลา ซึ่งเปนสํานวนที่ไมปรากฏในเรื่องนี้

(37) โครงการวัดและประเมินผล
19. ตอบ ขอ 2. การคบมิตร
บทประพันธนี้มีความหมายวา ถาจะคบเพื่อน ไมควรคบคนนิสัยไมดี เพราะเราจะพลอยเสียชื่อเสียงไปดวย
ควรคบกับผูรูหรือนักปราชญ เพราะจะทําใหเรารุงเรืองและเจริญกาวหนา
20. ตอบ ขอ 1. การสรรคํา
การสรรคํา คือ การเลือกใชถอยคําใหเหมาะกับงานประพันธ ดังเชนบทประพันธนี้ มีความดีเดนทั้งในดาน
สัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ ที่เปนสัมผัสในซึ่งมีทุกวรรค และซํ้าคําวา “ก็” ทุกวรรคเพื่อเนนความหมาย
ของความชราวามีลักษณะอยางไร
21. ตอบ ขอ 3. การจะทําสิ่งใดควรคิดใหรอบคอบเสียกอน
อิศรญาณภาษิตจัดเปนวรรณกรรมคําสอนที่มุงสั่งสอนใหแนวทาง ขอคิดตางๆ ในการอยูรวมกันกับผูอื่น
ในสังคม เตือนสติมนุษย ใหรูจักคิดไตรตรองเสียกอนลงมือทําสิ่งใด โดยใชการยกสํานวนมาเปรียบเทียบ
อยางคมคายและนาสนใจ
22. ตอบ ขอ 4. ใหความสําคัญกับผูใหญ
คําวา ผูไปหนา หมายถึง คนที่เกิดกอนหรือผูใหญ ยอมมีความรูและมีประสบการณมากกวา เราจึงตอง
เชื่อฟงและตองกตัญูตอผูมีพระคุณ
แบบทดสอบ

23. ตอบ ขอ 4. นํ้าหยดลงหินทุกวันหินมันยังกรอน แตหัวใจออนออนของเธอทําดวยอะไร


นํ้าหยดลงหินทุกวันหินมันยังกรอน แตหัวใจออนออนของเธอทําดวยอะไร หมายถึง จิตใจของมนุษย
ยอมหวั่นไหวไปกับคําพูดของคน ซึ่งตรงกับความหมายของบทประพันธขางตนที่เปรียบเทียบถึงเสาหิน
ที่แข็งแรงมั่นคง แตเมื่อโดนผลักบอยครั้งก็อาจสั่นคลอนได
โครงการบูรณาการ

24. ตอบ ขอ 3. เปรียบเทียบวาเราควรสํารวจจิตใจตนเองอยูเปนนิจวาคิดดี ใฝดีอยูหรือเปลา


บทประพันธนี้มีจุดประสงคเพื่อเตือนตนเอง โดยใชวิธีใหรูจักคิด พิจารณา และสํารวจตนเองทุกๆ วัน
25. ตอบ ขอ 1. นํ้าพึ่งเรือ เสือพึ่งปา
บทประพันธนี้กลาวถึง ชายขาวเปลือก หมายถึง ตกที่ไหนก็งามที่นั่น หญิงขาวสาร หมายถึง ตกที่ไหน
ก็ไมงอก เรือจะแลนไปไดตองมีแมนํ้า ไมมีปาเสือก็ไมมีที่อยู เปนการเปรียบเทียบวาคนเราจะทําการสิ่งใด
จําเปนตองพึ่งพาอาศัยผูอื่นอยูเสมอ
26. ตอบ ขอ 2. ไมทันระวังตัว
จากเนื้อเรื่องกลาวถึงความไมระมัดระวังตนเองของพระลักษมณ ดังคําประพันธที่วา
เคลิบเคลิ้มหฤทัยไหลหลง จึงจับศรทรง
พรหมาสตรอันเรืองเดชา
27. ตอบ ขอ 1. ชายขาวเปลือกหญิงขาวสารโบราณวา นํ้าพึ่งเรือเสือพึ่งปาอัชฌาสัย
บทประพันธนี้มีความหมายตรงตัว คือ เปนการกลาวถึงวาคนเราจะทําอะไรยอมตองพึ่งพาอาศัยซึ่งกัน
และกัน สวนขอ 2., 3. และ 4. เปนบทประพันธที่มีนํ้าเสียงเสียดสีประชดประชัน สังเกตจากคําวา
“ใครเลยเลา” “ไปพูดขัดเขาทําไม” และ “ถึงมีปากมีเสียเปลา” ตามลําดับ
28. ตอบ ขอ 3. บทพากยเอราวัณใชลักษณะคําประพันธประเภทกาพยขับไม
บทพากยเอราวัณใชลักษณะคําประพันธประเภทกาพยฉบัง 16 ซึ่งเปนคําประพันธใชสําหรับการพรรณนา
เรื่องราวที่กระชับรวดเร็ว เชน การเดินทาง การรบ เปนตน อีกทั้งยังเหมาะสมกับการพากยโขนอีกดวย

โครงการวัดและประเมินผล (38)
29. ตอบ ขอ 4. วันนั้นจันทร มีดารากร เปนบริวาร
บทประพันธนี้ใชคําประพันธประเภทกาพยสุรางคนางค 28 สวนขอ 1., 2. และ 3. เปนกาพยฉบัง 16 ซึ่งมี
ลักษณะ คือ กาพย 1 บทมี 16 คํา แบงเปน 3 วรรค วรรคแรกมี 6 คํา วรรคที่สองมี 4 คํา และวรรคสุดทาย
มี 6 คํา ซึ่งเปนลักษณะคําประพันธที่ใชแตงบทพากยเอราวัณ
30. ตอบ ขอ 3. เรงพลโยธาพานรินทร
กาพยวรรคนี้ กลาวถึงการยกทัพของพลวานรในกองทัพพระราม คําวา “พานรินทร” เปนศัพทที่ใช
เพื่อความไพเราะ และใหประโยชนทางดานการเอื้อสัมผัส ซึ่งมาจากคําวา วานร → พานร → พานรินทร
สวนขอ 1., 2. และ 4. คําวา อมรินทร โกสีย และ สหัสนัยน ทั้งสามคํานี้ แปลวา พระอินทรทั้งสิ้น
31. ตอบ ขอ 4. โกสีย เวไชยันต
โกสีย หมายถึง พระอินทร เวไชยันต หมายถึง วิมานหรือที่ประทับของพระอินทร สวน ยุคนธร อิสินธร
กรวิก สุทัสนะ เนมินธร และวินกตะ คือ ชื่อภูเขาที่ลอมรอบเขาพระสุเมรุมี 7 ชั้น
32. ตอบ ขอ 1. ทัพหลังสุบรรณ
สุบรรณ หมายถึง ครุฑ ซึ่งเปนพาหนะของพระนารายณ
สวนเทพบุตร เทพไท และอารักษ มีความหมายคลายกัน คือ เทวดาหรือเทวดาผูพิทักษ
33. ตอบ ขอ 2. พสุธาอากาศหวาดไหว เนื้อนกตกใจ

แบบทดสอบ
ซุกซอนประหวั่นขวัญหนี
กาพยฉบัง 16 บทนี้มีความดีเดนดานสัมผัสอักษร คือ มีสัมผัสอักษรทุกวรรค ไดแก คําวา หวาดไหว,
เนื้อนก, ซุกซอน สวนในขออื่นๆ มีเสียงสัมผัสอักษรเพียงบางวรรคเทานั้น
34. ตอบ ขอ 4. การใชพรรณนาโวหาร
บทพากยเอราวัณนั้นมุงเนนการพรรณนาภาพชางเอราวัณอยางละเอียด และพรรณนาการเคลื่อนไหว

โครงการบูรณาการ
จนผูอานเกิดจินตนาการตาม อีกทั้งยังเนนรายละเอียดของฉากมากกวาการเลาเรื่องหรือการดําเนินเรื่อง
วรรณคดีเรื่องนี้จึงนับเปนวรรณคดีที่มีการพรรณนาที่ดีเดนเรื่องหนึ่ง
35. ตอบ ขอ 4. การใชภาษาแสดงใหเห็นลีลาการเคลื่อนไหวของตัวละครและรายละเอียดของฉาก
บทพากยเอราวัณจะมีบทบรรยายลักษณะชางเอราวัณซึ่งเปนชางทรงของพระอินทร ที่บรรยายโดยให
รายละเอียดทําใหเห็นภาพชัดเจนดังคําประพันธที่วา
ชางนิรมิตฤทธิแรงแข็งขัน เผือกผองผิวพรรณ
สีสังขสะอาดโอฬาร
สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา
ดังเพชรรัตนรูจี
36. ตอบ ขอ 3. ยังมีโยธาจตุรงค
คําวา จาตุรงค เปนคํายืมภาษาบาลี โดยสังเกตจากพยัญชนะวรรค คือ สะกดดวยพยัญชนะวรรค ก
แถวที่ 5 คือ ง แลวตามดวยพยัญชนะวรรคเดียวกันแถวที่ 3 คือ ค
ขอ 1. และ ขอ 4. อารักษและภาษิต เปนภาษาสันสกฤต สังเกตจากตัว ษ
ขอ 2. สุบรรณ เปนภาษาสันสกฤต สังเกตจากตัว รร (ร หัน)
37. ตอบ ขอ 1. เทพอัปสร
เทพอัปสร เปนการสรางคําแบบคําสมาส คือ นําคํามาเขียนเรียงกันแลวอานออกเสียงตอเนื่องกัน มาจาก
เทพ + อัปสร = เทพอัปสร
สวน ธรณินทร เปนคําสมาสแบบกลมกลืนเสียงมาจาก ธรณี + อินฺทฺร = ธรณินทร
ธิบดินทร เปนคําสมาสแบบกลมกลืนเสียงมาจาก ธิบดี + อินฺทฺร = ธิบดินทร
พานรินทร เปนคําสมาสแบบกลมกลืนเสียงมาจาก พานร + อินฺทฺร = พานรินทร

(39) โครงการวัดและประเมินผล
38. ตอบ ขอ 2. อมร + อินฺทฺร
อมร หมายถึง ผูไมตายหรือเทวดา
อินฺทฺร หมายถึง ผูเปนใหญหรือชื่อเทวราชผูเปนใหญในสวรรคชั้นดาวดึงส
ดังนั้น “อมรินทร” จึงเปนคําเรียกที่หมายถึง พระอินทร
39. ตอบ ขอ 4. อินทรชิตไดรับพระเวทจากพระอิศวรแปลงกายเปนพระอินทร ทรงชางชื่อเอราวัณ
อินทรชิตเดิมชื่อรณพักตร ไดเรียนศิลปวิทยากับฤๅษีโคบุตร เมื่อไปรบกับพระอินทรแลวไดรับชัยชนะ
ทศกัณฐจึงประทานชื่อใหมวาอินทรชิต
40. ตอบ ขอ 4. สิบดี / ก็ไมถึงกับ / กึ่งพาล เปนชายชาญ / อยาเพอคาด / ประมาทชาย
บทประพันธนี้มีลักษณะคําประพันธประเภทกลอนสุภาพซึ่งควรแบงวรรค ดังนี้
สิบดีก็ / ไมถึง / กับกึ่งพาล เปนชายชาญ / อยาเพอคาด / ประมาทชาย
ซึ่งตรงตามแผนผังฉันทลักษณของกลอนสุภาพ ดังนี้
ooo/oo/ooo ooo/oo/ooo

ตอนที่ 2
แบบทดสอบ

1. แนวตอบ ผูที่มีฐานะดีในสังคมควรมีวิธีสั่งสอนบุตรธิดาใหสอดคลองกับพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลาเจาอยูหัว ดังนี้
1. ไมใหอวดตัววาฐานะดี แลวขมเหงหรือดูถูกผูอื่น
2. ไมใชจายเงินฟุมเฟอย
โครงการบูรณาการ

3. เมื่อมีโอกาสไปศึกษาตอยังตางประเทศ ตองตั้งใจศึกษาหาความรู และไมลืมภาษาไทย


4. พยายามใชความรูความสามารถที่มีพัฒนาตนเองและประเทศชาติใหเจริญกาวหนายิ่งขึ้นตอไป
2. แนวตอบ เนื้อหาของอิศรญาณภาษิตตอนที่สามารถนําไปใชพัฒนาตนเองได ตัวอยางเชน
คอยดําเนินเดินตามผูไปหนา ใจความวาผูมีคุณอยาหุนหวน
เอาหลังตากแดดเปนนิจคิดคํานวณ รูถี่ถวนจึงสบายเมื่อปลายมือ
บทประพันธตอนนี้มีเนื้อความ หมายถึง ใหประพฤติตามผูใหญซึ่งเกิดกอนยอมมีความรูและประสบการณ
มากกวา อีกทั้งควรมีความกตัญูและขยันหมั่นเพียร จะทําใหมีชีวิตที่สุขสบายในอนาคต ซึ่งคําสอน
เหลานี้ สามารถนําไปปรับใช อันจะสงผลใหเกิดการพัฒนาตนเองใหเจริญกาวหนาไดเปนอยางดี
3. แนวตอบ บทพากยเอราวัณมีเนื้อหากลาวถึงความยิ่งใหญของชางเอราวัณ ซึ่งเปนชางทรงของพระอินทร โดยมี
บทพรรณนาลักษณะของชางเอราวัณอยางละเอียดชัดเจน ซึง่ ในความเชือ่ ของคนไทยนับถือกันวา ชางเอราวัณ
เปนชางทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิส์ มควรแกการบูชา ดังเชน ที่ จ.สมุทรปราการ มีประติมากรรมรูปชางเอราวัณขนาดใหญ
ซึ่งประชาชนตางใหความสนใจสักการบูชาอยางมากมาย พฤติกรรมเชนนี้แสดงใหเห็นวา คนไทยมี
ความเชื่อความศรัทธาวาชางเอราวัณเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สอดคลองกับความเชื่อที่ปรากฏในวรรณคดีเรื่อง
บทพากยเอราวัณ

โครงการวัดและประเมินผล (40)
เฉลยแบบทดสอบ ภาคเร�ยนที่ 2
ชุดที่ 2
ตอนที่ 1
1. ตอบ ขอ 3. ใหรูจักการเขาสังคมอยางตะวันตก
ขอนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไมทรงเห็นวาสําคัญ เพราะพระองคตองการใหแสวงหาวิชา
ความรูเพียงประการเดียวเทานั้น
2. ตอบ ขอ 4. เพื่อพระราชทานแกพระเจาลูกยาเธอทั้งสี่พระองคที่จะเสด็จไปศึกษาตอยังตางประเทศ
พระบรมราโชวาทนีเ้ ปนแนวทางพระราชดําริทพี่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงคํานึงถึงประโยชน
ของประเทศชาติวาพระราชโอรสทั้งสี่พระองคจะไดนําความรูมาพัฒนาประเทศไทย
3. ตอบ ขอ 3. แมจะศึกษาภาษาอื่นๆ ก็จะตองใชภาษาไทยใหกวางขวางออกไป
ขอความตอนนีเ้ ปนพระราชดํารัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ซึง่ ทรงตระหนักถึงความสําคัญ
ของการศึกษาทั้งภาษาของชาติตะวันตกและภาษาไทย
4. ตอบ ขอ 4. การเห็นความสําคัญและไมละทิ้งภาษาไทย

แบบทดสอบ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวมีพระราชประสงค ใหเรียนภาษาตางประเทศ แตตองไมลืม
ภาษาไทยเหมือนนักเรียนคนอื่นๆ
5. ตอบ ขอ 4. เพื่อแปลตําราวิชาการที่แตงดวยภาษาตางประเทศออกเปนภาษาไทยที่ดี
ในพระบรมราโชวาทขอ 6 ไดกลาวถึงการแปลภาษาวา ตําราที่ใชอยูมีนอยเกินไป ควรมีการแปลตํารา
ตางประเทศเปนภาษาไทยไวจะเปนการดี

โครงการบูรณาการ
6. ตอบ ขอ 4. เงินสวนที่ถวายพระมหากษัตริยเพื่อทรงใชในพระราชกิจตางๆ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงตัดสินพระทัยที่จะใชเงินสวนพระองคเปนคาใชจายในการ
สงพระราชโอรสไปศึกษาตอยังตางประเทศ ดวยเพราะพระองคทรงเห็นวา พระองคเองมีพระราชโอรสมาก
ถาทรงใชเงินแผนดินเปนคาใชจายในการศึกษาเลาเรียน แลวพระราชโอรสกลับมาไมไดทําประโยชนใหคุม
กับเงินนั้นก็จะไดรับคําติเตียนได
7. ตอบ ขอ 3. เขียนจดหมายถึงพอ
ขอกําหนดทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงกําหนดใหพระราชโอรสปฏิบตั เิ ปนประจําทุกเดือน
คือ การเขียนจดหมายถึงพอ ดังความวา “ขอบังคับวาใหเขียนหนังสือถึงพอทุกคนอยางนอยเดือนละฉบับ”
8. ตอบ ขอ 3. พระราชประสงค
พระราชประสงค มีความหมายวา ความมุงหวัง ความตั้งใจ ของพระเจาแผนดิน จากขอความขางตน
เปนพระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว มีใจความวา พระองคตองการให
พระราชโอรสมีความรูค วามสามารถในการแปลภาษาตางประเทศเปนภาษาไทย และยังตองมีความสามารถ
แปลภาษาไทยเปนภาษาตางประเทศไดอีกดวย
9. ตอบ ขอ 2. ความซื่อสัตย
พระบรมราโชวาทที่ยกมานี้ หมายถึง การไมนําตําแหนงหรือยศไปทําใหตนเองเจริญกาวหนา ควรปฏิบัติ
ดวยความซื่อสัตยสุจริต
10. ตอบ ขอ 3. ถาจะใชเงินแผนดินสําหรับใหไปเลาเรียนแกผูซึ่งไมมีสติปญญาเฉลียวฉลาด ก็จะเปนการเปลาประโยชน
ขอนี้เปนการแสดงความคิดเห็น สวนขอ 1., 2. และ 4. นั้น เปนพระบรมราโชวาทในเชิงคําสั่ง สังเกตจาก
คําวา “ขอบังคับ” และ “จง” ตามลําดับ

(41) โครงการวัดและประเมินผล
11. ตอบ ขอ 3. การเตรียมความพรอมเพื่อรับอารยธรรมทางตะวันตก
ขอนี้มิไดปรากฏอยูในเรื่องพระบรมราโชวาท เหตุเพราะรัชกาลที่ 5 ทรงเนนการนําความรูมาพัฒนาชาติ
บานเมืองเปนประการสําคัญ
12. ตอบ ขอ 1. จงอุตสาหะเลาเรียนดวยความเพียรอยางยิ่ง
ขอนี้เปนคําสอนที่ใหแงคิดเกี่ยวกับการศึกษาเลาเรียน สวนในขอ 1., 2. และ 4. เปนคําสอนในเรื่องความ
ประหยัด สอนใหรูจักใชเงินอยางรูคุณคาของเงิน
13. ตอบ ขอ 1. การศึกษาเลาเรียนเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด
ขอนี้ตรงกับพระบรมราโชวาทที่วา “จงตั้งใจพากเพียรใหมีความรูเพื่อกลับมาชวยพอ เปนที่ชื่นชมยินดี
สมกับที่มีความรักนั้นเถิด” เพราะการศึกษาเลาเรียนดวยความตั้งใจนั้นจะสามารถนําความรูกลับมาพัฒนา
ประเทศได
14. ตอบ ขอ 4. ตองศึกษาใหจบดวยความตั้งใจ และนําความรูมาพัฒนาตนเองและประเทศชาติ
ขอนี้คือ จุดมุงหมายของการศึกษา คือ ตองพัฒนาตนเอง พัฒนาสังคม และพัฒนาประเทศชาติ
15. ตอบ ขอ 4. พระมหากษัตริยคิดวาสิ่งใดถูกตอง เราก็ควรเห็นวาถูกตองดวย
เนื้อความทั้งหมดของกลอนบทนี้คือ
แบบทดสอบ

ของสิ่งใดเจาวางามตองตามเจา ใครเลยเลาจะไมงามตามเสด็จ
จําไวทุกสิ่งจริงหรือเท็จ พริกไทยเม็ดนิดเดียวเคี้ยวยังรอน
ซึ่งมีใจความวา เมื่อพระเจาแผนดินวาสิ่งใดถูกสิ่งใดควร เราซึ่งเปนราษฎรหรือขาแผนดินตองเห็นตามดวย
16. ตอบ ขอ 3. ใหรูจักคิดใครครวญ ไตรตรองกอนที่จะพูดหรือทําสิ่งใด
บทประพันธนเี้ ปนการเปรียบเทียบวา เมือ่ เห็นตอเสาปกขวางอยูค วรดูใหดกี อ นจะถอน และตองคิดใหรอบคอบ
โครงการบูรณาการ

เสียกอนจึงพูดออกไป
17. ตอบ ขอ 3. โนมนาวเพื่อความจรรโลงใจ
หมอมเจาอิศรญาณทรงนิพนธวรรณคดีเรื่องอิศรญาณภาษิต ดวยความนอยพระทัย เพราะมีคนตําหนิ
เนื้อหาของวรรณคดีเรื่องนี้จึงแฝงไวดวยนํ้าเสียงเสียดสีประชดประชัน อีกทั้งยังทรงใชถอยคําเปรียบเทียบ
ไดอยางลึกซึ้ง คมคายอีกดวย
18. ตอบ ขอ 3. ถึงมีปากมีเสียเปลาเหมือนเตาหอย - ปากหอยปากปู
กลอนวรรคนี้ไมตรงกับคําสอนในอิศรญาณภาษิต เนื้อความทั้งหมด คือ “วาสนาไมคูเคียงเถียงเขายาก
ถึงมีปากมีเสียเปลาเหมือนเตาหอย” มีความหมายวา ควรสงบปากสงบคําหรือไมควรพูดมาก
19. ตอบ ขอ 3. คนที่มีประสบการณมาก
ในบทประพันธนี้ คําวา “คนสามขา” มีความหมายวา ผูใ หญหรือผูท มี่ อี ายุมาก ยอมมีความรูแ ละประสบการณ
มาก ดังนั้น ผูใหญพูดอะไรก็ควรเชื่อฟง ซึ่งตรงกับสุภาษิตที่วา “เดินตามผูใหญหมาไมกัด”
20. ตอบ ขอ 1. สอนใหรูจริง ไมโออวด
ขอนี้ตรงกับบทกลอนที่วา “ถึงรูจริงนิ่งไวอยาไขรู เต็มที่ครูเดียวเทานั้นเขาสรรเสริญ” นั่นคือ มีความรูใน
เรื่องใดเรื่องหนึ่งอยางลึกซึ้ง แตไมควรพูดจาโออวด เพราะในไมชาผูอื่นจะยกยองสรรเสริญเอง
21. ตอบ ขอ 2. ทําดี คิดดี ผลดี
ขอนี้ตรงกับความหมายในกลอนที่วา ถึงมีบุญ ถาไมทําดีนั้นไมได จะตองทําดีคิดดีจึงจะไดผลตอบแทนดี
22. ตอบ ขอ 3. พลั้งปากเสียศีล พลั้งตีนตกตนไม
สํานวนนี้มีความหมายวา จะพูดหรือทําอะไรควรคิดใหรอบคอบ ถาไมระมัดระวังอาจเกิดผลรายกับตนเอง

โครงการวัดและประเมินผล (42)
23. ตอบ ขอ 1. ใจที่รูเทาทันกิเลส
คํากลอนนี้มีสาระใจความกลาวถึงการทําใจเปนนายบังคับตนเองใหอยูเหนือกิเลส
24. ตอบ ขอ 3. การมีความสามัคคี
นิทานเรื่องนกกระจาบ มีเนื้อหากลาวถึงนกกระจาบที่มีความสามัคคีกันยอมชวยเหลือเกื้อกูลกันใหรอดพน
จากอันตรายได แตภายหลังนกกระจาบแตกความสามัคคี เยอหยิ่ง ถือตนวาเกง สุดทายจึงถูกนายพราน
ฆาตาย
25. ตอบ ขอ 3. ตอผูดีมีปญญาจึงหารือ ใหเขาลือเสียวาชายนี้ขายเพชร
บทประพันธนี้ หมายถึง คนที่มีปญญาเทานั้นที่เราควรจะไปขอความชวยเหลือหรือปรึกษาหารือ สวนขอ 1.,
2. และ 4. เปนบทประพันธที่สอนเรื่องการคบมิตร
26. ตอบ ขอ 2. หญิงเรียกแมชายเรียกพอยอไวใช
ขอนี้ หมายถึง เมื่อจะขอความชวยเหลือใคร ควรพูดจาใหไพเราะ เขาจะไดเต็มใจชวยเหลือ
27. ตอบ ขอ 2. สองดูหนาเสียทีหนึ่งแลวจึงนอน
บทประพันธในขอนี้ใชคําภาษาไทยแททั้งหมด
ขอ 1 บุญกรรม เปนภาษาบาลีสันสกฤต

แบบทดสอบ
ขอ 3 อาชาไนย เปนภาษาบาลีสันสกฤต
ขอ 4 กระจก เปนภาษาบาลีสันสกฤต
28. ตอบ ขอ 4. ศรพรหมาสตร
ศรพรหมาสตร เปนชื่อศรที่อินทรชิตแผลงตองพระลักษมณจนลมลง ศรพรหมาสตรนี้เปนศรที่พระอิศวร
ประทานใหรณพักตร ซึ่งตอมาเปลี่ยนชื่อเปนอินทรชิต

โครงการบูรณาการ
29. ตอบ ขอ 3. ศึกอินทรชิต
บทละครเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศึกอินทรชิต มีเนื้อหาวาดวยเรื่องตอนอินทรชิตประทับบนหลังชางเอราวัณ
แปลงกายและแปลงทัพเปนทัพของพระอินทร ใชศรพรหมาสตรแผลงไปสังหารพระลักษมณ
30. ตอบ ขอ 4. อึงอินทเภรีตีระงม แตรสังขเสียงประสม
ประสานเสนาะในไพร
บทประพันธนี้เปนการพรรณนาใหเห็นภาพการเคลื่อนทัพที่มีเสียงกลองดัง เสียงแตร เสียงสังข ดังกอง
ไปทั่วทั้งปา
สวน ขอ 1., และขอ 2. เปนอติพจน คือ การกลาวเกินจริง
ขอ 3. เปนบุคคลวัต คือ การสมมติใหสิ่งไมมีชีวิตแสดงอากัปกิริยาเหมือนสิ่งมีชีวิต
31. ตอบ ขอ 4. เวไชยันต หรือเวชยันต
ขอนี้ หมายถึง วิมานหรือรถทรงของพระอินทร
สวน โกสีย สหัสนัยน และอมรินทร ทั้ง 3 คํานี้ หมายถึง พระอินทร
32. ตอบ ขอ 1. สุครีพ
บทประพันธนี้เปนตอนที่พระลักษมณผูเปนพระอนุชาของพระรามทรงถามสุครีพ เพราะเห็นพระอินทร
ยกกองทัพมา สุครีพจึงทูลวา เปนกองทัพของอินทรชิตซึ่งใชกลอุบายจําแลงกายเปนพระอินทร
33. ตอบ ขอ 3. เสียงพลโหรองเอาชัย เลื่อนลั่นสนั่นใน
พิภพเพียงทําลาย
บทประพันธนี้ หมายถึง เสียงกองทัพที่มีทหารโหรองเอาฤกษเอาชัย มีเสียงดังเหมือนกับแผนดินจะ
ถลมทลาย แสดงถึงความยิ่งใหญของกองทัพพระราม

(43) โครงการวัดและประเมินผล
34. ตอบ ขอ 1. ภาพพจนอธิพจน
ภาพพจนอธิพจนหรืออติพจน หมายถึง การกลาวเกินจริง ซึง่ จากบทประพันธขา งตนมีเนือ้ หาทีเ่ ปนการกลาว
เกินจริงวา ภูเขาใหญนอยเอนตัวลงเหมือนกําลังพนมมือไหวกองทัพของพระอินทรแปลง
35. ตอบ ขอ 4. การใหอํานาจแกบุคคลใดควรไตรตรองใหดี
ขอนี้ หมายถึง การทีอ่ นิ ทรชิตไดรบั พรจากพระอิศวร และไดศรพรหมาสตรมาแลวใชทาํ ลายฝายพระลักษมณ
นั้น เปนสิ่งที่ไมควรเกิดขึ้น
36. ตอบ ขอ 2. คัดเลือกบางตอนมาแตงบทละคร
รามเกียรติ์นั้นมาจากวรรณคดีอินเดียชื่อ รามายณะ ซึ่งมีเนื้อเรื่องยาวและพิสดารมาก กวีไทยนํามาแตง
เพียงบางตอนที่เห็นวาสําคัญและนาสนใจ โดยมีจุดมุงหมายเพื่อแสดงบุญญาธิการของกษัตริย
37. ตอบ ขอ 3. แสดงใหเห็นวาความสงบของบานเมือง จะสงผลใหวรรณคดีรุงเรือง
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยทรงพระราชนิพนธบทพากยเอราวัณขึน้ เพือ่ ใชแสดงโขน ซึง่ วรรณคดี
เรื่องนี้ประพันธขึ้นในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน เปนชวงที่บานเมืองมีแตความสงบสุข ปราศจากศึกสงคราม
ซึ่งสะทอนใหเห็นวาหากบานเมืองมีความสงบ ประชาชนอยูกันอยางมีความสุข ก็จะเปนแรงผลักดันให
สามารถสรางสรรควรรณกรรมที่ทรงคุณคาได
แบบทดสอบ

38. ตอบ ขอ 3. อินทรชิตเปนโอรสของทศกัณฐกับนางสวาหะ


เนื้อความที่ถูกตองคือ อินทรชิตเดิมชื่อ รณพักตร เปนโอรสของทศกัณฐกับนางมณโฑ ไปบําเพ็ญพรต
เพื่อขอพรวิเศษจากพระนารายณ พระอิศวร และพระพรหม ทําใหเกงกลาจนทาพระอินทรรบและชนะ
พระอินทร จึงไดชื่อวา อินทรชิต
39. ตอบ ขอ 2. พวกเรานักเรียนทั้งหลาย อยานิ่งดูดาย
โครงการบูรณาการ

ฝกฝนอานเขียนคําไทย
ขอนี้ตรงกับลักษณะบังคับของกาพยฉบัง 16 คือ
oooooo oooo
oooooo
สวน ขอ 1. ไมถูกตอง เพราะวรรคสุดทาย มี 4 คํา
ขอ 3. ใชฉันทลักษณประเภทกลอนหก
ขอ 4. ใชสัมผัสไมถูกตองตรงตามฉันทลักษณ
40. ตอบ ขอ 1. กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองคโสภา
แนงนอยลําเภานงพาล
บทประพันธนี้มีความดีเดนดานการสรรคํา โดยมีคําไวพจนที่แปลวา หญิงงาม 4 คํา ไดแก คําวา โสภา
แนงนอย ลําเภา และนงพาล

โครงการวัดและประเมินผล (44)
ตอนที่ 2
1. แนวตอบ คานิยมทีป่ รากฏในเรือ่ งพระบรมราโชวาททีป่ จ จุบนั ยังคงใชอยู คือ การสงบุตรหลานไปศึกษาตอยังตางประเทศ
ซึ่งในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนสมัยที่ประเทศไทยตื่นตัวกับการติดตอกับชาวตางชาติมาก โดยเฉพาะทางยุโรป
ซึ่งมีความเจริญในทุกๆ ดาน ผูมีฐานะดีหรือขุนนางจึงนิยมสงบุตรหลานไปเลาเรียนยังตางประเทศ สวนใน
ปจจุบันคนไทยก็ยังมีคานิยมของการทํางานวาจะตองจบมาจากตางประเทศ จึงจะมีความรู ความสามารถ
และมีคุณภาพ ผูปกครองจึงนิยมสงบุตรหลานไปเรียนตอตางประเทศ
2. แนวตอบ ตัวอยางคําสอนที่นาสนใจจากวรรณคดีเรื่อง อิศรญาณภาษิต เชน
- ใครเลยหอนจะวาตัวเปนวัวมอ หมายถึง ไมมีใครที่คิดอยากเปนวัวใหคนอื่นใชงาน
- เอาหลังตากแดดเปนนิจ หมายถึง ตองขยันทํางานอยูเสมอๆ
- อยากใชเขาเราตองกมประนมกร หมายถึง เมื่อจะขอความชวยเหลือจากใคร ตองรูจักออนนอมถอมตน
- เดินตามผูใหญหมาไมกัด หมายถึง ควรประพฤติปฏิบัติตามแนวทางที่ผูใหญทํามากอนแลว
3. แนวตอบ ลมหวนอวลกลิ่นมาลา เฟองฟุงวนา
นิวาสแถวแนวคง

แบบทดสอบ
ผึ้งภูหมูคณาเหมหงส รอนราถลาลง
แทรกไซในสรอยสุมาลี
เหตุผลที่เลือกยกตัวอยางบทประพันธนี้ เพราะเปนบทประพันธที่มีความดีเดนทางดานวรรณศิลป ดังนี้
1. มีการพรรณนาธรรมชาติใหผูอานไดรับความรูสึกถึงลมที่พัดมาเบาๆ มีกลิ่นหอมของดอกไม และภาพ
หมูผึ้งที่หาความหวานจากเกสรดอกไม
2. มีการใชคําสัมผัสในที่เปนสัมผัสสระเกือบทุกวรรค ไดแก หวน-อวล, แถว-แนว, ภู-หมู, รา-ถลา และ

โครงการบูรณาการ
ไซ-ใน
3. มีคําแสดงถึงอากัปกิริยาทาทางตางๆ ซึ่งกอใหเกิดจินตภาพ เชน รอน ถลาลง แทรกไซ เปนตน

(45) โครงการวัดและประเมินผล
โครงการบูรณาการ
การเร�ยนรูสูบันได 5 ขั้น
1. ชื่อโครงการ วรรณกรรมพื้นบาน
2. หลักการและเหตุผล
วรรณกรรมพื้นบานเปนสวนหนึ่งของการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ในปจจุบันมีสื่อตางๆ มากมายในสังคม ทําใหสภาพสังคม
เปลี่ยนแปลงไป นักเรียนจึงสนใจวรรณกรรมพื้นบานนอยลง ดังนั้น เพื่อไมใหวรรณกรรมพื้นบานซึ่งเปนภูมิปญญาไทยที่มีคุณคาไดรับ
ความนิยมลดลง นักเรียนจึงควรศึกษาและรวบรวมวรรณกรรมพื้นบานเพื่อไมใหวรรณกรรมนี้สูญหายไปจากสังคมไทย

3. วัตถุประสงคของโครงการ
1. เพือ่ ใหนกั เรียนระบุปญ หาทีว่ รรณกรรมพืน้ บานหายไปจากสังคมไทยได และเพือ่ รวบรวมวรรณกรรมพืน้ บานทีม่ ปี รากฏอยูใ นสังคมไทย
2. เพื่อใหนักเรียนมีการวางแผนปฏิบัติการในการจัดการศึกษา เพื่อรวบรวมวรรณกรรมพื้นบานไมใหสูญหายไปจากสังคมไทย
3. เพื่อใหนักเรียนตระหนักถึงคุณคาของวรรณกรรมพื้นบาน
4. เพื่อสงเสริมใหนักเรียนวางแผนการศึกษาวรรณกรรมพื้นบาน
แบบทดสอบ

5. เพื่อใหนักเรียนเผยแพรความรูเรื่องวรรณกรรมพื้นบานที่นักเรียนนํามาศึกษา

4. เปาหมาย
ผูเขารวมโครงการหรือนักเรียนรูจักและเห็นคุณคาของวรรณกรรมพื้นบานมากขึ้น
โครงการบูรณาการ

5. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
คําชีแ้ จง ใหนกั เรียนแบงกลุม เทาๆ กัน ใหแตละกลุม รวมกันประชาสัมพันธโครงการวรรณกรรมพืน้ บานในรูปแบบตางๆ โดยปฏิบตั ติ าม
ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 ตั้งประเด็นคําถาม
นักเรียนแตละกลุม รวมกันวิเคราะหสาเหตุทวี่ รรณกรรมพืน้ บานสูญหายไปจากสังคมไทย เพือ่ กําหนดประเด็นในการศึกษา
คนควา และจัดทําขอมูลลงในหนังสือทํามือ วรรณกรรมพื้นบาน
ขั้นที่ 2 สืบคนความรู
นักเรียนแตละกลุมศึกษาขอมูลความรูเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบาน จากแหลงขอมูล เพื่อรวบรวมขอมูลสําหรับเผยแพร
ในหนังสือทํามือ วรรณกรรมพื้นบาน
ขั้นที่ 3 สรุปองคความรู
นักเรียนแตละกลุม นําเสนอขอมูลที่ไดจากการศึกษามารวมกันคิดวิเคราะห สังเคราะหปญ หาทีว่ รรณกรรมพืน้ บานสูญหายไป
จากสังคมไทย และสรุปเปนองคความรู พรอมเขียนวรรณกรรมพื้นบานที่ไดจากแหลงขอมูลที่ศึกษาลงในหนังสือทํามือ
วรรณกรรมพื้นบาน
ขั้นที่ 4 การสื่อสารและนําเสนอ
นักเรียนแตละกลุมตรวจสอบความถูกตองของการเขียนโครงการ วรรณกรรมพื้นบาน จากนั้นตัวแทนแตละกลุมนําเสนอ
ขอมูลหนาชั้นเรียน
ขั้นที่ 5 บริการสังคมและสาธารณะ
นักเรียนแตละกลุมดําเนินการนําหนังสือทํามือ วรรณกรรมพื้นบาน ที่ทําเสร็จแลวแจกจายใหกับเพื่อนนักเรียนหองอื่น
หรือบุคลากรในโรงเรียน เพื่อเผยแพรความรูเกี่ยวกับวรรณกรรมพื้นบาน จากนั้นนําผลงานมาจัดแสดงในชั้นเรียน

โครงการวัดและประเมินผล (46)
แบบประเมินคุณภาพการจัดทําโครงการ

ประเด็น ระดับคุณภาพ
การประเมิน ดีเยี่ยม (4) ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1)
ตั้งประเด็นคําถามในเรื่อง ตั้งประเด็นคําถามในเรื่อง ตั้งประเด็นคําถามในเรื่อง ใชคําถามที่ครูชี้แนะ
ที่สนใจไดดวยตนเอง ที่สนใจ โดยมีครูคอยชี้แนะ ที่สนใจ โดยมีีครูคอยชี้แนะ มากําหนดประเด็นคําถาม
ขอบขายประเด็นคําถาม ขอบขายประเด็นคําถาม ขอบขายประเด็นคําถาม
1. ชัดเจน ครอบคลุมขอมูล ชัดเจน ครอบคลุมขอมูล ชัดเจน แตยังไมครอบคลุม
การตั้งประเด็น ที่เกี่ยวของกับตนเอง ที่เกี่ยวของกับตนเอง ขอมูลที่เกี่ยวของกับตนเอง
คําถาม เชื่อมโยงกับชุมชน เชื่อมโยงกับชุมชน มีความ เชื่อมโยงกับชุมชน
มีความแปลกใหมและ เปนไปไดในการแสวงหา
สรางสรรค มีความเปน คําตอบ
ไปไดในการแสวงหาคําตอบ
วางแผนสืบคนขอมูล วางแผนสืบคนขอมูล วางแผนสืบคนขอมูล ไมมีการวางแผนหรือมีการ
ชัดเจน และปฏิบัติได ชัดเจน และปฏิบัติได ชัดเจน และปฏิบัติได วางแผน แตไมสามารถ

แบบทดสอบ
2. ศึกษาคนควาความรูจาก ศึกษาคนควาหาความรู ศึกษาคนควาหาความรู นําไปปฏิบัติจริงได
การสืบคนความรู แหลงเรียนรูหลากหลาย จากแหลงเรียนรู จากแหลงเรียนรู ศึกษาคนควาหาความรู
มีการบันทึกขอมูลที่ หลากหลาย ไมหลากหลาย จากแหลงเรียนรู
เหมาะสม ไมหลากหลาย
วิเคราะหขอมูลโดยใช วิเคราะหขอมูลโดยใช วิเคราะหขอมูลโดยใช ไมมีการวิเคราะหขอมูล

โครงการบูรณาการ
วิธีการที่เหมาะสม วิธีการที่เหมาะสม วิธีการที่เหมาะสม หรือวิเคราะหขอมูล
สังเคราะหและสรุป สังเคราะหและสรุป สังเคราะหและสรุป ไมถูกตอง สังเคราะหและ
3. องคความรูไดอยางชัดเจน
มีการอภิปรายผลเชื่อมโยง
องคความรูไดอยางชัดเจน
มีการอภิปรายผลเชื่อมโยง
องคความรูไดอยางชัดเจน สรุปองคความรูไดไมชัดเจน
มีการอภิปรายผลเชื่อมโยง ไมมีการนําองคความรู
การสรุป
องคความรู ความรูอยางสมเหตุสมผล ความรู นําองคความรูที่ได ความรูยังไมชัดเจน ไปเสนอแนวคิด วิธีการ
และนําองคความรูที่ไดไป ไปเสนอแนวคิดวิธีการ นําองคความรูที่ไดไปเสนอ แกปญหา
เสนอแนวคิดวิธีการ แกปญหาได แตยังไมเปน วิธีการแกปญหาได
แกปญหาอยางเปนระบบ ระบบ แตยังไมเปนระบบ
เรียบเรียงและถายทอด เรียบเรียงและถายทอด เรียบเรียงและถายทอด เรียบเรียงและถายทอด
ความคิดจากการศึกษา ความคิดจากการศึกษา ความคิดจากการศึกษาได ความคิดจากการศึกษาได
4. คนควาไดอยางชัดเจน คนควาไดอยางชัดเจน ไมคอยเปนระบบ นําเสนอ ไมเปนระบบ นําเสนอ
การสื่อสาร เปนระบบ นําเสนอผลงาน เปนระบบ นําเสนอผลงาน ผลงานโดยใชสื่อประกอบ ผลงานโดยไมใชสื่อ
และการนําเสนอ โดยใชสื่อที่หลากหลาย โดยใชสื่อประกอบรูปแบบ รูปแบบ ประกอบ
อยางเหมาะสม
นําความรูจากการศึกษา นําความรูจากการศึกษา นําความรูจากการศึกษา ไมไดนําความรูจากการ
คนควาไปประยุกตใช คนควาไปประยุกตใชใน คนควาไปประยุกตใชใน ศึกษาคนควาไปประยุกต
5. ในกิจกรรมที่สรางสรรค กิจกรรมที่สรางสรรคเปน กิจกรรมที่สรางสรรค ใชในกิจกรรมที่สรางสรรค
การนําความรูไปใช เปนประโยชนตอโรงเรียน ประโยชนตอโรงเรียน ที่เปนประโยชนตอโรงเรียน ที่เปนประโยชน
และบริการ และชุมชน เผยแพรความรู และชุมชน เผยแพรความรู และเผยแพรความรู
สาธารณะ และประสบการณจากการ และประสบการณจากการ และประสบการณจากการ
ปฏิบัติผานสื่อหลากหลาย ปฏิบัติผานสื่อรูปแบบใด ปฏิบัติผานสื่อรูปแบบใด
รูปแบบ รูปแบบหนึ�ง รูปแบบหนึ�ง

(47) โครงการวัดและประเมินผล
แบบประเมินทักษะแหงศตวรรษที่ 21
คําชี้แจง : ใหผูสอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางการปฏิบัติกิจกรรม แลวขีด ✓ลงในชองวางที่ตรงกับระดับคะแนน
ทักษะแหง รายการประเมิน ระดับคะแนน
ศตวรรษที่ 21 3 2 1
1.1 ความสามารถในการอาน
• สรุปจับใจความสําคัญของขอมูลที่อานไดครบถวน ตรงประเด็น
1. 1.2 ความสามารถในการคิดวิเคราะห
ทักษะการเรียนรู • คิดอยางมีระบบ โดยใชแหลงขอมูลและสรุปประเด็นสําคัญได
และพัฒนา • วิเคราะหขอมูล จําแนกขอมูล และแสดงการคิดเพื่อคนหาคําตอบ
ตนเอง 1.3 ความสามารถในการเขียน
• เขียนสื่อความหมายไดชัดเจน ถูกตอง
• เขียนถูกตองตามรูปแบบการเขียน และสรุปองคความรูอยางมีขั้นตอน
2.1 ความยืดหยุน และการปรับตัว
• ปรับตัวเขากับบทบาทที่แตกตาง งานที่ไดรับมอบหมาย กําหนดการที่เปลี่ยนไป
• นําผลลัพธที่เกิดขึ้น มาใชประโยชนไดอยางไดผล
2.2 การริเริ่ม และเปนตัวของตัวเอง
• กําหนดเปาหมายโดยมีเกณฑความสําเร็จที่จับตองได และที่จับตองไมได
แบบทดสอบ

• ใชเวลา และจัดการภาระงานอยางมีประสิทธิภาพ
2. • ทํางานสําเร็จไดดวยตนเอง โดยกําหนดงาน ติดตามผลงาน และลําดับความสําคัญของงาน
ทักษะชีวิต 2.3 ทักษะทางสังคม และความเขาใจความตางทางวัฒนธรรม
และการทํางาน • เคารพความแตกตางทางวัฒนธรรม และการทํางานรวมกับคนที่มีพื้นฐานแตกตางกันได
2.4 เปนผูผลิตและผูรับผิดชอบตอผลงาน
โครงการบูรณาการ

• กําหนดเปาหมาย ลําดับความสําคัญ และทําใหบรรลุเปาหมายนั้น แมจะมีอุปสรรค


• ทํางานอยางมีจริยธรรมและดวยทาทีเชิงบวก รวมถึงเคารพและเห็นคุณคาของความแตกตาง
2.5 ภาวะผูนําและความรับผิดชอบ
• ใชทักษะมนุษยสัมพันธและทักษะแกปญหาในการชักนําผูอื่นไปสูเปาหมาย
• ดําเนินการอยางมีความรับผิดชอบโดยถือประโยชนสวนรวมเปนที่ตั้ง
3.1 ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรม
• คิดอยางเปนเหตุเปนผลหลายแบบ รวมถึงวิเคราะหเปรียบเทียบและประเมินความเห็นหลักๆ
• สังเคราะหและเชื่อมโยงระหวางสารสนเทศกับขอโตแยง
3.2 การคิดอยางมีวิจารณญาณและการแกปญหา
3. • เรียบเรียงความคิดและมุมมองไดเปนอยางดี สื่อสารออกมาใหเขาใจงายและหลายแบบ
ทักษะการเรียนรู • แสดงความรับผิดชอบในงานที่ตองทํางานเปนทีมและเห็นคุณคาของบทบาทของผูรวมทีม
และนวัตกรรม 3.3 การสื่อสารและความรวมมือ
• สรางมุมมองแปลกใหม ทั้งที่เปนการปรับปรุงเล็กนอยจากของเดิม หรือที่แหวกแนวโดยสิ้นเชิง
• เปดใจรับและตอบสนองตอมุมมองใหมๆ รวมทัง้ การประเมินผลงานจากกลุม เพือ่ นําไปปรับปรุง
• ลงมือปฏิบัติตามความคิดสรางสรรคเพื่อนําไปสูผลสําเร็จที่เปนรูปธรรม
4.1 ดานสารสนเทศ
4. • เขาถึง ใช และประเมินสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ครบถวน และรูเทาทัน
ทักษะดาน 4.2 ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สารสนเทศ สื่อ • ใชเทคโนโลยีเพื่อวิจัย จัดระบบ ประเมิน และสื่อสารสนเทศ
และเทคโนโลยี • ใชเครื่องมือสื่อสารอยางถูกตองเหมาะสม เพื่อทําหนาที่ในฐานความรู
เกณฑการพิจารณาใหคะแนน
พฤติกรรม คะแนน ลงชื่อ……………………………………….ผูประเมิน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสมํ่าเสมอ 3 คะแนน
……………/……………/……………
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบอยครั้ง 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง 1 คะแนน

โครงการวัดและประเมินผล (48)

You might also like