You are on page 1of 20

รายงานเชิงวิชาการ  

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรือง ลิลิตตะเลงพ่าย 
 
 
 
 
 
 
 
 
โดย 
 
นางสาว อรินดา คําพานิช ชันมัธยมศึกษาปที 5/8 เลขที 9  
นางสาวเทม แม๊คฟาดเดน ชันมัธยมศึกษาปที 5/8 เลขที 10  
นางสาวรุง่ นภา งามสง่าพงษ์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/8 เลขที 12 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เสนอ 
 
อ.พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์  
ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2562  
โรงเรียนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเปนฐาน 
(Project Based Learning) รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม  
ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5 
 
 
 
คํานํา  
 
รายงานเล่มนีเปนส่วนประกอบหนึงของวิชาภาษาไทยระดับชันมัธยมศึกษาปที 5 จัดทํา
ขึนเพือจุดประสงค์ในการ  วิเคราะห์และพิจารณาวรรณคดีเรือง  ลิลิตตะเลงพ่าย  ทางคณะผู้
จัดทําต้องการจะนําเสนอ  ข้อมูลเชิงวิชาการไม่ว่าจะเปนทางด้านเนือเรือง,กลวิธีในการ
ประพันธ์หรือแม้กระทังคุณค่าทีวรรณคดีเรืองนีได้มอบให้ผู้อ่านและหวังเปนอย่างยิงว่าข้อมูล
ในรายงานเล่มนีจะสามารถให้ประโยชน์แก่ผู้ทีสนใจและต้องการทําการศึกษาเกียวกับ
วรรณคดี  เรือง  ลิลิตตะเลงพ่าย  ได้ไม่มากก็น้อยหากทางคณะผู้จัดทําได้ทําสิงผิดพลาด
ประการใด ต้องขอโทษมา ณ ทีนี และขอน้อมรับทุกคําแนะนําไปปรับปรุง  
ทังนีรายงานเล่มนีสําเร็จได้ด้วยความช่วยเหลือของ  อาจารย์พนมศักดิมนูญปรัชญาภ
รณ์ทางคณะ ผู้จัดทําขอขอบพระคุณอาจารย์ทีช่วยเปนผู้ให้คําแนะนําและข้อเสนอแนะเพือที
จะให้คณะผู้จัดทํานํากลับ ไปแก้ไข รายงานเล่มนีได้สําเร็จลุล่วง  
คณะผู้จัดทํา  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

1
 
 
สารบัญ 
 
คํานํา 
 
การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม  
 
1.1 เรืองย่อ 1 
   
1.2 โครงเรือง 2 
 
1.3 ตัวละคร 2 
 
1.4 ฉากท้องเรือง 3 
 
1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 3 
 
1.6 แก่นเรืองหรือสารัตถะของเรือง 3 
 
 
2. การอ่านและพิจารณาเนือหาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 8 
 
2.1 สรรคํา 8 
 
2.2 การเรียบเรียงคํา 9 
 
2.3 การใช้โวหาร 11 
 
3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 12 
 
3.1 คุณค่าด้านอารมณ์  12 
 
3.2 คุณค่าด้านอืน ๆ  13 
 
บรรณานุกรม  19 
 
 
 
 
 
 
 

2
1. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม  
 
1.1 เรืองย่อ 
 
เริมเรืองด้วยการสวรรคตของพระมหาธรรมราชา ซึงนํามาสูก ่ ารขึนครองราชย์
ของพระนเรศวร เรืองนีถึงหูของฝายพม่า(นครรามัญ) พระนันทบุเรงเห็นท่าว่า
สองพีน้องจะทะเลาะเพือแย่งชิงบัลลัง จึงเปนเวลาอันเหมะสมในการยึดเมือง จากนัน
จึงจัดเตรียมทัพพยกไปตีกรุงศรีอยุธยา โหรได้ทํานายว่าพระเจ้านันทบุเรงจะมีดวง
ถึงฆาต แต่พระเจ้านันทบุเรงได้ตรัสประชดประชันจนพระมหาอุปราชจําใจนําศึกไป 
โดยรวบรวมไพร่พลจากเชียงใหม่และเมืองขึนต่างๆ ก่อนนําศึกพระเจ้านันทบุเรงตรัส
โอวาท ๘ ประการกับพระมหาอุปราชดังนี 
 
1. อย่าหูเบา  
2. อย่าทําอะไรตามใจตนเอง  
3. ให้เอาใจทหาร  
4.อย่าไว้ใจคนขลาดเขลา  
5. รอบรู้กระบวนการจัดทัพ  
6. รู้หลักตําราพิชัยสงคราม  
7. ให้รางวัลทหารทีมีความสามารถ  
8. จงพากเพียร 
 
ในระหว่างช่วงนันสมเด็จพระนเรศวรกําลังเตรียมกองทัพ ไปทําศึกกับ
กัมพูชาทีเคยมาโจมตีไทยในระหว่างทีไทยรบพม่า แต่ทรงทราบถึงการทีพม่าได้
ยกทัพมา พระองค์จึงไปตังทัพรอรับพม่าแทน ทัพพม่านันได้นําทัพจํานวน ห้า
แสนพลผ่านด่านเจดีย์สามองค์ ไทรโยคลํากระเพินแล้วยึดเมืองกาญจนบุรี จาก
นันจึงเข้ามาทางพนมทวน แต่ได้เกิดลมเวรัมภาทีพัดจนฉัตรพระมหาอุปราชาหัก
ลงนับเปนลางร้าย จึงต้องพักค่ายทีตําบลตระพังตรุ ทางฝงสมเด็จพระนเรศวร
และสมเด็จพระเอกาทศรถเคลือนทัพทางนา โดยขึนบกทีอําเภอปาโมกข์ จากนัน
ได้นําพลไปพักค่ายทีอําเภอหนองสาหร่าย ทรงได้ทราบว่าทหารพม่ามาลาดตระ
เวณอยูใ่ นบริเวณนีจึงทําทีโจมตีแล้วล่าถอยกลับเพือทําให้พม่าประมาทใจ แต่ช้าง
ทรงทังของสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถนันตกมัน จึงหลงเข้าไป
อยูต
่ รงกลางวงข้าศึก พระนเรศวรจึงได้กล่าวให้พระมหาอุปราชออกมาทํา
ยุทธหัตถีกัน ท้ายทีสุดสมเด็จพระนเศวรทรงมีชัยเหนือพระมหาอุปราชา หลังจาก
ทีกองทัพพม่าแตกพ่ายไป สมเด็จพระนเรศวรได้มีพระบัญชาให้สร้างสถูปเจดีย์
ขึนทีนี แล้วยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยา  
 
 
 
 
 
 
 
 

3
1.2 โครงเรือง  
 
ลิลิตตะเลงพ่ายเปนเรืองราวเกียวกับการทําศึกของพระมหากษัตริย์สอง
ฝาย โดยมีรายละเอียดของกุลยุทธิและการวางแผนของทังสองฝาย 
 
 
1.3 ตัวละคร  
ฝายอยุธยา 
- สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองค์ดํา) 
เปนคนรู้จักการวางแผน, มีไหวพริบช่างสังเกตุ กล้าตัดสินใจและมี
วาทศิลปในการพูด 
 
ตัวอย่างที 1  
 
๑๗๗(๓๐๓) พระพีพระผู้ผา่ น ภพอุต-ดมเอย 
 
ไปชอบเชษฐ์ยืนหยุด ร่มไม้ 
 
เชิญการร่วมคชยุทธ์ เผยอเกียรติ ไว้แฮ 
 
สืบว่าสองเราไซร้ สุดสินฤามี 
  
จากตัวอย่างขันต้น เปนตอนทีพระนเรศวรกําลังเชิญพระมหาอุปราชออก
มาทํายุตหัตถีอย่างไพเราะเนืองจากพระมหาอุปราชเคยเปนพีน้องครัน
โดนจับตัวเปนองค์ประกันทีเมืองหงศา 
 
ตัวอย่างที 2  
 
๑๓๐(๒๙๖) โดยแขวงขวาทิศท้าว ทฤษฎี แลนา 
 
บัด ธ เห็นขุนกรี หนึงไสร้ 
 
เถลิงฉัตรจัตุรพิรีย์ เรียงคัง ขูเฮย 
 
หนแห่งฉายาไม้ ข่อยชีเฌอนาม 
 
๑๓๑(๒๙๗) ปนสยามยลแท้ท่าน คะเนนึก อยูน ่ า 
 
ถวิลว่าขุนศึกสํา- นักโน้น 
 
ทวยทับเทียบพันลึก แลหลาก หลายแฮ 
 
ครบเครืองอุปโภคโพ้น เพ่งเพียงพิศวง 

4
 
จากบทกลอนได้แสดงถึงความช่างสังเกตและมีไหวพริบของพระนเรศวร 

จากทีท่านได้สังเกตุว่าฉัตรนันมีเพียงแค่ห้าชันซึงหมายความว่าเปนพระ
มหาอุปราชทีออกมารบไม่ใช่พระนันทบุเรง ทรงชิงเชิญมาทํายุตตหัตถี
เพือไม่ให้ฝายข้าศึกชิงโจมตีพระนเรศวรทีฝาวงล้อมเข้ามาอยูใ่ นกองทัพ
พม่า 
 
ตัวอย่างที 3 
 
๖๓(๑๖๕) พระพึงพิเคราะห์ผู้ ภักดี ท่านนา 
 
คือพระยาจักรี กาจแกล้ว 
 
พระตรัสแด่มนตรี มอบมิง เมืองเฮย 
 
กูไกลกรุงแก้ว เกลือกช้าคลาคืน 
 
จากบทกลอนข้างต้น ได้แสดงถึงความสามารถของพระนเรศวรในการ
ตัดสินใจได้อย่างเด้ดขาดและรวดเร็ว ซึงพระองค์สามารถจัดทัพให้มาสู้กับ
พม่าหลังจากทีรู้ว่าพม่าจะมาโจมตีหลังจากทีพระบิดาสวรรคต 
 
- สมเด็จพระเอกาทศรถ (พระองค์ขาว) 
เปนผู้ทีมีความกล้าหาญและเด็ดเดียว มีความสามารถในการรบเคียงข้าง
สมเด็จพระเชษฐา และมีความจงรักภักดีแม้นในยามศึกสงครามก็มิได้เกรง
กลัวต่อศัตรูซึงมีกําลังพลมากกว่าจนชนะศัตรู 
 
ตัวอย่าง: 
ฝายองค์อิศวรนาถน้อง นฤบาล 
แสดงยศคชยุทธยาน ยาตรเต้า 
มางจาชโรราญ ฤทธิราช แล  
เร็วเร่งคเชนทรเข้า เข่นคาบํารู 
- สมเด็จพระวันรัต 
เปนพระทีมีความเคร่งครัดในสมณปฏิบัติ มีปฏิภาณ 
และวาทศิลปดี เมือสมเด็จพระนเรศวรรับสังให้นิมนต์เข้าในท้องพระโรง ได้
ขออภัยโทษให้บรรดาแม่ทัพนายกองทีตามเสด็จไม่ทัน และทูลถามถึงเหตุผลที
ลงโทษแม่ทัพนายกองเหล่านันแต่ด้วยปฏิภาณและวาทศิลปของสมเด็จพระวันรัต
ทีเปรียบเทียบสมเด็จพระนเรศวรเหมือนสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทําให้
เหล่าแม่ทัพนายกองได้รับพระราชทานอภัยโทษ 
 
ตัวอย่าง: 
พระตรีโลกนาถแผ้ว เผด็จมาร 
เฉกพระราชสมภาร พีน้อง 
เสด็จไร้พิริยะราญ อรินาศ ลงนา 

5
เสนอพระยศยินก้อง เกียรติท้าวทุกภาย 
ฝายนครรามัญ 
- พระเจ้าหงสาวดี(นันทบุเรง) 
เปนคนทีสามารถปกครองประเทศราช มีสามารถตัดสินเด็ดขาดและอย่าง
ให้ลูกเปนแบบตนบ้าง 
 
ตัวอย่าง 
โหรควรคงทํานาย ทายพระเคราะห์ถึงฆาต ฟงสารราชเอารส ธก็ผะชด
บัญชา เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชียวชาญ หาญหักศึกบมิยอ่ ต่อสู้ศึก
บมิหยอน ไปพักวอนว่าใช้ ให้ธหวงธห้าม แม้นเจ้าคร้ามเคราะห์กาจ จง
อย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรีย์สร่างเคราะห์ ธตรัสเยาะ
เยียงขลาด องค์อุปราชยินสาร แสนอัประมาณมาตย์มวล นวลพระพักตร์
ผ่องเผือด เลือดสลดหมดคลา 
: จากร่ายตัวอย่าง พระนันทบุเรงอยากให้ลูกตัวเองออกศึกแม้ว่าโหรเตือน
แล้วว่าหากพระบุตรออกศึกแลัวอาจถึงฆาต แต่ท่านมองว่าลูกท่านขีคลาด
ทีไม่ยอมไปออกรบเหมือนพระนเรศวร 
 
 
 
 
- พระมหาอุปราชา 
เปนคนทีมีความกตัญ ูต่อบิดาเปนอย่างมาก เมือออกสงครามมักจะออก
แทนพระบิดาเนืองจากท่านได้ชรามากแล้ว เกรงว่าหากแพ้สงครามจะไม่มีใครเผา
ผีให้บิดาเก็บไว้ดูต่างหน้าและจะไม่มีคนรบเคียงบ่าเคียงไหล่ท่าน 
ตัวอย่าง: 
ณรงค์นเรศวร์ด้าว ดัสกร 
ใครจักอาจออกรอน รบสู ้
เสียดายแผ่นดินมอญ พลันมอด ม้วยแฮ 
เหตุบม่ ีมือผู้- อืนต้านทานเข็ญ 
๏ เอ็นดูภูธเรศเจ้า จอมถวัลย์ 
เปลียวอุระราชรัน- ทดแท้ 
พระชนม์ชราครัน ครองภพ พระเอย 
เกรงบพิตรจักแพ้ เพลียงพลาศึกสยาม 
 
1.4 ฉากท้องเรือง  
ในบทประพันธ์นีได้อิงมาจากสถานทีและเหตุการณ์จริงในประวัติศาสตร์ 
โดยเปนเหตุการณ์ทีเกิดขึนเมือพม่าไปยึดเมืองกาญจนบุรี และการทํายุทธหัตถี
ของพระมหาอุปราชาและพระนเรศวรมหาราชทีตําบลตระพังตรุ ผู้ประพันธ์ได้มี
การบรรยายบรรยากาศและเหตุการณ์ได้ตรงกับเหตุการณ์จริง 
โดยมีฉากท้องเรืองดังนี: 
 
- กรุงหงสาวดีเมืองหลวงของพม่า 

6
“ฝายพระนครรามัญ ขัณฑ์เขตด้าวอัสดง หงสาวดีบุเรศ รัวรู้เหตุ บ มิหึง 
แห่งเอิกอึง” 
 
 
 
- พลับพลาค่ายหลวง ตําบลปาโมก ทีพระนเรศวรทรงพระสุบิน  
: โบกกบีธุชคลาพล ยลนาวาดาดาษ ดูสระพราศสระพรัง คังคับขอบคงคา 
แลมเหาฬาร์พันลึก อธึกท้องแถวธาร ถับถึงสถานปากโมก 
 
- ด่านเจดีย์สามองค์เขตแดนระหว่างไทยกับพม่า อําเภอสังขละบุรี
กาญจนบุร ี
: ล่วงลุด่านเจดีย์ สามองค์มีแห่งหัน 
แดนต่อแดนกันนัน เพือรู้ราวทาง 
 
- กาญจนบุรีเมืองหน้าด่านของไทยทีพระมหาอุปราชายกทัพเข้ามาก่อน  
: ฝายนครกาญจน จัดขุนพลพวกด่าน ผ่านไปสืบเอาเหตุ ในขอบเขต
รามัญ 
 
 
1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน  
 
บทรําพึงรําพันของพระมหาอุปราชาถึงนาง  
 
มาเดียวเปลียวอกอ้า  อายสู 
สถิตอยูเ่ อ้องค์ดู ละห้อย 
พิศโพ้นพฤกษ์พบู  บานเบิก ใจนา 
พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนือนวลสงวน 
  สลัดไดใดสลัดน้อง  แหนงนอน ไพร  
เพราะเพือมาราญรอน  เศิกไสร้ 
สละสละสมร  เสมอชือ ไม้นา 
นึกระกํานามไม้  แม่นแม้นทรวงเรียม 
  สายหยุดหยุดกลินฟุง ยามสาย 
สายบ่หยุดเสน่ห์หาย  ห่างเศร้า 
กีคืนกีวันวาย  วางเทวษ ราแม่ 
ถวิลทุกขวบคาเช้า หยุดได้ฉันใด 
 
บทรําพึงรําพันของพระมหาอุปราชาถึงนาง คือบทนิราศทีพระมหาอุปราชาได้
รําพึงถึงนางสนมอันเปนทีรักทีนครรามัญ โดยชือต้อนไม้ในปานันได้ไปพ้องกับ
นางสนม ในบทประพันธ์มีการใช้การเล่นคําซาและมีคําถามเชิงวาทศิลปอีกด้วย 
 
1.6 แก่นเรือง 
 

7
บทประพันธ์สะท้อนถึงค่านิยมอันดีงานของประเทศไทย โดยได้กล่าวสรรเสริญ
กษัตริย์ไทย ทีช่วยปกปองรักษาแผ่นดินไทยให้มีเอกราชจวบจนทุกวันนี อีกทัง
เรืองยังได้กล่าวถึงความ กล้าหาร สามัคคี และ ความรักชาติของบรรพบุรุษของ
ไทย ซึงทําให้ผู้อ่านได้รับรู้ถึงการเสียสละของบรรพชน อีกทังยังทําให้คนในชาติ
เปนปกแผ่นเดียวกันอีกด้วย 
 
2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
2.1 สรรคํา 
 
เบืองนันนฤนาถผู้ สยามินทร์ 
เบียงพระมาลาผิน ห่อนพ้อง 
ศัสตราวุธอรินทร์ ถูก องค์เอย 
เพราะพระหัตถ์หากปอง ปดด้วยขอทรง 
 
มีการเลือกสรรคําให้เหมาะสมกับฐานะของแต่ละบุคคล โดยในทีนีเปนการกล่าว
ถึงกษัตริย์ จึงใช้คําทีเปนการให้เกียรติกษัตริย์ โดยมีการใช้ศัพท์สูง เช่น พระมาลา 
คือ หมวก นฤนาถ คือ กษัตริย ์
 
การใช้คําโดยคํานึงถึงเสียง 
 
กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว 
คลาดเคล้าคลาสมร   
จําใจจรจําจากสร้อย อยูแ ่ ม่อย่าละห้อย 
ห่อนช้าคืนสม แม่แล 
 
วรรคที ๑ กร – กอง – กอด – แก้ว 
 
วรรคที ๒ เรียม – ร้าง – รส 
 
วรรคที ๓ คลาด – เคล้า – คลา 
 
วรรคที ๔ อยู่ – อยาก 
 
การเล่นคํา 
  สายหยุดหยุดกลินฟุง ยามสาย 
 
สายบ่หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า 
 
กีคืนกีวันวาย วางเทวษ ราแม่ 
 
ถวิลทุกขวบคาเช้า หยุดได้ฉันใด 
 

8
ในทีนีมีการใช้คําซาเพือให้เกิดความลึกซึง สะเทือนอารมณ์ผู้อ่าน คือคําว่าสาย 
โดยใช้คําว่าสายในบริบททีแตกต่างกัน มีคําว่าสายหยุดซึงเปนชือดอกไม้ และคํา
ว่าสายซึงคือเมือเวลาสาย 
 
การเล่นเสียงวรรณยุกต์ 
   
 
  สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา 
 
เพราะเพือมาราญรอน เศิกไสร้ 
 
สละสละสมร เสมอชือ ไม้นา 
 
นึกระกํานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม 
 
ในทีนีมีการใช้เสียง ไ และ ใ ในหลายๆคําเพือให้เกิดความไพเราะเวลาอ่าน 
 
การเลียนเสียงธรรมชาติ 
“….เจ้าพระยาไชยานุภาพ เจ้าพระยาปราบไตรจักร ตรับตระหนักสําเนียง เสียง
ฆ้องกลองปนศึก 
อึกเอิกก้องกาหล เร่งคํารนเรียกมัน ชันหูชูหางเล่น แปร้นแปร๋แลคะไขว่.” 
 
มีการเลียนเสียงฆ้องกลองปนศึก คือ “แปร้นแปร๋” 
 
การใช้คําอัพภาส 
“...สาดปนไฟยะแย้ง แผลงปนพิษยะยุง่ พุง่ หอกใหญ่คะคว้าง ขว้างหอกซัดคะไขว่
ไล่คะคลุกบุกบัน เงือดาบฟนฉะฉาด ง่าง้าวฝาดฉะฉับ...” 
 
มีการใช้คําซาหน้าคําศัพท์ คือ คําว่า ยะ คะ และ ฉะเพือความไพเราะ 
 
2.2 การเรียบเรียงคํา 
ลักษณะของลิลิตตะเลงพ่าย คือ จะถูกแต่งด้วยลิลิตสุภาพ ประกอบด้วย ร่าย
สุภาพ โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสีสุภาพ แต่งสลับกันไป จํานวน 
439 บท  
 
การเรียงข้อความทีบรรจุสารสําคัญไว้ท้ายสุด 
 
ยกพลผ่านด่านกว้าง เสียงสนันม้าช้าง 
กึกก้องทางหลวง 
ปวงประนมนบเกล้า งามเสงียมเฟยมเฝา 
อยูถ ่ ้าทูลสนอง 
ล่วงลุด่านเจดีย์ สามองค์มีแห่งหัน 
แดนต่อแดนกันนัน 

9
ในตัวอย่างข้างต้นได้มีการกล่าวถึงเมือตอนทีพระมหาอุปราชาได้ยกทัพไปแล้ว
ก็ได้ไปถึงด่านเจดีย์สามองค์เพือเข้ามาในเขตสยามทันที จะสังเกตได้จากวิธีการ
เรียงลําดับข้อความข้างต้นได้ว่าผู้ประพันธ์เลือกทีจะกล่าวถึงการยกทัพ “ ยกพล
ผ่านด่านกว้าง เสียงสนันม้าช้าง กึกก้องทางหลวง” ก่อนทีจะนําใจความสําคัญ
ไว้ท้ายสุด ซึงก็คือการทีพระมหาอุปราชาข้ามด่านเจดีย์สามองค์มาแดนสยาม   
“ล่วงลุด่านเจดีย์ สามองค์มีแห่งหัน แดนต่อแดนกันนัน” 
 
เรียบเรียงประโยคให้เนือหาเข้มข้นขึนไปตามลําดับดุจขันบันไดจนถึงขันสุดท้าย
ทีสําคัญทีสุด 
 
สายหยุดหยุดกลินฟุง ยามสาย 
 
สายบ่หยุดเสน่ห์หาย ห่างเศร้า 
 
กีคืนกีวันวาย วางเทวษ ราแม่ 
 
ถวิลทุกขวบคาเช้า หยุดได้ฉันใด 
 
ถอดคําประพันธ์ได้ว่า ดอกสายหยุดพอสายก็หมดกลิน แต่ดวงใจแม้ใน
ยามสาย จะกีคืนกีวันทีจากคนรักมา ก็หวนคิดถึงคนรักทุกคาเช้า ไม่รู้จะหยุดได้
อย่างไร ในบทนีได้เริมจากการกล่าวเปรียบเทียบกลินของดอกสายว่ากลินจางหาย
ไปตามกาลเวลา แต่เพิมความเข้มข้นขึนด้วยการเปรียบเทียบกับเวลาสาย ว่าถึง
แม้เวลาจะล่วงเลยไปก็ยังไม่หยุดคิดถึงคนรัก ต่างจากกลินของดอกสายทีหายไป
ตามกาลเวลา แล้วจบด้วยช่วงสุดท้ายทีเข้มข้นทีสุดซึงคือการกล่าวจบว่า ไม่ว่าจะ
จากมากีวันก็คิดถึงคนรักทังเช้าและเย็น โดยจะสังเกตได้ว่าบทประพันธ์นีมีความ
เข้มข้นขึนตามลําดับ 
 
การเรียบเรียงถ้อยคําให้เปนคําถามเชิงวาทศิลป 
เปนการเรียบเรียงประโยคให้เปนคําถามโดยทีไม่ได้ต้องการคําตอบ เพียงแต่เปน 
กลวิธีในการกล่าวถึงสิงหนึงของกวีเท่านัน 
 
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพร  
พราะเพือมาราญรอน เศิกไสร้ 
สละสละสมร เสมอชือ ไม้นา 
นึกระกํานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม 
 
ทรงเห็นต้นสลัดไดทรงดําริว่าเหตุใดจึงต้องจากคนรักมานอนปา มาเพือทํา
สงครามกับข้าศึก เห็นต้นสละทีต้องสละคนรักมาเหมือนชือต้นไม้ เห็นต้นระกําที
เปนชือต้นไม้ เหมือนกับความทุกข์ระกําทีรู้สึกจริงๆ ในทีนีมีการถามคําถามว่าเหตุ
ใดจึงต้องจากคนรักมานอนในปา แต่คําถามนีไม่ได้ต้องการคําตอบแต่อย่างใด แต่
เปนการรําพึงถึงความทุกข์ทีต้องจากคนรักมา 
 
 

10
เรียบเรียงประโยคให้เนือหาเข้มข้นขึนไปตามลําดับแต่คลายความเข้มข้นลงใน
ช่วงหรือประโยคสุดท้ายอย่างฉับพลัน 
 
  ดําเนินหนุนถนัดได้ เชิงชิด 
 
หน่อนเรนทรทิศ ตกด้าว 
 
เสด็จวราฤทธิ รําร่อน ขอแฮ 
 
ฟอนฟาดแสงของ้าว อยูเ่ พียงจักรผัน 
 
เมือช้างของพระมหาอุปราชาอยูด ่ ้านล่าง จึงเงือพระแสงของ้าวขึนจ้วงฟนอย่าง
แรงและรวดเร็วราวกับจักรหมุนทีเดียว เปนการบรรยายถึงความน่าตืนเต้นในการ
สู้รบ แต่เพิมความเข้มข้นขึนด้วยการทีช้างของพระนเรศวรทําให้ได้เปรียบในการ
รบ และคลายความเข้มข้นขึนด้วยการกล่าวถึงการฟนพระแสงของ้าวอย่าง
รวดเร็วในตอนจบ 
 
2.3 การใช้โวหาร 
 
การใช้โวหารเพือการเปรียบเทียบ 
 
  บุญเจ้าจอมภพขึน แผ่นสยาม 
 
แสยงพระยศยินขาม ขาดแกล้ว 
 
พระฤทธิดังฤทธิราม รอนราพณ์ แลฤา 
 
ราญอริราชแผ้ว แผกแพ้ทุกภาย 
 
ไพรินทรนาศเพียง พลมาร 
 
พระดังองค์อวตาร แต่กี 
 
แสนเศิกห่อนหาญราญ รอฤทธิ พระฤา 
 
ดาลตระดกเดชลี ประลาตหล้าแหล่งสถาน 
การใช้โวหารเพือเปรียบเทียบพระนเรศวรว่าเปรียบดังพระรามเมือสู้รบกับทศ
กัณฐ์ โดยเปนการใช้อุปมาโวหาร ซึงคือการเปรียบเทียบสิงๆหนึงกับอีกสิง เพือให้
เข้าใจและเห็นภาพมากขึน จะสังเกตได้ว่าจะใช้คําว่า ดัง เพือเปรียบเทียบ 
 
 
การใช้โวหารเพือพรรณนา 
 

11
พลอยพลาเพลียกถ้าท่าน ในรณ 
บัดราชฟาดแสงพล พ่ายฟอน 
พระเดชพระแสดงดล เผด็จคู่ เข็ญแฮ 
ถนัดพระอังสาข้อน ขาดด้าวโดยขวา 
พรรณนาโวหาร คือ โวหารทีกล่าวสาธยายถึงความงามของสิงต่างๆ เช่น 
ความงามของสถานที ธรรมชาติ และผู้คน ทําให้ผู้อ่านสามารถจินตนาการและมี
ความรู้สึกร่วมกับเหตุการณ์นันๆได้ ในทีนีทําให้เห็นถึงความกล้าหาญของพระ
นเรศวรในการสู้รบกับพระมหาอุปราชา  
 
อติพจน์โวหาร 
 
พระคุณตวงเพียบพืน ภูวดล 
เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนใต้ 
พระเกิดพระก่อชนม์ ชุมชีพ มานา 
เกรง บ่ ทันลูกได้ กลับเต้าตอบสนอง 
 
การกล่าวเกินจริงเพือให้เกิดอารมณ์ความรู้สึกเกินกว่าความเปนจริง ในทีนีพระ
มหาอุปราชาได้กล่าวถึงพระบิดาว่ามีพระคุณล้นฟา 
 

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 

ด้านอารมณ์ 

มาเดียวเปลียว อกอ้า   

สถิตอยูเ่ อ้องค์ดู ละห้อย 

พิศโพ้นพฤกษ์พบู  บานเบิก ใจนา   

พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนือนวลสงวน 

จากบทประพันธ์ข้างต้นนี แสดงให้เห็นถึงอารมณ์รัก คิดถึงและอาลัยของพระ


มหาอุปราชาทีรู้สึกต่อพระสนม ณ ตอนทีพระมหาอุปราชาจากคนรักมาเพือ
สงครามต่อสู้กับไทย เนืองจากไม่สามารถขัดคําสังของ พระเจ้าหงสาวดี นันทบุเรง 
บทประพันธ์ข้างต้นทําให้ผู้อ่านมีอารมณ์รว
่ ม 

ด้านสังคม 

สะท้อนให้เห็นธรรมชาติมนุษย์เช่นพระเจ้าหงสาวดีตรัสประชดพระมหาอุปราชา
ว่ากษัตริย์กรุงศรีอยุธยามีพระโอรสทีกล้าหาญไม่ครันคร้ามจ่อการศึกสงครามแต่
พระโอรสของพระองค์เปนคนขลาดทําให้พระมหาอุปราชาทรงอับอายและเกรง

12
พระราชอาญาจึงเกิดขัตติยมานะยอมกระทําตามพระราชประสงค์ของ  พระราช
บิดา 

สะท้อนเกียวกับขนบธรรมเนียมประเพณีขนบธรรมเนียมในการศึกษา  ทีปรากฏ 
ในเรืองได้แก่เมือพระมหาอุปราชาจะออกศึกพระเจ้าหงสาวดีทรงประสาทและให้
โอวาทการสร้างขวัญกําลังใจแก่ทหารและความเด็ดขาดในการรบ  ความรู้เกียวกับ
ตําราพิชัยสงคราม  การจัดทัพ  การตังทัพ  ประเพณี  และพิธีกรรมเกียวกับสงคราม
เช่นพิธีโขลนทวารตัดไม้ขม
่ นาม เพือการสร้างขวัญกําลังใจแก่ทหารดังทีปรากฏใน
บทประพันธ์ทีกล่าวถึงพิธีโขลนทวารซึงเปนพิธีบํารุงขวัญทหารก่อนออกศึกเหล่า
ทหารต่างฮึกเหิมและมีกําลังใจเพราะมีพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์และประพรม
นาพระพุทธมนต์ให้ 

-สะท้อนให้เห็นความเชือของสังคมไทยความเชือทีปรากฏในเรืองได้แก่  ความเชือ
ของบรรพบุรุษ,ความเชือเรืองความฝนบอกเหตุ  เชือคําทํานายทายทักของโหร 
เช่น  ตอนทีสมเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบินนิมิต  จึงตรัสให้หาพระโหราจารย์เพือ
ทํานายนิมิต 

-สะท้อนข้อคิดเพือนําไปใช้ในการดําเนินชีวิต 

ลิลิตตะเลงพ่ายได้แสดงคุณธรรมด้านต่างๆ  ทีมีคุณค่าต่อการดําเนินชีวิต  เช่น 


ความรับผิดชอบต่อหน้าที  ความเมตตา  ความนอบน้อม  การให้อภัย  เปนต้น  โดย
สอดแทรกอยูใ่ นบทประพันธ์ผู้อ่านจะสามารถซึมซับคุณธรรมเหล่านีผ่านความ
งามของภาษาสามารถจรรโลงใจผู้อ่านได้เช่นตอนทีพระเจ้านันทบุเรง  ทรงสอน
การศึกสงครามแก่พระมหาอุปราชาก็เปนข้อคิดทีมีคุณค่ายิงต่อการดําเนินชีวิตทุก
ยุคสมัย 

คุณค่าด้านวรรณศิลป 

-การสรรคําลิลิตตะเลงพ่ายเปนวรรณคดีมรดกลาค่าทีคนไทยควรศึกษาเพือให้ 
เกิดความภาคภูมิใจในวีรกรรมของนักรบไทยและภูมิใจในภาษาไทยทีกวีใช้ถ่าย 
ทอดเรืองราวได้อย่างมีคุณค่าทางด้านวรรณศิลป  ด้วยการเลือกใช้ถ้อยคําได้อย่าง
ไพเราะ ดังนี 

การใช้คําทีเหมาะแก่เนือเรืองและฐานะของบุคคล  กวีเลือกใช้คําทีแสดงฐานะของ
บุคคล ดังนี 

เบืองนันนฤนาถผู้ สยามินทร์ 

เบียงพระมาลาผิน ห่อนพ้อง 

ศัสตราวุธอรินทร์ ฤาถูก องค์เอย 

13
เพราะพระหัตถ์หากปอง ปดด้วยขอทรง 

-การใช้คําโดยคํานึงถึงเสียงความไพเราะของถ้อยคําหรือความงามของถ้อยคํานัน 
พิจารณาทีการใช้สัมผัส การเล่นคํา เล่นความ การเลียนเสียงธรรมชาติ เปนต้น 

-การใช้โวหาร 

กวีเลือกใช้ถ้อยคําในการบรรยาย  พรรณนาและเปรียบเทียบได้อย่างเหมาะสมกับ
เนือเรือง ทําให้ผู้อ่านมองเห็นภาพชัดเจน ดังนี 

-การใช้คําให้เกิดจินตภาพ  

เช่นการใช้คําทีแสดงให้เห็นภาพการต่อสู้อย่างห้าวหาญของพลทหารทังสองฝาย
ทีผลัดกันรุกรับขับเคียวกันด้วยอาวุธหลากหลายทัง  ขอ  ง้าว  ทวน หอก ธนู จนต่าง
ฝายล้มตายไปเปนจํานวนมาก 

-การใช้โวหารโดยการเปรียบเทียบ  

ว่าสมเด็จพระนเรศวรมีฤทธิเหมือนพระรามยามต่อสู้กับทศกัณฐ์  ข้าศึกศัตรูทีพ่าย
แพ้ไปเหมือนพลยักษ์ สมเด็จพระนเรศวรก็เหมือนองค์พระนารายณ์อวตารลงมา 

-การใช้ถ้อยคําสร้างอารมณ์และความรู้สึก  

แม้ลิลิตตะเลงพ่ายเปนเรืองเกียวกับประวัติศาสตร์และยอพระเกียรติพระมหา
กษัตริย ์ แต่ด้วยความปรีชาในด้านภาษาอย่างลึกซึงของกวี  กวีสามารถใช้ถ้อยคํา 
ทําให้ผู้อ่านเกิดความสะเทือนอารมณ์ เกิดความรู้สึกเห็นใจ เศร้าใจ ดีใจ ภูมิใจ  

คุณธรรมทีได้รบ
ั จากเรือง ลิลิตตะเลงพ่าย 

​1 .ความรอบคอบไม่ประมาท 

ในเรืองลิลิตตะเลงพ่ายนีเราจะเห็นคุณธรรมของพระนเรศวรได้อย่างเด่นชัดและ
สิงทีทําให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงเปนพระมหากษัตริย์ทีทรงพระปรีชาสามารถ
มากทีสุดคือ ความรอบคอบ ไม่ประมาท ดังโคลงสีสุภาพตอนหนึงกล่าวว่า 

พระห่วงแต่ศึกเสียน อัสดง 

เกรงกระลับก่อรงค์ รัวหล้า 

คือใครจักคุมคง ควรคู่ เข็ญแฮ 

อาจประกันกรุงถ้า ทัพข้อยคืนถึง 

14
หลังจากทีพม่ายกกองทัพเข้ามาพระองค์ก็ทรงสังให้พา่ ยพลทหารไปทําลาย
สะพานเพือว่าเมือฝายไทยชนะศึกสงครามพ่ายพลทหารของฝายพม่าก็จะตกเปน
เชลยของไทยทังหมดนันแสดงให้เราเห็นว่าพระองค์ทรงเปนกษัตริย์ทีมีทัศนคติที
กว้าง ไกล ซึงมีผลมาจากความรอบคอบไม่ประมาท 

​ 2 .การเปนคนรู้จักการวางแผน 

  จากการทีเราได้รับการศึกษาเรืองลิลิตตะเลงพ่ายเราจะเห็น
ได้ชัดเจนว่าในช่วง  ตอนทีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเปลียนแผนการรบเปน
รับศึกพม่าแทนไปตีเขมร  พระองค์ได้ทรงจัดการวางแผนอย่างเปนขันเปนตอน
อย่างไม่รอช้า  ทรงแต่งตังให้พระยาศรีไสยณรงค์เปนแม่ทัพหน้าและพระราช
ฤทธานนท์เปนปลัดทัพ  หน้าตามด้วยแผนการอืนๆอีกมากมายเพือทําการรับมือ 
และพร้อมทีจะต่อสู้กับข้าศึกศัตรูทางฝายพม่า  ยกตัวอย่างโคลงสีสุภาพทีแสดงให้
เราเห็นถึงการรู้จักการวางแผนของสมเด็จพระ นเรศวรมหาราช 

พระพึงพิเคราะห์ผู้ ภักดี ท่านนา 

คือพระยาจักรี กาจแกล้ว 

พระตรัสแด่มนตรี มอบมิง เมืองเฮย 

กูไกลกรุงแก้ว เกลือกช้าคลาคืน 

เมือเราเห็นถึงคุณธรรมทางด้านการวางแผนแล้วเราก็ควรเอาเยียงอย่างเพือใช้ใน
การดําเนินชีวิตให้เปนไปอย่างมีระเบียบ  มีแบบแผนซึงจากคุณธรรมข้อนีก็อาจ
ช่วยเปลียนแปลงให้ท่านผู้อ่านทุกท่าน  ให้กลายเปนบุคคลทีมีคุณภาพชีวิตทาง
ด้านการวางแผนในการดําเนินชีวิตก็เปน  ได้ถ้าเรารู้จักการวางแผนให้กับตัวเรา
เอง 

3
​ . การเปนคนรู้จกความกตัญ ูกตเวที 

จากบทการรําพึงของพระมหาอุปราชาถึงพระราชบิดานันแสดงให้เราเห็นอย่าง 
เด่นชัดเลยทีเดียวว่าพระมหาอุปราชาทรงมีความห่วงใย  อาทรถึงพระราชบิดาใน 
ระหว่างทีทรงออกรบซึงแสดงให้เราเห็นถึงความรักของพระองค์ทีมีต่อพระราช
บิดาโดยพระองค์ได้ทรงถ่ายทออดความนึกคิดและรําพึงกับตัวเองดังโคลงสีสุภาพ
ทีกล่าวไว้ว่า 

ณรงค์นเรศด้าว ดัสกร 

ใครจักอาจออกรอน รบสู ้

  เสียดายแผ่นดินมอญ มอด ม้วยแฮ 

15
เหตูบม
่ ีมือผู้ อืนต้านทานเข็ญ 

ซึงเมือแปลจะมีความหมายว่า:  เมือยามทีสงครามขึนใครเล่าจะออกไปรบแทน
ท่านพ่อจากโคลงนีไม่ได้แสดงให้  เราเห็นถึงความกตัญ ูทีมีต่อพระราชบิดาของ
พระมหา  อุปราชาเพียงอย่างเดียว  แต่ยังมีความกตัญ ู  ความจงรัก  ภักดี  ต่อชาติ
บ้านเมืองอีก 

​ 4. การเปนคนช่างสังเกตและมีไหวพริบ 

  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงเปนพระมหากษัตริย์ทีมีพระ
ปรีชาสามารถทาง  ด้านการมีความสติปญญาและมีไหวพริบเปนเลิศดังนันจึงไม่
แปลกเลยทีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชจะทรงมีคุณธรรมทางด้านการเปน คนช่าง
สังเกตและมีไหวพริบ  ด้วยเหตุนีทําให้พระองค์ทรงสามารถแก้ไขสถานการณ์อัน
คับขันในช่วงทีตกอยูใ่ น  วงล้อมของพม่าได้ซึงฉากทีแสดงให้เราเห็นว่าพระองค์
ทรงมีคุณธรรมทางด้านนีคือ 

โดยแขวงขวาทิศท้าว ทฤษฎี แลนา 

บัด ธ เห็นขุนกรี หนึงไสร้ 

เถลิงฉัตรจัตุรพิรีย ์ เรียงคัง ขูเฮย 

หนแห่งฉายาไม้ ข่อยชีเฌอนาม 

ปนสยามยลแท้ท่าน คะเนนึก อยูน


่ า  

ถวิลว่าขุนศึกสํา-  นักโน้น 

ทวยทับเทียบพันลึก แลหลาก หลายแฮ 

ครบเครืองอุปโภคโพ้น เพ่งเพียงพิศวง 

สมเด็จพระนเรศวรทรงใช้วิธีการสังเกตหาฉัตร5ชันของพระมหาอุปราชา  ทําให้
พระองค์ทรงทราบว่าใครเปนพระมหาอุปราชาทังๆทีมีทหารฝายข้าศึกร่าย  ล้อม
พระองค์จนรอบ  แต่ด้วยความมีไหวพริบพระองค์จึงตรัสท้ารบเสียก่อนเพราะถ้า
พระองค์ไม่ทรง  ตรัส  ท้ารบเสียก่อนพระองค์อาจทรงถูกฝายข้าศึกรุมโจมตีก็เปน
ได้  ดังนันเมือเราเห็นคุณธรรมของพระองค์ด้านนีแล้วก็ควรยึดถือและนําไปปฏิบัติ 
ตามเพราะสิงดีๆเหล่านีอาจก่อให้เกิดผลดีต่อตนเอง และต่อประเทศชาติได้ 

   

16
5. ความซือสัตย์ 

  จากเนือเรืองนีเราจะเห็นได้ว่าบรรดาขุนกรีและทหารมากมาย
ทังฝายพม่าและ  ฝายไทยมีความซือสัตย์และความจงรักภักดีต่อประเทศชาติของ
ตนมากเพราะ  จากการทีศึกษาเรืองลิลิตตะเลงพ่ายเรายังไม่เห็นเลยว่าบรรดา
ทหารฝายใดจะทรยศต่อชาติบ้านเมืองของตนซึงก็แสดงให้เราเห็นว่าความ
ซือสัตย์ในเราองเล็กๆน้อยๆก็ทําให้เราสามารถซือสัตย์ในเรืองใหญ่ๆได้ซึงจาก
เรืองนีความซือสัตย์เล็กๆ  น้อยๆของบรรดาทหารส่งผลให้ชาติบ้านเมืองเกิดความ
เปนปกแผ่นมันคงได้เราก็  เช่นเดียวกัน….ถ้าเรารู้จักมีความซือสัตย์ต่อตนเองดัง
เช่นบรรดาขุนกรี  ทหารก็อาจนํามาซึงความเจริญและความมันคงในชีวิตก็เปนได้
ซึงสิงนีอาจส่ง ผลประโยชน์ต่อตนเอง ต่อครอบครัวและชาติบ้านเมือง 

6
​ . การมีวาทศิลปในการพูด 

  จากเรืองนีมีบุคคลถึงสองท่านด้วยกันทีแสดงให้เราเห็นถึง
พระปรีชาสามารถทาง  ด้านการมีวาทศิลปในการพูดท่านแรกคือสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราช ในโคลงสีสุภาพทีว่า 

พระพีพระผู้ผา่ น ภพอุต-ดมเอย 

ไปชอบเชษฐ์ยืนหยุด ร่มไม้ 

เชิญการร่วมคชยุทธ์ เผยอเกียรติ ไว้แฮ 

สืบว่าสองเราไซร้ สุดสินฤามี 

เราจะเห็นว่าสมเด็จพระนเรศวรทรงใช้วาจาทีไพเราะมีความสุภาพน่าฟงต่อ 
พระมหาอุปราชาซึงเปนพีเมือครังทีสมเด็จพระนเรศวรทรงประทับอยูท่ างฝาย
พม่า 

ท่านทีสองคือสมเด็จพระวันรัต  เมือครังทีพระองค์ทรงมาขอพระราชทาน
อภัยโทษจากพระนเรศวร  ให้กับบรรดาทหารทีตามเสด็จพระนเรศวรในการรบ
ไม่ทัน ซึงอยูใ่ นโคลงสีสุภาพทีว่า 

พระตรีโลกนาถแผ้ว เผด็จมาร 

เฉกพระราชสมภาร พีน้อง 

เสด็จไร้พิริยะราญ อรินาศ ลงนา 

เสนอพระยศยินก้อง เกียรติก้องทุกภาย 

17
 

การมีวาทศิลปในการพูดของสมเด็จพระวันรัตครังนีทําให้บรรดาขุนกรี  ทหารได้
รับการพ้นโทษดังนันจากคุณธรรมข้อนีทําให้เราได้ข้อคิดทีว่า  การพูดดีเปนศรีแก่
ตัวเมือเราทราบเช่นนีแล้วเราทุกคนก่อนทีจะพูดอะไรต้อง  คิดและไตร่ตรองให้ดี
ก่อนทีจะพูด 

 
ข้อคิดจากเรือง  

1.ลิลิตตะเลงพ่ายสะท้อนให้เห็นความรักชาติ,ความเสียสละ,ความกล้าหาญ  ของ
บรรพบุรุษ ซึงคนไทยควรภาคภูมิใจ 

2.แผ่นดินไทยต้องผ่านการทําศึกสงครามอย่างมากมายกว่าทีจะมารวมกันเปนปก
แผ่นอย่างปจจุบันนี 

3.พระราชภารกิจของกษัตริย์ไทยในสมัยก่อนคือการปกครองบ้านเมืองให้รม
่ เย็น
เปนสุขและรบเพือปกปองอธิปไตยของไทย 

18
บรรณานุกรม  

ประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช(พระองคด ์ าํ ) - Lanhin2224. (n.d.). Retrieved from


https://sites.google.com/site/lanhin2224/prawati-smdec-phra-nreswr-mharach-
phraxngkh-da

Webmaster,thailaw.(n.d.)Retrieved.from
http://www.thailaws.com/king/king_ayudhya_20.htm 

๒. บทวิเคราะหด ์ า้ นวรรณศลิ ป์ - ลิลิตตะเลงพา่ ย. (n.d.). Retrieved from


https://sites.google.com/a/htp.ac.th/lilitalangpai/9-bth-wikheraah/8-2-dan-wrrn
silp

ลิลิตตะเลงพา่ ย - วรรณกรรมพื้นบา้ น. (n.d.). Retrieved from


https://sites.google.com/site/wrrnkrrmphunban/wrrnkrrm-rach-sanak-1/lilit-tal
eng-phay

กระทรวงศก ึ ษาธิหาร. (2548). หนังสือเรี ยนสาระการเรี ยนรู้ พ้ ืนฐานวรรณคดีวจิ ั กษ์ ม.5:


์ ุรุสภาลาดพร้าว.
โรงพิมพค

 
 
 

19

You might also like