You are on page 1of 11

รายงานเชิงวิชาการ 

การอ่านพิจารณาวรรณคดีเรือง ลิลิตตะเลงพ่าย 
 
จัดทําโดย 
นาย กันต์ธร เจติยานุวัตร ชันมัธยมศึกษาปที 5/7 เลขที 8 
นาย ศิวัช พร้อมศิรพ
ิ งษ์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/7 เลขที 15 
นาย กรรณ วัฒนาสุนทรารักษ์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/7 เลขที 21 
นางสาว นภัสนันท์ โยคะกุล ชันมัธยมศึกษาปที 5/7 เลขที 22 
 
เสนอ 
อ.พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์ 
ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2561 
โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 
 
 
รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเปนฐาน 
(Project Based Learning) 
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม 11 ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
คํานํา 
รายงานฉบับนีถูกจัดทําขึนเพือเปนส่วนหนึงของวิชาภาษาไทยชัน
มัธยมศึกษาปที ๕/๗ เพือทีจะศึกษาหาความรูใ้ นเรืองลิลิตตะเลงพ่ายให้
เข้าใจอย่างลึกซึง ผูจ
้ ัดทําหวังว่ารายงานฉบับนีจะเปนประโยชน์กับผูอ ้ ่าน
หรือนักเรียนนักศึกษาทีต้องการฐานข้อมูลในการค้นคว้าทํารายงาน หากมี
ข้อผิดพลาดประการใด ผูจ ้ ัดทําขอน้อมรับคําแนะนําเพือมาปรับปรุงมา ณ 
ทีนีด้วย 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สารบัญ 
เรือง 
 
คํานํา 
๑. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 
๑.๑ เนือเรือง 
๑.๒ โครงเรือง 
๑.๓ ตัวละคร 
๑.๔ ฉากท้องเรือง 
๑.๕ บทเจรจารําพึงรําพัน 
๑.๖ แก่นเรืองหรือสารัตถะของเรือง 
๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
๒.๑ การสรรคํา 
๒.๒ การเรียบเรียงคํา 
๒.๓ การใช้โวหาร 
๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 
๓.๑ คุณค่าด้านอารมณ์ 
๓.๒ คุณค่าด้านคุณธรรม 
๓.๓ คุณค่าด้านอืนๆ 
บรรณานุกรม 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
๑.๑) เนือเรือง หรือเนือเรืองย่อ 
 
ฝายกรุงหงสาวดี พระเจ้านันทบุเรง กษัตริยพ ์ ม่าทรงทราบข่าวว่าพระมหาธรรมราชาสวรรคต จึงทรง
คาดว่ากรุงศรีอยุธยาจะมีการชิงบัลลังก์กันระหว่างพระนเรศวรกับพระเอกาทศรถ จึงรับสังให้พระมหาอุป
ราชาผูเ้ ปนโอรสยกทัพมารุกรานไทยพระมหาอุปราชาแม้มโี หรทํานายทักว่ามีเคราะห์ แต่เพราะเกรงพระราช
อาญาจึงจําใจยกทัพไปกรุงศรีอยุธยา โดยเกณฑ์พลรวมกับทางเมืองเชียงใหม่  
จากนันพระองค์ก็เสด็จเข้าห้องเพือไปลาพระสนมด้วยความอาลัย รุง่ เช้าพระมหาอุปราชาได้ไปเข้า
เฝาทูลลาพระเจ้ากรุงหงสาวดี พระเจ้ากรุงหงสาวดีประทานโอวาทแก่พระมหาอุปราชา 
ระหว่างยกทัพไป ได้เกิดลางร้าย นันคือ ลมพัดฉัตรของพระมหาอุปราชาหัก 
ส่วนพระนเรศวรก็เกิดฝนว่า ได้ต่อสูก้ ับจระเข้ใหญ่ และฆ่าจระเข้ตาย ซึงโหรทํานายว่าจะรบชนะ 
เมือมาถึงหนองสาหร่าย ได้สรู้ บกับพม่า ช้างศึกของพระนเรศวรและพระเอกาทศรถ วิงหลงเข้าไปอยู่
ตรงใจกลางทับพม่า สมเด็จพระนเรศวรจึงได้กล่าวท้าให้พระมหาอุปราชาออกมาทํายุทธหัตถีกัน และสมเด็จ
พระนเศวรทรงมีชย ั เหนือพระมหาอุปราชา รวมทังสมเด็จพระเอกาทศรถก็มช ี ย
ั เหนือมังจาชโร  
หลังจากทีกองทัพพม่าแตกพ่ายไป สมเด็จพระนเรศวรได้มพ ี ระบัญชาให้สร้างสถูปเจดียข ์ นที
ึ นัน แล้ว
ยกทัพกลับกรุงศรีอยุธยา  
 
๑.๒) โครงเรือง 
การรบระหว่างไทยกับพม่า ในช่วงทีสมเด็จพระนเรศวรขึนครองราชย์ โดยมีการทํายุทธหัตถี และพระ
นเรศวรชนะพระมหาอุปราชา  
 
๑.๓) ตัวละคร 
 
ฝายไทย  
-สมเด็จพระนเรศวรมหาราชหรือพระองค์ดํา 
-สมเด็จพระเอกาทศรถหรือพระองค์ขาว 
-พระมหาธรรมราชา 
-สมเด็จพระวันรัต 
-นายมหานุภาพ ผูร้ ก
ั ษาท้ายช้างทรงพระนเรศวรมหาราช 
-หมืนภักดีศวร กลางช้างทรงพระเอกาทศรถ 
-เจ้ารามราฆพ กลางช้างทรงพระนเรศวรมหาราช 
-ขุนศรีคชคง ท้ายช้างทรงพระเอกาทศรถ 
 
ฝายพม่า  
-พระเจ้าหงสาวดีหรือนันทบุเรง 
-พระมหาอุปราช 
-เจ้าเมืองมล่วน ควาญช้างทรงพระมหาอุปราชา 
 
 
 
 
๑.๔) ฉากท้องเรือง 
สถานทีทีนํามาใช้ในเรืองนันนํามาจากสถานทีจริงโดยเปนเหตุการณ์ของการเดินทัพจากพม่าไป
กาญจนบุรี และการทํายุทธหัตถีอีกด้วย มีสถานทีทังหมดดังนี 
๑. หงสาวดี 
๒. อยุธยา 
๓. ด่านเจดียส์ ามองค์ 
๔. กาญจนบุร ี
๕. พนมทวน 
๖. เมืองสิงห์บุร ี
๗. ปากโมก 
๘. หนองสาหร่าย 
๙. โคกเผ้าข้าว 
๑๐. ตระพังตรุ 
 
๑.๕) บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 
  มาเดียวเปลียวอกอ้า  อายสู 
  สถิตอยูเ่ อ้องค์ด ู ละห้อย 
  พิศโพ้นพฤกษ์พบู  บานเบิก ใจนา 
  พลางคะนึงนุชน้อย  แน่งเนือนวลสงวน 
 
  สลัดไดใดสลัดน้อง  แหนงนอน ไพรฤา 
  เพราะเพือมาราญรอน  เศิกไซร้ 
สละสละสมร  เสมอชือ ไม้นา 
  นึกระกํานามไม้  แม่นแม้นทรวงเรียม 
 
สายหยุดหยุดกลินฟุง  ยามสาย 
  สายบ่หยุดเสน่หห ์ าย  ห่างเศร้า 
  กีคืนกีวันวาย  วางเทวษ ราแม่ 
  ถวิลทุกขวบคาเช้า  หยุดได้ฉน ั ใด 
 
เนือหาเกิดมาจากจินตนาการของกวีแสดงถึงความรักของพระมหาอุปราชาต่อนางสนม เพราะความ
จริงแล้วพระมหาอุปราชานันไม่ได้ต้องการมาบุกไทยแต่เพียงแค่ว่าไม่สามารถทีจะขัดคําสังของพระบิดาได้จึง
ทําให้ต้องมาทําศึกสงครามฬนกวีใช้ลีลาในการแต่งเพือแสดงความโศกเศร้าโดยการนําธรรมมาชาติมาเชือม
กับความรูส ้ ก
ึ ทีพระองค์มแ ี ด่คนทีพระองค์รก ั  
 
๑.๖) แก่นเรือง 
คนทีประพัทธ์เรืแงนีต้องการให้คนอ่ายเห็นถึงความกล้าหาญและการเสียสละของเหล่าบรรพบุรุษของ
ชาวไทย นอกจากนีก็ให้ตระหนักถึงมหากษัตริยส ์ มัยก่อนทีทําสงครามปกปองประเทศของเราเพือให้บา้ นเมือง
ของเราร่มเย็นมาตลอด 
 
 
 
 
๒. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม ซึงประกอบด้วย 
๒.๑ การสรรคํา 
- การเลือกใช้คําให้สอความคิ
ื ดความเข้าใจ ความรูส
้ ก
ึ หรืออารมณ์ได้ 
๒๔(๑๕๓) ◎ เอ็นดูภธ ู เรศเจ้า จอมถวัลย์ 
เปลียวอุระราชรัน ทดแท้ 
พระชนม์ชราครัน ครองภพ พระเอย 
เกรงบพิตรจักแพ้ เพลียงพลาศึกสยาม 
ในบทนีในช่วทีพระมหาอุปราชารําพึงถึงพระราชบิดา ผูแ ้ ต่งใช้คําว่าเอ็นดู ทีในปกติจะหมายความว่า 
ปราณี แต่ในบทนีผูป ้ ระพันธ์สอความหมายแฝงถึ
ื งความสงสารทีมีต่อบิดา ซึงดูได้จากคําว่า เปลียว เปนการบ่ง
บอกถึงความเปล่าเปลียวของพระเจ้านันทบุเรง และยังมีการเพิมคําว่ารันทดเพือเปนการยาถึงความโดดเดียว
ของพระองค์ 
 
- การเลือกใช้คําให้เหมาะแก่เนือเรืองและฐานะของบุคคลในเรือง 
๖๙(๓๑๕) ◎ เบืองนันนฤนาถผู้ สยามินทร์ 
เบียงพระมาลาผิน ห่อนพ้อง 
ศัสตราวุธอรินทร์ ถูก องค์เอย 
เพราะพระหัตถ์หากปอง ปดด้วยขอทรง 
ในบทนีเปนการบรรยายตอนทีพระนเรศวรหลบอาวุธของพระมหาอุปราชา ซึงตอนต้นมีการกล่าวถึง
พระองค์โดยใช้คําว่า สยามินทร์ ซึงบอกถึงวรรณะของผูป ้ กครอง จากนันจึงมีการใช้คําราชาศัพท์คือ พระ
มาลา องค์และพระหัตถ์ เปนการรับกับการใช้คําเรียกกษัตริย ์
 
- การเลือกใช้คําให้เหมาะสมกับประเภทของคําประพันธ์ 
๖๕(๓๑๑) ◎ งามสองสุรย ิ ราชลา เลอพิศ นาพ่อ 
พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกสร้าง 
รามเริมรณฤทธิ รบราพณ์ แล  
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อืนไท้ไปเทียม 
ในโคลงนี คําทีสามารถใช้ได้ในร้อยกรองเท่านันมีคําว่า ลาและเลอทีอยูแ ่ ยกกัน ซึงในศัพท์ทัวไปคือ ลาเลิศ 
จากนันผูแ ้ ต่งจบบาทแรก วรรคทีสองด้วยคําว่า นาพ่อ และลงท้ายบาทสาม วรรคสองด้วยคําว่า แล ซึงทัง
สองเปนคําสร้อยทีจะใช้ในโคลงสีสุภาพเมือความไมม่สมบูรณ์เท่านัน 
 
- การเลือกใช้คําเลียนเสียงธรรมชาติ 
๔๓(๒๘๙) (ร่าย) “...เสียงฆ้องกลองปนศึก อึกเอิกก้องกาหลง เร่งคํารนเรียกมัน ชันหูชูหางแล่น แปร้นแปร๋แล
คะไขว่...” 
ในร่ายนี ผูแ้ ต่งบรรยายบรรยากาศในสมรภูมริ บ ซึงมีทังเสียงกลองศึกและเสียงอึกทึกครึกโครม รวมถึง
เสียงช้าง ซึงผูแ
้ ต่งใส่เพือให้ได้รูส
้ ก
ึ ถึงสภาพของสนามรบ 
 
- การเลือกใช้คําโดยคํานึงถึงเสียงสัมผัส 
๗๐(๓๑๖) ◎ บัดมงคลพ่าห์ไท้ ทวารัติ 
แว้งเหวียงเบียงเศียร สะบัด ตกใต้ 
อุกคลุกพลุกเงยงัด คอคช เศิกแฮ 
เบนบ่ายหงายแหงนให้ ท่วงท้อทีถอย 
ในคําประพันท์นี ผูป้ ระพันท์ใช้ทังสัมผัสพยัญชนะ ได้แก่ แว้งเหวียง ตกใต้ เงยงัด คอคช เบนบ่าย 
หงายแหงน และท่วงท้อทีถอย และสัมผัสสระ ได้แก่ เหวียงเบียงเศียร อุกคลุกพลุก และบ่ายหงาย เพือให้เกิด
ความสละสลวยขึน 
 
- การเลือกใช้คําโดยคํานึงถึงเสียงด้วยการเล่นเสียงหนักเบา 
๔๕(๒๙๑) ◎ ภูวไนยผายโอษฐ์อืน โชยงการ 
แก่เทพทุกถินสถาน ฉชัน 
โสฬสพรหมพิมาน กมลาสน์ แลนา 
เชิญช่วยชุมโสตซัน สดับถ้อยตูแถลง 
ในบทนี ผูป
้ ระพันท์ได้ใช้สาํ นวนสือความฮึกเหิมและท้าทาย ทําให้ผอ ู้ ่านรูส้ ก
ึ ตืนเต้นในการกระทําของ
ตัวละคร ทําให้เกิดการอ่านทีมีเสียงหนักแน่นเนืองจากเนือหาในช่วงนัน 
 
- การเลือกใช้คําพ้องเสียง คําซา 
๑๒(๓๑) ◎ จงจําคําพ่อไซร้ สังสอน 
จงประสิทธิสมพร พ่อให้ 
จงเรืองพระฤทธิรอน อริราช 
จงพ่อลุลาภได้ เผด็จด้าวแดนสยาม 
  ในโคลงนีพราะเจ้านันทบุเรงสังสองพระมหาอุปราชให้จดจําคําสอนทังหมด เพือนําไปใช้ในการยึด
กรุงศรีอยุธยา ซึงผูป
้ ระพันธ์ใส่คําว่า จง เปนคําซาในทุกๆบาท เพือทําให้บทประพันท์ไพเราะสละสลวย 
ผลพลอยได้คือเน้นยาคําสอนทีพระเจ้านันทบุเรงได้ให้แก่พระมหาอุปราชา 
 
๒.๒ การเรียบเรียงคํา 
๑๗(๑๔๑) ◎ เกิดเปนหมอกมืดห้อง เวหา หนเฮย 
ลมชือเวรัมภา พัดคลุ้ม 
หวนหอบหักฉัตรา คชขาด ลงแฮ 
แลธุลีกลัดกลุ้ม เกลือนเพียงจักรผัน 
ในโคลงข้างต้นนีไม่ได้มขี อ
้ ความสนับสนุนหลักอยูท่ ้ายโคลง แต่มก ี ารเรียงข้อความทีมีความสําคัญใน
ระดับเดียวกัน โดยแต่ละข้อความสนับสนุนส่งเสริมกันและกันเพือให้เนือเรืองมีใจความสมบูรณ์ 
 
๒.๓ การใช้โวหาร 
- โวหารอุปมา 
การเปรียบเทียบสิงหนึงว่าเหมือนอีกสิงหนึง โดยนําสองสิงทีต่างจําพวกกันมาเปรียบเทียบกัน  
๒๒(๑๕๑) ◎ อ้าจอมจักรพรรดิผู้ เพ็ญยศ 
แม้พระเสียเอารส แก่เสียน 
จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวงนา 
ถนัดดังพาหาเหียน หันกลิงไกลองค์ 
ในคําประพันธ์นี ผูป
้ ระพันธ์ได้ใช้โวหารอุปมาในวรรคแรกของบาททีสีว่า ถนัดดังพาหาเหียน ซึงแปล
ได้ว่า เหมือนแขนสองข้างถูกตัดออกไป ซึงกรใช้อุปมาช่วยให้ผอ ู้ ่านเข้าใจความคิดและภาพในบทประพันธ์ 
 
- โวหารอุปลักษณ์ 
การเปรียบว่าสิงหนึงเปนอีกสิงหนึง โดยนําสิงสองสิงทีต่างจําพวกกันแต่มล ี ักษณะเด่นเหมือนกันมา
เปรียบเทียบกันเช่นเดียวกับอุปมา 
๖๓(๓๐๙) ◎ หัสดินปนธเรศไท้ โททรง  
คือสมิทธิมาตงค์ หนึงอ้าง 
หนึงคือศิรเิ มขล์มง คลอาสน์ มารเอย 
เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม 
ในโคลงนี ผูป ้ ระพันธ์ได้เปรียบช้างทรงของสมเด็จพระนเรศวรว่าเหมือนช้างเอราวัณของพระอินทร์ 
และเทียบช้างทรงของพระมหาอุปราชาว่าเหมือนช้างคีรเิ มขล์ขแงท้าววสวัตดีหรือพญามาร 
 
- โวหารอติพจน์ 
โวหารทีกล่าวเกินความจริง เพือสร้างและเน้นความรูส ้ ก
ึ และอารมณ์ ทําให้ผฟ ู้ งเกิดความรูส
้ ก
ึ ทีลึกซึง 
๒๗(๑๕๖) ◎ พระคุณตวงเพียบพืน ภูวดล 
เต็มตรลอดแหล่งบน บ่อนใต้ 
พระเกิดพระก่อชนม์ ชุบชีพ มานา 
เกรงบ่ทันลูกได้ กลับเต้าตอบสนอง ฯลฯ 
ในโคลงนี พระมหาอุปราชาได้เปรียบบุญคุณของพระเจ้านันทบุเรงว่ายิงใหญ่เท่าแผ่นดิน มากจนผืน
ดินเต็มทังเบืองบนและล่าง ซึงเปนการกล่าวเกินจริง 
 
- โวหารนามนัย 
การใช้คําหรือวลีซงบ่ ึ งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิงใดสิงหนึงแทนอีกสิงหนึง 
๑(๖) “...บุรรี ต
ั นหงสา ธก็บญ
ั ชาพิภาษ ด้วยมวลมาตยากรว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดิน
เปลียนราช เยียววิวาทชิงฉัตร เพือกษัตริยส ์ องสูบ
้ ร้างรูเ้ หตุผล ควรยาตรพลไปเยือน…” 
ในนี ผูแ
้ ต่งใช้คําว่า ฉัตร เพือหมายถึงบัลลังก์ของกษัตริยส ์ งู สุด ซึงความหมายเดิมคือเครืองสูง 
 
 
   
๓. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 
๓.๑ คุณค่าด้านอารมณ์ 
๑.การใช้ถ้อยคําให้เกิดความรูส ้ ก
ึ เห็นใจ เ​ ช่น ตอนทีพระมหาอุปราชาเคลือนกระบวนทัพ ขณะเดินทางมี
การชมธรรมชาติ ชมพันธุไ์ ม้ต่างๆ โดยการนําชือต้นไม้และดอกไม้มาเล่นคําให้สอดคล้องกับอารมณ์และความ
รูส
้ ก
ึ ของพระมหาอุปราชาได้อย่างไพเราะ 
สลัดไดใดสลัดน้อง แหนงนอน ไพรฤา 
  เพราะเพือมาราญรอน เศิกไสร้ 
สละสละสมร เสมอชือ ไม้นา 
นึกระกํานามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม 
ไม้โรกเหมือนโรคเร้า รุมกาม 
ไฟว่าไฟราคลาม ลวกร้อน 
นางแย้มหนึงแย้มยาม เยาว์ยวั แย้มฤา 
ตูมดังตูมตีขอ
้ น อกอันกันแสง 
สายหยุดหยุดกลินฟุง ยามสาย 
สายบ่หยุดเสน่หห ์ าย ห่างเศร้า 
กีคืนกีวันวาย วางเทวษ ราแม่ 
ถวิลทุกขวบคาเช้า หยุดได้ฉน ั ใด 
 
๒.การใช้ถ้อยคําเกิดอารมณ์สะเทือนใจ ดังปรากฏตอนทีพระมหาอุปราชาลาพระสนม 
พระผาดผายสูห
่ อ้ ง หาอนุชนวลน้อง 
หนุม่ เหน้าพระสนม 
ปวงประนมนบเกล้า งามเสงียมเฟยมเฝา 
อยูถ
่ ้าทูลสนอง 
กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว 
คลาดเคล้าคลาสมร 
จําใจจรจากสร้อย อยูแ
่ ม่อย่าละห้อย 
ห่อนช้าคืนสม แม่แล 
 
๓.การใช้ถ้อยคําให้เกิดความรูส ้ ก
ึ เจ็บปวด เช่น ตอนพระมหาอุปราชาทูลพระเจ้าหงสาวดีว่าจะมีเคราะห์
ไม่ต้องการออกรบ จึงถูกพระเจ้าหงสาวดีกล่าวประชดด้วยถ้อยคําให้เกิดความรูส ้ ก
ึ เจ็บปวดอับอายว่าให้เอา
เครืองแต่งกายหญิงมาสวมใส่ 
“...ฟงสารราชเอารส ธก็ผะชดบัญชา เจ้าอยุธยามีบุตร ล้วนยงยุทธ์เชียวชาญ หาญหักศึกบมิยอ ่ ต่อสู้
ศึกบมิหยอน ไปพักวอนว่าใช้ ให้ธหวงธห้าม แม้นเจ้าคร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี 
สวมอินทรียส ์ ร่างเคราะห์ ธตรัสเยาะเยียงขลาด องค์อุปราชยินสาร แสนอัประมาณมาตย์มวล นวลพระพักตร์
ผ่องเผือด เลือดสลดหมดคลา ชากมลหมองมัว..” 
 
 
 
 
 
๔.การใช้ถ้อยคําแสดงความโศกเศร้า เช่นตอนทีพระมหาอุปราชาต้องจากพระสนมและเดินทัพ เมือเห็น
สิงใดก็คิดถึงนางอันเปนทีรัก การคลาครวญของพระมหาอุปราชา ทําให้ผอู้ ่านเห็นใจในความรักของพระมหา
อุปราชา ดังปรากฏในตอนทีพระมหาอุปราชาเห็นต้นไม้ ดอกไม้ แล้วรําพันถึงพระสนม 
มาเดียวเปลียวอกอ้า อายสู 
สถิตอยูเ่ อ้องค์ดู ละห้อย 
พิศโพ้นพฤกษ์พบู บานเบิก ใจนา 
พลางคะนึงนุชน้อย แน่งเนือนวลสงวน 
พระครวญพระคราไห้ โหยหา 
พลางพระพิศพฤกษา กิงเกียว 
กลกรกนิษฐนา- รีรต
ั น์ เรียมฤา 
ยามตระกองเอวเอียว โอบอ้อมองค์เรียม 
 
๓.๒ คุณค่าด้านคุณธรรม 
๑. สะท้อนให้เห็นธรรมชาติมนุษย์ เ​ ช่น 
พระเจ้าหงสาวดีตรัสประชดพระมหาอุปราชาว่า กษัตริยก
์ รุงศรีอยุธยามีพระโอรสทีกล้าหาญไม่ครัน
คร้ามจ่อการศึกสงคราม แต่พระโอรสของพระองค์เปนคนขลาด ทําให้พระมหาอุปราชาทรงอับอายและเกรง
พระราชอาญา จึงเกิดขัตติยมานะยอมกระทําตามพระราชประสงค์ของพระราชบิดา 
๒) สะท้อนเกียวกับขนบธรรมเนียมประเพณี  
ขนบธรรมเนียมในการศึกทีปรากฏในเรือง ได้แก่ เมือพระมหาอุปราชาจะออกศึก พระเจ้าหงสาวดี
ทรงประสาทและให้โอวาทการสร้างขวัญกําลังใจแก่ทหารและความเด็ดขาดในการรบ ความรูเ้ กียวกับตํารา
พิชยั สงคราม การจัดทัพ การตังทัพ ประเพณี และพิธก ี รรมเกียวกับสงคราม เช่น พิธโี ขลนทวารตัดไม้ขม ่ นาม 
เพือการสร้างขวัญกําลังใจแก่ทหาร ดังทีปรากฏในบทประพันธ์ทีกล่าวถึงพิธโี ขลนทวารซึงเปนพิธบ ี าํ รุงขวัญ
ทหารก่อนออกศึกเหล่าทหารต่างฮึกเหิมและมีกําลังใจเพราะมีพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์และประพรมนา
พระพุทธมนต์ให้ 
๓) สะท้อนให้เห็นความเชือของสังคมไทย   
ความเชือทีปรากฏในเรือง ได้แก่ ความเชือของบรรพบุรุษ ความเชือเรืองความฝนบอกเหตุ เชือคํา
ทํานายทายทักของโหร เช่น ตอนทีสมเด็จพระนเรศวรทรงพระสุบน ิ นิมติ จึงตรัสให้หาพระโหราจารย์เพือ
ทํานายนิมต ิ  
๔) สะท้อนข้อคิดเพือนําไปใช้ในการดําเนินชีวิต  
ลิลิตตะเลงพ่ายได้แสดงคุณธรรมด้านต่างๆ ทีมีคณุ ค่าต่อการดําเนินชีวิต เช่น ความรับผิดชอบต่อ
หน้าที ความเมตตา ความนอบน้อม การให้อภัย เปนต้น โดยสอดแทรกอยูใ่ นบทประพันธ์ ผูอ ้ ่านจะสามารถ
ซึมซับคุณธรรมเหล่านีผ่านความงามของภาษา สามารถจรรโลงใจผูอ ้ ่านได้ เช่น ตอนทีพระเจ้านันทบุเรง ทรง
สอนการศึกสงครามแก่พระมหาอุปราชา ก็เปนข้อคิดทีมีคณ ุ ค่ายิงต่อการดําเนินชีวิตทุกยุคสมัย 
 
 
๓.๓ คุณค่าด้านอืนๆ 
คุณค่าด้ารประวัติศาสตร์ ผูแ
้ ต่งพยายามรักษาข้อเท็จจริงดังกล่าวไว้ไม่ให้คลาดเคลือนไปจากเดิม รวมถึง
เหตุการณ์สาํ คัญต่างๆในเรืองก็ล้วนตรงตามหลักฐานทีปรากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์ทังสิน ลิลิตตะเลง
พ่ายมีเนือหาบางตอนทีแสดงให้เห็นถึงความสําคัญของจิตวิทยาและวาทศิลปของผูน ้ าํ เห็นได้จากตอนที
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถตกเข้าไปในวงล้อมของข้าศึก สมเด็จพระนเรศวร
มหาราชทรงแก้ไขสถานการณ์คับขันได้ดียงิ โดยการกล่าวเชิญพระมหาอุปราชาให้เสด็จออกมาทํายถทธหัตถี 
แสดงให้หน ็ ถึงปฏิภาณไหวพริบอันชาญฉลาดของพระองคได้เปนอย่างดี 
บรรณานุกรม 
http://119.46.166.126/self_all/selfaccess12/m6/700/more/unit3_1.php 
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/reuxng-kar-xan-wrrnkhdi/5-kar-phicarna-khunkha-bth-praph
anth/5-2-khunkha-dan-wrrnsilp/1-kar-srr-kha 
https://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%
95%E0%B8%95%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B9%
88%E0%B8%B2%E0%B8%A2 
 
https://sites.google.com/a/htp.ac.th/lilitalangpai/9-bth-wikheraah/8-2-dan-wrrnsilp 
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nontaburi/anuchit_p/vohan/sec01p04.htm 
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nontaburi/anuchit_p/vohan/sec01p03.html 
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/nontaburi/anuchit_p/vohan/sec02p01.html 

You might also like