You are on page 1of 13

รายงานเชิงวิชาการ 

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรืองมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี 

โดย  

นาย พงศกร อักโข ช


​ ันมัธยมศึกษาปที 5/3 เลขที 1 

นาง สาวเคล่า บิคเนล ชันมัธยมศึกษาปที 5/3 เลขที 2  

นาย ก้องเกียรติ เจริญจรัสฤกษ์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/3 เลขที 4  

เสนอ 

อ.พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์  

ภาคเรียนที 2 ปการศกษา 2562  

โรงเรียนสาธิตนานาชาติมหาวิทยาลัยมหิดล  

รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงานเปนฐาน   

(Project Based Learning)  

รายงานวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5  

1
คํานํา 

รายงานเรื่ องนี้ เป็ นสว่ นหนึ่ งของวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรมระดับชั นม ึ ษาปี ที่ 5 โดยมีปัจจจัยหลักเป็ น


้ ั ธยมศก

ในการอา่ นและพิจารณาเนื อหาของวรรณคดีและการใชภ ้ าษาในวรรณกรรมเรื่ องมหาเวสสั นดรชาดกกัณฑม ์ ั ทรี

โดยทังนีคณะผู้จัดทําหวังเปนอย่างยิงว่ารายงานเล่มนีจะให้ความรู้และประโยชน์ต่อผู้อ่าน 
ทางด้านการใช้ชีวิตประจําวัน หากมีข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยใน ณ ทีนีด้วย 

คณะผู้จัดทํา 

20/05/2563 

สารบัญ  

2
 
  หน้า 

1.การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม 
1.1.เนือเรือง  4   
1.2.โครงเรือง 5   
1.3.ตัวละคร 5   
1.4.ฉากท้องเรือง 6   
1.5.บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 7   
1.6.แก่นเรือง 9   
2.การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 
2.1.การสรรคํา 9 
2.2.การเรียบเรียงคํา 11   
2.3.การใช้โวหาร 11   
3.การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 
3.1.คุณค่าด้านวรรณศิลป 13   
3.2.คุณค่าด้านสังคม 13   
3.3.คุณค่าด้านศีลธรรม 13   
3.4.คุณค่าด้านความเชือ 13   

การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 

3
1.1 เนือเรือง    

  วันหนึงพระนางมัทรีเดินเข้าปาหาเพือไปหาผลไม้เเต่กลับต้องเจอกับสิงประหลาดมากมาย
จากทีเมือก่อนจะมีผลไม้ต่างๆให้เก็บตอนนีกลับไม่มีอะไรเลยด้วยความผิดหวังพระนางมัทรี
จึงเดินกลับบ้าน 

แต่จู่ๆก็ได้มีพายุกระโหมเข้ามาทําให้ท้องฟากลายเปนสีเเดงเหมือนเลือดปาดูมืดเเละน่า 
กลัวนางมัทรีเกิดห่วงในความปลอดภัยของลูกๆทังสอง  ชาลี  และ  กัณหาพระนางมันทรี  จึง
รีบกลับ 

พอพระนางมัทรีถึงช่องแคบระหว่างเขาคีรีซึงเปนทางเดินประจําของตนนางมันทรีไปเจอกับ
สองเสือสามสัตว์ทีมานอนขวางทางตน เพือไม่ให้นางมัทรีไปหากัณหาเเละชาลี  

แต่ด้วยความรักเเละความห่วงใยของเเม่พระนางมัทรีถึงกับก้มลงกราบข้อร้องให้ปล่อย ให้
นางเดินทางต่อไปในทีสุด สัตว์ทังสามจึงได้ปล่อยนางไป  

พอพระนางมัทรีมาถึงอาศรมแล้วไม่พบกัณหากับชาลี พระนางก็ร้องเรียกหาอย่างเปนห่วง 

"ชาลี กัณหา แม่มาถึงแล้ว เหตุไฉนไยพระลูกแก้ว จึงไม่มารับเล่าหลากแก่ใจ แต่ก่อนร่อนชะ


ไรสิพร้อมเพรียง เจ้าเคยวิงระรีเรียงเคียงแข่งกันมารับพระมารดา เคยแย้มสรวลสํารวจร่า 
ระรืนเริงรีบรับเอาขอคาน แล้วก็พากันกราบกรานพระชนนี พ่อชาลี ก็จะรับเอาผลไม้ แม่
กัณหาก็จะอ้อนวอนไหว้จะเสวยนม ผทมเหนือพระเพลาพลาง เจ้าเคยฉอเลาะแม่ต่าง ๆ 
ตามประสาทารกเจริญใจฯ" 

พระนางมัทรีได้ต่อว่าพระเวสสันดรว่าลูกๆหายไปใหน ตนต้องไปตามหาในปาจนถึงกับ สลบ


พอพระนางมัทรีฟนขีนพระเวสสันดรจึงบอกว่าตนยกลูกไปให้ชูชกไปแล้วเพือเปนการให้ 
ทาน ส่วนพระนางมัทรี ด้วยความเคารพในสามีก็ได้เเต่เพียงอนุโมทนาบุญ 

1.2 โครงเรือง 

4
วันหนึงขณะทีภรรยากําลังออกไปเก็บผลไม้ในปาผู้เปนสามีได้กระทําสิงไม่ดีโดยการยกลูก
ทังสองของตนให้กับคนอืนลับหลังภรรยาตนพอภรรยารู้เข้าสามีจึงอธิบายว่าตนทําทาน
แทนทีภรรยาจะจัดข้องนางกลับอนุโมทนาบุญแทน 

1.3 ตัวละคร 

1. พระเวสสันดร 
- เปนคนทียอมปล่อยวางทุกอย่าง รู้จักให้ทานและไม่ยึดติด 
- เเต่เย็นชาต่อภรรยาตน ไม่ใส่ใจในความรู้สึก 
- ในเรืองพระเวสสันดรได้เเสดงว่าการยกลูกไปนันเปนการทําบุญทียิงใหญ่ 
- เเต่ถ้าคิดในแง่ของมนุษย์แล้ว การทิงลูกถือว่าเปนสิงทีผิดผิดมหันต์  

“…พระคุณเอ่ยวาสนามัทรีไม่สมคะเนแล้วพระทูลกระหม่อมแก้วจึงชิงชังไม่พูดจาทังลูกรักดัง
แก้วตาก็หายไป  อกเอ๋ยจะอยูไ่ ปไยให้ทนเวทนาอุปมาเสมือน  หนึงพฤกษาล  ดาวัลย์ยอ ่ มจะอาสัญ 
ลง  เพราะลูกเปนเทียงแท้  ถ้าแม้นพระองค์ไม่ทรงเลียงมัทรี  ไว้จะนิงมัธยัสถ์ตัดเยือใยไม่โปรดบ้าง 
ก็จะเห็นแต่กเลวระร่าง  ซากศพของมัทรี  อัมโทรมตายกายกลิงอยูก ่ ลางดง  เสียเปน  มันคงนีแล้วแล 
...” 

แปลว่า  พระนางมัทรีคงต้องตรอมใจตายเพราะลูกแน่ๆ  ถ้าพระเวสสันดรจะนิงดูดายไม่ยอมพูดจา 


ไม่มีเยือใยก็คงจะต้องได้เห็นนางโทรมตายอยูใ่ นปาแน่ 

2. ​พระนางมัทรี 
- เปนแม่ทีรักเเละห่วงใยในตัวลูกมากเเต่เมือถึงยามทีลูกถูกยก ให้คนอืนไป นางมัทรี
เข้าข้างสามีตัวเองและนับถือเชือฟง  
- มีความนอบน้อม และอดทน 
- กลับชาติมาเกิดคือพระนางยโสธราพิมพา 

“...(สามทฺที)ปางนันส่วนสมเด็จพระมัทรีศรีสุนทรเทพกัญญาจาเดิมแต่พระนางเธอลีลาล่วงลับ  พระ
อาวาสพระทัยนางให้หวันหวาดพะวงหลังตังแต่พระทัยเปนทุกข์ถึงพระเจ้าลูกมิลืมเลยเดินพลาง
ทางเสวยพระโศกพลาง พระนัยเนตรทังสองข้าง ไม่ขาดสายพระอัสสุชล...”  

แปลว่า  ขณะทีพระนางมัทรีกําลังเดินออกจากทีพักในใจก็เอาแต่คิดถึงลูกๆเดินไปก็ร้องไห้ไปจน 

5
แก้มทัง สองข้างก็อาบไปด้วยน้าตา 

3. พระชาลี 
- พระราชโอรสของพระเวสสันดรกับพระนางมัทรี 
- มีความกตัญ ูกตเวทีต่อพระบิดา 
- อ่อนน้อมถ่อมตัว 
- พระชาลีกลับชาติมาเปนพระราหุล 
4. พระกัณหา 
- พระราชธิดาของพระเวสสันดรกับพระนางมัทรี 
- เด็กว่าง่าย เชือฟงคําสัง  
- มีจิตใจทีดี และ มีความเฉลียวฉลาด 

1.4 ฉากท้องเรือง 

ฉากท้องเรืองในมหาเวสสันดรชาดก  

ปาไม้ 

- ฉากแรกทีพระนางมัทรีเดินไปเก็บผมไล้เเต่ต้องกลับอาศรมก่อนเพราะไม่มีผลไม้ 
เเละกําลังมีมีพายุใหญ่เข้ามา 
- ฉากทีพระนางมัทรีตามหาลูกทังสองคนทีถูกยกให้ชูชกในปาจนตนสลบไป 

“เหตุไฉนไม้ทีผลเปนพุม่ พวง ก็กลายกลับเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตรแถวโน้นก็แก้ว 


เกดพิกุลแกมกับ กาหลงถัดนันก็สายหยุดประยงค์และยมโดยพระพายพัดก็รว ่ งโรยรายดอก 
ลงมูนมองแม่ยังได้เก็บดอกมาร้อยกรอง ไปฝากลูกเมือวันวานก็เพียนผิดพิสดารเปนพวงผล 
ผิดวอกลแต่ก่อนมา (สพฺพา มุยฺหนฺเม ทิสา)ทังแปดทิศก็มืดมิดมัวมนทุกแห่งหนทังขอบฟา ก็
ดาษแดงเปนสายเลือดไม่เว้นวายหาย เหือดเปนลางร้ายไปรอบข้าง” 

ช่องแคบระหว่างเขาคีร ี

6
- ฉากทีเทวดากลายร่างเปนสัตว์ร้ายทังสาม เพือขวางทางพระนางมัทรี  
- ฉากทีพระนางมัทรีกราบข้อร้องให้ปล่อนนางผ่านไป 

“...โอเวลาปานฉะนีพระลูกน้อยจะคอยหาอนึงมรคาก็ชอ ่ ง แคบหว่างคีรีเปนตรอกน้อยรอย วิถีที


เฉพาะจร ทังสามสัตว์ ก็มาเนืองนอนสกัดหน้า ครันจะลีลาหลีกลัดตัดเอาไปทางใด ก็เหลือเดิน ทัง
สองข้างเปนโขดเขินขอบคันข้นกันไว้ ...” 

แปลว่า สายมากแล้วลูกๆคงคอยอยู่ แต่ทีเดินทางกลับบ้านระหว่างหุบเขา ก็ดันมีสัตว์ร้ายทัง สาม


ตัวมาสกัด 

อาศรม 

- ฉากทีพระนางมัทรีกลับมาเพือเจอลูก แต่พระเวสสันดรกลับยกลูกให้ชูชกไปแล้ว 

 “อย โส อสฺสโมโอพระอาศรมเจ้าเอ๋ยน่าอัศจรรย์ใจแต่ก่อนดูนีสุกใสด้วยสีทอง เสียงเนือนกนี 
ราร้องสําราญรังเรียกคู่คูขยับขันทังจักจันพรรณลองไนเรไรร้องอยูห
่ ริงๆระเรือยโรยโหยสํา 
เนียงดังเสียงสังคีตขับประโคมไพรโอเหตุไฉนเหงาเงียบเมือยามนีทังอาศรมก็หมองศรี
เสมือนหนึงว่าจะเศร้าโศกเออชะรอยว่าพระเจ้าลูกจะวิโยคพลัดพรากไปจากอกพระมารดา
เสียจริงแล้กระมังในครังนี ”  

1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 

“ ...( นนุ มทฺทิ ) ดูกรนางนาฏ พระน้องรัก ( ภทฺเท ) เจ้าผู้มีพักตร์อันผุดผ่องเสมือนหนึงเอา


นาทองมา ทาบทับประเทืองผิว ราวกะว่าจะลอยลิวเลือนลงจากฟา ใครได้เห็นเปนขวัญตา
เต็มจะหลงละลายทุกข์ปลุกเปลือง อารมณ์ชายให้เชยชืน จะนังนอนเดินยืนก็ต้องอย่าง ( วรา
โรหา ) พร้อมด้วยเบญจางคจริตรูปจ าเริญ โฉม ประโลมโลกล่อแหลมวิไลลักษณ์ ( ราชปุตฺตี 
) ประกอบด้วยเชือศักดิสมมุติวงศ์พงศ์กษัตรา เออก็เมือเช้าเจ้าจะ เข้าปาน่าสงสารปาน
ประหนึงว่าจะไปมิได้ ท าร้องไห้ฝากลูกมิรู้แล้ว ครันคลาดแคล้วเคลือนคล้อยเข้าสูด ่ ง ปาน 3 
ประหนึงว่าจะหลงลืมลูกสละผัวต่อมืดมัวจึงกลับมา ท าเปนบีบน้ าตาตีอกว่าลูกหาย ใครจะ
ไม่รู้แยบคายความคิด หญิง ถ้าแม้นเจ้าอาลัยอยูด ่ ้วยลูกจริง ๆ เหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเข้า
มาแต่วีวันไม่ทันรอน เออนีเจ้าเทียวพเนจร นอนตามสนุกใจชมนกชม ไม้ในไพรวันสารพันที
จะมี ทัง ษีสิทธ์วิทยาธรคนธรรพ์เทพารักษ์ผู้มีพักตร์อัน เจริญ เห็นแล้วก็นา่ เพลิดเพลินไม่
เมินได้ หรือเจ้าปะผลไมประหลาด รสสดสุกทรามเสวยไม่เคยกิน เจ้าฉวยชิมชอบลินก็ หลง

7
ฉันอยูจ
่ ึงช้า…”  

ฉากนีเปนฉากทีพระเวสสันดรตัดพ้อทีพระนางมัทรีกลับอาศรมมาผิดเวลา 

“( สา มทฺที ) ส่วนสมเด็จพระยอดมิงเยาวมาลย์มัทรี เมือได้สดับค าพระราชสามีบริภาษณา


นาง ที ความโศกก็เสือมสร่างสงบจิตเพราะเจ็บใจ จึงก้มพระเศียรลงกราบไหว้แล้ววันทนา
พลาง นางจึงทูลสนอง พระราชบัญญัติว่า พระพุทธเจ้าข้า ควรมิควรสุดแท้แต่จะทรงพระ
กรุณาโปรดทีโทษานุโทษเปนล้นเกล้า ด้วย ข้าพระพุทธเจ้ากลับมาเวลาค่ า ทังนีเพราะเปนก
ระลีขึนในไพรวัน พฤกษาทุกสิงสารพันก็แปรปรวนทุกประการ ทังพืนปาพระหิมพานต์ก็
ผัดผันหวันไหวอยูว ่ ิงเวียนเปลียนเปนพยับมืดไม่เห็นหน ข้าพระบาทนีร้อนรนไม่หยุดหย่อน 
แต่สักอย่าง แต่เดินมายังเกิดประหลาดลางขึนในกลางพนาลี พบพญาราชสีห์สองเสือทังสาม
สัตว์สกัดหน้าไม่มาได้ ต่อสินแสงอโณทัยจึงได้คลาเคลือน ใช่จะเปนเหมือนพระองค์ด ารินัน
ก็หามิได้ พระพุทธเจ้าข้า ตังแต่เกล้า กระหม่อมฉันตกมาเปนข้าน้อย พระองค์เห็นพิรุธร่อง
รอยร้าวรานทีตรงไหน ทอดพระเนตรสังเกตไว้แต่ปางก่อน จึงเคืองค่อนด้วยค าหยาบยอกใจ
เจ็บจิตเหลือก าลัง พระคุณเอ่ยจะคิดดูมังเปนไรเล่าว่า มัทรีนีเปนข้าเก่าแต่ก่อน มาดังเงา
ตามพระบาทาก็เหมือนกัน นอกจากนันทีแน่นอนคือ นางไหนอันสนิทชิดใช้แต่ก่อนกาล ยัง
จะติดตาม พระราชสมภารมาบ้างละหรือ ได้แต่มัทรีแสนดือผู้เดียวดอก ไม่รู้จักปลินปลอก
พลิกไพล่เอาตัวหนี มัทรีสัตยา สวามิภักดิรักผัวเพียงบิดาก็ว่าได้ ถึงจะยากเย็นเข็ญใจก็ตาม
กรรม...”  

ฉากนีเปนฉากทีพระนางมัทรีโต้ตอบพระเวสสันดรหลังจากทีพระเวสสันดรตัดพ้อว่ากลับ ผิด
เวลาว่าไปหาของปาแล้วพบกับสัตว์ทังสาม 

“( ทชฺชา สปฺปุริโส ทาน ) มัทรีเอ่ย อันอริยสัตบุรุษเห็นปานดังตัวพีฉะนัน ถึงจะมีข้าวของสัก 


เท่าใด ๆ( ทิสฺวา ยาจกมาคเต ) ถ้าเห็นยาจกเข้ามาใกล้ไหว้วอนขอไม่ยอ ่ ถ้อในทางทาน จนแต่
ชันลูกรักยอด สงสารพียังยกให้เปนทานได้ อันสองกุมารนีไซร้เปนแต่ทานพาหิรกะภายนอก
ไม่อิมหน า พีจะใคร่ให้อัชฌัติ กทานอีกนะเจ้ามัทรี ถ้าแม้นมีบุคคลผู้ใดปรารถนาเนือหนัง
มังสังโลหิตดวงหทัยนัยนเนตรทังซ้ายขวา พีก็จะ แหวะผ่าให้เปนทานไม่ยอ ่ ท้อเพียงนีมัทรี
เอ่ย จงศรัทธาด้วยอนุโมทนาทานในกาลบัดนีเถิด”  

ฉากนีเปนฉากทีพระเวสสันดรบอกกลับพระนางมัทรีว่ายกลูกให้กับชูชกไปแล้ว 

1.6 แก่นเรือง 

ในกัณฑ์มัทรีนันหลักๆแล้วจะพูดถึงความรักทีแม่มีต่อลูกจากความเศร้าโศรกของพระนา
งมัทรีและ ฉากที พระนางมัทรีเข้าไปปาไปเพือตามหาลูกจนหมดสติในทีสุด 

8
การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 

ในการประพันธ์วรรณคดีหรือวรรณกรรมนันกวีต้องใช้ความประณีตในการเลือกสรรถ้อยคํา
ทีประณีตและเหมาะสมนําเสนอต่อผู้อ่านผ่านงานเขียนของตนการใช้ภาษาในการประพันธ์
ทีเลือกสรรมาแล้ว นํามาจัดวาง อย่างเหมาะสม และคํานึงถึงความสละสลวยของคําด้วยดังนี 

1. การสรรคํา 

การเลือกสรรใช้คําให้ตรงกับสถานการณ์และบุคคลทีใช้ด้วย คําทีเลือกมาต้องมีความ
ไพเราะ เสนาะหู ให้ผู้อ่านสามารถจิตนาการภาพของเรืองราวออกมาได้  

เลือกใช้คําให้เหมาะสมกับเรืองและฐานะของบุคคลในเรือง  

เมือสมเด็จพระมัทรีเธอกราบทูลพระราชสามีสักเท่าใดๆท้าวเธอมิได้ตรัสปราศรัยจานรรจา 
นางยิงกลุ้มกลัดขัดพระอุราผะผ่าวร้อนข้อนพระทรวงทรงพระกันแสงว่าเจ้าแม่เอ่ยแม่มิเคย
ได้เคืองแค้นเหมือนหนึงครังนีเมือจากบุรีทุเรศมาก็พร้อมหน้าทังลูกผัวเปนเพือนทุกข์สําคัญ
ว่าจะเปนสุขประสายากเมือยามจนครันลูกหายทังสองคนก็สินคิดบังคมทูลพระสามีก็มิได้
ตรัสแต่สักนิดสักหน่อยหนึงท้าวเธอก็ขึงขังตึงพระองค์ดูเหมือนพระขัดเคืองเต็มเดือดด้วยอัน
ใดนางก็เศร้าสร้อยสลดพระทัยดังเอาเหล็กแดงมาแทงใจให้เจ็บจิตนีเหลือทนอุปมาเหมือน
คนไข้หนักแล้วมิหนายังแพทย์เอายาพิษมาวางซ้าให้เวทนาเห็นชีวานีคงจะไม่รอดไปสักกี
วันพระคุณเอ่ยว่าสนามัทรีไม่สมคะเนแล้วพระทูลกระหม่อมแก้วจึงชิงชังไม่พูดจาทังลูกรัก
ดังแก้วตาก็หายไปอกเอ๋ยจะอยูไ่ ปไยให้ทนเวทนาอุปมาเสมือนหนึงพฤกษาลดาวัลย์ยอ ่ มจะ
อาสัญลงเพราะลูกเปนเทียงแท้  

คําทีนํามาใช้นันต้องเหมาะสมตัวละครในเรือง เช่นกษัตริย์ คําราชาศัพท์เพือใช้ เรียกยศหรือ


นามต่างๆของตัวละคร เช่น พระนางนําหน้ามัทรีม ทางเสด็จแทนคําว่าทางเดิน เปนต้น 

เลือกใช้คําให้ถก
ู ต้องตรงตามความหมายทีต้องการ 

พระนัยนเนตรก็พร่างๆอยูพ
่ รายพร้อยในจิตใจของแม่ยังน้อยอยูน่ ิดเดียวทังอินทรีย์ก็
เสียวๆสันระรัวริกแสรกคานบันดาลพลิกพลัดลงจากพระอังสาทังขอน้อยในหัตถาทีเคยถือก็
เลือนหลุดลงจากมือไม่เคยเปนเห็นอนาถจากตัวอย่างข้างต้นกวีได้เลือกใช้คําทีมีความหมาย

9
ถูกต้องตามทีต้องการ  เช่นกวีได้เลือกใช้คําว่าอนาถเพือให้พระนางมัทรีฟงดูนา่ สงสารและดู
น่าสลดใจมากกว่าคําว่าน่า เศร้าหรือน่าสังสาร ทังยังฟงดูเสนาะหูมากกว่า อีกด้วย  

เลือกใช้คําโดยคํานึงถึงเสียง 

กวีมีการเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะและสระทําให้เกิดความไพเราะและเสนาะหูขณะอ่านได้ 
ทําให้บทประพันธ์มีความน่าหลงไหลและน่าฟงพระนัยนเนตรก็พร่างๆอยูพ ่ รายพร้อยในจิต 
ใจของแม่ยังน้อยอยูน ่ ิดเดียวทังอินทรีย์ก็เสียวๆสันระรัวริกแสรกคานบันดาลพลิกพลัดลง 
จากพระอังสาทังขอน้อยในหัตถาทีเคยเลยโอ้อกเอ๋ยมหัศจรรย์จริงยิงคิดก็ยิงกริงๆกรอม
พระทัยเปนทุกข์ถึงพระลูกรักทังสองคนเดินพลางนางก็รีบเก็บผลาผลแต่ตามได้ใส่กระเช้า
สาวพระบาทบทจรดุ่มเดินมาโดยด่วนพอประจวบจวนพญาพาฬมฤคราชสะดุ้งพระทัยไหว
หวาดวะหวีดวิงวนแวะเข้าข้างทางพระทรวงนางสันระรัวริกเต้นดังตีปลาจากมหาเวสสันดร
ชาดกกัณฑ์มัทรีข้างต้นกวีได้มีการใช้สัมผัสระหว่างและในวรรคเพือให้มีความไพเราะมา
กชึนเช่นวิงวนแวะและคําว่าพร้อยและน้อย  

2. การเรียบเรียงคํา 

เมือได้คําทีเลือกสรรแล้วก็ต้องนําคําเหล่านันมาเรียบเรียงอย่างไพเราะเหมาะสมเพือให้ได้
จังหวะโดยคํานึงถึงกฎเกณฑ์ทางด้านฉันทลักษณ์ซึงกลวิธีของผู้ประพันธ์ในการเรียบเรียงคํา
ดัง ต่อไปนี  

เมือสมเด็จพระมัทรีเธอกราบทูลพระราชสามีสักเท่าใดๆท้าวเธอมิได้ตรัสปราศรัยจํานรร  จา
นางยิงกลุ้มกลัดขัดพระอุราผะผ่าวร้อนข้อนพระทรวงทรงพระกันแสงว่าเจ้าแม่เอ่ยแม่มิเคย
ได้เคืองแค้นเหมือนหนึงครังนีเมือจากบุรีทุเรศมาก็พร้อมหน้าทังลูกผัวเปนเพือนทุกข์สําคัญ
ว่าจะเปนสุขประสายากเมือยามจนครันลูกหายทังสองคนก็สินคิดบังคมทูลพระสามีก็มิได้
ตรัสแต่สักนิดสักหน่อยหนึงท้าวเธอก็ขึงขังตึงพระองค์ดูเหมือนพระขัดเคืองเต็มเดือดด้วยอัน
ใดนางก็เศร้าสร้อยสลดพระทัยดังเอาเหล็กแดงมาแทงใจให้เจ็บจิตนีเหลือทนอุปมาเหมือน

10
คนไข้หนักแล้วมิหนํายังแพทย์เอายาพิษมาวางซ้าให้เวทนาเห็นชีวานีคงจะไม่รอดไปสักกี
วันพระคุณเอ่ยว่าสนามัทรีไม่สมคะเนแล้วพระทูลกระหม่อมแก้วจึงชิงชังไม่พูดจาทังลูกรัก
ดังแก้วตาก็หายไปอกเอ๋ยจะอยูไ่ ปไยให้ทนเวทนาอุปมาเสมือนหนึงพฤกษาลดาวัลย์ยอ ่ มจะ
อาสัญลงเพราะลูกเปนเทียงแท้ถ้าแม้นพระองค์ไม่ทรงเลียงมัทรีไว้จะนิงมัธยัสถ์ตัดเยือใยไม่
โปรดบ้างก็จะเห็นแต่กเลวระร่างซากศพของมัทรีอัมโทรมตายกายกลิงอยูก ่ ลางดง  เสียเปน
มันคงนีแล้วแล้ว 

จากมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มัทรีข้างต้นกวีได้เรียบเรียงประโยคให้เนือหาเข้มข้นโดยการ
เรียงเรียงคํา วลี หรือประโยคทีมีความสําคัญและเข้มข้นเท่าๆ กัน เคียงขนานกันไป 

3. การใช้โวหารภาพพจน์  

ในร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มัทรี กวีได้มีการใช้โวหารภาพพจน์ต่างๆไม่ว่าจะเปน
อุปมา บุคคลวัต อุปลักษณ์ และ สัทพจน์ ในการท าให้ค าประพันธ์มีคุณค่าทางด้าน
วรรณศิลป อ่านง่าน และไพเราะดังนี  

อุปมา 

พอประจวบจวนพญาพาฬมฤคราช สะดุ้งพระทัยไหวหวาดวะหวีดวิงวนแวะเข้าข้างทาง 
พระทรวงนางสันระรัวริกเต้นดังตีปลาทรงพระกันแสงโศกาไห้พิไรร่าว่ากรรมเอ๋ยกรรมบท
ประพันธ์ข้างต้นมีการใช้อุปมาซึงเปนการเปรียบเทียบเปนการกล่าวเปรียบเปรยโดยนัยโดย 
ใช้คําว่า ดุจ, ดัง, ราว,เสมือนกวีใช้คําว่าดังเปรียบเทียบพระทรวงของ นางมัทรีทีสันเหมือน 
ปลาทีสันเมือโดนตี 

อุปลักษณ์  

บุญพีนีน้อยแล้วนะเจ้าเพือนยากเจ้ามาตายจากพีไปในวงวัดเจ้าจะเอาปาชัฏนีหรือมาเปน
ปาช้า จะเอาบรรณศาลานีหรือมาเปนบริเวณพระเมรุทองจะเอาแต่เสียงสาลิกาอันร่าร้องนี
หรือมาเปนกลองประโคมใน จะเอา แต่เสียงจักจันและเรไรร่ าร้องนันหรือมาต่างแตรสังข์
และพิณพาทย์ จะเอาแต่เมฆหมอกนันหรือมากันเปนเพดาน 

จะเอาแต่ยูงยางในปาหิมพานต์มาต่างฉัตรเงินและฉัตรทองจะเอาแต่แสงพระจันทร์อัน
ผุดผ่องมาต่าง ประทีปแก้วงามโอภาส    

บทประพันธ์ข้างต้นมีการใช้อุปลักษณ์ซึงเปนการเปรียบเทียบเปนการกล่าวเปรียบเปรย โดย

11
นัยโดยใช้คําว่า เปน เช่น กวีใช้คําว่าเปนในการเปรียบเทียบเสียงร้อง ไห้ของผู้หญิงเปน 
กลองบูชายกย่อง และ เปรียบเทียบเมฆ หมอกเปนเพดานกัน 

บุคคลวัต 

จากเรืองมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มัทรี ผู้แต่งได้มีการนําบุคคลวัตซึงเปนการสมมุติสิงไม่มี
ชีวิตให้มีอาการ, ความรู้สึก, และการแสดงออก ผู้แต่งแสดงให้ถึงความความโศกเศร้าและ
แสดงออกถึงความเปนห่วงทีพระนางจะเสียลูกไป  

สัทพจน์ 

“แต่ยา่ งเหยียบเกรียบกรอบก็เหลียวหลัง” 

“สมเด็จอรไทเธอเทียวตะโกนกู่กู๋ก้อง” 

“เสียงนกนีราร้องสําราญรังเรียกคู่คูขยับขันทังจักจันพรรณลองไนเรไรร้องอยูห
่ ริงๆ ระเรือย
โรย” 
 

การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 

1. คุณค่าด้านวรรณศิลป 

ในเรืองมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี นันมีลักษณะเด่นด้านวรรณศิลปในการ 

- เล่นเสียง เพือให้ฟงดูไพเราะเสนาะหู 
- สัมผัสอักษร ฌชือมโยงประโยคมารวมกัน 
- บรรยายให้ผู้อ่านเห็นภาพด้วยจินตนาการ 
2. คุณค่าด้านสังคม 
- ผู้เปนสามีมีอํานาจมากกว่ากว่าภรรยาเเต่สมัยนีความเท่าเทียมทางเพศเเพร่หลายไป
ทัวโลก 
- การซือขายทาสในสมัยก่อนกับอิสระทีเรามีในตอนนี 

12
3. คุณค่าด้านศีลธรรม 
 
- ในเรืองนีแสดงถึงความรักและความห่วงใยของแม่ให้กับลูก ความปลอดภัยของลูก
คืออันดับหนึงเสมอ  
 
4. คุณค่าด้านความเชือ 
 
- ให้ระมัดระวังตัวเองโดยการหัดสังเกตสิงรอบข้างตัวเราเสมอและควรคิดล่วงหน้าถึง
สิงอันตรายอาจเกิดขึนได้เสมอ 
- การให้ทานคือบุญทียิงใหญ่เพราะสอนให้เราไม่ยึดติดกับสิงของและสอนให้เรามี 
ความเสียสละ
 

13

You might also like