You are on page 1of 13

รายงานเชิงวิชาการ

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรือ
่ ง ขัตติยพันธกรณี

โดย

นาย พัสกร ชัยธีระยานนท์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที๕


่ /๒ เลขที่ ๑
นางสาว โชษิญา โล่สุวรรณกุล ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที๕
่ /๒ เลขที่ ๗
นางสาว ธยาน์ งามประวัตดิ ี ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที๕
่ /๒ เลขที่ ๙
นางสาว นทวดี นนทะบรรหาญ ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที๕
่ /๒ เลขที่ ๑๐

เสนอ

อ.พนมศักดิ ์ มนูญปรัชญาภรณ์

ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๐


โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล

รายงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็ นฐาน


(Project Based Learning)
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๕

คานา
รายงานวิชาการเล่มนี้
เป็ นส่วนหนึ่งกลุม ่ สาระการเรียนรูว้ ชิ าภาษาไทยของโรงเรียนสาธิตนานาชาติม
หาวิทยาลัยมหิดล ปี การศึกษา๒๕๖๐
โดยมีจุดประสงค์เพือ ่ ศึกษาและวิเคราะห์บทประพันธ์ขตั ติยพันธกรณี
โดยในรายงานนี้มีเนื้อหาเกีย่ วกับโครงเรือ ่ งของขัตติยพันธกรณี
บทเจรจาต่างๆ ลักษณะคาประพันธ์รวมไปถึง
การใช้ภาษาและสานวนโวหารภายในบทประพันธ์
ซึง่ แสดงให้เห็นถึงพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาดารงราชานุภาพ
คณะผูจ้ ดั ทาหวังอย่างยิง่ ว่ารายงานเล่มนี้จะมีประโยชน์ตอ
่ ผูอ
้ า่ นไม่มาก
ก็น้อย และหากผิดพลาดประการใด คณะผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา
ณ ทีน ่ ี้

คณะผูจ้ ดั ทา


สารบัญ
หน้า

เรือ
่ ง ขัตติยพันธกรณี

คานา

สารบัญ

1. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
ประกอบด้วย
1.1 เนื้อเรือ ่ ง
หรือเนื้อเรือ่ งย่อ

1.2
โครงเรือ ่ งเรือ ่ ง

1.3
ตัวละคร

1.4
ฉากท้องเรือ ่ ง
๑-๒
1.5
บทเจรจาหรือราพึงราพัน
๒-๓
1.6
แก่นเรือ่ งหรือสารัตถะของเรือ
่ ง

2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
ประกอบด้วย
2.1
การสรรคา
๓-๔
2.2
การเรียบเรียงคา
๔-๕
2.3
การใช้โวหาร
๕-๖

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม
3.1
คุณค่าด้านอารมณ์

3.2
คุณค่าด้านคุณธรรม

3.3
คุณค่าด้านอืน
่ ๆ

บรรณานุกรม


1. การอ่านและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม
1.1 เนื้อเรือ่ ง หรือเนื้อเรือ่ งย่อ
บทพระราชนิพนธ์และบทนิพนธ์นี้เป็ นเรือ ่ งราวเกีย่ วกับการเขียน
ตอบ
เริม่ จากบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอ
ยูห
่ วั ทีเ่ ป็ นเรือ
่ งราวของพระองค์ ณ เวลานัน

การเข้ามาของฝรั่งเศสได้สร้างความกังวลพระหฤทัยเป็ นอย่างมาก
ประกอบกับอาการประชวรจึงทาให้บทพระราชนิพนธ์นี้เปรียบเส
มือนการบรรยายความทุกข์
ความสิน ้ หวังและความกังวลของพระองค์
หลังจากจบบทพระราชนิพนธ์ก็ตอ ่ ด้วยบทพระนิพนธ์ในสมเด็จพร
ะเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ
ซึง่ มีรูปแบบลักษณะของการถวายกาลังพระทัย ซึง่ อยูใ่ นส่วนแรก
ถัดมาเป็ นการให้ขอ ้ คิดโดยการใช้อุปมา ต่อจากการให้ขอ ้ คิด
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาดารงราชานุภาพได้ทรงอาสาจะถวายชีวต ิ รับใช้และต่
อสูก
้ บั ปัญหาทีเ่ ผชิญ
สุดท้ายพระนิพนธ์จบลงด้วยการถวายพระพรและคายืนยันถึงควา
มจงรักภักดีทป ี่ ระชาชนไทยมีตอ ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเ
จ้าอยูห ่ วั
1.2 โครงเรือ ่ ง
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั
กังวลพระทัยกับอาการประชวนของพระองค์
แต่ทา่ นยังต้องดูเเลรักษาประเทศชาติ
จึงระบายความกังวลพระทัยทีท ่ รงประชวรหนักเเละไม่สามารถปฏิ
บัตพิ ระราชกรณียะกิจได้ให้สมเด็จกรมยาดารงค์ราชานุภาพ
ฟังจึงทาให้ทรงมีกาลังใจเเละได้ขอ ้ คิด
ทาให้ทรงฟื้ นจากอาการประชวรและเเก้ไขปัญหาได้ในทีส ่ ุด
1.3 ตัวละคร
-สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั :
ทรงรักและเป็ นห่วงประชาอนึ่งทรงกังวลและวิตกในสถาณ
การณ์ บา้ นเมืองและยังทรงประปรีชาสามารถในการเเต่งบทประพั
นธ์เพือ ่ บอกลาแก่ญาติพีน ่ ้องและคนสนิทของพระองค์
แต่สุดท้ายก็ทรงเข้มแข็งและกล้าเผชิญกับปัญหา
-สมเด็จกรมยาดารงค์ราชานุภาพ:
เเสดงให้เห็นถึงความเคารพรักภักดิด ์ ต
ี อ
่ กษัตริย์อีกทัง้ ยังมีค
วามสามารถ
ในการเเต่งบทประพันธ์ตอบกลับสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั
เเละเเสดงถึงความเฉลียวฉลาดในการเปรียบเทียบให้กาลังใจเเต่ส
มเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั
1.4 ฉากท้องเรือ ่ ง
มีฉากท้องเรือ ่ งอยูท ่ กี่ รุงรัตนโกสินทร์ ในวิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
ในช่วงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 19
ทวีปยุโรปเกิดการปฏิวตั อ ิ ุตสาหกรรมและการเติบโตของลัทธิจกั ร
วรรดินิยมทีน ่ าไปสูก ่ ารแผ่อท ิ ธิพลของชาติตะวันตกในภูมภ ิ าคต่า
งๆของโลกเมือ ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั เสด็จขึน ้
ครองราชย์ พ.ศ. 2411
ประเทศต่างๆในเอเชียต้องเผชิญกับการคุกคามจากชาติมหาอานา
จโดยเฉพาะอังกฤษและฝรั่งเศสซึง่ กาลังขยายอิทธิพลเข้ามาอย่างเ
ต็มที่

นอกจากทัง้ สองชาติจะแข่งขันกันแสวงหาผลประโยชน์ทางการดา
รงเมืองและวัฒนธรรมในประเทศไทยแล้วยังมีเป้ าหมายทีจ่ ะยึดค
รองประเทศราชของไทยอันได้แก่กม ั พูชา ลาว
และดินแดนในแหลมมลายูตอนเหนือด้วย
หลังจากฝรั่งเศสได้กม ั พูชาและเวียดนามเป็ นอาณานิคมก็เร่งสารว
จหัวเมืองลาวและพยายามจะขยายอาณาเขตของตนออกไปจนถึง
ฝั่งแม่น้าโขง วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112
เกิดจากความขัดแย้งระหว่างไทยกับฝรั่งเศสเรือ ่ งเขตแดนทางด้า
นหลวงพระบางนี้เอง
ทีเ่ ริม
่ ต้นด้วยการกระทบกระทั่งกันของกาลังทหารทัง้ สองฝ่ ายและ
ต่อมาได้ขยายกว้างออกไปถึงเรือ ่ งคนในบังคับและธุรกิจของคนใ
นบังคับบัญชา ในวันที่ 13 กรกฎาคม รศ. 112
กองเรือรบของฝรั่งเศสจึงได้รุกลา้ เข้ามาถึงปากแม่น้าเจ้าพระยาจ
นเกิดการยิงต่อสูก ้ บ
ั ทหารไทยทีป ่ ระจาป้ อมพระจุลจอมเกลาและป้
อมผีเสื้อสมุทรทีป ่ ากน้าในทีส ่ ุดเรือปื นของฝรั่งเศสก็แล่นผ่านเข้าม
าจอดทอดสมอหน้าสถานทูตฝรั่งเศสได้
ฝรั่งเศสยืน ่ คาขาดหลายประการเช่นการเรียกร้องสิทธิเหนือดินแด
นและการเรียกร้องค่าปรับจานวนมาก
แต่เมือ ่ รัฐบาลไทยให้คาตอบล่าช้า
เรือรบฝรั่งเศสก็แล่นออกไปปิ ดอ่าวไทย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั ต้องทรงดาเนินวิเทโศบา
ยด้วยความอดทนและนิ่มนวล
ทรงพยายามแสวงหาพันธมิตรจากมหาอานาจอืน ่ ๆช่วยเหลือเจรจ
าและทัพยอมผ่อนปรนให้กบ ั ข้อเรียกร้องต่างๆของฝรั่งเศสทางคว
ามขัดแย้งกับฝรั่งเศสซึง่ กินเวลายาวนานต่อมาถึง ๑๔ ปี จึงได้ยุตลิ ง
ไทยได้จงั หวัดจันทบุรีและตราดกลับคืนมา
กล่าวได้วา่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั ทรงน้าพาปร
ะเทศให้ผา่ นพันวิกฤตอันยิง่ ใหญ่นน ้ ั มาได้ดว้ ยพระปรีชาสามารถ
แม้จะต้องสูญเสียดินแดนบาส่วนไปบ้างแต่ก็ทรงรักษาแผ่นดินผืน
ใหญ่ของเราไว้ได้ทาให้ไทยสามารถดารงเอกราชและอธิปไตยสืบ
มาจนทุกวันนี้

1.5 บทเจรจาหรือราพึงราพัน
ประชวรนานหนักอกข้า ทัง้ หลาย ยิง่ แล
ทุกทิวาวัน บ วาย คิดแก้
สิง่ ใดซึง่ จักมลาย พระโรค
เร็วแฮ
สุดยากเท่าใดแม้ มาท
ม้วยควรแสวงฯ
การทีป่ ระเทศไทยได้ตกอยูใ่ นสภาพลาบากมีปญ ั หากับประเทศฝรั่งเศสแ
ละไม่ได้รบั ความช่วยเหลือจากประเทศอังกฤษนัน ้ ทาให้ทา่ นทรงวิตกกังวลเป็ น
อย่างมากและประชวรหนักขึน ้ เรือ ่ ยๆ
ท่านจึงได้ประพันธ์บทกลอนขึน ้ มาเพือ ่ ทรงลาเจ้านายหรือพีน ่ ้องบางพระองค์
ชีวติ มนุษย์นี้ เปลีย่ นแปลง
จริงนอ
ทุกข์และสุขพลิกแพลง มากครัง้
โบราณท่านจึงแสดง เป็ นเยีย่ ง อย่างนา
ชั่วนับเจ็ดทีทง้ ั เจ็ดข้างฝ่ ายดี

บทนี้อธิบายเกีย่ วกับการทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยูห ่ วั ไ
ด้ทรงตัดพ้อและทรงดาริ ต่อชีวต ิ ว่า ชีวต
ิ ของคนเรานัน ้ มีขนึ้ มีลง
ถ้ามีทุกข์ก็จะต้องมีสข
ุ อยูด ่ ว้ ย

1.6 แก่นเรือ
่ งหรือสารัตถะของเรือ ่ ง
จากพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั
เเสดงให้เห็นว่า ท่านต้องเผชิญความทุกข์เเสนสาหัส
ก็หลีกไม่พน้ ทีจ่ ะทรงเกิดความรูส้ ก
ึ ท้อถอยสิน
้ หวัง
จนไม่มีพระราชประสงค์ทจี่ ะดารงค์พระชนม์ชีพต่อไป
เเละยังเเสดงให้เห็นถึงพลานุภาพอันยิง่ ใหญ่ของวรรณคดีทอ ี่ าจช่ว
ยพลิกผันเหตุการณ์ รา้ ยให้กลายเป็ นดีได้

2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม
2.1 การสรรคา
การสรรคาคือ การเลือกใช้ถอ ้ ยคาทีส่ ือ
่ ถึงความรูส้ กึ นึกคิด
อารมณ์ ได้อย่างงดงาม โดยบทนิพนธ์เรือ ่ งนี้มีการสรรคา
โดยในส่วนแรกของพระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอ
ยูห
่ วั กล่าวว่า
เป็ นฝี สามยอดแล้ว ยังราย ส่านอ
ปวดเจ็บใครจักหมาย เชือ่ ได้
ใช่เป็ นแต่สว่ นกาย เศียรกลัด
กลุม้ แฮ
ใครต่อเป็ นจึง่ ผู้
นั่นนัน
้ เห็นจริง
หมายความว่าการแสดงอารมณ์ ความรูส้ ก ึ เจ็บปวดว่าเป็ นฝี สามยอดและ
ไข้สา่ เจ็บปวดมาก เหลือเชือ่ ใช่แต่จะเจ็บกาย ยังปวดหัว
ยากทีใ่ ครจะรูถ ้ า้ ไม่เจอกับตัวเอง
นอกจากนี้ยงั มีการเลือกใช้คาให้เหมาะสมกับเรือ ่ งและฐานะของ
บุคคลในเรือ ่ ง เมือ
่ มีการกล่าวถึง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั
ผูแ
้ ต่งได้ใช้คาราชาศัพท์อย่างเหมาะสมดังต่อไปนี้
ด้วยเดชะบุญญา- ภินิหาระแห่งคา
สัตย์ขา้ จงได้สมั - ฤทธิดงั มโนหมาย
ขอจงวราพาธ บรมนาถเร่งเคลือ ่ นคลาย
พระจิตพระวรกาย จงผ่องพ้นทีห ่ ม่นหมอง
ขอจงสาเร็จรา- ชะประสงค์ทท ี่ รงปอง
ปกข้าฝ่ าละออง พระบาทให้สามัคคี

โดยในบทประพันธ์ขตั ติยพันธกรณี
มีการเลือกสรรคาทีใ่ ช้ทเี่ หมาะสมตามฐานะของบุคคลในเรือ ่ ง
เช่นมีการใช้คาราชาศัพท์ให้เหมาะสมกับบุคคลในเรือ ่ งคือ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั
โดยตัวอย่างจากข้อความข้างต้นเช่น “สัตย์ขา้ จงได้สมั ฤทธิดงั มโนหมาย”
มีการใช้คา มโน แทนคาว่า ใจ

2.2 การเรียบเรียงคา
ในบทนิพนธ์ขตั ติยพันธกรณีมีการใช้อน ิ ทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
ซึง่ มีลกั ษณะจะมีแบบแผนเหมือนกับ กาพย์ยานี ๑๑ แต่เพิม ่ ครุ, ลหุ
เข้าไป อินทรวิเชียร แปลว่า เพชรพระอินทร์ หมายถึง
ฉันท์ทม ี่ ีลีลาอย่างเพชรของพระอินทร์
นิยมใช้แต่งข้อความทีเ่ ป็ นบทชมหรือบทคร่าครวญนอกจากนี้ยงั แต่งเป็
นบทสวด หรือพากย์โขนด้วย
ซึง่ ส่วนแรกของบทนิพนธ์ขตั ติยพันธกรณี มีการแต่งโดยใช้โคลงสีส ่ ุภาพ
จานวน ๗ บท อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ จานวน ๔ บท (พระราชนิพนธ์ใน
ร.๕) และส่วนทีส ่ อง อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ จานวน ๒๖ บท
(พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ)
(ไม่เคร่งครัด ครุ ลหุ) และหลังจากมีการเลือกสรรคา
ก็ตอ ้ งมีการเรียบเรียงคาให้ไพเราะเหมาะสมโดยเฉพาะฉันท์ลกั ษณ์ ตา่ ง
ๆในบทร้อยกรอง ซึง่ กลวิธีของผูป ้ ระพันธ์ในการเรียบเรียงคา มีดงั นี้

2.2.1 เรียงข้อความทีบ ่ รรจุสารสาคัญไว้ทา้ ยสุด


บางส่วนในบทพระนิพนธ์มีการเรียบเรียงคาโดยอธิบายปูเรือ ่ งจากจุดเล็ก
ๆแล้วค่อยเชือ
่ มโยงเรือ
่ งต่อให้ใหญ่ขน ึ้
โดยการอธิบายลักษณะนี้จะช่วยให้ผอ ู้ า่ นนึกภาพตามได้และเข้าใจบทพ
ระนิพนธ์มากขึน ้ เช่น
๑.ผิวพอกาลังเรือ ก็แล่นรอดไม่รา้ วราน
หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลาไป
๒.ชาวเรือก็ยอ
่ มรู ้ ฉะนี้อยูท
่ ุกจิตใจ
แต่ลอยอยูต่ ราบใด
ต้องจาแก้ดว้ ยแรงระดม

2.2.2
เรียบเรียงประโยคให้เนื้อหาเข้มข้นขึน ้ ไปตามลาดับดุจขัน
้ บันไดจนถึงขั้
นสุดท้ายที่
สาคัญทีส่ ุด
เป็ นเด็กมีสุขคล้าย ดีรฉาน
รูส้ ุขรูท
้ ุกข์หาญ ขลาดด้วย
ละอย่างละอย่างพาล หย่อนเพราะ เผลอแฮ
คล้ายกับผูจ้ วนม้วย ชีพสิน
้ สติสูญ

2.2.3
เรียบเรียงประโยคให้เนื้อหาเข้มข้นขึน้ ไปตามลาดับแต่คลายความเข้มข้นลงใ
นช่วง
หรือประโยคสุดท้ายอย่างฉับพลัน
“ประสาแต่อยูใ่ กล้ ทัง้ รูใ้ ช่วา่ หนักหนา
เลือดเนื้อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย”

มีการจัดเรียบเรียงคาทีเ่ ลือกตามความเหมาะสม
ตามจังหวะการออกเสียง
รวมไปถึงธรรมชาติของการพูดภาษาไทยและเน้นการใช้จน
ิ ตภาพโดยสื่
อถึงอารมณ์ ทสี่ ะเทือนใจเป็ นหลัก

2.3 การใช้โวหาร
บทประพันธ์นี้มีการใช้โวหารอยูห
่ ลายประเภท เช่น อุปมาโวหาร
อุปลักษณ์ โวหารและคติพจน์โวหาร

อุปมาโวหาร
ดุจเหล่าพละนา- วะเหว่วา้ กะปิ ตัน
นายท้ายฉงนงัน ทิศทางก็คลางแคลง
เปรียบเหมือนลูกเรือทีข
่ าดผูน
้ า ก็จะบังคับเรือต่อไปไม่ได้

เปรียบตัวเหมือนอย่างม้า ทีเ่ ป็ นพาหนะยาน


ผูกเครือ
่ งบังเหียนอาน ประจาหน้าพลับพลาชัย

พระองค์เปรียบตัวเองเหมือนม้าทีเ่ ป็ นพระราชพาหนะ
เตรียมพร้อมทีจ่ ะรับใช้รชั กาลที่ ๕

อุปลักษณ์ โวหาร

ตะปูดอกใหญ่ตรึง้ บาทา อยูเ่ ฮย


จึงบ่อาจลีลา คล่องได้
เชิญผูท้ ม
ี่ ีเมตตา แก่สตั ว์ ปวงแฮ
ชักตะปูนี้ให้ ส่งข้าอัญขยม

ทรงเปรียบหน้าทีผ ่ ก
ู มัดทีม
่ ีตอ
่ ชาติบา้ นเมืองในฐานะทีพ่ ระองค์เป็ นพระม
หากษัตริย์
เหมือนเป็ นตะปูใหญ่ ทีต
่ รึงพระบาทไว้มใิ ห้กา้ วย่างไปได้

อติพจน์โวหาร

ประสาแต่อยูใ่ กล้ ทัง้ รูใ้ ช่วา่ หนักหนา


เลือดเนื้อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย

ถ้าเลือดเนื้อของพระองค์
สามารถทาเป็ นยาถวายให้หายประชวรได้ก็ยน
ิ ดีทจี่ ะถวาย

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม

3.1 คุณค่าด้านอารมณ์
บทประพันธ์นี้ปลุกจิตสานึกของคนไทยให้รกั ชาติและสามัคคีกน ั มากยิง่
ขึน้ รวมถึงให้ตะหนักถึงความสาคัญของการจงรักภักดีตอ ่ พระมหากษัตริย์
ตามทีเ่ นื้อเนื้อเรือ
่ งโดยรวมได้สือ
่ ถึง ตัวอย่างคือ “อันพระประชวรครัง้
นี้แท้ทง้ ั ไผทสยาม”
สือ
่ ถึงความเป็ นห่วงของประชาชนทีม ่ ีให้พระมหากษัตริย์ขณะประชวร
นอกจากนี้ยงั ทาให้ประชาชนตระหนักถึงความยากลาบาก ความพยายาม
และความร่วมมือร่วมใจกันของบรรพบุรุษในการปกป้ องประเทศชาติทยี่ อมให้
แม้กระทั่งชีวต ิ เพือ
่ ปกป้ องแผ่นดินไทยเอาไว้
ดังเช่นทีไ่ ด้มีการนิพนธ์เปรียบเปรยไว้วา่

ธรรมดามหาสมุทร มีคราวหยุดพายุผน ั
มีคราวสลาตัน ตัง้ ระลอกกระฉอกฉาน
ผิวพอกาลังเรือ ก็แล่นรอดได้ไม่รา้ วราน
หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลาไป
ชาวเรือก็ยอ
่ มรู ้ ฉะนี้อยูท่ ุกจิตใจ
แต่ลอยอยูต
่ ราบใด ต้องจาแก้ดว้ ยแรงระดม

บทพระนิพนธ์ขา้ งต้นสามารถแปลได้วา่ มหาสมุทรนัน ้ คาดเดาไม่ได้


บางครัง้ ก็มีพายุ บางครัง้ ก็มีคลืน
่ สูง ชาวเรือต่างก็รด
ู ้ ีวา่ เรืออาจจะล่มเมื่อใดก็ได้
แต่ตราบใดทีล่ งเรือลาเดียวกันแล้ว ก็ตอ ้ งช่วยเหลือกันให้ถงึ ทีส ่ ุด

3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม
บทประพันธ์เรือ
่ งนี้แสดงให้เห็นถึงคุณธรรมของพระมหากษัตริย์ทตี่ อ
้ งมี
ต่อประชาชนและประเทศชาติ เพือ ่ ปกป้ องและรักษาประเทศเอาไว้ให้สงบสุข
รวมไปถึงการแสดงความรับผิดชอบต่อชีวต ิ ของราษฎรทุกๆคนในประเทศ

3.3 คุณค่าด้านอืน
่ ๆ
คุณค่าด้านสังคม

บทประพันธ์นี้สะท้อนคุณค่าด้านสังคมโดยการแสดงให้เห็นถึงความเชือ

ของคนไทยในสมัยก่อน เช่นในส่วนทีเ่ ขียนว่า

ชีวติ มนุษย์นี้ เปลีย่ นแปลง จริงนอ


ทุกข์และสุขพลิกแพลง มากครัง้
โบราณท่านจึงแสดง เป็ นเยีย่ ง อย่างนา
ชั่วนับเจ็ดทีทง้ ั เจ็ดข้างฝ่ ายดี

บทพระราชนิพนธ์ขา้ งต้นหมายความถึงการเปลีย่ นแปลงทีม ่ ีอยูต


่ ลอดใน
ชีวต ิ สลับกันไปทัง้ ทุกข์และสุข
ซึง่ คนโบราณได้มีคากล่าวทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ
่ งนี้วา่ ชั่วเจ็ดทีดเี จ็ดหน
เป็ นความเชือ ่ ในอดีตทีส ่ ะท้อนความเชือ
่ ของคนในสมัยนัน
้ ได้อย่างชัดเจน

บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๗). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
ภาษาไทยชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที๖
่ วรรณคดีวจิ กั ษ์ . พิมพ์ครัง้ ที่ ๕.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว

You might also like