You are on page 1of 44

หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 1

พัฒนาการของเวลาและยุคสมัยในประวัตศิ าสตร์

คาบที่ 1-2: การนับเวลาแบบไทย


ตัวชี้วดั ช่ วงชั้น

ตระหนักถึงความสาคัญของเวลาและ
ยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ ทแี่ สดงถึง
การเปลีย่ นแปลงของมนุษยชาติ
(ส 4.1 ม. 4-6/1)
แบบทดสอบก่ อนเรียน
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 10
หัวข้ อ
เรื่ อง: การนับเวลาแบบไทย

1. การนับเวลาในรอบวัน
2. การนับยามกลางคืน
3. การบอกวัน เดือน ขึน้ แรม
4. การนับปี นักษัตร
5. ศักราชและการเทียบศักราช
6. ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ
1. การนับเวลาในรอบวัน

การนั บ เวลาที่ ใ ช้ กั น มาแต่ โ บราณ พบในเอกสาร


ประวัติศาสตร์ ไทยเก่ า ๆ
จึงควรทาความเข้ าใจ เพื่อนาข้ อมูลในเอกสารมาใช้ ใน
การศึกษาประวัติศาสตร์
เทีย่ ง
5 โมงเช้ า บ่ ายโมง

4 โมงเช้ า
บ่ าย 2 โมง

3 โมงเช้ า บ่ าย 3 โมง

2 โมงเช้ า บ่ าย 4 โมง

โมงเช้ า บ่ าย 5 โมง
ยา่ รุ่ ง
2 ยาม
5 ทุ่ม
หรื อ 11 ทุ่ม ตี 1

4 ทุ่ม
หรื อ 10 ทุ่ม ตี 2

3 ทุ่ม Z
Z ตี 3
หรื อ 9 ทุ่ม Z

2 ทุ่ม ตี 4
หรื อ 8 ทุ่ม
1 ทุ่ม ตี 5
หรื อ 7 ทุ่ม
ยา่ ค่า
หรื อ 6 โมงเย็น
2. การนับยามกลางคืน

การนับยามกลางคืนมีทมี่ าจากการเปลีย่ นเวรทุก


3 ชั่วโมงของยามรักษาการณ์
ยาม 2
2 ยาม
12

ยาม 1 9 3 ยาม 3
3 ทุ่ม ตี 3

6
ยาม 4
6 โมงเช้ า
3. การบอกวัน เดือน ขึน้ แรม

ตัวเลขที่อยู่หน้ าเครื่ องหมาย (ฯ) คือ วันในสั ปดาห์ โดย


เริ่มนับจากวันอาทิตย์
ตัวเลขทีอ่ ยู่หลังเครื่ องหมาย (ฯ) คือ เดือนทางจันทรคติ
ตัวเลขถ้ าอยู่บนเครื่ องหมาย (ฯ) คือ ข้ างขึน้ ถ้ าอยู่ล่าง
คือ ข้ างแรม
วัน เดือน ขึน้ แรม ใช้ ในการสั งเกตน้าขึน้ น้า ลง และการ
คานวณทางโหราศาสตร์
วัน ฯ ค่ำ
วันเสาร์ ้ นสามค
ขึเดื อนยี่ า

แรมสิวัวับนนเอ็
อาทิ คตา่ ย์
จันดทร์ เดื
เดืออนอ้
นเจ็ายด
4. การนับปี นักษัตร

รอบปี นักษัตร 1 รอบ มี 12 ปี แต่ ละปี มีชื่อเรี ยกและ


รู ปสั ตว์ ประจาปี เริ่ มต้ นนับจากปี ชวด เมื่ อเรี ยกครบ 12 ปี
แล้ วก็จะเริ่มนับรอบใหม่
กุน ชวด
จอ ฉลู
12 1
11 2
ระกา 10 3
ขาล
9 4
วอก เถาะ
8 5
7 6
มะแม มะโรง
มะเมีย มะเส็ ง
กิจกรรม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 7
5.2 คริสต์ ศักราช
(ค.ศ.)
5.1 พุทธศักราช 5.3 มหาศักราช
(พ.ศ.) (ม.ศ.)

5. ศักราช
5.6 ฮิจเราะห์ ศักราช (ฮ. 5.4 จุลศักราช
ศ.) (จ.ศ.)
5.5 รัตนโกสิ นทรศก
(ร.ศ.)
5.1 พุทธศักราช (พ.ศ.)

ศักราชที่พุทธศาสนิกชนกาหนดขึน้ คือ
1. แบบไทย (นับปี เต็ม) โดยเริ่ มนับปี ถัดจากปี ที่พระพุทธเจ้ า
เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ ว 1 ปี เป็ น พ.ศ. 1
2. แบบลังกา เป็ นการนับแบบปี ย่ าง โดยนับปี ที่พระพุทธเจ้ า
เสด็จดับขันธปรินิพพานเป็ น พ.ศ. 1

เช่ น ประเทศไทยตรงกับ พ.ศ. 2555 แต่ ประเทศศรีลงั กา เมียนมา


กัมพูชา ลาว ตรงกับ พ.ศ. 2556
5.2 คริสต์ ศักราช (ค.ศ.)

ศั กราชที่คริ สต์ ศาสนิกชนกาหนดขึน้ โดยเริ่ มนับจาก


วันสมภพของพระเยซู
คริ ส ต์ ศั ก ราชเริ่ ม ปี ใหม่ 1 มกราคม และสิ้ น ปี 31
ธันวาคม เป็ นศักราชทีใ่ ช้ สากลทั่วโลก
5.3 มหาศักราช (ม.ศ.)

ผู้ ก่ อ ตั้ ง คื อ พระเจ้ า กนิ ษ กะ (Kanishka) กษั ต ริ ย์ ข องพวก


กุษาณะ (Kushana) ชนชาติที่ครอบครองอินเดียตะวันตกเฉียงเหนือ
ไทยรั บมหาศั กราชมาจากเขมรซึ่ งรั บมาจากอินเดียอีกทอด
หนึ่ง ใช้ ในการคานวณทางโหราศาสตร์ ระบุเวลาในจารึกและตานาน
ที่ทาขึน้ ก่ อนสมัยสุ โขทัยและสมัยสุ โขทัย
5.4 จุลศักราช (จ.ศ.)

คาดว่ าผู้ก่อตั้ง คือ พระเจ้ าบุพพะโสระหัน กษัตริย์พม่ า


ไทยใช้ จุลศั กราชในการคานวณทางโหราศาสตร์ จารึ ก
ตานาน และจดหมายเหตุ และเลิกใช้ ในสมัยรั ชกาลที่ 5 โดยใช้
รัตนโกสิ นทรศกแทน
5.5 รัตนโกสิ นทรศก (ร.ศ.)

ผู้ก่อตั้ง คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว


(ร. 5) โดยให้ นับปี ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก
มหาราช (ร. 1) สถาปนากรุ งรัตนโกสิ นทร์ เป็ น ร.ศ. 1 และเริ่ ม
ใช้ ในราชการตั้งแต่ 1 เมษายน ร.ศ. 108 โดยให้ นับเมษายนเป็ น
เดือนแรกของปี
ต่ อมา ร.ศ. 131 (ตรงกับ พ.ศ. 2455) พระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัว (ร. 6) ทรงประกาศเลิกใช้ โดยเปลี่ย นเป็ น
พุทธศักราชแทน แต่ ยงั คงวันปี ใหม่ คือ 1 เมษายน เหมือนเดิม

ปัจจุบันไม่ ใช้ มหาศักราช จุลศักราช และรัตนโกสิ นทรศกแล้ว แต่ ควร


ทาความเข้ าใจ เพื่อใช้ ในการศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์
5.6 ฮิจเราะห์ ศักราช (ฮ.ศ.)

ศั ก ราชของผู้ ที่ นั บ ถื อ ศาสนาอิ ส ลาม นั บ ตั้ ง แต่ น บี


มุฮัมมัด (ศาสดา) อพยพชาวมุสลิมออกจากนครมักกะฮ์ ไปยัง
เมืองมะดีนะฮ์ ใน ค.ศ. 622 ตรงกับ พ.ศ. 1165
คาว่ า ฮิจเราะห์ มาจากภาษาอาหรับ แปลว่ า การอพยพ
การเทียบพุทธศักราช

ค.ศ. + 543
ม.ศ. + 621
พ.ศ. เท่ำกับ จ.ศ. + 1181
ร.ศ. + 2324
ฮ.ศ. + 1122
การเทียบคริสต์ ศักราช

พ.ศ. - 543
ม.ศ. + 78
ค.ศ. เท่ำกับ จ.ศ. + 638
ร.ศ. + 1781
ฮ.ศ. + 579
กิจกรรม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 7
ทศวรรษ

รอบสิ บปี นับจากศักราชทีล่ งท้ ายด้ วย 0-9

เช่ น ทศวรรษ 1990 ตามคริสต์ ศักราช = ค.ศ. 1990-1999


ทศวรรษ 2540 ตามพุทธศักราช = พ.ศ. 2540-2549
ศตวรรษ

รอบร้ อยปี นับจากศักราชทีล่ งท้ ายด้ วย 01-00

เช่ น คริสต์ ศตวรรษที่ 1 = ค.ศ. 1-100


พุทธศตวรรษที่ 25 = พ.ศ. 2401-2500
สหัสวรรษ

รอบพันปี นับจากศักราชทีล่ งท้ ายด้ วย 001-000

เช่ น สหัสวรรษที่ 2 ตามคริสต์ ศักราช = ค.ศ. 1001-2000


หัวข้ อ
เรื่ อง: การแบ่ งยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร์ ไทย

1. สมัยก่ อนประวัติศาสตร์
1.1 ยุคหิน
1.2 ยุคโลหะ
2. สมัยประวัติศาสตร์
1. สมัยก่ อนประวัติศาสตร์
ช่ วงเวลาทีม่ นุษย์ ยงั ไม่ มีการใช้ ตวั อักษรบันทึกเรื่ องราว ได้ แก่

1.1 ยุคหิน ได้ แก่

ยุคหินเก่ า 500,000-10,000 ปี
ยุคหินกลาง 10,000-6,000 ปี

ยุคหินใหม่ 6,000-4,000 ปี
1.2 ยุคโลหะ ได้ แก่
ยุคสาริด 4,000-2,500 ปี

ยุคเหล็ก 2,500-1,500 ปี
เรื่ องน่ ารู้
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 4
2. สมัยประวัติศาสตร์

ช่ วงเวลาที่มนุษย์ ในสั งคมมีการใช้ ตัวอักษรแล้ ว ซึ่ งแต่ ละสั งคม


จะเกิดขึน้ ไม่ พร้ อมกัน ขึน้ อยู่กบั พัฒนาการของสั งคมนั้น ๆ

การแบ่ งสมัยประวัติศาสตร์ ไทย คือ การกาหนดช่ วงเวลาเพื่ อให้


เข้ าใจเรื่ องราวหรื อเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ ในดินแดนไทย มักอ้ างอิง
เหตุ ก ารณ์ ที่ ท าให้ เกิ ด ความเปลี่ ย นแปลงหรื อเป็ นจุ ด เปลี่ ย นทาง
ประวัติศาสตร์
สมัยประวัติศาสตร์ ไทยแบ่ งเป็ นสมัยย่ อย ๆ ได้ หลายแบบ เช่ น

1. แบ่ งตามราชธานี โดยนาชื่ อราชธานีมาเป็ นชื่ อสมัย เช่ น


- สมัยก่อนสุ โขทัย ราวพุทธศตวรรษที่ 12-18
- สมัยสุ โขทัย พ.ศ. 1792-2006
- สมัยอยุธยา พ.ศ. 1893-2310
- สมัยธนบุรี พ.ศ. 2310-2325
- สมัยรัตนโกสิ นทร์ พ.ศ. 2325-ปัจจุบัน
2. แบ่ งตามราชวงศ์ เฉพาะในสมัยอยุธยา ได้ แก่
- สมัยราชวงศ์ อ่ทู อง พ.ศ. 1893-1913, 1931-1952
- สมัยราชวงศ์ สุพรรณภูมิ พ.ศ. 1913-1931, 1952-2112
- สมัยราชวงศ์ สุโขทัย พ.ศ. 2112-2172
- สมัยราชวงศ์ ปราสาททอง พ.ศ. 2172-2231
- สมัยราชวงศ์ บ้านพลูหลวง พ.ศ. 2231-2310
3. แบ่ งตามพระนามพระมหากษัตริย์ โดยใช้ ช่วงเวลาตั้งแต่
ขึน้ ครองราชย์ ไปจนถึงสวรรคตหรื อหมดอานาจลง เช่ น
- สมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช พ.ศ. 1822-1841
- สมัยพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) พ.ศ. 1890-1911
- สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 1991-2031
- สมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช พ.ศ. 2199-2231
4. แบ่ งตามพัฒนาการและความเปลีย่ นแปลงของบ้ านเมือง เช่ น
สมัยอยุธยา สมัยรัตนโกสิ นทร์
- สมัยสมัยอยุธยาตอนต้ น - สมัยรัตนโกสิ นทร์ ตอนต้ น
พ.ศ. 1893-1991 รัชกาลที่ 1-3
- สมัยอยุธยาตอนกลาง - สมัยรัตนโกสิ นทร์ ยุคปรับปรุ งประเทศ
พ.ศ. 1991-2231 รัชกาลที่ 4-พ.ศ. 2475
- สมัยอยุธยาตอนปลาย - สมัยรัตนโกสิ นทร์ ยุคหลังเปลีย่ นแปลง
พ.ศ. 2231-2310 การปกครอง พ.ศ. 2475-ปัจจุบัน
5. แบ่ งตามลักษณะการปกครอง เช่ น สมัยรัตนโกสิ นทร์ แบ่ ง
ตามลักษณะการปกครองได้ 2 สมัยย่ อย คือ
- สมัยสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ พ.ศ. 2325-2475
- สมัยประชาธิปไตย พ.ศ. 2475-ปัจจุบัน
6. แบ่ ง ตามสมั ย ของรั ฐ บาล สมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ ยุ ค หลั ง การ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มีการแบ่ งสมัยตามรั ฐบาลที่
บริหารประเทศ เช่ น
- สมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม
- สมัยรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร
7. แบ่ งตามแนวประวัติศาสตร์ สากล ช่ วงเวลาสมัยประวัติศาสตร์ ต าม
หลักประวัติศาสตร์ สากลนิยมแบ่ งเป็ นสมัยย่ อย 4 สมัย คื อ สมัยโบราณ
สมัยกลาง สมัยใหม่ และสมัยปัจจุบนั
สมัยประวัติศาสตร์ ไทยแบ่ งตามแนวประวัติศาสตร์ สากลได้ ดังนี้
- สมัยโบราณ ตั้งแต่ ก่อนสมัยสุ โขทัย-สิ้นรัชกาลที่ 3
- สมัยใหม่ ตั้งแต่ รัชกาลที่ 4-พ.ศ. 2475
- สมัยปัจจุบนั ตั้งแต่ พ.ศ. 2475-ปัจจุบนั
กิจกรรม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 4
แบบทดสอบหลังเรียน
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 10

You might also like