You are on page 1of 36

หน่ วยการเรียนรู้ที่ 5

พระกรุณาธิคุณของสถาบันพระมหากษัตริย์
ต่ อการพัฒนาชาติและสั งคมไทย

คาบที่ 18: ด้ านการส่ งเสริมเศรษฐกิจของชาติ


และด้ านการส่ งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย
ตัวชี้วดั ช่ วงชั้น

❖ วิเคราะห์ ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ ไทย


(ส 4.3 ม. 4-6/1)
❖ วิเคราะห์ ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์
ต่ อชาติไทย (ส 4.3 ม. 4-6/2)
หัวข้ อ (ต่ อ)

3. ด้ านการส่ งเสริมเศรษฐกิจของชาติ
4. ด้ านการส่ งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย
5. ด้ านการปฏิรูปการปกครองบ้ านเมือง
3. ด้ านการส่ งเสริมเศรษฐกิจของชาติ
บทบาททีส่ าคัญของพระมหากษัตริย์ในการส่ งเสริมเศรษฐกิจของ
ประเทศไทย ได้ แก่
1. ทรงส่ งเสริมการผลิต
เนื่ องจากในสมัยก่ อน ประชากรส่ วนใหญ่ ของประเทศทาการ
เกษตรกรรมเป็ นอาชี พหลัก จึงมีพระราชดาริ แก้ ไขปัญหาต่ าง ๆ ที่มี
ผลต่ อการผลิตพืชผลทางการเกษตร เช่ น
สมัยสุ โขทัย พ่อขุนรามคาแหงมหาราชโปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างฝายเพื่อ
กั้นนา้ และระบายตามลาเหมืองไปยังพืน้ ทีก่ ารเกษตรของราษฎร
สมัยรั ชกาลที่ 4 พระองค์ ทรงส่ งเสริ มการทานา โดยการลดหย่ อน
การเกณฑ์ ไพร่ ทางานหลวง งดเว้ นการเกณฑ์ แรงงานในฤดูทานา เพื่อให้
ราษฎรมีเวลาทานาอย่ างเต็มที่
ปั จจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวโปรดเกล้ าฯ ให้ จัดตั้ง
โครงการหลวง โครงการตามพระราชด าริ เพื่ อ ให้ ร าษฎรได้ น า
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ ให้ เกิดคุณค่ าและยัง่ ยืน
พระราชทานแนวคิดปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่
ส่ งผลให้ ประชาชนมีความเป็ นอยู่ทดี่ ขี นึ้
2. ทรงส่ งเสริมการค้ า
การค้ าในประเทศ ทรงให้ อิสระแก่ ประชาชนในการค้ าขาย ทรงลดภาษี
ให้ ราษฎร ทรงจัดตั้งตลาดเพื่อเป็ นศูนย์ กลางการค้ าขาย เช่ น ตลาดปสาน ใน
สมัยสุ โขทัย
การค้ า ต่ า งประเทศ ทรงเปิ ดประเทศให้ ช าวต่ า งชาติ เ ข้ า มาค้ า ขาย
โดยสะดวก และเพื่อความสะดวกในการติดต่ อค้ าขาย ทรงอนุญาตให้ พ่อค้ า
ตั้งสถานีการค้ าในอาณาจักรได้
นอกจากนี้ พ ระมหากษั ต ริ ย์ ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาและสมั ย
รั ตนโกสิ นทร์ ตอนต้ น ยังทรงให้ ต้ังพระคลังสิ นค้ าเพื่อเป็ นตัวกลางใน
การซื้อขายสิ นค้ า ซึ่งทาให้ มีรายได้ จากการเก็บภาษีสินค้ าขาเข้ า-ขาออก
จากชาวต่ างชาติที่นาสิ นค้ าเข้ ามาในประเทศไทย และได้ กาไรจากการ
ขายสิ นค้ าต้ องห้ าม รวมทั้งจัดสาเภาไปค้ าขายต่ างประเทศ
3. ทรงปฏิรูประบบการเงินและการคลัง
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว โปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ างโรง
กษาปณ์ ขึ้น ใน พ.ศ. 2403 เพื่ อ ผลิ ต เงิ น ตราให้ ไ ด้ เ พี ย งพอกั บ ความ
ต้ องการ เนื่องจากกระทรวงพระคลังมหาสมบัติผลิตเงินพดด้ วงได้ ไม่ ทัน
ตามความต้ องการ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว โปรดเกล้ าฯ ให้ จัดตั้งหอ
รัษฎากรพิพฒ ั น์ ใน พ.ศ. 2416 เพื่อให้ เป็ นสถานที่รวบรวมพระราชทรัพย์
ซึ่ ง อยู่ ใ นท้ อ งพระคลั ง และโปรดเกล้ า ฯ ให้ จั ด ระเบี ย บการจั ด ท า
งบประมาณขึน้ เป็ นครั้งแรก
4. ด้ านการส่ งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย

การท านุ บ ารุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการท านุ บ ารุ ง
บ้ านเมื อ งและอาณาประชาราษฎร์ เป็ นพระราชกรณี ย กิ จ ของ
พระมหากษัตริย์ที่สืบทอดกันมา ได้ แก่

ละครในเรื่ อง อิเหนา
1. ทรงสร้ างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม
ทรงสร้ างสรรค์ ผลงานด้ านศิ ลปวัฒนธรรมด้ วยพระปรี ชาสามารถของ
พระองค์เอง เช่ น

ประชุ มประกาศรัชกาลที่ 4 พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ 4


และไกลบ้ าน พระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ 5
ภาพวาดฝี พระหัตถ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวโปรดเกล้ าฯ ให้ สร้ าง
พระที่นั่งจักรี มหาปราสาท องค์ พระที่นั่งเป็ นแบบยุโรป หลังคาเป็ น
ยอดปราสาทแบบไทย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัวโปรดเกล้ าฯ
ให้ สร้ างพระที่ นั่ ง ไอศวรรย์ ทิ พ ยอาสน์ ในพระราชวั ง
บางปะอิน เป็ นศิลปะแบบไทยแท้
2. ทรงริเริ่มและประยุกต์ วฒ
ั นธรรมให้ เหมาะสมกับวิถีชีวติ ของคนไทย
ทรงริ เริ่ มขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงาม และสนับสนุ นให้ คนไทยปฏิบัติ
จนกลายเป็ นวัฒนธรรมทีด่ งี ามของชาติ เช่ น
สมเด็จพระเจ้ าทรงธรรม ทรงเริ่มประเพณีบูชารอยพระพุทธบาท จังหวัด
สระบุรี จนกลายเป็ นประเพณีของชาวบ้ านมาจนถึงทุกวันนี้
พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ทรงประยุ ก ต์ ป ระเพณี แ บบ
ตะวันตกให้ เข้ ากับวิถีชีวิตของชาวไทย เช่ น ให้ สตรี มีสิทธิเลื อ กคู่ครอง และ
โปรดเกล้าฯ ให้ สถาปนาเครื่ องราชอิสริยาภรณ์ ขนึ้ เป็ นครั้งแรก
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว ทรงเปลี่ยนวัฒนธรรมที่ ทรง
เห็นว่ าล้ าสมัยให้ มีความทันสมัยขึน้ เช่ น ให้ เปลี่ยนจากการหมอบคลานเข้ า
เฝ้าเป็ นการยืนหรื อนั่งเก้าอี้
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ าเจ้ าอยู่หัวโปรดเกล้ าฯ ให้ ใช้ คานาหน้ า
ชื่ อ ให้ มีนามสกุล เปลี่ยนแปลงการนับวันเวลาในราชการให้ สอดคล้ องกับ
สากลนิยม
3. ทรงมีบทบาทสาคัญในการฟื้ นฟูศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ
ในอดีตการทาศึ กสงครามอยู่เสมอส่ งผลให้ ศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม
ของชาติถูกทาลายสู ญหายไป พระมหากษัตริ ย์ไทยจึงทรงพยายามฟื้ นฟู
ศิลปวัฒนธรรมด้ านต่ าง ๆ ให้ งอกงามรุ่ งเรื องดุจในอดีต เช่ น
สมเด็จพระเจ้ าปราสาททองโปรดเกล้ าฯ ให้ รื้อฟื้ นสถาปัตยกรรมแบบเขมรขึน้
โดยการสร้ างปรางค์ ปราสาทที่วัดไชยวัฒนาราม
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวโปรดเกล้ าฯ ให้ ฟื้นฟูพระราช
พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญขึน้ ใหม่
4. ทรงอุปถัมภ์ ศิลปิ นทีม่ คี วามสามารถ
การที่ศิลปิ นจะสามารถสร้ างสรรค์ ผลงานให้ ดีและมีคุณค่ าได้ น้ ัน
ตัวศิลปิ นจะต้ องมีความสุ ข ไม่ มคี วามกังวลใจ พระมหากษัตริย์ไทยจึง
ทรงให้ การอุปถัมภ์ กวีในพระราชสานักเสมอมา ซึ่ งเป็ นการส่ งเสริ ม
ให้ ผลงานทางด้ านศิลปวัฒนธรรมมีความเจริญรุ่ งเรื องด้ วย
เกม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 8
5. ด้ านการปฏิรูปการปกครองบ้ านเมือง
1. การปกครองสมัยรัตนโกสิ นทร์ ก่อนการปฏิรูป
การปกครองสมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ ตอนต้ น เป็ นระบอบ
สมบูรณาญาสิ ทธิราชย์
สมัยรั ชกาลที่ 1 การจัดการปกครองส่ วนกลางและส่ วน
ภู มิ ภ าคยั ง คงเหมื อนสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย แต่ มี ก าร
เปลี่ยนแปลงแบบแผนการปกครองหัวเมือง โดยคืนอานาจการ
ปกครองหัวเมืองฝ่ ายใต้ กลับมาอยู่ในบังคับบัญชาของสมุหพระ
กลาโหม
สมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศไทยต้ องเผชิ ญกับการขยายอิท ธิพล
ของอังกฤษและฝรั่ งเศส ทาให้ รัชกาลที่ 4 ทรงริ เริ่ มปรั บปรุ งการ
ปกครอง
การปรั บ ปรุ ง ด้ า นการบริ ห ารประเทศ เช่ น การใช้ ระบบ
คุ ณ ธรรมแทนที่ ร ะบบอุ ป ถั ม ภ์ ใ นระบบการบริ ห ารแบบเก่ า
กวดขันความประพฤติของข้ าราชการทั้งในด้ านการปกครองและ
ความประพฤติส่วนตัว
1. ปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5
ในปี พ.ศ. 2413 หลั ง จากเสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ ได้ 2 ปี
พระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หัวทรงวางรากฐานทาง
อานาจด้ วยการตั้งกรมทหารมหาดเล็กขึน้
ในปี พ.ศ. 2416 ได้ ท รงออกพระราชบั ญ ญั ติ ห อรั ษ ฎากร
พิพัฒน์ รวมการเก็บภาษีเข้ าสู่ ศูนย์ กลาง ซึ่งเป็ นการลิดรอนอานาจ
ของกรมกองต่ าง ๆ ทีเ่ คยมีหน้ าทีเ่ ก็บภาษี
หลังพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ทรงเริ่มปฏิรูปการปกครองเพื่อ
รวมอานาจเข้ าสู่ สถาบันพระมหากษัตริย์ ด้ วยการตราพระราชบัญญัติ
ขึน้ 4 ฉบับ เป็ นการปฏิรูปด้ านกฎหมาย การคลัง และสั งคม
ต่ อมากลุ่มเจ้ านายและข้ าราชการซึ่งได้ รับการศึกษาจากทวีป
ยุ โ รป เรี ย กว่ า กลุ่ ม ก้ า วหน้ า ร.ศ. 103 ได้ ถ วายความเห็ น ให้ มี ก าร
เปลี่ยนแปลงการบริ หารราชการแผ่ นดิน คื อ เสนอให้ ปรั บปรุ งการ
ปกครองของประเทศให้ เป็ นแบบพระมหากษั ต ริ ย์ อยู่ ภายใต้
รัฐธรรมนูญแล้ วปรั บปรุ งประเทศในด้ านต่ าง ๆ แต่ พระองค์ ทรงเห็น
ว่ าเมืองไทยยังไม่ พร้ อม
ใน พ.ศ. 2417-2428 กลุ่มขุนนางเก่ าเริ่ มหมดบทบาททางการเมือง
สมเด็จ เจ้ าพระยาบรมมหาศรี สุริ ยวงศ์ ช ราภาพมากและออกไปอยู่ ที่
ราชบุ รี ขณะเดี ย วกั น พระราชโอรสและพระอนุ ช าของรั ช กาลที่ 5
มีพระชนมายุมากขึน้ ต่ างเป็ นกาลังสาคัญทีช่ ่ วยในการบริหารราชการ
การปฏิรูปการปกครองหัวเมืองเป็ นนโยบายสาคัญของรั ชกาลที่ 5
การปฏิรูปครั้งสาคัญเริ่มต้ นประมาณ พ.ศ. 2430 หลังจากที่พระเจ้ าน้ อง
ยาเธอ กรมหมื่นเทวะวงศ์ วโรปการเสด็จกลับจากดูงานการปกครองใน
สหรั ฐอเมริ กา ยุโรป และญี่ปุ่น และได้ ทรงทาบันทึกเสนอต่ อรั ชกาลที่ 5
พระองค์ ไ ด้ พิ จ ารณาเห็ น ว่ า มี ค วามพร้ อมที่ จ ะให้ มี ก ารปฏิ รู ป การ
ปกครอง
ทรงตั้งกรมขึน้ ใหม่ 6 กรม รวมทีม่ อี ยู่แล้ วเป็ น 12 กรม ดังนี้

กรมมหาดไทย ปกครองฝ่ ายเหนือและเมืองลาว


กรมพระกลาโหม ปกครองฝ่ ายใต้ ตะวันออก ตะวันตก และมลายู
กรมท่า ดูแลการต่างประเทศ
กรมวัง ดูแลในพระราชวังและกรมซึ่งรับราชการในพระองค์
กรมเมือง ว่าการตารวจ การบัญชีพล (สุรสั วดี) และนักโทษ
กรมนา ดูแลการเพาะปลูก การค้าขาย ป่ าไม้ และบ่อแร่
กรมพระคลัง ดูแลภาษีอากร เงินรับจ่ายในแผ่นดินทั้งหมด
กรมยุตธิ รรม จัดการศาล ชาระความทั้งแพ่งและอาญา
กรมยุทธนาธิการ ตรวจตราจัดการกรมทหารบก ทหารเรือ
กรมธรรมการ จัดการศึกษาและการศาสนา
กรมโยธาธิการ ก่อสร้าง ขุดคลอง การช่าง การไปรษณียโ์ ทรเลข
การรถไฟ
กรมมุรธาธิการ รักษาพระราชลัญจกร พระราชกาหนดกฎหมาย
และหนังสือราชการ

ต่ อมาใน พ.ศ. 2435 กรมเหล่านีไ้ ด้ รับการยกฐานะขึน้ เป็ นกระทรวง


การเปลี่ยนแปลงการปกครองอีกด้ านที่มีความสาคั ญ คื อ
การปฏิ รู ป การบริ ห ารราชการส่ วนภู มิ ภ าค ใน พ.ศ. 2437
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ จุ ล จ อ ม เ ก ล้ า เ จ้ า อ ยู่ หั ว ท ร ง ใ ห้
กระทรวงมหาดไทยมีหน้ าที่ในการจัดระเบียบการปกครองส่ วน
ภูมิภาคในลักษณะการรวมอานาจเข้ าสู่ ศูนย์ กลาง เรี ยกระบบการ
ปกครองแบบใหม่ นีว้ ่ า ระบบเทศาภิบาล
หลัก การปกครองตามระบบเทศาภิ บ าลมี ร ะบุ ไ ว้ ใ น
ประกาศจั ด ปั นหน้ าที่ ร ะหว่ างกระทรวงกลาโหมและ
กระทรวงมหาดไทย ร.ศ. 113 ต่ อ มาได้ มี พ ระราชบั ญ ญั ติ
ลัก ษณะการปกครองท้ อ งที่ ร.ศ. 116 และข้ อ บั ง คั บ ลัก ษณะ
ปกครองหัวเมือง ร.ศ. 117 ไทยเริ่มจัดส่ วนราชการบริ หารตาม
แบบใหม่ มีอานาจหน้ าที่และความรั บผิดชอบตามลาดั บตั้งแต่
ระดับมณฑล เมือง (จังหวัด) อาเภอ ตาบล และหมู่บ้าน
ระบบเทศาภิ บ าลมิ ไ ด้ ด าเนิ น ไปอย่ า งราบรื่ น เนื่ อ งจาก
รั ฐ บาลประสบปั ญ หาหลายประการ เช่ น การขาดบุ ค ลากร
รั ฐบาลขาดงบประมาณจึงต้ องเร่ งรั ดภาษี อีกทั้งรั ฐบาลยังไม่
ต้ องการที่จะนาการปกครองแบบใหม่ เข้ าไปใช้ ในหัวเมือ งที่อยู่
ตามชายแดน เพราะเกรงจะถู ก ต่ อ ต้ า นจากผู้ ไ ม่ พ อใจที่ต้ อ ง
สู ญเสี ยอานาจเนื่องจากเคยเกิดกบฏหัวเมืองขึน้ หลายครั้ง
การเปลี่ยนแปลงการปกครองที่สาคัญอีกประการหนึ่ง คื อ การ
ปรั บปรุ งการปกครองส่ วนท้ องถิ่นที่ต้องการให้ ราษฎรมีส่วนในการ
ปกครองประเทศ ได้ ประกาศใช้ พระราชบัญญัติจัดการสุ ขาภิบาล การ
สุ ขาภิบาลเริ่ มขึน้ ครั้ งแรกที่ตาบลท่ าฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร มีการ
จัดตั้งคณะกรรมการสุ ขาภิบาล มีการเก็บภาษีโรงร้ านและให้ สุขาภิบาล
มีอานาจนาเงินทีเ่ ก็บมาบารุงท้ องทีต่ นเอง
3. ผลของการปฏิรูปการปกครอง
การปฏิ รู ป การปกครองในสมั ย รั ช กาลที่ 5 ได้ เ ปลี่ ย นแปลงการ
ปกครอง เศรษฐกิจ และสั งคม อย่ างใหญ่ หลวง จนรัชกาลที่ 7 ทรงใช้ คาว่ า
“พลิกแผ่ นดิน” ซึ่งสรุปได้ ดังนี้
1. การปกครองแบบจตุสดมภ์ เปลี่ยนมาเป็ นการปกครองที่แบ่ งแยก
หน้ าทีเ่ ป็ นกระทรวงต่ าง ๆ อย่ างชัดเจนและทันสมัย
2. อานาจการปกครองย้ ายจากขุนนางมาสู่ พระมหากษัตริ ย์และพระ
ราชวงศ์

You might also like