You are on page 1of 27

หน่ วยที่ 7

ปัจจัยทีส่ ่ งเสริมความสร้ างสรรค์ ภูมปิ ัญญาไทย


และวัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
คาบที่ 30: วัฒนธรรมไทย
ตัวชี้วดั ช่ วงชั้น

❖ วิ เ คราะห์ ปั จ จั ย ที่ ส่ งเสริ ม การสร้ า งสรรค์ ภู มิ ปั ญ ญาไทยและ


วัฒนธรรมไทยซึ่งมีผลต่ อสั งคมไทยในยุคปัจจุบัน
(ส 4.3 ม. 4-6/3)
❖ วางแผนกาหนดแนวทางและมีส่วนร่ วมการอนุ รักษ์ ภูมิปัญญา
ไทย และวัฒนธรรมไทย (ส 4.3 ม. 4-6/5)
หัวข้อ
เรือ่ ง: วัฒนธรรมไทย

1. สาขาของวัฒนธรรมไทย
2. อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกต่อสังคมไทย
3. อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันออกต่อสังคมไทย
วัฒนธรมไทย

วัฒนธรรม หมายถึง ทุกสิ่ งทุกอย่ างที่มนุษย์ สร้ างขึน้ โดย


ปรั บปรุ งเปลี่ยนแปลงจากการเรี ยนรู้ และประสบการณ์ เป็ นสิ่ งดี
งาม มีคุณค่ าควรที่จะยึดถื อเป็ นแบบแผนในการประพฤติปฏิบัติ
และถ่ ายทอดสื บต่ อกัน
วัฒนธรรมไทย หมายถึง สิ่ งที่คนไทยคิดและสร้ างขึ้นจาก
ความรู้ และประสบการณ์ ซึ่งคนส่ วนใหญ่ ยอมรับว่ าเป็ นสิ่ งที่ดีงาม
มีรูปแบบ กฎเกณฑ์ เป็ นทีย่ อมรับของคนในสั งคม
1. สาขาของวัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมไทยอาจแบ่ งได้ 5 สาขา ดังนี้


1. วัฒนธรรมทางภาษาและวรรณกรรม
ประเทศไทยมีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็ นภาษา
ประจ าชาติ ภาษาพู ด ไม่ มี ห ลั ก ฐานยื น ยั น ว่ า เกิ ด ขึ้น
เมื่ อ ใด แต่ ภ าษาเขี ย นปรากฏหลั ก ฐานในศิ ล าจารึ ก
พ่ อ ขุ น รามค าแหงว่ า พ่ อ ขุ น รามค าแหงมหาราชทรง
ประดิษฐ์ อกั ษรไทยขึน้ ใน พ.ศ. 1826
ภาษาเขียนทาให้ เกิดการบันทึกเรื่ องราวต่ าง ๆ
เป็ นลายลักษณ์ อักษร ทาให้ เกิดการเขียนวรรณกรรม
และวรรณคดี แ ทนการเล่ า ปากเปล่ า ซึ่ ง ศิ ล าจารึ ก
พ่อขุนรามคาแหงถือเป็ นวรรณคดีเรื่ องแรกของไทย
2. วัฒนธรรมทางวัตถุ
ได้ แ ก่ เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ในการด ารงชี วิ ต
ซี่งมีความหลากหลายตามสภาพแวดล้ อม มักใช้ วั สดุ
ที่หาได้ ง่ายในท้ องถิ่น เช่ น นาใบลานมาสานเป็ นงอบ
การนาไม้ ไผ่ มาสานเป็ นกระจาด
3. วัฒนธรรมทางจิตใจ
วั ฒ นธรรมที่ เ กี่ ย วกั บ ความคิ ด
ความเชื่ อ ความศรัทธาในศาสนา ศีลธรรม
และจริยธรรม เป็ นเครื่ องส่ งเสริมให้ มนุษย์
มีความสุ ขและอยู่ร่วมกันในสั งคมได้
4. วัฒนธรรมทางจารีตและขนบธรรมเนียมประเพณี
วั ฒ นธรรมสาขานี้ เ ป็ นเครื่ อ งผู ก มั ด คนให้ อ ยู่ ใ น
กลุ่มเดียวกัน มีความรู้ สึกเป็ นพวกเดียวกัน ทาให้ ไทยดารง
ความเป็ นชาติ อ ยู่ ไ ด้ เช่ น ประเพณี ก ารเกิ ด ประเพณี ล อย
กระทง การบวช
5. วัฒนธรรมทางสุ นทรียะ
วัฒนธรรมทางสุ นทรียะอาจแบ่ งได้ 2 ประเภท ดังนี้
5.1 ทัศนศิ ลป์ การสร้ างสรรค์ ความงามที่รับรู้ ได้ ด้วยการดู
ได้ แก่ สถาปั ตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม รวมทั้งประณีตศิ ลป์
ซึ่งเป็ นงานทีม่ ุ่งประโยชน์ ใช้ สอย

ตู้ลายรดนา้ สาหรับใส่ หนังสื อ


เป็ นงานประณีตศิลป์
5.2 ศิ ลปะการแสดง งานประเภทนี้รับรู้
ด้ วยการชมและการฟัง ได้ แก่ นาฏศิลป์ การละคร
และการดนตรี รวมทั้ง เพลงพื้น บ้ า น การแสดง
พืน้ บ้ าน และการละเล่น

เดินกะลา การละเล่นของเด็กไทย
เกม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 8
2. อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกต่ อสั งคมไทย

2.1 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี


ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ของชาวตะวันตกที่นาเข้ ามาเผยแพร่ และถ่ ายทอด
แก่ ชาวไทยมีประโยชน์ มากมาย เช่ น การปลูกฝี
การผ่ า ตั ด การท าคลอด การพิ ม พ์ ไปรษณี ย์
โทรเลข รถยนต์ รถราง เรื อเมล์

ตู้ไปรษณีย์รุ่นแรก
2.2 เศรษฐกิจระบบทุนนิยม
เมื่ อ มี ก ารท าสนธิ สั ญ ญาเบาว์ ริ ง กับ ชาติ ต ะวั น ตก ท าให้
การค้ าของไทยขยายตัวมาก เริ่มมีการผลิตสิ นค้ าเพื่อส่ งออกมากขึน้
สั งคมอุตสาหกรรมเริ่ มเข้ ามาแทนที่สังคมเกษตรกรรม โดยผลิต
สิ นค้ าทีเ่ ป็ นทีต่ ้ องการของชาติตะวันตก
2.3 การปกครองแบบประชาธิปไตย
แนวคิดการปกครองระบอบประชาธิปไตยของตะวันตกมี
อิทธิพลต่ อความคิดของกลุ่มคนที่มีหัวคิดก้ าวหน้ าของไทย จนถึง
พ.ศ. 2475 ประเทศไทยได้ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็ นระบอบ
ประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเป็ นประมุ ข ตามชาติ
ตะวันตก
2.4 การศึกษาแบบตะวันตก
มิชชั นนารีอเมริกันได้ นาการศึกษาในระบบโรงเรียนเข้ ามา
เผยแพร่ ในไทย โดยได้ เปิ ดโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษและวิชาอื่ น ๆ
เช่ น คณิตศาสตร์ ภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ควบคู่กบั การสอนศาสนา
ซึ่ งทาให้ ราชการไทยเห็นความสาคัญในการพัฒนาการศึ กษาของ
ชาติ จึง มีการจัด ตั้ ง โรงเรี ย นหลวงสาหรั บ เด็ ก ไทยทั่วไปในสมั ย
รัชกาลที่ 5
3. อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันออกต่ อสั งคมไทย

3.1 อิทธิพลของวัฒนธรรมอินเดียต่ อสั งคมไทย


1. ทางการเมืองการปกครอง
แนวคิดเทวราชาและคติจักรพรรดิราชมีรากฐานมาจากศาสนา
พราหมณ์ -ฮิ น ดู ที่ เ ชื่ อว่ า กษั ต ริ ย์ เ ป็ นสมมติ เ ทพ แสดงความเป็ น
จั ก รพรรดิ ร าชด้ ว ยการประกอบพระราชพิธี ต่ า ง ๆ เพื่ อ แสดงความ
ยิง่ ใหญ่ และอานาจบารมี
นอกจากนีก้ ฎหมายตราสามดวงก็มีที่มา
จากประมวลกฎหมายพระธรรมนูญศาสตร์ ของ
ชาวอินเดียด้ วย
2. ศาสนา
พระพุ ท ธศาสนาและพิธี ก รรมต่ า ง ๆ ทางพระพุ ท ธศาสนา
มีต้น กาเนิ ดมาจากอินเดี ย ที่ช าวไทยถื อปฏิบัติ มาจนถึง ปั จจุ บัน เช่ น
การถือศีล ตักบาตร ปฏิบัติธรรม
ศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู มีที่มาจากชาวอินเดียที่นับถือศาสนานี้
เข้ ามาค้ าขายในประเทศไทย และบางส่ วนได้ ต้ังถิ่นฐานในประเทศไทย
พิ ธี ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ สั ง คมไทย เช่ น พิ ธี เ ฉลิ ม ฉลองที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
พระมหากษัตริย์จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พิธีโกนจุก
3. ภาษาและวรรณกรรม
ภาษาไทยเกิดจากการรั บเอาภาษาบาลีและสั นสกฤตของอินเดีย
เข้ ามาประยุกต์ ใช้ จนเกิดความผสมผสานกลมกลืนกัน
ไทยรั บเอาวรรณกรรม คื อ มหากาพย์
รามายณะ มหากาพย์ มหาภารตยุ ท ธ และ
พระไตรปิ ฎกเข้ ามา โดยเฉพาะมหากาพย์
รามายณะไทยนามาแต่ งเป็ นเรื่ องรามเกียรติ์
4. ศิลปกรรม
ศิ ล ปกรรมที่ ไ ทยรั บ มาส่ วนใหญ่ เ กี่ย วข้ อ งกับ ศาสนา เช่ น
การสร้ างสถูป เจดีย์ วิหาร พระพุทธรูป จิตรกรรมฝาผนัง
พระพุทธรู ปที่มีอิทธิพลต่ อการสร้ างพระพุทธรู ปในดินแดน
ไทยมากที่สุด คือ พระพุทธรู ปศิลปะแบบคุปตะจากเมืองสารนาถทาง
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของอิน เดี ย เช่ น พระพุ ท ธรู ป ที่ ท าด้ ว ย
หินทรายค้ นพบที่ อ.เวียงสระ จ.สุ ราษฎร์ ธานี
5. ด้ านนาฏกรรม
การเล่ น โขนของไทยมี ลัก ษณะหลายอย่ า ง
เหมือนกับมหรสพละครราของอินเดีย ชื่ อว่ า “กถักฬิ ”
แสดงกลางแจ้ งบนพื้นดิน ไม่ มีหลังคาคลุม ซึ่ งน่ าจะ
เป็ นที่มาของโขนกลางแปลงที่ไ ด้ พัฒนาขึ้นจนเป็ น
โขนโรงนอกหรื อโขนนั่งราว โขนหน้ าจอ โขนโรงใน
และโขนฉาก
3.2 อิทธิพลของวัฒนธรรมจีนต่ อสั งคมไทย
1. ภาษาและวรรณกรรม
ภาษาจีนบางคากลมกลืนเข้ ากับภาษาไทยจนกลายเป็ นภาษาที่ใช้
ในชีวติ ประจาวัน เช่ น เซ้ ง แซยิด ยีห่ ้ อ
ส่ วนวรรณกรรมที่มีชื่อเสี ยงของจีน
เช่ น สามก๊ ก แปลขึ้น ในสมั ย รั ช กาลที่ 1 ซึ่ ง
เป็ นวรรณกรรมยอดนิยมที่ได้ รับการยกย่ อง
จนถึงปัจจุบัน

เล่าปี่ กวนอู เตียวหุย ตัวละครในเรื่ อง สามก๊ก


2. ความเชื่ อทางศาสนา
คนไทยเชื้ อ สายจี น ได้ รั บ ความเชื่ อ
ทางศาสนา พิธีกรรมทางศาสนาเข้ ามาปฏิบัติ
และสื บทอดจนถึงปัจจุบัน เช่ น การนับถือเจ้ า
การบู ช าบรรพบุ รุ ษ การไหว้ พ ระจั น ทร์
เทศกาลกินเจ พิธีเช็งเม้ ง พิธีกงเต๊ ก

เจ้ าแม่ กวนอิม


3. ศิลปกรรม
ศิ ลปะการทาเครื่ องสั งคโลกของจีนเผยแพร่ เข้ ามาในไทย
ตั้งแต่ สมัยสุ โขทัย ยุคที่ศิลปกรรมจีนเฟื่ องฟูที่สุด คือ ในสมัยรัชกาล
ที่ 3 โดยทรงนาเข้ ามาผสมผสานการก่ อสร้ าง โดยเฉพาะโบสถ์ วิ หาร
ที่เรียกว่ า แบบพระราชนิยม ซึ่งเลิกใช้ ช่อฟ้ า ใบระกา หางหงส์ แต่ นา
เครื่ องปั้นดินเผาและถ้ วยชามจีนมาประดับ
4. นาฏกรรม
ศิ ลปะการแสดงงิ้วของจีน ได้ เผยแพร่ เข้ ามาในไทย
และเป็ นทีน่ ิยมของคนไทยเชื้อสายจีนมาจนปัจจุบัน
5. อาหารการกิน
อาหารจีนที่มีบทบาทในวัฒนธรรมไทย
เช่ น ขนมจั น อั บ ในพิ ธี แ ต่ งงาน ก๋ วยเตี๋ ย ว ที่
กลายเป็ นอาหารหลั ก ของไทย นอกจากนี้ ยั ง มี
ข้ าวต้ มกุ๊ย ผัดซีอวิ๊ ซาลาเปา ขนมจีบ ทีไ่ ด้ รับความ
นิยมอย่ างล้นหลาม
กิจกรรม
สามารถเลือกได้ใน Folder ที่ 7

You might also like