You are on page 1of 3

เลขยกกำลัง

1.) ความหมายของเลขยกกำลัง

ถ้า a แทนจำนวนใด ๆ และ n แทนจำนวนเต็มบวกแล้ว


n
a = a×a×a×…×a

n ตัว
n
ข้อตกลง : a เรียกว่า เลขยกกำลังที่มี a เป็ นฐาน และ n เป็ นเลขชี้กำลัง

2.) การดำเนินการของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็มบวก มีหลักการดังนี้

2.1) สมบัติการคูณเลขยกกำลังเมื่อเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็มบวก

2.1.1) ถ้า a แทนจำนวนใด ๆ และ n แทนจำนวนเต็มบวกแล้ว


n
a = a×a×a×…×a

n ตัว

2.1.2) ถ้า a แทนจำนวนใด ๆ และ m , n แทนจำนวเต็มบวกแล้ว


m n m+n
a × a = a

2.2) สมบัติการหารเลขยกกำลังเมื่อเลขชี้กำลังเป็ นจำนวนเต็มบวก

2.2.1) ถ้า a แทนจำนวนใด ๆ โดยที่ a ≠ 0 และ m , n แทนจำนวเต็มบวกแล้ว


m
m n a m–n
a ÷ a = a
n =a

2.2.2) ถ้า a แทนจำนวนใด ๆ โดยที่ a ≠ 0 แล้ว


0
a = 1

2.2.3) ถ้า a แทนจำนวนใด ๆ โดยที่ a ≠ 0 และ n แทนจำนวนเต็มบวกแล้ว


-n 1
a = a
n

2.3) สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกำลัง

2.3.1) ถ้า a แทนจำนวนใด ๆ และ m , n แทนจำนวนเต็มบวกแล้ว


m n m×n
(a ) = a

2.3.2) ถ้า a , b แทนจำนวนใด ๆ และ n แทนจำนวนเต็มบวกแล้ว


n n n
(a × b) = a × b

2.3.3) ถ้า a , b แทนจำนวนใด ๆ โดยที่ b ≠ 0 และ n แทนจำนวนเต็มบวก


แล้ว
n n
a a
( )= n
b b

3.) การเขียนจำนวนที่มีค่ามาก ๆ หรือ จำนวนที่มีค่าน้อย ๆ ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์


วิทยาศาสตร์

การเขียนจำนวนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ (Scientific Natation) หมายถึง การ


เขียนในจำนวนในรูปทั่วไป เป็ น A × 10 เมื่อ 1 ≤ A ‹ 10 และ n เป็ นจำนวนเต็ม
n

ตัวอย่าง จงเขียนผลลัพธ์ต่อไปนี้ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์

1.) (3 × 10 ) – (110 × 10 ) = (3× 10 ) – (1.1 × 10 × 10 )


32 30 32 2 30

= (3× 10 ) – (1.1 × 10 )
32 32

= (3 – 1.1) × 10
32

= 1.9 × 10
32

ดังนั้น (3 × 10 ) – (110 × 10 ) = 1.9 × 10


32 30 32
2.) (1.3 × 10 ) + (27 × 10 ) = (1.3 × 10 ) + (2.7 × 10 )
27 26 27 27

27
= (1.3 + 2.7) × 10

= 4 × 10
27

ดังนั้น (1.3 × 10 ) + (27 × 10 ) = 4 × 10


27 26 27

( 1.4 ×10 6 ) + ( 2.6 ×106 ) ( 1.4 +2.6 ) ×106


3.) 2× 10
2
=
2 ×10
2

6
4 × 10
¿ 2
2 ×10

¿ ( 4 ÷2 ) ×10 6−2

4
¿=2× 10

You might also like