You are on page 1of 9

3.

4 ฟงกชันตรีโกณมิติของมุม
จุดประสงคการเรียนรูหัวขอ 3.4 จากที่กลาวมาในหัวขอที่ 3.1 – 3.3 ผูเขียนไดกลาวถึงฟงกชันตรีโกณมิติ
เมื่อนักเรียนเรียนจบหนวยนี้ ของจํานวนจริงโดยนิยามจากวงกลมหนึ่งหนวย สําหรับในหัวขอนี้ผูเขียนจะได
แลวนักเรียนสามารถ กลาวถึงฟงกชันตรีโกณมิติของมุม ดังตอไปนี้
1. เปลี่ยนขนาดของมุมในหนวย (1) มุมและการวัดมุม
องศาใหเปนหนวยเรเดียน และ
Q
เปลี่ยนขนาดของมุมในหนวย
เรเดียนใหเปนหนวยองศา A P
2. บอกคาของฟงกชันตรีโกณมิติ A P
ของมุมบางมุม เชน 0°, ±30°, Q
±45°, ±60°,±90°,±180°,±270°
3. หาคาของฟงกชันตรีโกณมิติ
ถาหมุนสวนของเสนตรง AP รอบจุด A ไปอยูในแนว AQ สิ่งที่เกิดขึ้น
ของมุมของรูปสามเหลี่ยมมุม
เรียกวามุม และเรียกสวนที่เกี่ยวของกับมุมดังนี้
ฉากเมื่อกําหนดความยาวของ
ดานให เรียกจุด A วา จุดยอด (Vertex) ของมุม
4. แกโจทยปญ หาเกี่ยวกับรูป เรียกสวนของเสนตรง AP วา ดานเริ่มตน (Initial side) ของมุม
สามเหลี่ยมมุมฉาก โดยอาศัย เรียกสวนของเสนตรง AQ วา ดานสิ้นสุด (terminal side) ของมุม
ฟงกชันตรีโกณมิติ หนวยในการวัดมุมที่รูจักกันแลวคือ องศา ( ° ) โดยถือวามุมที่เกิดจาก
การหมุนสวนของเสนตรงไปครบหนึ่งรอบมีขนาด 360° และ แบงหนวยองศา
ออกเปนหนวยยอยคือ ลิปดา ( ′ ) และฟลิปดา (″) ดังนี้
1° = 60′
1′= 60″

หนวยการวัดมุมที่สําคัญอีกหนวยหนึ่งคือ เรเดียน (radian)


มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมซึ่งรองรับ
r ดวยสวนโคงของวงกลมที่ยาวเทากับรัศมี
O r ของวงกลมนั้ น ถื อ ว า เป น มุ ม ที่ มี ข นาด 1
เรเดียน
r

เนื่องจากวงกลมที่มีรัศมียาว r หนวยจะมีเสนรอบวงยาว 2πr หนวย


ดังนั้นมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมซึ่งรองรับดวยสวนโคงของวงกลมที่ยาว 2πr
2πr
หนวย จึงมีขนาด เรเดียน หรือ 2π เรเดียน และมุมที่จุดศูนยกลางของ
r
πr
วงกลมซึ่งรองรับดวยสวนโคงครึ่งวงกลมที่ยาว πr หนวย จะมีขนาด
r
เรเดียน หรือ π เรเดียน
หมายเหตุ จะเห็นวาสําหรับมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมรัศมี r หนวยซึ่งรองรับดวย
a
สําหรับวงกลมรัศมี r หนวย สวนโคงของวงกลมที่ยาว a หนวย จะมีขนาด เรเดียน และถาใหขนาดของ
r
ซึ่งรองรับดวยสวนโคงของวงกลม
มุมดังกลาวเปน θ เรเดียน จะไดวา θ = a
a r
ที่ยาว a หนวย แลว θ =
r

บทที่ 3 ฟงกชันตรีโกณมิติ • 113


เนื่องจากมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมรัศมี r หนวย ที่ไดจากการหมุนรัศมี
ไปครบ 1 รอบ มีขนาด 2π เรเดียน แตมีดังกลาวเมื่อวัดเปนองศาได 360 องศา
จะไดวา ดังนั้น 1 องศา =
π
เรเดียน ≈ 0 . 01745 เรเดียน
360 องศา = 2π เรเดียน 180
180
หรือ และ 1 เรเดียน = องศา ≈ 57 °1 8 ′
π
180 องศา = π เรเดียน
ตัวอยาง 14 จงเปลี่ยน 12 เรเดียนใหเปนองศา
วิธีทํา เนื่องจาก π เรเดียน = 180 องศา
ดังนั้น 12 เรเดียน = 12 × 180
π
องศา
≈ 90
3 . 1416
องศา
≈ 28 . 65 องศา
≈ 28 °3 9 ′

ตัวอยาง 15 จงเปลี่ยน 75° ใหเปนเรเดียน


วิธีทํา เนื่องจาก 180 องศา = π เรเดียน
π
ดังนั้น 75 ° = 75 × เรเดียน
180

= เรเดียน
12

เนื่องจากมุมที่กลาวถึงในที่นี้ เกิดจากการหมุนสวนของเสนตรงไปจากแนว
เดิม ซึ่งการหมุนสวนของเสนตรงนั้นมีไดสองแบบ คือ หมุนทวนเข็มนาฬิกา
และหมุนตามเข็มนาฬิกา การบอกขนาดของมุมมีขอตกลงวา ถาหมุนสวนของ
เสนตรงทวนเข็มนาฬิกา จะแสดงขนาดของมุมดวยจํานวนบวก ถาหมุนสวน
ของเสนตรงตามเข็มนาฬิกาจะแสดงขนาดของมุมดวยจํานวนลบ

คําวา radian ถูกนํามาใช


กิจกรรม 9
เมื่อ ราวประมาณ พ.ศ.2414 โดย
เจมส ธอมสัน ซึ่งปรากฏเปนสิ่งพิมพ 1. จงเปลี่ยนมุมตอไปนี้ จากองศาใหเปนเรเดียน
ในขอสอบของเขาที่ Queen ‘s 1) 30° 2) 120°
College ใน Belfast 3) – 135° 4) 350°
(ตอบเปนทศนิยม 2 ตําแหนง)
5) 40 °1 0 ′2 5 ′′ 6) 73 °4 0 ′4 0 ′′
(ตอบเปนทศนิยม 2 ตําแหนง) (ตอบเปนทศนิยม 2 ตําแหนง)
2. จงเปลี่ยนมุมตอไปนี้ จากหนวยเรเดียนใหเปนองศา
1. 5π 2. −2π
6 3
3. π 4. −3π
12 4
5. 3.14 6. 10.25

114 • หนวยที่ 3.4 ฟงกชันตรีโกณมิติของมุม


(2) ฟงกชันตรีโกณมิติของมุม
ฟงกชันตรีโกณมิติที่กลาวมาแลวนั้น เปนฟงกชันของจํานวนจริงตอไปนี้
จะพิจารณาถึงฟงกชันตรีโกณมิติของมุม
เมื่อจุดยอดของมุม ๆ หนึ่งอยูที่จุด (0 , 0) และดานเริ่มตนของมุมนั้น
ทาบไปตามแกน X ทางบวก จะกลาววามุมนั้นอยูใน ตําแหนงมาตรฐาน
(Standard position)
สมมุติวามีมุม ๆ หนึ่งมีขนาด θ เรเดียน อยูในตําแหนงมาตรฐานดังรูป
Y โดยที่ ส ว นโค ง ของวงกลมหนึ่ ง
หนวยที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางขนาด
θ 1 เรเดียนนั้นจะตองยาว 1 หนวย
θ ดังนั้น สวนโคงของวงกลมหนึ่งหนวยที่
O (1,0)
รองรั บ มุ ม ที่ จุ ด ศู น ย ก ลางขนาด θ
เรเดียน จึงยาว θ หนวย
จะเห็นวาจุดที่ดานสิ้นสุดของมุม
ขนาด θ เรเดียนตัดกับวงกลมหนึ่งหนวยนั้นจะเปนจุดเดียวกันกับจุดปลายสวน
π
โคงที่ยาว θ หนวย เชน จุดที่ดานสิ้นสุดของมุม − เรเดียน ตัดกับวงกลม
4
π
หนึ่งหนวย คือ จุด ⎛⎜ 2
,− 2 ⎞
⎟ ซึ่งเปนจุดเดียวกับจุดปลายสวนโคงที่ยาว −
⎝ 2 2 ⎠ 4
หนวย
ดังนั้นเมื่อกําหนดมุมขนาด θ เรเดียนใหหนึ่งมุม จะหาจุดที่ดานสิ้นสุดของ
มุมนั้นตัดกับวงกลมหนึ่งหนวยไดเพียงจุดเดียว และจุดนั้นจะเปนจุดปลายสวน
โคงที่ยาว θ หนวยดวย หรือกลาวไดวา สวนโคงของวงกลมหนึ่งหนวยที่รองรับ
มุม θ เรเดียนจะยาว θ หนวย จะเห็นไดวาไมวาจะใชวิธีวัดมุมหรือวัดความยาว
สว นโคง ของวงกลม จุ ดที่ ด า นสิ้ น สุ ด ของมุ ม ตั ด กั บวงกลมหนึ่ งหน ว ยจะเป น
จุดเดียวกับจุดปลายของสวนโคง จึงสรุปไดวา ไมวาจะนิยามฟงกชันตรีโกณมิติ
ในแงของมุม หรือในแงของความยาวสวนโคงของวงกลมหนึ่งหนวยที่รองรับมุม
ค า ของฟ ง ก ชั น ตรี โ กณมิ ติ ข องจํ า นวนเหล า นั้ น จะมี ค า เท า กั น ดั ง นั้ น cosθ
อาจหมายถึง cos ของมุมที่มีขนาด θ เรเดียน หรือ cos ของจํานวนจริง θ ก็ได
เนื่องจากหนวยในการวัดมุมที่นิยมใชกันนั้นมีอยูสองหนวย คือ เรเดียน
และ องศา จากที่กลาวแลวขางตนจะเห็นวาเมื่อหนวยของมุมซึ่งอยูในตําแหนง
มาตรฐานมี ห น ว ยเป น เรเดี ย น จํ า นวนที่ แ สดงค า ของมุ ม นั้ น จะเป น จํ า นวน
เดียวกับจํานวนจริงที่แทนความยาวของสวนโคงบนวงกลมหนึ่งหนวยที่รองรับ
มุมนั้น ดังนั้น เมื่อตองการหาคาของฟงกชันตรีโกณมิติของมุม ที่มีหนวยเปน
เรเดียนจึงหาไดตามที่กลาวมาแลว สวนการหาคาของฟงกชันตรีโกณมิติของมุม
ที่มีหนวยเปนองศานั้น อาจหาไดโดยการเปลี่ยนคาของมุมจากหนวยองศาให
เปนเรเดียนกอน แลวจึงหาคาของฟงกชันนั้นเชนเดียวกับการหาคาของฟงกชัน
ตรีโกณมิติของจํานวนจริงทั่ว ๆ ไป

บทที่ 3 ฟงกชันตรีโกณมิติ • 115


ตัวอยาง 16 จงหาคาของ sin60°
วิธีทํา เพราะวา 60 ° = 3π เรเดียน
ดังนัน้ sin 60 ° = sin π
3
= 2
3

ตัวอยาง 17 จงหาคาของ cos ec (− 405 °)

cos ec (− 405 °) =
1
วิธีทํา เนื่องจาก
sin (− 405 °)
และ sin (− 405 °) = − sin 405 °
= − sin (360 ° + 45 °)
= − sin 45 °
= − sin π
4

=− 2
2

cos ec (− 405 °) =
1 2
ดังนั้น =− =− 2
− 2
2 2

ตัวอยาง 18 จงหาคาของ cos 240 ° cos 120 ° − sin 120 ° cos 150 °
วิธีทํา เนื่องจาก cos 240 ° = cos (180 ° + 60 °)
= − cos 60 ° = − 1
2
cos 120 ° = cos (180 ° − 60 °)
= − cos 60 °
= − 12
sin 120 ° = sin (180 ° − 60 °)
= sin 60 °
= 2
3

cos 150 ° = cos (180 ° − 30 °)


= − cos 30 °
3
=−
2

ดังนั้น cos 240 ° cos 120 ° − sin 120 ° cos 150 °

= − ( 12 )(− 12 ) − ⎛⎜⎝ 23 ⎞⎟⎠⎛⎜⎝ − 2


3 ⎞


= 1
4
+ 3
4
=1

116 • หนวยที่ 3.4 ฟงกชันตรีโกณมิติของมุม


หน ว ยการวัด มุ ม แบบองศา เชื่อ วา เริ่ม ตน ใชใ นสมั ย
บาบิโลเนีย ที่ใชระบบตัวเลขฐาน 60 การวัดมุมแบบองศา
อาศัยการแบงวงกลมออกเปน 360 สวน โดยมีหลักฐาน
ทางประวัติศาสตรที่พอเชื่อไดวาชาวบาบิโลเนียใชวิธีการ
วัดมุมนี้โดยอาศัยพื้นฐานจากความใกลเคียงกับหนวยการ
วัดเวลาที่กําหนดให 1 ป มี 365 วัน
ปจจุบันเราเลิกใชระบบฐาน 60 แลวแตการแบงวงกลม
ออกเปน 360 สวนยังคงใชอยู ซึ่งอาจเปนเพราะขอปฏิบัตินี้
ได ห ยั่ ง ลึ ก ลงไปในชี วิ ต ประจํ า วั น จนเกิ ด ความเคยชิ น
โดยเฉพาะการใชงานในหนวยของเวลาซึ่งใชการแบง 1
ชั่วโมงออกเปน 60 นาที และ 1 นาที เปน 60 วินาที

สําหรับคําวา degree มีตนกําเนิดในกรีก โดยกรีกใชคําวา µοιρα


(moira)ตอมาชาวอาหรั บไดแปลเปนคํา วา daraja (คล ายกับภาษาฮิบ รู
dar’ggah ซึ่งแปลวา ขั้นบันไดหรือมาตรา ) และถูกแปลเปนภาษาลาตินวา
de gradus ซึ่งเปนที่มาของคําวา degree
กรีกกําหนดให 601 ของ 1 องศา วา first part และ 601 ของ first part
วา second part สําหรับภาษาลาตินเรียก first part วา pars minuta
prima (first small part) และ second part วา pars minuta secunda
(second small part) ซึ่งคําทั้งสองก็เปนที่มาของคําวา minute (ลิปดา ,
นาที) และ second (ฟลิปดา,วินาที)

กิจกรรม10

1. จงหาคาของ
1) cos420° 2) sin390°
3) csc540° 4) sin(-135°)
5) tan(-210°) 6) cot(- 405°)
2. จงหาคาของ
1) cos (− 330 °) sin 420 ° − tan 225 ° cot 675 °
2) sin 300 ° ⋅ tan 240 ° ⋅ sec (− 765 °) cos (− 540 °)
3) cos 270 ° sec 45 ° + cos 30 ° tan 60 ° − cos ec 45 ° sec 45 °
cos 20 °
4) cot 20 ° −
sin 20 °
cot (− 405 °) + cos (− 780 °)
5)
cos ec (− 390 °)
2 sin (− 330 °) + tan (− 405 °)
6)
cot 2 225 °

บทที่ 3 ฟงกชันตรีโกณมิติ • 117


(3) ฟงกชันตรีโกณมิติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ประโยชนสําคัญของการศึกษาวิชาตรีโกณมิติอยางหนึ่งคือ การนําความรูไป
ใชในการหาสวนตาง ๆ ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก พิจารณารูปดานลาง
Y B จากรูปกําหนดให ABC เปนรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีมุม C เปน
มุมฉาก ดังนั้น ∠BAC < 90 ° ใหa , b , c เปนความยาวของ
D
ดานตรงขามมุม A , B , C ตามลําดับ วางรูปสามเหลี่ยมให
A ∠BAC อยูในตําแหนงมาตรฐานดังรูป สวนโคงของวงกลมหนึ่ง
X
(-1, 0) O E F C หนวยที่รองรับมุม A คือสวนโคง FD
ดังนั้น sinA = sin (ความยาวของสวนโคง FD) = DE
cosA = cos (ความยาวของสวนโคง FD) = AE
เนื่องจากรูปสามเหลี่ยม ADE และรูปสามเหลี่ยม ABC เปนรูปสามเหลี่ยม
DE BC
คลาย ดังนั้น = และ AE = AC แต AD = 1
AD AB AD AB
จะไดวา DE = = และ AE = AC = b
BC a
AB c AB c
a
a b sin A a
นั่นคือ sin A = , cos A = และ tan A = = c
b
=
c c cos A b
c
จากที่กลาวมาจึงสามารถสรุปไดวา
sin A =
¤ÇÒÁÂÒǢͧ ÁÁØÁA
´éÒ¹µÃ§¢éÒ สําหรับคาของฟงกชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ของมุม A
¤ÇÒÁÂÒǢͧ´éÒ¹µÃ§¢éÒÁÁØÁ©Ò
ก็จะเปนสวนกลับของคาของฟงกชันทั้งสามดังนี้
¤ÇÒÁÂÒǢͧ ÁØÁA
´éÒ¹»ÃЪԴ
cos A = ¤ÇÒÁÂÒǢͧ ÁÁØÁ©Ò
´éÒ¹µÃ§¢éÒ
¤ÇÒÁÂÒǢͧ´éÒ¹µÃ§¢éÒÁÁØÁ©Ò cos A =
¤ÇÒÁÂÒǢͧ
´éÒ¹µÃ§¢éÒ
ÁÁØÁA
¤ÇÒÁÂÒǢͧ ´éÒ¹µÃ§¢éÒÁÁØÁ
tan A = ¤ÇÒÁÂÒǢͧ ÁÁØÁ©Ò
´éÒ¹µÃ§¢éÒ
¤ÇÒÁÂÒǢͧ ´éÒ¹»ÃЪԴ
ÁØÁA sec A =
¤ÇÒÁÂÒǢͧ
´éÒ¹»ÃЪԴ
ÁØÁA
¤ÇÒÁÂÒǢͧ ÁØÁA
´éÒ¹»ÃЪԴ
cot A =
¤ÇÒÁÂÒǢͧ
´éÒ¹µÃ§¢éÒ
ÁÁØÁ
สมการขางตนมีประโยชนอยางมากในการหาสวนตาง ๆ ของรูปสามเหลี่ยม
มุมฉากดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง 18 รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มี C เปนมุมฉาก AC ยาว 4 หนวย และ


มุม A มีขนาด 30° จงหาความยาวของดานที่เหลือของรูปสามเหลี่ยมนี้
a
B วิธีทํา เนื่องจาก tan 30 ° =
b

a
c ดังนั้น a = 4tan 30° และ เนืองจาก cos 30 ° =
b
4 c
30° = 4 4
C
b=4
A 3 ดังนั้น c= =
cos 30 ° 3
4 3 2
= ≈ 2 . 309
3 8 3
= ≈ 4 . 618
3

118 • หนวยที่ 3.4 ฟงกชันตรีโกณมิติของมุม


ตัวอยาง 19 นักสํารวจตองการวัดความยาวของแมน้ําสายหนึ่ง ดังรูป ณ
จุด C ตั้งฉากกับจุด A และกําหนดใหความยาว AC เปนความยาวของ
แมน้ําสายนี้ เมื่อเขาวัดความยาวจากจุด C ไปยังจุด B ที่เขายืนอยูพบวามี
ความยาว 200 เมตร และ ณ จุด นั้นทํามุมกับจุด A ขนาด 20°
(กําหนดให tan20° = 0.3640)

วิธีทํา กําหนดให β = 20° และจาก tan β =


b
a
b
ดังนั้น tan 20 ° =
200
b = 200 tan 20° ≈ 72 . 79
ดังนั้น แมน้ําสายนี้มีความยาวประมาณ 72 เมตร
12
ตัวอยาง 20 กําหนดให cot A = − เมื่อ 0 ≤ A ≤ 2π จงหาคาของ
5
cos A
วิธีทํา การที่โจทยกําหนดให cot A เปนจํานวนลบนั้น แสดงวาคา
⎛ cos A ⎞
ของ sinA และ cosA ตองมีเครื่องหมายตางกัน ⎜Q cot A = ⎟
⎝ sin A ⎠
ดังนั้นมุม A ตองเปนมุมในจตุภาคที่ 2 หรือ 4
กรณีที่ 1 ถามุม A เปนมุมในจตุภาคที่ 2
12
จาก cot A = − ถาไมพิจารณาเครื่องหมายลบ เราสามารถ
5
นําขอมูลดังกลาว มาเขียนในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากได ดังรูป และ
13
12 จากความรูเกี่ยวกับสามเหลี่ยมมุมฉากจะไดความยาวดานตรงขาม
-5 A มุมฉากเทากับ 12 2 + 5 2 = 169 = 13
แตเนื่องจาก A เปนมุมที่อยูในจตุภาค 2 ดังนั้น คาsinA
−12
ตองเปนบวก และ cosA ตองเปนจํานวนลบ ดังนั้น cos A =
13
กรณีที่ 2 ถามุม A เปนมุมในจตุภาคที่ 4
ใชแนวคิดเชนเดียวกับกรณีที่ 1 แตแตกตางกันตรงที่ คาsinA
12
ตองเปนลบ และ cosA ตองเปนจํานวนบวก ดังนั้น cos A =
13

A 5
-12
13

บทที่ 3 ฟงกชันตรีโกณมิติ • 119


กิจกรรม11

1. จงเขียนอัตราสวนตรีโกณมิติทั้ง 6 เมื่อกําหนดรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตอไปนี้
3

1 5
4
θ θ
1) 2)

θ
4
2 3 θ

3)
4) 2

2. จงใชรูปสามเหลี่ยมดานลางคํานวณหาสิ่งตาง ๆที่โจทยแตละขอกําหนดให
1) b= 5 , α = 20° ; จงหา a , c และ β
2) a= 6 , α = 40° ; จงหา b , c และ β
3) b= 4 , β = 20° ; จงหา a , c และα
4) a= 5 , b = 3 ; จงหา c , α และ β
5) a= 2 , c = 5 ; จงหา b , α และ β

3. จงหาฟงกชันตรีโกณมิติที่เหลือจากเงื่อนไขที่กําหนดใหตอไปนี้
1) sin θ = 53 ; θ อยูในจตุภาคที่ 2

2) cos ec θ = 54 ; θ อยูในจตุภาคที่ 2
3) cot θ = − 4 ; θ อยูในจตุภาคที่ 2
7
4) sec θ = − 25 ; cot θ > 0
24

4. จงหาคา cos θ ถา cos ec θ = 13


5
และ tan θ < 0

แบบฝกหัด 3.4

1. จงหาวามุมที่วัดเปนเรเดียนตอไปนี้แตละมุมมีขนาดกี่องศา
1) 2π 2) − 5π 3) 11 π
3 6 5
4) 4π 5) 3

2. จงหาขนาดของมุมตอไปนี้ในหนวยเรเดียน
1) 300° 2) – 112° 40′ 3) – 315°
4) 880° 5) – 500°

120 • หนวยที่ 3.4 ฟงกชันตรีโกณมิติของมุม


3. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีมุมสองมุมกาง 36° และ 2π เรเดียน จงหาขนาดของมุมที่เหลือในหนวยเรเดียน
3

4. จงหาคาของฟงกชันตรีโกณมิติทุกฟงกชันของมุมตอไปนี้
1) 150° 2) 120° 3) 315°
4) –315° 5) 930°

5. จงหาคาของ
3 tan 2 135 ° − sec 2 300 ° tan (− 480 °) − sin (− 840 °)
2)
1)
2 sin 330 ° cos (− 390 °)
3) cos (− 765 °) sec (− 540 °) + tan (− 930 °) cos ec 495 °
4) cos (− 330 °) sin 420 ° − tan 225 ° cot 675 °

6. ถารูปสามเหลี่ยม ABC มี C เปนมุมฉาก ลากเสนจาก C มาตั้งฉากกับ AB ที่จุด D ดาน AC และ BC


ยาว 10 และ 12 หนวยตามลําดับ จงหาคาของ sinA , cosA , tanA , sinB , cosB , tanB ความยาว
ดาน CD และดาน DB

7. มีจํานวนจริง θ ใดหรือไมที่ทําให sec θ < 1

8. มีจํานวนจริง θ ใดหรือไมที่ 0≤θ< π


2
แลวทําให tanθ = 5

9. ถา sec 2 x + tan 2 x = 7


2
และ π
2
<x<π จงหาคาของ cosx

1
10. ถา sin θ = และ secθ < 0 จงหาคาของ tanθ
3

11. ถา cotθ = 5 และ sinθ < 0 แลว cosθ เทากับเทาใด

บทที่ 3 ฟงกชันตรีโกณมิติ • 121

You might also like