You are on page 1of 12

14/07/64

1305 213 Surveying

บทที่ 6 การรังวัดมุมและทิศทาง

สิทธา เจนศิริศักดิ์

ตาแหน่งของจุด
• กรณีงานรังวัดยีออเดติก (Geodetic Surveying)
• กรณีงานรังวัดพื้นระนาบ (Plane surveying)

Geocentric Coordinate System ระบบพิกัดฉากของการรังวัดพืน้ ระนาบ


2

1
14/07/64

ตาแหน่งของจุดในระบบพิกัดเฉพาะพื้นที่

Theodolite

The Great 3 foot Theodolite Classic mechanical theodolite


from 1785 by Ramsden from 1910 by Ertel

2
14/07/64

มุม
• มุมดิ่ง (Vertical angle)
• มุมราบ (Horizontal angle)

มุมดิ่ง (Vertical angle)

3
14/07/64

ทิศทางที่ใช้สาหรับอ้างอิงของมุมดิ่ง

มุมดิ่ง (Vertical angle) ที่ใช้ในการคานวณ


ปรับแก้ระยะทางตามความลาดเท (Slope
distance) หรือ การคานวณหาความสูง จะอ้างอิง
กับเส้นขอบฟ้า (Horizon)
• มุมสูง (Plus angle หรือ Up angle)
• มุมกด (Minus angle หรือ Down angle)

และจะอ้างอิงกับมุม เซนิธ (Zenith)


และมุมเนเดอร์ (Nadir)

จานองศาดิง่

4
14/07/64

มุมดิ่ง (Vertical angle)

Zenith

+ มุมเงย
- มุมก้ม

Direct and Reverse Positions

10

5
14/07/64

จากการวัดค่ามุมดิ่งด้วยกล้องทีโอโดไลท์
ค่ากล้องหน้าซ้าย เท่ากับ 47 49 56
ค่ากล้องหน้าขวา เท่ากับ 312 10 08
จงคานวณหาค่ามุมดิ่ง
ค่ามุมดิ่ง = (90 - 47 49 56) + (312 10 08 - 270)
2
Zenith Zenith
47 49 56 312 10 08
+ มุมเงย + มุมเงย
90 270

กล้องหน้าซ้าย กล้องหน้าขวา
11

ตัวอย่างการคานวณมุมดิ่ง

Zenith
E
ค่าอ่านจานองศา
สถานี เป้า หน้ากล้อง มุมดิ่ง มุมดิ่งเฉลี่ย + มุมเงย
ดิ่ง
E L 54 44 48 +35 15 12 +35 14 54 - มุมก้ม
G L 92 07 48 -02 07 48 -02 07 24
O
E R
G
305 14 36 +35 14 36
G R 267 53 00 -02 07 00

12

6
14/07/64

มุมราบ
(Horizontal angle)

13

มุมราบ - แนวเมอริเดียน (Meridian)


• เพื่อให้ทิศทางของแนวต่างๆ เป็นไปในระบบเดียวกัน จึงได้ทาการกาหนดแนวๆ หนึ่ง ขึ้นมาใช้เป็น
แนวอ้างอิง แนวอ้างอิงที่กาหนดขึ้นมานี้เรียกว่า แนวเมอริเดียน

ทิศทางที่อ้างอิงกับแนวเมอริเดียน
14

7
14/07/64

แนวเมอริเดียน (Meridian)

• แนวเมอริเดียนจริง (True Meridian) หรือ แนวเมอริเดียนดารา


ศาสตร์ (Astronomic Meridian) แนวเมอริเดียนนี้จะผ่านขั้ว
เหนือ – ใต้ ของโลก
• แนวเมอริเดียนแผนที่ (Grid Meridian) ระบบพิกัดฉาก xy บน
พื้นระนาบ โดยมีแนวเมอริเดียนกลางของพื้นที่ตรงกับแนวเม
อริเดียนจริง และแนวเมอริเดียนแนวอื่นๆ ของพื้นที่จะขนานแนว
เมอริเดียนกลาง
• แนวเมอริเดียนแม่เหล็ก (Magnetic Meridian) แม่เหล็กมีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

15

ทิศทาง (Direction) N N
ในงานสารวจการบอกทิศทางนั้นมีอยู่สองลักษณะ B
240
• แอซิมัธ (Azimuth) หรือ Whole Circle Bearing
• แบริ่ง (Bearing) หรือ Quadrant Bearing ในการ 60
A ต่างกัน 180º
บอกทิศทางนั้นจะอยู่ในลักษณะที่ใช้แนวเหนือหรือ
แนวใต้เป็นหลัก และวัดมุมจากแนวเหนือหรือแนว Forward Azimuth กับ
แอซิมัธ (Azimuth)
Back Azimuth
ใต้นี้ไปหาตะวันออกหรือตะวันตก
N
B
Bearing OA = N37E W E
N 60
Bearing OB = S62E W
60 S
Bearing OC = S50W W E
A
Bearing OD = N20W
S
แบริ่ง (Bearing) Forward Bearing กับ Back Bearing
16

8
14/07/64

หา Azimuth และ Bearing ของแต่ละแนวในรูปข้างล่าง

แนว Azimuth Bearing


AB
BC
CD
DA

17

วิธีการหามุมราบและทิศทาง
• มุมสามารถทาการหาได้ทั้งวิธีโดยตรง
• วิธีโดยตรงใช้เครื่องมือ ได้แก่ Transit Sextant,
Theodolite หรือ Compass

18

9
14/07/64

A
ตัวอย่างการคานวณมุมราบ B

วิธีที่ 1
O
C
สถานี เป้า หน้ากล้อง ค่าอ่านจานองศา มุม มุมเฉลี่ย ค่าแก้ไข มุมราบแก้ไข
A L 00 00 00 30 20 00 30 19 54 +14 30 20 14
B L 30 20 00 70 10 00 70 09 54 +14 70 10 08
C L 100 30 00 259 29 48 259 29 30 +14 259 29 44
A L 359 59 48
O
A R 180 01 00 30 19 48
B R 210 20 48 70 09 48
C R 280 30 36 259 29 12
A R 179 59 48
 359 59 18
19

A
ตัวอย่างการคานวณมุมราบ B

วิธีที่ 2
O
C
สถานี เป้า หน้ากล้อง ค่าอ่านจานองศา ทิศทางเฉลี่ย มุมเฉลี่ย ค่าแก้ไข มุมราบแก้ไข
A L 00 00 00 00 00 30 30 19 54 +14 30 20 14
B L 30 20 00 30 20 24 70 09 54 +14 70 10 08
C L 100 30 00 100 30 18 259 29 30 +14 259 29 44
A L 359 59 48 359 59 48
O
A R 180 01 00
B R 210 20 48
C R 280 30 36
A R 179 59 48
 359 59 18
20

10
14/07/64

แบบฝึกหัด 1 A
C
คานวนมุมราบ
O
B

สถานี เป้า หน้ากล้อง ค่าอ่านจานองศา มุม มุมเฉลี่ย ค่าแก้ไข มุมราบแก้ไข


A L 00 00 00
B L 80 35 45
C L 265 45 45
A L 00 00 01
O
A R 179 59 58
B R 260 35 43
C R 85 45 49
A R 180 00 02

21

แบบฝึกหัด 2 A
คานวนมุมราบ O B
C
สถานี เป้า หน้ากล้อง ค่าอ่านจานองศา มุม มุมเฉลี่ย ค่าแก้ไข มุมราบแก้ไข
A L 00 00 00
B L 50 10 00
C L 140 50 00
A L 359 59 48
O
A R 180 01 06
B R 230 10 48
C R 320 50 24
A R 179 59 48

22

11
14/07/64

แบบฝึกหัด - มุมดิ่ง

• จากการวัดค่ามุมดิ่งด้วยกล้องทีโอโดไลท์ ได้ค่ากล้องหน้าซ้ายเท่ากับ 374956 กล้องหน้าขวา


เท่ากับ 3221008 จงคานวณหาค่ามุมดิ่ง

23

12

You might also like