You are on page 1of 122

พิกัดและทิศทาง

การกําหนดตําแหน่ง
การบอกที่อยู่หรือที่นัดหมายใช้สื่อซึ่งกันและกันอย่างถูก
ต้องนั้น ระหว่างผู้สื่อต้องมีความรู้เกี่ยวกับตําแหน่งนัดพบ
ความจําเป็ นจึงต้องมีวิธีการกําหนดสถานที่ให้ชัดเจน ปกติ
นิยมใช้ชื่อเฉพาะของบริเวณที่รู้จักกันดีเป็ นจุดอ้างอิง เป็ น
เครื่องนําทาง การที่จะใช้ได้เป็ นผลดีจะเกิดขึ้น เฉพาะตัวเมือง
ที่มีเส้นทางขนาดใหญ่
สําหรับกิจการทหารต้องการทราบตําแหน่ง เพื่อปฎิบัติ
ภารกิจต่างๆ ทั้งยามปกติและยามสงคราม องค์ประกอบของ
การบอกตําแหน่งที่ครบถ้วนสมบูรณ์มีลักษณะดังนี้
2
องค์ประกอบของการบอกตำแหน่ง
-ผู้ใช้ไม่จำเป็ นต้องเป็ นผู้รู้รายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่
และที่ตั้งมาก่อน
-ใช้ได้เช่นเดียวกันกับพื้นที่ขนาดใหญ่
-ใช้ได้กับแผนที่ทุกมาตราส่วน
-ทหารทุกคนสามารถเข้าใจ และใช้ตรงกันได้

3
ระบบที่ใช้ในการกำหนดตำแหน่ง
[ Position Reference System ]
ที่นิยมใช้มี 2 ระบบ
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Geographic Coordinates)
ระบบพิกัดกริด ( Grid Coordinates ) หรือ
ระบบพิกัด ยูทีเอ็ม-กริด ( UTM-GRID ) และ
ระบบกริดทางทหาร ( Military Grid ) หรือ
Military Grid Reference System :MGRS
4
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ ( Geographic Coordinates )
ระบบพิกัดภูมิศาสตร์เป็ นระบบพิกัดเก่าแก่ระบบ
หนึ่งซึ่งประกอบด้วย ชุดวงกลมสองลักษณะลากตัดกัน
เป็ นรูปตาข่ายครอบคลุมทั่วโลก ได้แก่ “ชุดวงกลมที่ลาก
ขนานกับเส้นศูนย์สูตร” (เส้นกึ่งกลางโลกแบ่งโลกเป็ นซีก
โลกเหนือและซีกโลกใต้ ) ในแนวทิศเหนือ-ใต้ เรียกว่า “เส้
นขนานละติจูด” ( Latitude ) หรือ “เส้นขนาน” วางตัวใน
แนวนอน และ
“ชุดวงกลมที่ลากตัด และตั้งฉากกับ
เส้นศูนย์สูตร”โดยผ่านขั้วโลกเหนือ-ขั้วโลกใต้ เรียกว่า
“เส้นเมอริเดียน”( Meridian ) วางตัวในแนวตั้ง 5
6
7
Pn

110 46˚N E 60
50
100 40
90 30
80 1 0 20
70 60
50 40 30 20 10 0

8
Ps
Latitude
ระยะเชิงมุมในทิศทางเหนือ-ใต้ ของเส้นศูนย์สูตร
คือละติจูด (Latitude) ของจุดนั้น วงกลมรอบโลกที่ขนาน
กับเส้นศูนย์สูตร เรียกว่า “เส้นรุ้ง : เส้นขนานละติจูด :
เส้นขนาน (Parallel of Latitude or Parallel)”
เส้นรอยตัดบนพื้นผิวพิภพที่เกิดจากการสมมุติใช้
พื้นราบตัดพิภพโดยให้พื้นราบนั้นตั้งได้ฉากกับแกนหมุน
ของพิภพเสมอ เส้นรอยตัดดังกล่าวนั้นคือ “เส้น
ละติจูด”หรือ “วงขนานละติจูด” นิยมเรียกสั้นๆ ว่า “เส้น
ขนาน”
9
“ละติจูดศูนย์องศา” คือเส้นรอยตัดบนพื้นผิวพิภพ
ที่เกิดจากพื้นราบที่ตั้งได้ฉากกับแกนหมุนตัดผ่าน
จุดศูนย์กลางของพิภพ เส้นรอยตัดเส้นนี้มีชื่อเรียกอีก
อย่างหนึ่งว่า “เส้นศูนย์สูตร”( Equator ) ซึ่งเป็ นวงขนาน
และ ละติจูดวงใหญ่ที่สุด
-การอ่านค่าของเส้นละติจูด หรือ การนับค่าระยะ
ห่างใช้บอกค่าเป็ น หน่วยค่ามุม หรือ ระยะเชิงมุม
“องศา” “ลิปดา” “ ฟิ ลิปดา” [ ° ′ ″ ] ประกอบ
ทิศทางเหนือ ( N ) หรือใต้ ( S ) จากเส้นศูนย์สูตร มีค่า
ตั้งแต่ 0°- 90°
10
-ที่จุดขั้วเหนือของพิภพ มีค่าละติจูดเท่ากับ 90 º N
และ ที่จุดขั้วใต้ของพิภพมีค่าละติจูดเท่ากับ 90 º S
-ระยะระหว่างเส้นละติจูด 1 องศา คิดเป็ นระยะทาง
บนผิวพิภพประมาณ 111 กิโลเมตร ( 69 ไมล์ ) และระยะ
เชิงมุม 1 ฟิ ลิปดา คิดเป็ นระยะประมาณ 30.48 เมตร
( 100 ฟุต )

11
N

S 12
Latitude : เส้นรุ้ง : เส้นขนาน : เส้นขนานละติจูด
- นับจากศูนย์สูตร ไปทางเหนือ (N)
มีค่าตั้งแต่ 0°- 90° N
และ
- นับจากศูนย์สูตร ไปทางใต้ (S)
มีค่าตั้งแต่ 0°- 90° S

13
14
Longitude
วงกลมที่เขียนรอบโลกให้ผ่านขั้วโลกเหนือ ขั้วโลกใต้
โดยตัดและตั้งฉากกับเส้นศูนย์สูตร เรียกว่า “เส้นแวง”
หรือ “เส้นเมอริเดียน” ( Meridian ) ซึ่งกำหนดให้เส้น
เมอริเดียนที่ผ่านหอดูดาวเมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ เป็ น
เส้นแวงหลัก หรือ เส้นเมอริเดียนหลัก ( Prime
Meridian )และนับเป็ นเส้นลองจิจูดที่ศูนย์องศา

15
การอ่านค่าของเส้นลองจิจูด หรือ การนับค่าระยะ
ห่างใช้บอกค่าเป็ น หน่วยค่ามุม หรือ ระยะเชิงมุม “องศา”
“ลิปดา” “ ฟิ ลิปดา” ° ′ ″ ประกอบทิศทางตะวันออก
( E ) หรือตะวันตก ( W ) จากเส้นเมอริเดียน มีค่าตั้งแต่ 0°-
180°

16
ระยะระหว่างเส้นลองจิจูด 1 องศา ตาม
เส้นศูนย์สูตร คิดเป็ นระยะทางบนผิวพิภพ ประมาณ 111
กิโลเมตร
( 69 ไมล์ ) และระยะเชิงมุม 1 ฟิ ลิปดา คิดเป็ นระยะประมาณ
30.48 เมตร ( 100 ฟุต ) แต่เนื่องจากเส้นลองจิจูดทุกเส้น
จะไปบรรจบกันที่จุดขั้วเหนือและขั้วใต้ของพิภพ ดังนั้น ระยะ
ระหว่างเส้นลองจิจูดจึงน้อยลงๆ เมื่อยิ่งห่างจาก
เส้นศูนย์สูตรออกไป

17
ทำไมเมืองกรีนิชถึงถูกตั้งให้เป็ นเมืองที่เป็ นเวลา
มาตรฐาน ??
นั่นก็เพราะว่า เวลาบนพื้นโลกแบ่งออกเป็ น 24 เขต
แต่ละเขตเทียบเท่าเวลา 1 ชั่วโมง เมืองซึ่งตั้งอยู่ทางทิศ
ตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงลอนดอน อยู่บนเส้นเมอริเดียน
ศูนย์องศา ทุกๆ 15 องศาของเส้นลองจิจูด ทางทิศตะวัน
ออกของเมืองกรีนิชเวลาจะเพิ่มขึ้น 1 ชั่วโมง
เวลามาตรฐานกรีนิช ( GMT:Greenwich Mean
Times ) หมายถึง เวลา ณ เมืองกรีนิช การเทียบเวลาของ
เมืองต่างๆ ทั่วโลก ขึ้นกับว่าเมืองนั้นจะอยู่ทางทิศตะวัน
ออกหรือตะวันตกของเมืองกรีนิช
18
19
Longitude : เส้นแวง : เส้นเมอริเดียน
- นับจากเส้นเมอริเดียนหลักไปทาง ตอ.( E )
มีค่าตั้งแต่ 0°- 180° E และ
- นับจากเส้นเมอริเดียนหลักไปทาง ตต.( W )
มีค่าตั้งแต่ 0°- 180° W

20
21
การอ่านค่าพิกัดภูมิศาสตร์

22
วิธีการบอกตำแหน่งของจุดใดๆบนแผนที่
เป็ นค่าพิกัดภูมิศาสตร์
พิกัดภูมิศาสตร์ จะแสดงไว้บนแผนที่มาตรฐาน
ทั่วๆ ไป และแผนที่บางชนิดจะมีเฉพาะระบบนี้เท่านั้นที่ใช้
ในการบอกตำแหน่งของจุดใดๆ บนแผนที่
เส้นขอบระวาง ( Neat Lines )ของแผนที่ภูมิประเทศ
แบบมาตรฐานที่ผลิตขึ้นในประเทศต่างๆ ทั่วโลก และโดย
เฉพาะแผนที่ประเทศไทย ชุด แอล 7018 และชุด 1501
ที่ กรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย ผลิตขึ้นนั้น
เส้นขอบบนและเส้นขอบล่าง เป็ นเส้นละติจูด ส่วนเส้นด้าน
ข้างซ้าย-ขวา จะเป็ นเส้นลองจิจูด 23
ค่าของเส้นละติจูด และลองจิจูด จะแสดงกำกับ
ไว้ที่มุมทั้ง 4 ของขอบระวางแผนที่ ตามแนวเส้นขอบระวาง
แผนที่ มีส่วนแบ่งย่อยของค่าละติจูด และลองจิจูด แสดงไว้
ทั้ง 4 ด้าน และถ้าต่อแนวเส้นตรงของขีดส่วนแบ่งย่อย
ดังกล่าวที่อยู่ตรงข้ามทั้ง 4 ด้านเข้าไปภายในขอบระวาง
แผนที่แล้วจะพบเครื่องหมาย “กากบาด”เล็กๆ (4จุด)
อันเป็ นส่วนตัดกันของขีดส่วนแบ่งย่อยละติจูด และลองจิจูด
สำหรับแผนที่ประเทศไทย ชุด L 7018 จะแสดงขีด
ส่วนแบ่งย่อยของละติจูด-ลองจิจูด นี้ไว้ทุกๆ 5 ลิปดา
(พร้อมค่ากำกับ) และทุกๆ 1 ลิปดา
24
การวัดเชิงมุม/นับระยะเชิงมุมของพิกัดภูมิศาสตร์
หน่วยนับค่าเชิงมุมโดยการแบ่งวงกลมออกเป็ น 360
ส่วนๆ ละ 1º จำนวน 1º แบ่งส่วนเป็ น 60′ และจำนวน
1′ แบ่งส่วนเป็ น 60″
การกำหนดค่ามุมประจำเป็ นละติจูด กำหนดค่า
ประจำที่เส้นศูนย์สูตรมีค่าเท่ากับศูนย์องศา ( 0º ) ค่า
ละติจูดจะเพิ่มจำนวนค่าที่มากขึ้นเรื่อยๆจนถึงขั้วโลกทั้ง
สองด้าน โดยที่จุดขั้วโลกจะมีค่า ละติจูดเท่ากับ 90 º N
และ 90 º S ซึ่ง N หรือ S เป็ นทิศทางของซีกโลกที่จุด
พิจารณาตั้งอยู่
25
เส้นศูนย์สูตร ถูกแบ่งด้วยเส้นเมอริเดียน จำนวน
360 เส้น จากจุดตัดของเส้นเมอริเดียนหลักกับ
เส้นศูนย์สูตร ถือเป็ น “จุดศูนย์กำเนิดพิกัดภูมิศาสตร์”
และจากจุดศูนย์กำเนิดนี้แบ่งระยะทางไปทางทิศตะวันออก
และทิศตะวันตกตามเส้นศูนย์สูตร โดยการนับค่าต่อเนื่อง
ถึงเส้นเมอริเดียน180º เส้นเมอริเดียนเหล่านี้จะเพิ่ม
จำนวนค่ามากขึ้นจนสิ้นสุดที่ 180ºE และ 180ºW ซึ่ง E
หรือ W เป็ นทิศทางของซีกโลกที่จุดพิจารณาจุดเดียวกับ
จุดพิจารณาค่าละติจูดตั้งอยู่ Pn

Prim
e
Me
180˚W 180˚E

ridi
an
Equator
26
Ps
การอ่านค่าพิกัดภูมิศาสตร์จากแผนที่ 1:50,000
 แผนที่ชุด L7018 เป็ นแผนที่ชุดใหม่ผลิตขึ้นทดแทน ชุด L7017
 พื้นหลักฐานทางดิ่ง : อ้างอิงระดับทะเลปานกลาง(รทก./MSL)เช่นเดิม

 พื้นหลักฐานทางราบ : ใช้ WGS 84 ( World Geodetic System 1984 )

 ขนาดของขอบระวาง(Format) เท่ากับ 15ʹ x 15ʹ

 ครอบคลุมพื้นที่ในภูมิประเทศจริง 750 ตร.กม.(โดยประมาณ)

 ครอบคลุมประเทศไทยทั้งสิ้น จำนวน 830 ระวาง

 รายละเอียดขอบระวางส่วนใหญ่เหมือนชุด L7017 ชื่อระวาง และราย


ละเอียดบางส่วนอาจเปลี่ยนแปลงไปบ้าง
 ข้อมูลแผนที่รวบรวมถึง พ.ศ.2542(1999)เริ่มพิมพ์ใช้งานมาตั้งแต่
พ.ศ.2545(2002)
27
แผนที่ ชุด L 7018 มาตราส่วน 1:50,000
Latitu Lat12˚45ʹ
-แสดงขนาดมาตรฐาน de
ของแผนที่มูลฐาน (Base
Map) ที่ผลิตโดย
ผท.ทหาร บก.ทท.

Longitu

Longitu
-แสดงเส้นขอบระวาง 27
ขอบบน-ล่าง = ละติจูต กม.

de

de
ขอบซ้าย-ขวา =ลองจิจูต

-แสดงการครอบคลุม
พื้นที่ในภูมิประเทศ
เท่ากับ 15′x 15′หรือ 27 Lat12˚30ʹ
เป็ นระยะทางประมาณ กม.
Long 101˚45ʹ Latitu Long 102˚00ʹ
27กม. x 27กม. de
คิดเป็ นเนื้อที่ 750
ตร.กม.(โดยประมาณ) FORMAT SIZE [SERIES-L7018 = 15′x 15′] 28
แผนที่ ชุด L 7018 มาตราส่วน 1:50,000 แสดงค่าพิกัดภูมิศาสตร์ทั้ง 4 มุม

29
แผนที่ ชุด L7018
SCALE 1:50,000

5′
-แสดงการลากเส้น
เชื่อมต่อแนวขีดย่อย
ผ่านขีดกากบาด 5′
ทั้ง4จุดบริเวณกลาง
แผ่นแผนที่

-แสดงแบ่งย่อยออก
เป็ นตาราง 5′x
5′(รวม9ตาราง)

11/27/2023 30
แผนที่ ชุด L 7018 มาตราส่วน 1:50,000

-แสดงแนวขีดแบ่งช่วง1 ลิปดา
ของละติจูต(แนวทิศเหนือ)และ
ลองจิจูต(แนวทิศตะวันออก)

1ลิปดา
11/27/2023 31
แผนที่ ชุด L 7018 มาตราส่วน 1:50,000

-แสดงการลากเส้น
เชื่อมต่อช่วง 5 ลิปดา
ผ่านกากบาดในแผ่น
แผนที่

-จะได้กรอบของราย
ละเอียดบนแผนที่ที่มี
ขนาด 5x5 ลิปดา ซึ่ง
ครอบคลุมพื้นที่ใน
ภูมิประเทศ 84
ตร.กม.(โดยประมาณ)

32
แผนที่ ชุด L 7018 มาตราส่วน 1:50,000
-แสดงการ
ลากเส้นเชื่อม
ต่อช่วง 5
ลิปดาผ่าน
กากบาดใน
แผ่นแผนที่

-และการลาก
เส้นเชื่อมต่อ
ทุก 60
ช่วง1ลิปดา(6 ″
0ฟิ ลิปดา)ผ่าน
แนวขีดย่อยใน 60
แผ่นแผนที่ ″

33
การหาค่าพิกัดภูมิศาสตร์ ณ จุดใดๆ ที่ต้องการ
ความละเอียดมากกว่าที่กำหนดไว้บนแผนที่มีวิธีการ
ดังนี้
ขีดเส้นตรงต่อเชื่อมจากเส้นกากบาทซึ่งเป็ นส่วนตัด
กันของละติจูด และลองจิจูดในแผ่นแผนที่จะปรากฏเป็ นรูป
สี่เหลี่ยมล้อมจุดที่พิจารณานั้นๆ
หาค่าละติจูด และลองจิจูดของกรอบรูปสี่เหลี่ยมที่
กล่าวถึงในข้อ 1 ก่อน โดยกำหนดพื้นที่ให้กระชับหรือแคบ
ลงมาจนรายละเอียดที่พิจารณานั้นตกอยู่ในกรอบ 5 x 5
ลิปดา (300 x 300 ฟิ ลิปดา) กรอบใดกรอบหนึ่งในจำนวน
9 กรอบ (ตามรูปที่ 3)
11/27/2023
จัดหาบรรทัดหรือสร้างขีดส่วนแบ่งบนริมแถบ
กระดาษ โดยขีดส่วนแบ่งบนบรรทัด บนแถบกระดาษนั้นจะ
แบ่งย่อยอย่างไรก็ได้แต่มีข้อจำกัดอยู่ว่า ความยาวตั้งแต่
ขีดศูนย์ถึงขีดสุดท้ายที่จะใช้ในการวัดหาค่าพิกัดตามวิธีนี้
นั้น จะต้องยาวกว่าช่วงระหว่างเส้นกรอบของรูปสี่เหลี่ยม
แต่สั้นกว่าความยาวของเส้นทแยงมุมของรูปสี่เหลี่ยม
ถ้าต้องการอ่านค่าให้ได้โดยตรงเพียง 1 ลิปดา ก็
แบ่งออกเป็ น 5ส่วน ถ้าต้องการอ่านได้โดยตรง 10 ฟิ ลิปดา
ก็แบ่งออกเป็ น 30 ส่วน และถ้าต้องการอ่านให้ได้โดยตรง
ละเอียดถึง 1 ฟิ ลิปดา ก็ต้องแบ่งเป็ น 300 ส่วน ตาม
ตัวอย่างในรูป
11/27/2023
จัดทำไม้บรรทัดแบ่งส่วน 300 ส่วน โดยใช้ความยาว
ไม้บรรทัดให้ขีดส่วนหนึ่งของขีดหลัก 0 กับ 300 ส่วน
ความยาวมากกว่า 18 ซม. ซึ่ง 300 ส่วน เป็ นความยาว
จำนวน 5′ ของระยะระหว่างคู่ละติจูด และลองจิจูด (1′
เท่ากับ 60″)
ลากเส้นตรงเชื่อมต่อขีดย่อยเป็ นกรอบล้อมรอบพื้นที่
จุดที่พิจารณาตั้งอยู่
หาค่าละติจูด และลองจิจูดทั้งสองคู่ ดังนี้ (จาก
ตัวอย่างแผนที่ชุด L7018 ระวาง บ.โขดหอย 5334-2)
-ละติจูด 12º 35′ 00″ N และ 12˚ 40′ 00″ N
-ลองจิจูด 101º 50′ 00″ E และ 101˚ 55′ 00″ E
11/27/2023
(รูปที่ 3)

Square
5ʹ X 5ʹ
300Units

37
(รูปที่ 3)

Square
5ʹ X 5ʹ
TO
1ʹ x 1ʹ
[300Units]

11/27/2023
วางไม้บรรทัดให้ขีดส่วนแบ่งหลัก 0 และ 300 วางทับ
เส้นละติจูด หรือ เส้นขนาน ค่าน้อยและค่ามากตามลำดับ
สำหรับซีกโลกเหนือและซีกโลกตะวันออกให้เอียงไม้บรรทัด
ระหว่างคู่เส้นละติจูดและระหว่างคู่เส้นเมอริเดียนไปทางขวา
เลื่อนไม้บรรทัดระหว่างคู่เส้นละติจูดซ้าย-ขวา และ
ระหว่างคู่เส้นเมอริเดียนขึ้น-ลง ให้ด้านข้างไม้บรรทัดด้าน
ขีดส่วนแบ่ง 0-300 ทับตรงจุดต้องการทราบค่าพิกัด ละติ
จูต-ลองจิจูต อย่างละเอียด
นำจำนวนค่าที่วัดได้จากไม้บรรทัดเปลี่ยนเป็ นจำนวน
ลิปดาและฟิ ลิปดา ตามลำดับ โดยใช้จำนวนที่วัดได้หารด้วย
60 ผลลัพธ์จำนวนเต็มและทศนิยมของค่าลิปดา สำหรับ
จำนวนทศนิยมให้นำค่าไปคูณด้วย 60 ผลลัพธ์คือค่าของฟิ
ลิปดา เช่น 75÷60 = 1.25 ลิปดา
(1.25-1= 0.25 ลิปดา)
0.25 x 60 = 15.0 ฟิ ลิปดา
นำผลจากการคำนวณข้อ 8 เพิ่มจำนวน ละติจูด
หรือลองจิจูดค่าน้อย แล้วแต่กรณี ผลลัพธ์เป็ นจำนวนค่า
ละติจูดหรือลองจิจูดพร้อมกำกับด้วย N หรือ E ของจุดที่
ต้องการทราบค่าพิกัดภูมิศาสตร์ละเอียดเพิ่มขึ้น
------------------------------------------------------
กรอบ 5 x 5 ลิบดา

ซีกโลกเหนือและ
ตะวันออก 0 26
0 27
0 2 80 2
90 3
00

2 40 25
ให้เอียงไม้บรรทัด 190
2 00 21
0 22
0 23
0

180

ระหว่าง................. า รอ่ า นค่ า 40 1


50 1
60 170

า งก 1 30 1

ทิศท
0
0 12
0 11
คู่เส้นเมอริเดียนไป 50
60
70
80
9 0 10

40
ทางขวา............ 0
10
20
30

และเลื่ อนขึ้น-ลง

การวัดหาจำนวนลองจิจูตโดยบรรทัด 300 ส่วน


0
30
90
02
กรอบ 5 x 5 ลิบดา

28
2 70
60
2
2 50
40
2
2 30
20
2
ซีกโลกเหนือและ

2 10
00
02
ตะวันออก

19
80
01
ให้เอียงไม้บรรทัด

17
601
ระหว่าง..............

50
01
14

านค่
30
...

01
12
ารอ่
10
คู่เส้นละติจูดไป
01
างก
10
ทิศท
90
ทางขวา............
80
70

และเลื่อนซ้าย-
60
50

ขวา
40
30
20
10
0

การวัดหาจำนวนละติจูตโดยบรรทัด 300 ส่วน


11/27/2023
กรอบ 5 x 5 ลิบดา

1
า นค่ า
า งก ารอ่
ทิศท

การวัดหาจำนวนลองจิจูดโดยบรรทัด 300 ส่วน


11/27/2023
การวัดหาจำนวนละติจูดโดยบรรทัด 300 ส่วน
กรอบ 5 x 5 ลิบดา
39˚ 20′ 00″

บริเวณซีกโลก ตต.

39˚ 15′ 00″

95˚ 00′ 00″ 94˚ 55′ 00″


11/27/2023
การวัดหาจำนวนลองจิจูดโดยบรรทัด 300 ส่วน
39˚ 20′ 00″
กรอบ 5 x 5 ลิบดา
บริเวณซีกโลก ตต.

1 39˚ 15′ 00″


จบ 2 ชม.แทน รองฯ( 0800-1000/13ธ.ค.53)
11/27/2023 94˚ 55′ 00″
95˚ 00′ 00″
แผนที่ 1501
แสดงการแบ่ง
ขีดย่อย 1ʹ
ในกรอบ
15ʹ x 15ʹ

5 ลิปดา

5
ลิปดา

11/27/2023
ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )
มีคุณลักษณะ 10 ประการ ดังนี้
1ใช้ร่วมกับโปรเจคชั่นแบบ Transverse Mercator
[ Gauss Kruger] โดยแบ่งพิภพออกเป็ นโซนๆละ 6º ตามลองจิจูต
โซนที่ 1 อยู่ระหว่างลองจิจูด 180ºW กับ ลองจิจูต 174ºW นับต่อ
เนื่องไปทางตะวันออกรอบพิภพ รวม 60 โซน ซึ่งโซนที่ 60 จะอยู่
ระหว่างลองจิจูด 174ºE กับลองจิจูด 180ºE (รูป 2.1)
2 ระบบพิกัด UTM กริด คลุมบริเวณตั้งแต่ละติจูต 80ºS ถึง
ละติจูต 84ºN 2.1-2.2
3 หน่วยที่ใช้ในการวัดเป็ นเมตร โดยมีจุดศูนย์กำเนิดอยู่ที่
จุดตัดกันระหว่างเส้นศูนย์สูตร(EQ)กับเส้นเมอริเดียนย่าน
กลาง(Central Meridian) ของแต่ละโซน (รูป 2.3
2.2)
Projection เส้นโครงแผนที่แบบ Universal Transverse Mercator
(รูป 2.1)

Pn

Equator

Ps

เป็ นระบบกริดที่นำเอาเส้นโครงแผนที่แบบ Universal Transverse Mercator Projection


มาใช้ดัดแปลงการถ่ายทอดรายละเอียดของพื้นผิวโลกไปสู่รูปทรงกระบอก ( แกนของ
รูปทรงกระบอกจะทับกับแนวอิเควเตอร์ และตั้งฉากกับแนวแกนของขั้วโลก )
ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )

E
w
6˚ 0˚

ไพรม์เมอริเดียน

EQUATOR รูป 2.2

1 โซน = 6˚x 8̊ Central Meridian


ORIGIN
รูป 2.2
4. ค่าพิกัด มี 2 ค่า คือ
1.พิกัดทางเหนือ ( Northing ) ใช้อักษรย่อ N
2.พิกัดทางตะวันออก ( Easting ) ใช้อักษรย่อ E
5. ค่าพิกัดของจุดศูนย์กำเนิดของแต่ละโซน เป็ นค่าพิกัด
สมมุติ (False)เพื่อหลีกเลี่ยงค่าที่เป็ น ลบ ( - ) โดยกำหนดให้ P.57
5.1 พิกัดของจุดศูนย์กำเนิดของแต่ละโซนทางซีกโลกเหนือ
False northing = 0 เมตร
False easting = 500,000 เมตร
5.2 พิกัดของจุดศูนย์กำเนิดของแต่ละโซนทางซีกโลกใต้
False northing = 10,000,000 เมตร
False easting = 500,000 เมตร
รูป 2.3
รูป 2.3
เส้นกริดตั้งขนานกับ CM แต่ละโซน

3˚ 3˚

เส้นกริดนอนขนานกับ EQ แต่ละโซน รูป 2.3


11/27/2023
รูป 2.3
6. แต่ละโซนมีขนาดพื้นที่เท่ากัน แผนที่ที่คลุมบริเวณของ
แต่ละโซนมีขนาดเท่ากัน สำหรับแผนที่มาตราส่วนใหญ่จะมีส่วน
เหลื่อมล้ำกันออกไปสองข้างรอยต่อโซน ข้างละ 30 ลิปดา หรือ
53กม. หรือ 25 ไมล์ เพื่อประโยชน์ในงานสำรวจด้านวิศวกรรม
และการตรวจการยิงของปื นใหญ่(รูป 2.4) EX

7. เส้นกริดในทางตั้งจะขนานกับเมอริเดียนย่านกลางของ
แต่ละโซน ส่วนเส้นกริดทางแนวนอนจะขนานกับเส้นศูนย์สูตร
8.การกำหนดโซนของกริด ( GRID ZONE DESIGNATION )
8.1 ระหว่างละติจูด 80º S กับ ละติจูด 84º N
แบ่งออกเป็ น 20 ส่วนๆ ละ 8º เฉพาะส่วนบนสุด
เท่านั้นที่มีขนาด 12º แต่ละส่วนใช้อักษรกำกับ
(รูป 2.4) เริ่ม
EX

จากอักษร C ที่เป็ นส่วนใต้สุด


( ระหว่างละติจูต 80º-72º S )ขึ้นไปตามลำดับถึง
อักษร X ยกเว้นอักษร I กับ O (รูป 2.1)
ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )
84˚N

ศูนย์สูตร : EQUATOR

80˚S

180˚W 0˚ รูป 2.1 180˚E


ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )

84˚N

North-Zone

ศูนย์สูตร : EQUATOR

6˚W / 6˚E /
ZONE ZONE
South-Zone 0

START E
80˚S

180˚W 0˚ รูป 2.1 180˚E


Zone 1
At:180˚W-174˚W
ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )
84˚N

80˚S

180˚W 0˚ รูป 2.1 180˚E


ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )

W E

MERIDIAN = 0̊
EQUATOR =

PRIME

W E
รูป 2.1
P.203
ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )

CANADA RUSSIA

USA CHINA
INDIA
THAILAND

AFRICA
BRAZIL AUSTRALIA

รูป 2.1
ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )

รูป 2.1
ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )
LAT. 40˚N

LAT. 32˚N

LAT. 24˚N

LAT. 16˚N

LAT. 8˚N

EQUATOR [ 0˚ ]

LAT. 8˚S
LONG. 102˚

LONG. 108˚
LONG. 96˚

รูป 2.1
LAT. 16˚S
ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )

รูป 2.1
30′/53kms./25miles 30′/53kms./25miles

รูป 2.4
Ex.แผนที่ที่เหลื่อมโซน
8.2 ระหว่างลองจิจูด 180º W เวียนไปทางตะวัน
ออกถึงลองจิจูด 180º E แบ่งออกเป็ น 60 โซนๆ ละ 6º
แต่ละโซนใช้ตัวเลขกำกับ เริ่มโซนที่ 1 ระหว่าง ลองจิจูต
180º W กับ 174º W นับไปทางตะวันออก จนถึงโซนที่ 60
ซึ่งเป็ นโซนสุดท้ายอยู่ระหว่างลองจิจูด 174º E กับ 180º E
( ลองจิจูด 180º E เป็ นเส้นเดียวกันกับ 180º W )

60 1
P
การแบ่งตามวิธีนี้ทำให้เกิดเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่
กันด้วยเส้นละติจูดห่างกัน 8º กับ 12º และ ลองจิจูดห่าง
กัน 6º จำนวน 1,200 รูป นั่นคือแต่ละรูปมีขนาด
กว้างยาว=6ºx8º จํานวน 1,140 รูป และ
กว้างยาว=6ºx12º จํานวน 60 รูป
รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทั้งหมดนี้เรียกว่า Grid Zone Designation (GZD)

การอ่านค่าGZDประจำโซนถือหลักการอ่านไปทาง
ขวาแล้วขึ้นบน ( Read Right Up ) ค่าประจำแต่ละโซนจึง
เป็ นตัวเลขนำหน้าตัวอักษร เช่น 3N หรือ 33S โดย
ประเทศไทยจะอยู่ใน GZDที่47N,47P,47Q และ
48N,48P,48Q (รูป 2.1)
ระบบพิกัด UTM ( Universal Transverse Mercator )

ตะวันตก 1 Zone = 12˚


ตะวันออก

ศูนย์สูตร : EQUATOR

1 Zone = 8˚

รูป 2.1
การกำหนดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 100,000 เมตร
1 เริ่มจากลองจิจูด 180º W นับตามเส้นศูนย์สูตรไปทาง
ตะวันออก ทุกระยะ 100,000 เมตร ให้อักษรกำกับ เริ่มจาก
อักษร A ถึง Z ยกเว้นอักษร I กับ O จะมีชุดตัวอักษรซ้ำกันทุกๆ
18º หรือ 3 โซน (รูป 2.5)
2 ตามแนวเหนือ-ใต้ ซีกโลกภาคเหนือเฉพาะโซนหมายเลข
คี่ เริ่มจากเส้นศูนย์สูตรขึ้นไปทุกๆ ระยะ 100,000 เมตร ให้ตัว
อักษรกำกับเริ่มจากอักษร A ขึ้นไปตามลำดับถึงตัวอักษร V ยกเว้น
อักษร I กับ O ส่วนโซนหมายเลขคู่เริ่มนับจากอักษร F ไปตาม
ลำดับถึงตัวอักษร V ยกเว้นอักษร I กับ O และตามด้วยอักษร A ถึง
Z ต่อไป (รูป 2.5)
GRID SQUARE
[100,000 meters]
2,000,000m. 2,000,000m.
I
N

GRID ZONE DESINATION


[2P
]
1,000,000m. 1,000,000m.

500,000m. 500,000m. 500,000m.


6˚ รูป 2.5
AJ
การกำหนดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 100,000 ม.
AH

AG

AF 6° 6° 6°

AE

AD

AC

AB

AA

W Equator Equator E
เริ่มจาก Long.180º W นับตามเส้นศูนย์สูตรไปทางตะวันออก
ทุกระยะ 100,000 ม.(100 กม.) และให้อักษรกำกับตามแนวนอน
เริ่มจาก อักษร A ถึง Z ยกเว้นอักษร I กับ O จะมีชุดตัวอักษรซ้ำกัน
11/27/2023 70
ทุกๆ 18º หรือ 3 โซน(โซนละ 6º) P.192 หมายเหตุ:เฉพาะอักษรตัวหน้าแนวนอน
AJ
การกำหนดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 100,000 ม.
N
AH

AG

AF

AE

AD

AC

AB

AA

Equator Equator

ตามแนวเหนือ-ใต้ ซีกโลกภาคเหนือเฉพาะโซนหมายเลขคี่ เริ่มจาก


เส้นศูนย์สูตรขึ้นไปทุกๆ ระยะ 100,000 ม. (100 กม.)เช่นกัน และให้ตัว
อักษรกำกับแนวตั้งเริ่มจากอักษร A ขึ้นไปตามลำดับถึงตัวอักษร V ยกเว้น
อักษร I กับ O ส่วนโซนหมายเลขคู่เริ่มนับจากอักษร F ไปตามลำดับถึงตัว
อักษร V ยกเว้นอักษร I กับ O และ ตามด้วยอักษร A ถึง Z หมายเหตุ:เฉพาะอักษรตัวหลังแนวตั้ง
11/27/2023 ต่อไป 71
การแบ่งตามวิธีนี้ทำให้เกิดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาว
100,000 ม. ขึ้น การอ่านคงถือหลักการอ่านไปทางขวาแล้วขึ้น
บน เช่นเดียวกัน ดังนั้น ค่ากำกับจัตุรัสแสนเมตรจึงเป็ นอักษร
สองตัวเรียงกัน เช่น NQ หรือ QQ เป็ นต้น (รูป 2.5)

11/27/2023
[MGRS:อักษรตัวแรกประจำแถบแนวตั้ง/ตัวที่สองประจำแถบแนวนอน] รูป 2.5
GZD.THAILAND
รูป 2.5

47Q 48Q

47P 48P

47N 48Q

11/27/2023
11/27/2023 74
11/27/2023 75

GZD.THAILAND
11/27/2023
รูป 2.5
การบอกค่าพิกัดกริดของระบบ UTM กริด ที่
สมบูรณ์จะต้องบอกตามลำดับดังต่อไปนี้
1 บอกให้ทราบชื่อโซนของกริด (Grid Zone
Designation ) เช่น 47 N , 47 P , 47Q
2 บอกให้ทราบชื่อสี่เหลี่ยมจัตุรัสแสนเมตร
( 100,000 meters square identification ) เช่น MN , QQ ,
PU
3 บอกค่าพิกัดกริดของจุดที่เราพิจารณา ตามขนาด
ความละเอียดที่ต้องการ(การอ่าน2ตัว,4ตัว,6ตัว,8ตัว) เช่น
24 , 2142 , 218427 , 21834279 และ 2183242794
การเขียนค่าพิกัดกริดที่สมบูรณ์ใช้วิธีการเขียนเรียงต่อ
เนื่องกันไปตามลำดับ เริ่มตั้งชื่อโซนแล้วต่อด้วย ชื่อจัตุรัสแสน
เมตร และค่าตัวเลขของ E [Easting] และ N [Northing]ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้

วัดพระบาทน้ำพุ

47P กำหนดอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมขนาด 6 X 8 องศา


47PPS กำหนดอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาว 100,000 ม.(100กม.)
47PPS84 กำหนดอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาว 10,000 ม.(10กม.) (2ตัว)
47PPS8141 กำหนดอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาว 1,000 ม.(1กม.) (4ตัว)
47PPS810410 กำหนดอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาว 100 ม. (6ตัว)

47PPS81034107 กำหนดอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาว 10 ม. (8ตัว)

47PPS8103441075 กำหนดอยู่ในรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาว 1 ม. (10ตัว)


7
8
79
ระบบกริดทางทหาร ( Military Grid )
การฉายแสงแบบทรานสเวอร์ส เมอร์เคเตอร์ สำหรับ
การนำมาใช้ผลิตแผนที่ทางทหารมาตราส่วนใหญ่ปรากฎผล
จากการตรวจสอบเส้นเมอริเดียนแผนที่โค้งเข้าหากัน และรูป
สี่เหลี่ยมกรอบของเส้นโครงที่เกิดจากการตัดกันของเส้น
ละติจูด และเส้นเมอริเดียน เกิดเป็ นขนาดแตกต่างกัน ทำให้เกิด
ความยุ่งยากในการกำหนดตำแหน่ง และทิศทาง
ดังนั้น เพื่อให้การกำหนดตำแหน่งกระทำได้ง่ายขึ้น จึงนำ
ระบบตารางสี่เหลี่ยมด้านขนานมุมฉาก ทำการฉายแบบเส้น
โครงแผนที่ ถึงแม้ว่าขนาดและรายละเอียดของตารางจัตุรัสบน
แผนที่จะเปลี่ยนแปลงแตกต่างไป แต่ยังคงรักษาคุณสมบัติพื้น
ฐานของระบบกริดทางทหารไว้
11/27/2023 80
คุณสมบัติพื้นฐานของระบบกริดทางทหาร
ลักษณะตารางสี่เหลี่ยมด้านขนานมุมฉาก
ตารางต่างๆปรากฏรวมอยู่ในการฉาย
ตารางภูมิศาสตร์
สามารถวัดค่าได้ทั้งค่าเชิงมุม และระยะทาง

81
ระบบอ้างอิงพิกัดกริดทางทหาร
( Military Grid Reference System : MGRS )
เขตกริด ( Grid Zone )
เป็ นแบบ UTM Grid โดยเขตกริดที่ 1เริ่มต้นจาก
ลองจิจูด 180º W ถึง 174º W ความกว้าง 6º ความยาว
84º N ถึง 80º S และอีกจำนวน 59 เขตกริดมีลักษณะเช่น
ดียวกัน รวมทั้งสิ้น 60 เขตกริด พร้อมกำหนดตัวเลข
ประจำเขตกริด 1-60 ซึ่ง
***เขตกริดที่30 ตั้งอยู่ระหว่าง ลองจิจูด 6º W- 0º W***
และเขตกริดที่ 60 เป็ นเขตกริดสุดท้ายตั้งอยู่ระหว่าง
ลองจิจูด 174º E-180º E 82
ระบบอ้างอิงพิกัดกริดทางทหาร
( Military Grid Reference System : MGRS )
สำหรับประเทศไทย
ตั้งอยู่ระหว่างลองจิจูด 97º E กับ 106º E
จึงตั้งอยู่ใน
เขตกริดที่ 47 (ระหว่างเมอริเดียน 96º E ถึง 102º E
โดยเส้นเมอริเดียนย่านกลางคือ ลองจิจูด 99º E)
กับ
เขตกริดที่ 48 (ระหว่างเมอริเดียน 102º E ถึง 108º E
เส้นเมอริเดียนย่านกลางคือ ลองจิจูด 105º E) 83
2. อักษรประจำตาราง 6º x 8 º เขตกริดในแต่ละโซนทั้ง 60 โซน
นั้นมีความกว้างขวางมากจึงแบ่งในทางแนวนอนของเขตกริดด้านเหนือ
และด้านใต้เส้นศูนย์สูตร (หรือเรียกว่าแถบละติจูด- Latitude Belt) ให้มี
ขนาดความยาว 8º ยกเว้นส่วนบนสุดของเขตกริด ขนาดความยาว 12º
เพียง 1 แถบ
-ทั้งนี้ส่วนเหนือเส้นศูนย์สูตรแบ่งเป็ นจำนวน 10 แถบ ขนาด 8º
จำนวน 9 แถบ และ 12º จำนวน 1 แถบ (ระหว่าง ละติจูด 72º N-84º N)
ส่วนใต้เส้นศูนย์สูตรแบ่งเป็ นจำนวน 10 แถบ ขนาด 8º เท่ากันทุกแถบ
จนถึง 80º S รวมเป็ นส่วนแบ่งด้านแนวนอน จำนวน 20 แถบ แต่ละแถบ
กำหนดตัวอักษรภาษาอังกฤษประจำแถบ.......ดังนี้

84
-โดยเริ่มจากตัวอักษร C ประจำแถบที่ 1 ระหว่างละติจูด
80º S –72º S แถบที่ 11 เป็ นตัวอักษร N ระหว่างละติจูด 0º N - 8º N
และกำหนดอักษรประจำถึงอักษร X ยกเว้น I กับ O
-สำหรับประเทศไทยตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 5º 30 N-20º30 N
และลองจิจูด 97º15E -105º45E โดยประมาณจึงตั้งอยู่ภายในแถบ
N , P และ Q ตามลำดับ
-ขนาดตารางที่เกิดขึ้นตามที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ เกิดเป็ นตาราง
ขนาด 6º x 8º จำนวน 1,140 ตาราง ยกเว้นตารางของแถบที่ 20หรือ
แถบบนสุด ซึ่งแต่ละตารางจะมีขนาด 6º x 12º มีจำนวนทั้งสิ้น 60
ตาราง จึงรวมทั้งสิ้นเป็ น 1,200 ตาราง
- สำหรับการอ่านประกอบด้วยตัวเลขประจำเขตกริด [GZD]
1-60 และ อักษรประจำตาราง 6º x 8º หรือ 6º x 12º แล้วแต่บริเวณ
พื้นที่ 85
อักษรประจำแถบละติจูด

86
ระบบอ้างอิงพิกัดกริดทางทหาร ( Military Grid Reference System : MGRS. )..การจัดแบ่งตาราง

3. จัตุรัส 100,000 เมตร ระหว่างเส้นละติจูด 84ºN และ 80ºS


พื้นที่ขนาด 6º x 8º หรือ 6º x 12º ถูกแบ่งย่อยเป็ นตารางจัตุรัส
100,000 เมตร ทั่วทั้งพื้นที่โลก การกำหนดชื่อกำหนดด้วยตัวอักษร
ประจำ จำนวน 2 ตัว อักษรตัวแรกเป็ นตัวอักษรประจำแถบในแนว
ตั้ง(เหนือ-ใต้) ตัวที่สองเป็ นอักษรประจำแถบในแนวนอน(ตะวันตก-ตะวัน
ออก)
3.1 การจัดแบ่งตาราง
ก) เริ่มจากเส้นเมอริเดียนย่านกลางไปด้านตะวันตก จำนวน 4
แถบ และด้านตะวันออก จำนวน 4 แถบ ความกว้าง 100,000 เมตร รวม
6 แถบ ส่วนแถบริมเขตกริดทั้งสองขนาดความกว้างน้อยกว่า 100,000
เมตร ใช้ตัวอักษร A-Z (ยกเว้น I กับ O)กำกับประจำแถบรวม 24 แถบ
จำนวน 3 เขตกริด ซ้ำกันเช่นนี้ทุก 3 เขตกริด
87
ะบบอ้างอิงพิกัดกริดทางทหาร (MGRS )

การจัดแบ่งตาราง

อักษรประจำจัตุรัส

100,000 ม.

88
ระบบอ้างอิงพิกัดกริดทางทหาร 8˚ 1 2 3 4 5 6 7 8
(MGRS )
การจัดแบ่งตาราง
จากเมอริเดียนย่านกลางไป
ด้าน ตต. 4 แถบ และด้าน ตอ. 4
แถบ ความกว้าง 100,000 ม.
รวม 6 แถบ แถบริมเขตกริดทั้ง

MERIDIAN
CENTRAL
สองขนาดความกว้างน้อยกว่า
100,000 ม. WEST EAST

8˚ 0˚
200,000

300,000

400,000

600,000

700,000

800,000
174˚ 500,000m. 89168˚
11/27/2023
11/27/2023 90
11/27/2023 91
ระบบอ้างอิงพิกัดกริดทางทหาร ( Military Grid Reference System : MGRS. )..การจัดแบ่งตาราง

ข) จากเส้นศูนย์สูตรแบ่งไปด้านเหนือจำนวนประมาณ 93 แถบ-
94 แถบ และแบ่งไปด้านใต้ จำนวนประมาณ 88 แถบ การกำหนดอักษร
ประจำแนวนอนกำหนดให้เขตกริดคี่เริ่มต้นด้วยอักษร A ยกเว้น I กับ O
จนถึงอักษร V สำหรับเขตกริดคู่กำหนดเริ่มต้นด้วยอักษร F ยกเว้น I กับ
O จนถึงอักษร V ซ้ำกันเช่นนี้ ซ้ำกันทุกๆ 24 แถบ (หรือ 3 โซน)
3.2 การอ่านค่าจัตุรัส 100,000 เมตร (100 กม.) คงใช้วิธี
การอ่านไป “ด้านขวา” และอ่านขึ้น “ด้านบน” ประกอบด้วยตัวอักษร 2
ตัว อักษรตัวที่ 1 เป็ นอักษรประจำแถบ 100,000 ม. แถบตั้ง และอักษร
ตัวที่ 2 เป็ นอักษรประจำแถบ 100,000 ม.แถบนอน เช่น PQ , PP

92
3.3 การอ่านค่าจัตุรัส 10,000 ม.(10 กม.)ในตาราง
100,000 ม. จัดแบ่งเส้นกรอบให้มีส่วนละเอียด จำนวน 10 ส่วน
เท่ากันทั้งด้านกรอบด้านตั้งและกรอบด้านนอน ความกว้าง 10,000
ม. และความยาว 10,000 ม. เรียกว่าจัตุรัส 10,000 ม. เส้นกริดที่
มีระยะห่าง 10,000 ม.นี้จะแสดงค่าระยะกริดด้วยตัวเลขหลักหมื่น
เพียงตัวเดียว เท่านั้น ทั้งเส้นด้านตั้งและเส้นด้านนอน การอ่านค่า
พิกัด ใช้วิธีอ่านไป “ด้านซ้าย” และอ่านขึ้น “ด้านบน” เช่น 06 เป็ น
ความละเอียดจากการอ่านค่าพิกัดมีค่าละเอียด 10,000 ม.

93
KR
จัตุรัส 10,000 ม.

94
3.4 การอ่านค่าจัตุรัส 1,000 ม.(1 กม.)ในตาราง 10,000
ม. จัดแบ่งเส้นกรอบให้มีส่วนละเอียด จำนวน 10 ส่วนเท่ากันสำหรับ
แผนที่มาตราส่วนใหญ่ ดังเช่นแผนที่แนบท้ายจัดทำไว้เป็ นเส้นทึบหนาทุกๆ
10,000 ม.(10 กม.)ทั้งด้านแถบตั้งและด้านแถบนอน พร้อมกับแสดงส่วน
แบ่งละเอียดของระยะทาง 1,000 ม. ด้วยเส้นทึบบางและปลายของเส้น
กริดทั้งสองข้างแสดงค่าประจำเส้นกริดไว้ด้วย
โดยเส้นกริดเริ่มแรกด้านแถบตั้งและด้านแถบนอนของระวาง
แผนที่แสดงตัวเลขค่าตรงเส้นกริดตามจำนวนควรเป็ นจริงทุกหลัก คือ
591000 m.E และ 1355000 m.N
สำหรับเส้นกริดเส้นนับลำดับต่อไป แสดงด้วยหมู่ตัวเลขเพียง
สองตัวเฉพาะตัวเลขหลักหมื่นและตัวเลขหลักพัน เท่านั้น เป็ นตัวเลขขนาด
ใหญ่
95
เพิ่มค่าระยะทางเส้นละ 1,000 ม. มากขึ้นเมื่อมีระยะทางห่าง
จากมุมด้านซ้ายเพิ่มขึ้น ตัวเลขประจำเส้นกริดตั้ง และเส้นกริดนอนดัง
กล่าวนี้มีความสำคัญมากสำหรับผู้ใช้แผนที่ ด้วยเป็ นค่าที่ต้องใช้เสมอใน
การอ่านค่าพิกัดกริดทุกครั้ง
สำหรับตัวเลข 0 ของ 3 ตำแหน่งหลัง จะใช้เพื่อการอ่านค่า
สมบูรณ์ที่เป็ นค่าเท็จของเส้นกริดนั้นๆ และการอ่านค่าพิกัดใช้วิธีอ่านไป
“ด้านซ้าย” และอ่านขึ้น “ด้านบน” เช่น 0168 และความละเอียดจากการ
อ่านค่าพิกัดมีค่า 1,000 ม.
3.5 จากการกำหนดและการอ่านพิกัด ดังกล่าวมาแล้วโดย
สรุปใช้วิธีการอ่านค่าพิกัดอ่านไป “ด้านซ้าย” และอ่านขึ้น “ด้านบน”
ประกอบเป็ นชุดพิกัดความละเอียดใกล้เคียง 1,000 ม. ดังปรากฏตาม
ตัวอย่างที่แสดงไว้บนแผนที่ได้แก่ 47PPP8893 จำนวน 6 องค์ประกอบ
คือ 96
งค์ประกอบที่ 1 ตัวเลขเขตกริด ได้แก่ 47
งค์ประกอบที่ 2 ตัวอักษรประจำตาราง 6º x 8º (หรือ6ºx12º) ได้แก่ P
งค์ประกอบที่ 3 ตัวอักษรประจำจัตุรัส 100,000 ม.แถบตั้ง ได้แก่ P
งค์ประกอบที่ 4 ตัวอักษรประจำจัตุรัส 100,000 ม.แถบนอน ได้แก่ P
งค์ประกอบที่ 5 ตัวเลขประจำเส้นกริดตั้ง
(หลักหมื่นและหลักพันเมตร) ได้แก่ 88
งค์ประกอบที่ 6 ตัวเลขประจำเส้นกริดนอน
(หลักหมื่นและหลักพันเมตร) ได้แก่ 93

97
จัตุรัส 1,000 ม. ความใกล้เคียง 1,000 ม.

U
READ--- P
RIGHT
3.6 ความละเอียดค่าพิกัดในข้อ 3.5
ในการปฎิบัติงาน/ภารกิจในบางกรณีความละเอียดจัดว่ายังไม่เพียงพอ
และเพื่อเป็ นการจำกัดขอบเขตของพื้นที่ให้มีขนาดเล็กกระชับลง และมี
ระยะทางที่ใกล้เคียงจุดที่เราพิจารณามากยิ่งขึ้น
เพื่อผลการปฎิบัติที่แม่นยำถูกต้องที่สุด ได้นำวิธีการแบ่ง
ส่วนละเอียดของจัตุรัส 1,000 ม. จัดแบ่งเป็ น 10 ส่วน ตามกรอบที่เป็ น
เส้นกริดแนวตั้ง และแนวนอนอ่านค่าพิกัดของจุดที่พิจารณาที่มีความ
ละเอียดใกล้เคียง 100 . ซึงตารางที่จัดแบ่งส่วนเหล่านี้ใน 1 ตาราง
กริด(จัตุรัส 1,000 ม.) ประกอบด้วยตาราง 100 ม. จำนวน 100
ตาราง ดังนั้น ค่าพิกัดจะประกอบด้วยจำนวนองค์ประกอบมากขึ้น
ได้แก่..............
47PPP884933
จัตุรัส 1,000 ม. ความใกล้เคียง 1,000 ม.

933

884
100
ในกรณีเช่นเดียวกันเมื่อต้องการความละเอียดของค่าพิกัดที่มี
ระยะทางใกล้จุดที่พิจารณามากยิ่งขึ้นจำเป็ นต้องแบ่งจัตุรัส 100 ม. เป็ น
จำนวน 100 ตาราง และ/หรือ แบ่งจัตุรัส 10 ม. เป็ นจำนวน 100
ตารางเช่นกัน ค่าระยะทางจะเพิ่มจำนวนความละเอียดใกล้เคียง 10 ม.
และ 1 ม. ตามลำดับ แต่การแบ่งละเอียดเพิ่มขึ้นในกรณีนี้การใช้แผนที่ใน
การกำหนดพิกัดพึงพิจารณาใช้แผนที่มาตราส่วนใหญ่มากขึ้นประกอบ
ด้วย ได้แก่แผนที่มาตราส่วน 1:25,000 ที่มีการครอบคลุมพื้นที่บริเวณ
ที่จุดพิจารณาตั้งอยู่ ค่าพิกัดที่อ่านได้ ได้แก่
47PPP88409330 ความละเอียดใกล้เคียง 10 ม.
47PPP8840093300 ความละเอียดใกล้เคียง 1 ม.
(ทั้งนี้ค่าพิกัดความละเอียดใกล้เคียง 10 ม. นำมาใช้ในการปฎิบัติของ
ทหารปื นใหญ่ ซึ่งเป็ นค่าพิกัดที่มีความละเอียดเพียงพอมากที่สุดสำหรับการปฎิบัติ
11/27/2023 101
การทางทหาร)
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1000

102
ทิศทาง
ในชีวิตประจำวันย่อมมีการพูดถึงเรื่องทิศทาง
โดยทั่วไป เช่น ขวา ซ้าย ตรงไป ข้างหน้า ข้างหลัง

สิ่งที่กล่าวมานี้สามารถบอกทิศทางได้
แต่ถ้าจะให้มีหลักเกณฑ์
ที่ถูกต้องแน่นอนจะต้องมีหน่วยในการวัด
และใช้ได้ทั่วทุกแห่งในโลกจะแสดงด้วย

November 27, 2023


วิธีแสดงทิศทาง
1. หน่วยวัดมุมเป็ นองศา ( Degree ) และแบ่งส่วนย่อย
ออกเป็ น ลิบดา และฟิ ลิบดา กล่าวคือ1 องศา = 60 ลิบดา
และ 1 ลิบดา = 60 ฟิ ลิบดา

2. หน่วยวัดมุมเป็ นมิลเลียม ( Milliams ) โดยวงกลมวง


หนึ่งจะแบ่งออกเป็ น 6,400 มิลเลียม(360º = 6,400 mils ,
180º = 3,200 mils) หรือ 1º เท่ากับ 17.78 มิลล์
November 27, 2023
3. หน่วยวัดมุมเป็ นเกรด( Grade ) เป็ นหน่วยเมตริก พบ
ได้ในการวัดแผนที่ในบางประเทศ โดยแบ่งวงกลมเป็ นส่วนย่อย
จำนวนมุม 400 เกรด ดังนั้น จำนวนมุม 90º จะเท่ากับ 100
เกรด จำนวนมุม1 เกรด แบ่งส่วนย่อยเท่ากับ 100 เซนติเกรด
และจำนวนมุม 1 เซนติเกรด จะเท่ากับ 100 มิลลิเกรด

บรรทัดวัดมุมรูปแบบต่างๆ

November 27, 2023


เส้นหลักหรือทิศทางหลัก ( Base Lines )
เส้นหลักหรือทิศทางหลัก มี 3 ชนิด คือ ทิศเหนือจริง
( True North ) ทิศเหนือแม่เหล็ก (Magnetic North) และ
ทิศเหนือกริด (Grid North)

November 27, 2023


GN. TN. GN.
TN.

CM หรือ Central Meridian


]

ทิศเหนือกริด
ทิศเหนือกริด

rth
o
eN

[Tru
ru
[T

Con
nce

eN

verg
rge

orth
h
ut
nve

ence
im
Co

]
in
g Az
ar B
Be
Bearing
Az
A C
D

áÊ´§ Grid Convergence µÍ¹à˹×Í.gmw

ทิศทางหลักที่ใช้กันโดยทั่วไปนั้นก็คือ ทิศเหนือแม่เหล็กและทิศ
เหนือกริด โดยทิศเหนือแม่เหล็กจะใช้เมื่อปฎิบัติงานด้วยเข็มทิศ
และทิศเหนือกริดจะใช้เมื่อปฎิบัติงานด้วยแผนที่
November 27, 2023
ความหมาย/คำจำกัดความ
ทิศเหนือจริง ( True North )
คือแนว ๆ หนึ่งที่นับจากตำบลใดตำบลหนึ่งบนพื้น
ผิวพิภพไปยังขั้วโลกเหนือ เส้นลองจิจูดทุก ๆ เส้นคือแนว
ทิศเหนือจริงใชัสัญลักษณ์เป็ นรูปดาว
ทิศเหนือแม่เหล็ก ( Magnetic North )
คือ แนวที่เข็มทิศชี้ไปยังขั้วเหนือแม่เหล็กโลก ใช้
สัญลักษณ์เป็ นรูปหัวลูกศรครึ่งซีก
ทิศเหนือกริด ( Grid North )
คือ แนวเส้นกริดเหนือ-ใต้ บนแผนที่ใช้สัญลักษณ์
เป็ นตัวอักษร GN
November 27, 2023
แผนภาพมุมเยื้อง ( Declination Diagram )
ปรากฏอยู่บนแผนที่ เพื่อให้ผู้ใช้แผนที่วางแผนที่ให้ถูกทิศ
ได้อย่างถูกต้อง แผนภาพมุมเยื้องนี้จะแสดงให้ทราบถึงความ
สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ระหว่างทิศเหนือแม่เหล็ก ทิศเหนือกริด
และทิศเหนือจริง
มุมเยื้อง ( Declination )
คือความแตกต่างของมุม ระหว่างทิศเหนือจริงกับทิศ
เหนือแม่เหล็ก และ ระหว่างทิศเหนือจริงกับทิศเหนือกริด ดังนั้น
มุมเยื้องจึงมี 2 มุม คือ
1.มุมเยื้องแม่เหล็ก และ
2.มุมเยื้องกริด
November 27, 2023
มุมเยื้องแม่เหล็ก ( Magnetic Declination )
คือ ความแตกต่างของมุมระหว่างทิศเหนือจริง
กับทิศเหนือแม่เหล็ก ( โดยวัดจากทิศเหนือจริง )
มุมเยื้องกริด ( Grid Declination )
คือ ความแตกต่างของมุมระหว่างทิศเหนือจริง
กับทิศเหนือกริด ( โดยวัดจากทิศเหนือจริง )
มุมกริดแม่เหล็ก ( G - M Angle )
คือ ความแตกต่างของมุมระหว่างทิศเหนือกริด
กับทิศเหนือแม่เหล็กโดยวัดจากทิศเหนือกริดเป็ นหลัก
November 27, 2023
áÊ´§ Grid Convergence µÍ¹à˹×Í.gmw

ทิศทางของเส้นกริด
0˚ 8′ ( 2.5 มิลเลียม )
ณ กึ่งกลางระวาง

มุม G-M พ.ศ.2543


0.5˚ ( 10 มิลเลียม )

การแปลงอาซิมุทแม่เหล็ก
เป็ นอาซิมุทกริด
ให้ลบด้วยมุม G-M
การแปลงอาซิมุทกริด
เป็ นอาซิมุทแม่เหล็ก
ให้บวกด้วยมุม G-M ภาพจากขอบระวางแผนที่
November 27, 2023
L 7018
การแปลงค่ามุม
การกำหนดค่าของมุมที่วัดได้จากเข็มทิศลงบนแผนที่ต้อง
แปลงมุมภาคทิศเหนือแม่เหล็กเป็ นมุมภาคทิศเหนือกริดเสียก่อนใน
ขณะเดียวกัน การนำค่าของมุมที่วัดได้บนแผนที่นำไปใช้วัดมุมใน
ภูมิประเทศด้วยเข็มทิศ ก็ต้องแปลงมุมภาคทิศเหนือกริดเป็ นมุมภาค
ทิศเหนือแม่เหล็กเสียก่อนเช่นกัน
การแปลงค่ามุมให้กระทำดังนี้ ลากเส้นที่กำหนดขึ้นจากฐาน
ของแผนภาพมุมเยื้องซึ่งอยู่ส่วนล่างตอนกลางของขอบระวาง
แผนที่ แล้วพิจารณาดูจะเห็นความสัมพันธ์ของมุมชนิดต่าง ๆ และ
ทราบได้ทันที่ว่า มุมภาคของทิศที่ทราบค่าแล้วกับมุมภาคของทิศที่
ต้องการทราบค่านั้น มุมไหนจะมีค่าใหญ่กว่ากัน และจะต้องบวกหรือ
ลบด้วยมุมอะไร
114
November 27, 2023
มุมภาคของทิศ
( Azimuth )

คือมุมราบที่วัดตามเข็มนาฬิกาจากแนวทิศทางหลัก
( มีค่าไม่เกิน 360 องศา ) การวัดมุมภาคของทิศบนแผนที่ จะ
ต้องลากเส้นตรงเชื่อมต่อระหว่างจุด 2 จุด แล้วใช้บรรทัดโปร
แทรกเตอร์วัดมุมระหว่างเส้นทิศเหนือกับเส้นที่ลากขึ้นสำหรับ
ชื่อมุมภาคของทิศจะต้องเรียกตามเส้นหลักที่มุมภาคของทิศวัด
มาจากเส้นนั้น

November 27, 2023


Whole Circle Bearing : WCB : Azimuth : มุมภาคของทิศ

ลักษณะภาคของทิศ (Azimuth)จากทิศเหนือ ลักษณะจานองศาแบบ Azimuthนับจาก


แนวทิศเหนือ( 0º-180º )ไปจนถึง 360º

November 27, 2023


มุมภาคของทิศกลับ ( Back Azimuth )
คือมุมภาคของทิศนั้น ๆ แต่วัดย้อนกลับไปในทิศทาง
ตรงข้าม (Back Azimuth = Azimuth +/- 180º ) เปรียบเสมือน
การหันหน้าไปในทิศทางใด คือมุมภาคของทิศนั้น
ๆ แต่ถ้า
กลับหลังหัน ก็คือมุมภาคของทิศกลับของมุมภาคของทิศนั้น
สำหรับการหามุมภาคของทิศกลับจากมุมภาคของทิศ
ถ้ามุมภาคของทิศมีค่าเท่ากับ 180 องศา หรือ น้อยกว่า
ให้บวกด้วย 180 องศา ถ้ามุมภาคของทิศมีค่าเท่ากับ
180 องศา หรือมากกว่าให้ลบด้วย 180 องศา
November 27, 2023
N
N N

Az
Base Line
.=
11

i re ct
D
e
Lin
origin
Back Az.=292˚
180

Azimuth: มุมภาคทิศ Back Azimuth: มุมภาคทิศกลับ

November 27, 2023


N
N
N
Az
Base Line
.=
11

Li ne
e ct
D ir

origin
Back Az.=292˚
180

Azimuth: มุมภาคทิศ Back Azimuth : มุมภาคทิศกลับ


วัดค่ามุมภาคทิศ 112 •
ค่ามุมภาคทิศกลับ 112 •+180 • = 292 •
November 27, 2023
ผท.๑

ผท.๑

AZIMUTH = มุมภาคของทิศ

BACK AZIMUTH = มุมภาคของทิศกลับ


AZIMUTH = CLOCKWISE ANGLE FROM BASE DIRECTION
BACK AZIMUTH = AZIMUTH +/- 180˚ OR 3200 MILS
[ Azimuth and Back Azimuth Diff: 180˚]
November 27, 2023
รูปแสดง มุมภาคของทิศและมุมภาคของทิศกลับ
แบริ่ง ( The Quadrantal Bearing System หรือ Reduced Bearing
(RB) เป็ นวิธีการบอกทิศทางโดยนับออกจากทิศเหนือและทิศใต้
ซึ่งการวัดจะวัดออกจากแนวเมอริเดียนทั้งตามเข็มและทวนเข็ม
นาฬิกาในการคำนวณมุมทิศ (Bearing ) สามารถคำนวณได้จาก
พิกัดฉากตาม Quadrant นั้นๆ แล้วจึงเปลี่ยนไปเป็ นค่าของทิศ

November 27, 2023


มุมแบริ่ง ( Bearings )

มีขนาดไม่เกิน 90 องศา ( วัดได้จากทิศเหนือจริง


แนวทิศเหนือแม่เหล็ก และแนวทิศเหนือกริดได้เช่นกัน )

November 27, 2023 122

You might also like