You are on page 1of 67

มาตราส่วนและระยะทาง

มาตราส่วนและระยะทาง

มาตราส่วนของแผนที่ คือ อัตราส่วนของระยะ


ทางราบ ระหว่างจุด 2 จุด บนแผนที่ระวางนั้น ต่อ
ระยะทางราบ ระหว่างจุด 2 จุด ในภูมิประเทศ
 เป็ นหน่วยวัดเดียวกัน
 “ระยะบนแผนที่ต้องเป็ น 1 หน่วยเสมอ”
การหามาตราส่วนของแผนที่
การใช้สูตร
ใช้สูตร RF = MD
GD
RF คือ มาตราส่วนของแผนที่ (ใช้เฉพาะส่วน)
MD คือ ระยะบนแผนที่
GD คือ ระยะในภูมิประเทศ
EX : วัดระยะทางในภูมิประเทศได้ 4 ก.ม. วัดระยะ
บนแผนที่ (จุดเดียวกัน) ได้ 8 ซ.ม. จงหามาตราส่วน
ของแผนที่
สูตร RF = MD
GD
= 8
41000100
= 8
400000
= 1
50000
การเปรียบเทียบกับแผนที่ระวางอื่นที่ทราบมาตราส่วน
EX
ข ข
ม.
6 ซ. 12
ก ก ซ.ม.
1 : 200000

วิธีทำ
- วัดระยะบนแผนที่ระหว่างจุด ก ถึง จุด ข ทั้ง 2 ระวาง
- หา GD ของ แผนที่ที่ทราบมาตราส่วน
- นำ GD ที่ได้มาหามาตราส่วนของแผนที่ ระวางที่ไม่ทราบ
มาตราส่วน
การหาระยะในภูมิประเทศ
EX วัดระยะบนแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 ได้
10 ซ.ม. จงหาระยะในภูมิประเทศ
GD = MDRF
= 1050000
= 500,000 ซ.ม.
= 5 ก.ม.
การหาระยะบนแผนที่
EX วัดระยะในภูมิประเทศได้ 12 ก.ม. ต้องการหา
ระยะบนแผนที่ มาตราส่วน 1:50000
MD = GD
RF
= 121000100
50000
= 1200000
50000
= 24 ซ.ม.
วิธีการวัดระยะทางด้วยมาตราส่วนเส้นบรรทัด
การหาเวลาในการเดินทาง
การใช้สูตร
ใช้สูตร T= D
R
T คือ เวลาในการเดินทาง
D คือ ระยะทาง
R คือ อัตราความเร็วในการเดินทาง
EX : ทหารเดินเท้าด้วยอัตราความเร็วเฉลี่ย 4
กม./ชม. เมื่อวัดระยะทางในภูมิประเทศได้ 24 ก.ม. จะ
ใช้เวลาในการเดินทางเท่าใด ?
สูตร T = D
R
= 24
4
= 6 ชม.
ความสูงและทรวดทรง
ความสูง ลาด
และทรวดทรงภูมิประเทศ

November 27, 2023 12


3D or Stereo Model
[MapL7018+DEM,DTED]

Digital Elevation Model:[DEM]


Shape
November 27, 2023
Digital Terrain Elevation
13
Data:[DTED]
ความสูงและทรวดทรง
การอ่านแผนที่มีความจำเป็ นอย่างมากที่จะต้องสามารถ
วิเคราะห์ลักษณะของภูมิประเทศได้ถูกต้องเหมือนกับที่ได้เห็น
จากภูมิประเทศจริง ความไม่สม่ำเสมอของพื้นผิวภูมิประเทศ
เรียกว่า ความสูงและทรวดทรง ( Relief ) นับว่าเป็ นราย
ละเอียดที่มีค่าทางทหารเป็ นอย่างมาก
ทั้งนี้ เพราะลักษณะภูมิประเทศดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการ
ปฎิบัติการทางทหาร เช่น การเคลื่อนที่ ที่ตรวจการณ์ การ
กำบัง การซ่อนพราง ฯลฯ ดังนั้นผู้ใช้แผนที่จะต้องทราบถึง
ลักษณะภูมิประเทศ ดังกล่าวจากการมีความรู้ความสามารถ
ในการอ่านแผนที่เป็ นอย่างดี
November 27, 2023 14
ก. การพิจารณาลักษณะภูมิประเทศ
ผู้ศึกษาจะต้องมีความเข้าใจในเรื่อง
1. พื้นหลักฐาน คือ หลักฐานที่ใช้เป็ นจุดเริ่มต้นในการวัด
ความสูง แผนที่เป็ นส่วนมากจะใช้ระดับทะเลปานกลาง(รทก.) เป็ นพื้น
หลักฐาน
High Tide
ระดับทะเลสูงสุด

ระดับทะเลปานกลาง(รทก.) Mean Sea Level [MSL]

Low Tide
ระดับทะเลต่ำสุด
November 27, 2023 15
2. ความสูง หมายถึงระยะในทางดิ่งของวัตถุหนึ่งซึ่ง
อยู่สูงหรือต่ำกว่าพื้นหลักฐาน จากรูป จุด X เป็ นความสูงที่อยู่
เหนือพื้นหลักฐานในขณะที่จุด Y อยู่ต่ำกว่าพื้นหลักหลักฐาน

High Tide
Mean Sea
November 27, 2023 Level 16
ก. การพิจารณาลักษณะภูมิประเทศ.3 ลักษณะ 1 พื้นหลักฐาน..2 ความสูง..3 ทรวดทรง............
3. ทรวดทรง หมายถึงรูปร่างในทางสูงของผิวพิภพ
ข. การแสดงความสูงของภูมิประเทศบนแผนที่
กระทำได้หลายวิธี เช่น
3.1 เส้นชั้นความสูง ( CONTOUR LINES )
3.2 เส้นลายขวานสับ ( HACHURES )
3.3 แถบสี ( LAYER TINTING )
3.4 ทรวดทรงแรเงา ( SHADED RELIEF )
3.5 จุดกำหนดสูง ( PRECISE FIGURES )

November 27, 2023 17


เส้นชั้นความสูง ( CONTOUR LINES )
คือเส้นสมมุติบนพื้นผิวพิภพที่ลากไปตามจุดต่าง ๆ ที่มี
ความสูงเท่ากัน เส้นชั้นความสูงจะแสดงให้ทราบถึงระยะในทางดิ่งที่
อยู่สูงหรือต่ำกว่าพื้นหลักฐาน ตามปกติแล้วจะเริ่มจาก
ระดับทะเลปานกลาง(รทก.) ซึ่งถือว่าเป็ นเส้นชั้นความสูงที่มีค่าเป็ น
ศูนย์ และเส้นชั้นความสูงแต่ละเส้นจะแสดงความสูงเหนือ
ระดับทะเลปานกลาง แผนที่ส่วนมากจะพิมพ์เส้นชั้นความสูงไว้
ด้วยสีน้ำตาล
-เส้นชั้นความสูงที่ มีค่าเป็ นบวกเป็ นเส้นชั้นความสูงที่
แสดงค่าความสูงเหนือระดับทะเลปานกลาง และ
-เส้นชั้นความสูงที่ มีค่าเป็ นลบเป็ นเส้นชั้นความสูงที่ แสดง
ค่าความสูงใต้ระดับทะเลปานกลาง
November 27, 2023 18
ช่วงต่าง/ห่างเส้นชั้นความสูง (CONTOUR INTERVAL)
หรือ ระยะอุธันดร คือระยะในทางดิ่งระหว่างเส้นชั้นความ
สูงสองเส้นที่ อยู่ติดกัน
ตามปกติค่าของช่วงต่างเส้นชั้นความสูงจะแสดงไว้ที่ราย
ละเอียดของขอบระวางแผนที่ แผนที่ภูมิประเทศมาตราส่วน
ใหญ่จะพิมพ์เส้นชั้นความสูงเป็ นสีน้ำตาล และ
ทุกๆ เส้นที่ห้าจะหนากว่าปกติ เรียกว่า “เส้นชั้นความสูง
หลัก”( Index Contour ) เส้นชั้นความสูงเส้นบางระหว่างเส้นชั้น
ความสูงเส้นหลัก เรียกว่า “เส้นชั้นความสูงรอง”( Intermediate
Contour ) และมีตัวเลข แสดงค่ากำกับห่างกันทุกๆ 100 ม.
November 27, 2023 19
ประเภทของเส้นชั้นความสูง มี 5 ชนิด
1. เส้นชั้นความสูงหลัก ( INDEX CONTOURS ) คือเส้นชั้น
ความสูงที่เขียนไว้ด้วยเส้นหนักและแสดงค่าความสูงกำกับไว้

2. เส้นชั้นความสูงรอง ( INTERMEDIATE CONTOURS )


คือเส้นชั้นความสูงที่อยู่ระหว่างเส้นชั้นความสูงหลักและเขียนไว้ด้วยเส้นที่
เบากว่าเส้นชั้นความสูงหลักปกติจะไม่มีการแสดงค่าของความสูงกำกับไว้

เส้นชั้นความสูงหลัก

เส้นชั้นความสูงรอง
November 27, 2023 20
November 27, 2023 21
3. เส้นชั้นความสูงแทรก ( SUPPLEMENTARY CONTOURS )
คือเส้นชั้นความสูงที่เขียนเป็ นเส้นประผ่านบริเวณที่มีความสูงครึ่ งหนึ่ ง
ระหว่างเส้นชั้นความสูงสองเส้น มักเป็ นบริเวณภูมิประเทศที่ลาดชันน้อย
จนเกือบเป็ นพื้นระดับ แสดงให้ทราบถึงความสูงบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
ระหว่างเส้นชั้นทั้งสอง
4. เส้นชั้นบริเวณที่ต่ำ(แอ่งต่ำ) ( DEPRESSION CONTOURS )
คือเส้นชั้นความสูงที่แสดงลักษณะของพื้นที่ที่มีความสูงน้อยกว่า
ภูมิประเทศที่ อยู่โดยรอบ เช่น แอ่ง บ่อ เหว เส้นชั้นความสูงชนิดนี้จะเขียน
ขีดสั้น ๆ เพิ่มลงที่ เส้นชั้นความสูงด้านใน โดยหันปลายขีดไปทางลาดลง
แทรก
ดีเพรสชั่น

November 27, 2023 22


November 27, 2023
5. เส้นชั้นความสูงโดยประมาณ ( APPROXIMATE CONTOURS )
คือเส้นชั้นความสูงที่เขียนขึ้นเป็ นเส้นประ เพื่ อแสดงความสูงโดย
ประมาณ เนื่องจากไม่สามารถทราบความสูงที่แท้จริงของบริเวณนั้น

ประมาณ

November 27, 2023


การพิจารณาหาความสูงของจุดต่าง ๆ
จากเส้นชั้นความสูง 4 ประการ
1. หาค่าของช่วงต่างเส้นชั้นความสูง (ระยะอุธันดร)
ของแผนที่จากรายละเอียดขอบระวาง หรือ จากเส้นชั้นรอง
ระหว่างเส้นชั้นหลัก ว่าเป็ นเท่าไร หน่วยวัดอะไร
2. หาเส้นชั้นความสูงที่มีหมายเลขกำกับ หรือความสูง
แห่งใดก็ตาม ที่อยู่ใกล้กับจุดที่ต้องการจะหาความสูงที่สุด
3. พิจารณาหาทิศทางของลาด จากเส้นชั้นความสูงที่มี
หมายเลขกำกับไปยังจุดที่ต้องการทราบความสูงนั้น
4.นับจำนวนของเส้นชั้นความสูง............

November 27, 2023


4. นับจำนวนของเส้นชั้นความสูง จำนวนเส้น
ที่นับได้คูณด้วยค่าช่วงต่างเส้นชั้นความสูง(20 ม.) จะ
เท่ากับระยะที่อยู่สูงหรือต่ำกว่า จากค่าของเส้นชั้นความ
สูงที่มีหมายเลขกำกับ
ก. ถ้าจุดที่ต้องการทราบความสูง อยู่บนเส้น
ชั้นความสูง ความสูงของจุดนั้นก็คือค่าของเส้นชั้นความ
สูงนั้น
ข. ถ้าจุดที่ต้องการทราบความสูง อยู่ระหว่าง
เส้นชั้นความสูง จะหาได้โดยวิธีเทียบส่วนสัมพันธ์ แล้วนำ
ไปบวกกับค่าของเส้นชั้นความสูงเส้นล่างของจุดนั้น
November 27, 2023
กฎเกณฑ์เกี่ยวกับความสูงของเส้นชั้นความสูง 5 ข้อ
1. การประมาณความสูงของยอดเนินหรือยอดเขา ให้บวก
ความสูงของเส้นชั้นความสูงเส้นที่อยู่สูงสุด ด้วยครึ่งหนึ่งของค่าช่วง
ต่างเส้นชั้นความสูง การประมาณความสูงของที่ต่ำก็ให้ลบความสูง
ของเส้นชั้นเส้นที่อยู่ต่ำสุดด้วยครึ่งหนึ่งของค่าของช่วงต่างเส้นชั้น
ความสูงเช่นกัน



5
4
0
0 50
1
0

จุด ก สูงประมาณ 65 ม. จุด ข สูงประมาณ 35 ม.


November 27, 2023
2. เส้นชั้นความสูง 2 เส้น ที่ล้อมรอบกันจะมีความสูงต่อเนื่องกัน

6
05
0
40

3. เส้นชั้นความสูง 2 เส้นที่อยู่ใกล้เคียงกัน แต่มิได้ล้อมรอบ


บริเวณเดียวกันจะมีความสูงเท่ากัน

ความสูงเท่ากัน
6 60
0
5
November 27, 2023 0
4. เส้นชั้นความสูง 2 เส้น อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน แต่มิได้ล้อม
รอบบริเวณเดียวกัน และอีกเส้นหนึ่งเป็ นเส้นชั้นความสูงชนิดดีเพรสชั่น
เส้นชั้นความสูงทั้ง 2 เส้นนี้จะมีความสูงต่อเนื่องกัน

6 ความสูงต่อเนื่อง
0
5
0
5
0

5. เส้นชั้นความสูงที่ล้อมรอบเส้นชั้นความสูงชนิดดีเพรสชั่น
เส้นชั้นความสูงทั้ง 2 เส้นนี้จะมีความสูงเท่ากัน
ความสูงเท่ากัน
7
0 6
November 27, 2023 5 0
0
November 27, 2023
November 27, 2023
ลักษณะต่าง ๆ ของเส้นชั้นความสูง ซึ่งแสดงให้ทราบ
ถึงลักษณะของผิวพิภพ
1. เส้นชั้นความสูง จะมีลักษณะเป็ นเส้นโค้งเรียบ และ
บรรจบตัวของมันเองเสมอ

November 27, 2023


2. เส้นชั้นความสูงที่มาบรรจบกันเป็ นเส้นสุดท้าย แสดงว่า
บริเวณนั้นเป็ นยอดเนิน หรือ ยอดเขา ถ้ามีลักษณะเกือบเป็ นวง
รอบ แสดงว่ายอดเขานั้นเป็ น ยอดแหลม หรือมีลักษณะเป็ นลูกบิด
ถ้ามีลักษณะเป็ นวงยาวแสดงว่ายอดเขานั้นเป็ นสัน

November 27, 2023


3. เส้นชั้นความสูงที่แสดงเนิน 2 เนินชิดกันภายในเส้นชั้น
ความสูงเส้นหนึ่งแสดงว่าเป็ นคอเขา ( SADDLE )หรือ อานม้า
ตามกฎทั่วไปแล้ว“คอเขา” คือ จุดที่อยู่ต่ำจนเห็นได้อย่าง
ชัดเจน ตามยอดสันเขา

November 27, 2023


4. เส้นชั้นความสูงที่มีรูปร่างลักษณะยื่นออกมาเหมือนนิ้ว
มือ (ตัว U ฐานกลม) เรียงต่อกันตามลำดับซึ่งขยายออกไปใน
ทิศทางข้างจากสันเขา แสดงว่าเป็ นจมูกเขาหรือไหล่เขา ( SPUR )

จมูกเขา

November 27, 2023


5. เส้นชั้นความสูงที่ตีบเข้าไปสู่เส้นเดียวกันแสดงว่าเป็ น
หน้าผา ตามปกติเส้นชั้นความสูงจะไม่ตัดกัน แต่ ถ้าตัดกันและ
อีกเส้นหนึ่งเป็ นเส้นประแสดงว่าบริเวณนั้นเป็ นเขาชะโงก

หน้าผา เขาชะโงก

November 27, 2023


6. เส้นชั้นความสูงที่มีรูปร่างลักษณะเป็ นชุดของรูปตัววี ( V )
เรียงกันไปตามลำดับ แสดงว่าเป็ นซอกเขา ( DRAW ) และฐานของ
ตัววีจะชี้ไปทางต้นน้ำเสมอ ซอกเขาคือทางน้ำที่ไม่มีโอกาสจะทำให้เกิด
เป็ นพื้นของหุบเขาได้ หุบเขาจะมีพื้นระดับอย่างพอเพียงที่จะ
อำนวยให้ใช้ประโยชน์ได้ แต่ซอกเขาจะไม่มีลักษณะดังกล่าวนี้

ซอกเขา ( DRAW )

November 27, 2023


7. เส้นชั้นความสูงที่ขนานไปกับทางน้ำโดยประมาณ ซึ่ง
มีความสูงต่ำกว่าเส้นชั้นความสูงเส้นอื่นซึ่งอยู่ห่างทางน้ำออกไป
อย่างเด่นชัด ( เส้นชั้นความสูงทั้งหลายที่ขนานกันทางน้ำนี้มักจะ
อยู่ห่าง ๆ กัน ) แสดงว่าบริเวณนี้เป็ นหุบเขา ( VALLEY ) แสดงว่ามี
พื้นราบเพียงพอที่จะใช้ประโยชน์ได้ เช่น ใช้เป็ นที่ปฏิบัติการภารกิจ
ได้ในขอบเขตจำกัด

แนว

หุบเขา (VALLEY)

November 27, 2023


CUT
8. เส้นชั้นความสูงที่เป็ นเส้นตรง และขนานไปทั้งสอง
ข้างติดกับถนน ทางรถไฟ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นอื่น ๆ และ
ผ่านไปทางเนิน สันเนิน แสดงว่าเป็ นที่ตัดดิน ( CUT ) แต่ถ้าข้าม
ผ่านพื้นที่ต่ำแสดงว่าเป็ นที่พูนดิน ( FILL ) ที่พูนดินมักจะแสดงให้
FILL
CUT & FILL
เห็นด้วยรอยเล็ก ๆ โดยหันขีดไปทางที่ต่ำกว่า
ดินตัด ดินตัด
CUT

FILL

ดินถม

November 27, 2023 ดินถม


9. เส้นชั้นความสูงบริเวณใดที่อยู่ห่างกันเท่า ๆ กัน
แสดงว่าเป็ นลาดชันน้อยที่สม่ำเสมอ
10. เส้นชั้นความสูงบริเวณใดที่อยู่ค่อนข้างชิดและเท่า
ๆกัน แสดงว่าเป็ นลาดชันมากที่สม่ำเสมอ
11. เส้นชั้นความสูงที่อยู่ชิดกันตอนยอด และห่างกันในตอน
ล่าง แสดงว่าเป็ นลาดเว้า
12. เส้นชั้นความสูงที่อยู่ห่างกันตอนยอด และชิดกันตอน
ล่าง แสดงว่าเป็ นลาดนูน Back to Frame43

ลาดเว้า
ลาดชันน้อย
สม่ำเสมอ
November 27, 2023
November 27, 2023
เส้นลายขวานสับ ( HACHURES )
เป็ นเส้นขีดสั้น ๆ สีน้ำตาลใช้เพื่อแสดงลักษณะ
ของทรวดทรง เส้นลายขวานสับไม่ได้แสดงให้ทราบถึง
ความสูงที่ถูกต้องแน่นอน แต่ ใช้เพื่อแสดงถึงลักษณะ
ของลาด
- คุณลักษณะของเส้นลายขวานสับ คือ จะต้อง
มีลักษณะสอบเข้าหากัน หรือ แผ่กระจายออกทางเชิง
เนิน

November 27, 2023


-เส้นลายขวานสับที่แผ่กระจายออกจาก
ศูนย์กลางแห่งหนึ่งแสดงว่า เป็ นยอดเขา
-ในบริเวณที่เป็ นพื้นที่ลาดชันเส้นลายขวาน
สับจะสั้นหนา และเรียงชิดกัน
-สำหรับพื้นที่ที่ลาดชันน้อย เส้นลายขวานสับ
จะยาว บาง และเรียงห่างกัน หรือ อีกนัยหนึ่งเส้นลาย
ขวานสับที่เห็นหนาทึบแสดงว่าเป็ นที่สูงชันแต่ถ้าบาง
โปร่งแสดงว่าเป็ นที่ชันน้อย ๆ และค่อนข้างราบ
November 27, 2023
เส้นลายขวานสับ ( HACHURES )

November 27, 2023


ทรวดทรงแรเงา ( SHADED RELIEF )
จะแสดงลักษณะทรวดทรงเอาไว้ โดยการใช้เงาซึ่ง
จะมีลักษณะความเข้มของสีเป็ นสีหนักและสีจางด้วยการ
ทำให้ด้านหนึ่งของเนิน สันเนินหรือภูเขามืดลงไป ความ
เข้มของการแรเงาจะเป็ นเครื่องแสดงความสูงต่ำของลาด
ถ้าเข้มมากก็สูงชัน ถ้าเข้มน้อยก็ไม่สูงชัน

November 27, 2023


แถบสี ( LAYER TINTING )
แถบสีเป็ นวิธีการแสดงถึงลักษณะของทรวดทรงและ
ความสูงเป็ นช่วง ในพื้นที่แต่ละช่วงความสูงหนึ่ง ๆ จะ
แสดงไว้แต่ละแถบสี ซึ่งมีสีแตกต่างกันไป การลำดับชั้นของ
สีแต่ละแถบสีจะแสดงให้ทราบถึงชั้นความสูงที่แตกต่างกัน
แถบสีแต่ละสีไม่ได้บอกความสูงที่ถูกต้องแน่นอน แต่แสดงให้
ทราบแต่เพียงว่าความสูงต่าง ๆ เหล่านั้นอยู่ในชั้นความสูง
ของสีนั้น ๆ

November 27, 2023


แถบสี ( LAYER TINTING )
ปกติแล้วจะใช้ สีน้ำเงิน แทนทะเล เมื่อความสูงของแผ่น
ดินเพิ่มขึ้นตามลำดับ ก็ต้องใช้สีอื่น ๆ แสดงชั้นความสูงเป็ น
ช่วง ๆ ไป และต้องพิมพ์เครื่องหมายไว้ที่ขอบระวางแผนที่
เพื่อแสดงช่วงความสูงของแต่ละแถบสี โดยมากแถบสีมักจะ
ใช้กับแผนที่เดินอากาศโดยใช้ร่วมกับเส้นชั้นความสูง

November 27, 2023


ข้อมูลความสูงภูมิประเทศ และแบบจำลองภูมิประเทศเชิงเลข

Contour Line Digital Elevation Model:[DEM]


Digital Terrain Model:[DTM]
Digital Surface Model:[DSM]
Digital Terrain Elevation Data[DTED]

November 27, 2023 48


November 27, 2023 49
การวิเคราะห์ภูมิประเทศทางทหาร
การเคลื่อนที่นอกเส้นทาง [CCM]
ฤดูฝน ของรถถัง M 60 บริเวณ จ.ระยอง ฤดูแล้ง

C = CROSS
C = COUNTRY
M = MOVEMENT
การจำลองภาพสนามรบสามมิติ [ 3D-Model ]
การจำลองการไหลของน้ำ

µÑÇÍÂèÒ§5237-1+DEMÍèÒ§¢Ø¹´èÒ¹.gmw
การวิเคราะห์ความสูง-ต่ำ/ลาด-ชันของภูมิประเทศ
µÑÇÍÂèÒ§5237-1+DEMÍèÒ§¢Ø¹´èÒ¹.gmw

November 27, 2023 Lt.Col.P.Sumit 54


ยานยนต์ประเภทล้อและสายพาน
ลาด ( SLOPE )
ลาด คือ พื้นเอียงของพิภพที่ทำมุมกับพื้นระดับ อาการลาด
ของภูมิประเทศนับว่าเป็ นรายละเอียดที่มีความสำคัญ ทั้งนี้
เนื่องจากอาการลาดมีผลกระทบ ต่อการเลือกเส้นทางที่จะใช้
เคลื่อนที่ การเลือกหาที่ตั้งของหน่วย ฯลฯ

November 27, 2023


แบบของลาด
แบบของลาด( SLOPE)แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด
1. ลาดสม่ำเสมอ ( UNIFORM SLOPE )
2. ลาดเว้า ( CONCAVE SLOPE )
3. ลาดนูน ( CONVEX SLOPE )
Go to Frame28

PDF.83

November 27, 2023


ค่าของลาด
คือ อัตราส่วนระหว่างระยะในทางดิ่งกับระยะใน
ทางระดับ ถ้าเป็ นลาดขึ้นใช้เครื่องหมายบวก (+) ถ้าเป็ น
ลาดลงใช้เครื่องหมายลบ (-) ซึ่งแสดงเป็ นเศษส่วนง่าย

ค่าของลาด = ระยะทางดิ่ง = VD
ระยะทางระดับ HD

e
Slop
VD=Vertical Distance

November 27, 2023


Horizontal Distance
ข้อควรระมัดระวังในการหาค่าของลาด
1. การคำนวณหาค่าของลาดระหว่างจุด 2 จุด
ในภูมิประเทศ สามารถกระทำได้เฉพาะเมื่อลักษณะของ
ภูมิประเทศมีการลาดขึ้น หรือลาดลงโดยสม่ำเสมอหรือ
ค่อย ๆ เปลี่ยนไปที่ละน้อย จะไม่สามารถกระทำผ่าน
หุบเขา
2.หน่วยของระยะในทางดิ่ งและระยะในทาง
ระดับจะต้องเป็ นหน่วยเดียวกัน

November 27, 2023


การแสดงค่าของลาด
การแสดงค่าของลาด มีวิธีแสดง 3 วิธี คือ
1.แสดงเป็ น เปอร์เซ็นต์
2.แสดงเป็ น มิลเลียม ( MILS )
3.แสดงเป็ น องศา

November 27, 2023


1.การหาค่าของลาดเป็ นเปอร์เซ็นต์
การแสดงค่าของลาดวิธีนี้นิยมใช้กันมากที่สุด
ค่าของลาดเป็ นเปอร์เซ็นต์ = ระยะทางดิ่ง x 100
ระยะทางระดับ
- ลาด 1 % คือ พื้นที่ภูมิประเทศสูงขึ้นหรือต่ำ
ลง 1 หน่วย ต่อระยะทางระดับ 100 หน่วย
- ลาด 100 % คือ ลาดที่มีมุม 45 องศา ซึ่ง
ระยะทางดิ่งและระยะทางระดับเท่ากัน
45°
SLOPE 100%
VD=X

90° 45°
November 27, 2023 HD=X 61
45°

=
E
P
LO 0%
S 10 VD=X

45° HD=X 90°


X = VERTEX
A-C = Horizontal Dist. Between Index Contour
A-D
I-E
J-F Horizontal Dist. Between Intermediate Contour O 300
K-G
L-H L H
280
K G
260
J F
240
I E
220
D
200
A 11/27/2023B C
L7018/ช่วงต่างเส้นชั้นความสูง =62
20 ม.
- ลาด 100 % คือ ลาดที่มีมุม
45°
45˚ ซึ่งระยะทางดิ่งและระยะทาง
100
% ระดับจะเท่ากัน
=
E
LOP VD = X
S

100 % = 45˚
50 % = 22˚30ʹ00ʺ
45° HD = X 90°
SLOPE 25 % = 11˚15ʹ00ʺ
1% = 00˚27ʹ
- ลาด 1 % คือ พื้นที่ภูมิประเทศสูง
ขึ้น หรือต่ำลง 1หน่วย ต่อระยะทาง
ระดับ 100 หน่วย
%
SLOPE = 1
VD = 1m.

HD = 100 m.

November 27, 2023


2. การหาค่าของลาดเป็ นมิลเลียม
- การคิดค่าของลาดเป็ นมิลเลียมนี้ หมายความ
ว่า ความโค้งของวงกลมสูงขึ้นหรือต่ำลง 1 หน่วย ต่อ
ระยะทางระดับ 1,000 หน่วย
- การคิดค่าของลาดเป็ นมิลเลียมนี้จะไม่กระทำ
ต่อเมื่อมีมุมเกิน 350 มิลเลียม(~ 20˚)

ค่าของลาดเป็ นมิลเลียม = ระยะทางดิ่ง x 1,000


ระยะทางระดับ

November 27, 2023


3. การหาค่าของลาดเป็ นองศา
ค่าของลาดเป็ นองศา คือค่าของมุมเป็ นองศาระหว่าง
พื้นระดับกับพื้นเอียงของพิภพ ลาด 1 องศา หมายความว่า
“ลาดที่มีความโค้งของวงกลมสูงขึ้นหรือต่ำลง 1 หน่วยต่อระยะทาง
ระดับ 57.3 หน่วย”
ค่าของลาดเป็ นองศานี้จะมีความผิดพลาดต่อเมื่อมีความโค้งมาก
ไม่กระทำเมื่อมีค่าของลาดเกิน 20 องศา
ให้ใช้ค่าของลาดเป็ นเปอร์เซ็นต์แทน

ค่าของลาดเป็ นองศา = ระยะทางดิ่ง x 57.3


ระยะทางระดับ

November 27, 2023


ตัวอย่างการหา SLOPE

จงหาความลาดระหว่างจุด ก และจุด ข ซึ่งปรากฏอยู่ในแผนที่


มาตราส่วน 1:50,000 โดยจุด ก อยู่ที่พิกัด 19459750 และอยู่บนเส้นชั้น
ความสูง 120 ม. พอดี ส่วนจุด ข อยู่ที่พิกัด 19959750 และอยู่บนเส้นชั้น
ความสูง 220 ม.พอดี

ข สูง 220 ม.
พิกัด 19959750

=100 m.

สูง 120 ม.
พิกัด 19459750 ก
=500 m.
ระยะตามทางระดับ ระหว่างจุด ก กับ ข = 1995 – 1945 = 50 = 500 ม.
ระยะตามทางดิ่ง ระหว่างจุด ก กับ ข = 220 – 120 = 100 ม.

November 27, 2023 66


Ê͹àÃ×èͧàÊ鹪Ñ鹫͡à¢Ò.gmw
ทำ
ะทางระดับ (ตามแนวนอน/แนวราบ)
ระหว่างจุด ก กับ ข = 1995 – 1945 = 50 = 500 ม.
ะทางดิ่ง (ตามแนวยืน/แนวดิ่ง)
ระหว่างจุด ก กับ ข = 220 – 120 = 100 ม.

ลาด = ระยะตามแนวดิ่ง
ระยะตามแนวระดับ

ารลาดคิดเป็ นอัตราส่วนต่อ 1 หน่วยที่ระดับสูงเปลี่ยน = 100 = 1


500 5
ารลาดคิดเป็ น % = 1 x 100 = 20 %
5
ารลาดคิดเป็ น องศา = 1 x 57.3 = 11.46˚ [11˚ 27ʹ 36ʺ ]
5
1˚ = 60ʹ
.46˚ = 60ʹ x .46˚ = 27.60ʹ
1ʹ = 60ʺ
.60ʹ = 60ʺx .60ʹ = 36ʺ
November 27, 2023

You might also like