You are on page 1of 6

533221 Surveying Leveling

การระดับ (Leveling)
กรรมวิธกี ารวัดระยะดิง่ ระหว่างจุดบนพืน้ ผิวทีต่ อ้ งการและพืน้ ผิวอ้างอิงทีเ่ ป็ นพืน้
หลักฐานทางระดับ (Datum) ระยะดิง่ นี้เรียกว่า ค่าระดับ (Elevation) พืน้ หลักฐาน
Leveling อ้างอิงทีใ่ ช้ คือ พืน้ ผิวระดับนํ้าทะเลปานกลาง (Mean sea level, MSL) โดยกําหนดให้
มีคา่ ระดับเท่ากับ 0 เมตร
วัตถุประสงค์ของงานระดับ
การหาค่าระดับให้กบั ตําแหน่งต่างๆ ว่ามีความสูงเท่าใดเทียบกับผิวอ้างอิง (Reference
surface, Datum)
Surames Piriyawat, Ph.D.
่ ่ บ (Elevation difference, Δe)
คาตางระดั
Department of Civil Engineering
Faculty of Engineering
การหาค่าระดับของจุดใดๆ บนผิวโลกจะวัดเทียบกับจุดอ้างอิงทีท่ ราบค่าระดับด้วยการ
Burapha University วัดค่าระยะดิง่ เทียบกับจุดอ้างอิงนัน้
Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

The technical terms วธีิ การหาคาระดั


่ บความสูง
o Vertical line: แนวเส้นทีอ่ ยูใ่ นแนวแรงดึงดูดของโลกเทียบได้กบั แนวของสายลูกดิง่
o Level surface: พืน้ ผิวทีม่ คี า่ ระดับเท่ากันและตัง้ ฉากกับแนวดิง่ หรือแรงดึงดูดของโลกทุกจุด การหาค่าระดับของจุดใดๆ ใช้วธิ กี ารหาค่าต่างระดับของจุดนัน้ เทียบกับจุดที่
ซึง่ จะมีลกั ษณะเป็ นลูกทรงกลมโดยประมาณ ทราบค่าระดับอยูแ่ ล้วทีเ่ รียกว่า หมุดระดับ (Bench mark, BM) ด้วยวิธกี าร
o Level line: เส้นทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ผิวระดับ ดังนัน้ เส้นระดับจึงเป็ นเส้นโค้งขนานไปตลอดพืน้ ผิว ดังต่อไปนี้:
ระดับ (Level surface)
o การวัดด้วยเทป (Taping)
o Horizontal plane: ระนาบทีต่ งั ้ ฉากกับแนวแรงดึงดูดของโลกหรือแนวดิง่
o การวัดด้วยกล้องวัดระดับ (Differential leveling)
o Horizontal line: แนวเส้นทีอ่ ยูบ่ นระนาบราบและตัง้ ฉากกับแนวดิง่
o Vertical datum: พืน้ ผิวระดับซึง่ ใช้เป็ นพืน้ ผิวอ้างอิงทางความสูงหรือค่าระดับของจุด o การวัดแบบตรีโกณมิติ (Trigonometric leveling)
ต่างๆ โดยทัวไปใช้
่ พน้ื ผิวระดับนํ้าทะเลปานกลาง (Mean sea level, MSL)
o การวัดด้วยเครือ่ งวัดความกดดันของอากาศ (Aneroid barometer)
o Elevation: ค่าระยะดิง่ จากพืน้ ผิวระดับอ้างอิงถึงจุดทีต่ อ้ งการทราบค่าระดับ
o Elevation difference: ค่าระยะดิง่ ระหว่างพืน้ ผิวระดับสองพืน้ ผิว
Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4
Leveling Instruments The Components of Leveling Telescope

o Telescope:
o Tripod
Important components: eyepiece lens, cross hair,
o Leveling telescope
o Staff
focusing lens, focusing knob, objective lens
o Foot plate o Circular bubble
กล้องระดับ: o Tribach
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการอ่านค่าความสูงของแนวเล็งกล้องจากไม้ระดับเหนือ
พืน้ ผิวทีไ่ ม้ระดับตัง้ อยู่ เมือ่ กล้องระดับติดตัง้ อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งาน แกน
ดิง่ กล้องจะอยูใ่ นแนวดิง่ และแนวเล็งจะอยูใ่ นแนวระดับ

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6

Telescope ่
การหาคาระดั
บความสูงด้วยกล้องระดับ
Forward direction

FS

BS
HB ΔH AB

H A
msl
o คํานวณค่าความสูงของกล้องเหนือระดับนํ้าทะเลปานกลาง: HI = H A + BS
o คํานวณค่าระดับของจุด B: H B = HI − FS
o ค่าต่างระดับจาก A ไป B: ΔH AB = BS − FS
o ค่าระดับของจุด B: H B = H A + ΔH AB
HA = ค่าระดับของจุด A เหนือระดับนํ้าทะเลปานกลาง (Mean sea level, msl)
BS (Back-sight) = ค่าทีอ่ ่านได้จากไม้ระดับเมือ่ ส่องมาทางด้านหลัง

Dr. Surames Piriyawat Dr. Surames Piriyawat


FS (Fore-sight) = ค่าทีอ่ ่านได้จากไม้ระดับเมือ่ ส่องไปทางด้านหน้า
7 8
การระดับโดยวธีิ หาคาตางระดั
่ ่ บ (Differential Leveling) การระดับโดยวธีิ หาคาตางระดั
่ ่ บ (Differential Leveling)
การระดับโดยวธีิ หาคาตางระดั
่ ่ บ: การระดับโดยวธีิ หาคาตางระดั
่ ่ บ:
การถ่ายค่าระดับจากหมุดระดับทีท่ ราบค่าระดับซึง่ เรียกว่า “Bench mark” (BM) ไปยัง การถ่ายค่าระดับจากหมุดระดับทีท่ ราบค่าระดับซึง่ เรียกว่า “Bench mark” (BM) ไปยัง
หมุดระดับทีต่ อ้ งการทราบค่า ซึง่ จะถูกใช้เป็ นหมุดระดับอ้างอิงในการดําเนินงานต่างๆ หมุดระดับทีต่ อ้ งการทราบค่า ซึง่ จะถูกใช้เป็ นหมุดระดับอ้างอิงในการดําเนินงานต่างๆ
ในบริเวณนัน้ ด้วยการวัดและคํานวณค่าต่างระดับระหว่างหมุดทัง้ สอง ในบริเวณนัน้ ด้วยการวัดและคํานวณค่าต่างระดับระหว่างหมุดทัง้ สอง

Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

BS 2
BSn

FSn
BSn + 1
FSn + 1
การตรวจสอบความถูกต้อง
FS 2
BS1 FS1
BM B
การตรวจสอบความถูกต้อง:
การตรวจสอบความถูกต้องงานระดับโดยวิธหี าค่าต่างระดับสามารถทําได้โดยการเดิน
A n +1
BM 101
n TPn B
1 TP1
2
TP 2
TPn −1

HA HB
ระดับย้อนกลับจากหมุด BM B มายังหมุด BM101 อีกครัง้ ซึง่ จะได้วา่
msl ΔH BM B − BM 101 = ∑ BS BM B − BM 101 − ∑ FS BM B − BM 101
o Turning point (TP): จุดพักระดับ หรือจุดถ่ายระดับ
o Vertical control point: หมุดหลักฐานทางดิง่ ทีท่ ราบค่าระดับ ในทีน่ ้ีคอื หมุด BM 101
o หากไม่มคี วามคลาดเคลือ่ นใดๆ ในการเดินระดับไปและกลับจะได้คา่ ความ
o BM B คือ หมุดระดับทีเ่ ราต้องการทราบค่าระดับ แตกต่างของค่าต่างระดับเทีย่ วไปและเทีย่ วกลับควรเท่ากับศูนย์
หลักการคํานวณ:
o ค่าต่างระดับของการตัง้ กล้องแต่ละครัง้ : ΔH i = BSi − FSi ΔH BM 101− BM B − ΔH BM B − BM 101 = 0

o ค่าต่างระดับจาก BM 101 ไปยัง BM B: ΔH BM 101− BM B = ∑ BS BM 101− BM B − ∑ FS BM 101− BM B

o ค่าระดับของหมุด BM B: H BM B = H BM 101 + ΔH BM 101− BM B


Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat 12
ข้อกําหนดชัน้ งานสําหรับงานระดับ ่
การอานไม้ ระดับและการจดบันทึกข้อมูลสนาม
Federal Geodetic Control Committee or FGCC (1984):
แบ่งชัน้ งานสําหรับงานระดับออกเป็ น 3 ชัน้ งาน ตามระดับความถูกต้องของการใช้งาน สายใยบน

ประเภทต่างๆ สายใยกลาง

สายใยล่าง
่ : ความคลาดเคลือ่ นทีย่ อมให้เกิดขึน้ ได้สาํ หรับมาตรฐานงานชัน้ 3 เท่ากับ
o ตัวอยาง
± 12 K mm.

โดยที่ K คือ ระยะทางเฉลีย่ ของการเดินระดับไปและกลับระหว่างจุดทีต่ อ้ งการหา


D = Ks + C
ความต่างระดับ, km. S

ในการผลิตกล้อง จะปรับให้กล้องมีคา่ K=100 และ C=0 จะได้


D = 100 s

Dr. Surames Piriyawat 13 Dr. Surames Piriyawat 14


ความคลาดเคลื่อนและความผดพลาดในงานระดั
บ ความคลาดเคลื่อนจากธรรมชาติ
ความคลาดเคลื่อนจากเครื่องมือ o ความโค้งของผิวโลก (Curvature of the Earth) และการหักเหของแสง (Reflection)
o แนวเล็งไม่อยูใ่ นแนวราบเมือ่ กล้องได้ระดับ หรือแนวเล็งเอียง เรียกว่า “Collimation o การเปลีย่ นแปลงของอุณหภูม ิ
error” ตรวจแก้ได้ดว้ ยการวัดสอบกล้องด้วยวิธี Two-peg test
o แรงลม
o สายใยราบไม่อยูใ่ นแนวราบหรือเอียง
o การตัง้ กล้องบนพืน้ ดินอ่อน
o ไม้ระดับมีความยาวไม่ถกู ต้องหรือไม่ได้มาตรฐาน
o การขันสกรูยดึ กล้องไม่แน่นพอ

ความผดพลาดที ิ น้ ในงานระดับ
่เกดขึ
ความคลาดเคลื่อนจากบุคคล o การวางไม้ระดับผิดตําแหน่ง
o การเกิดภาพเหลือ่ ม (Parallax) o การอ่านค่าไม้ระดับผิดพลาด การอ่านหลักตัวเลขผิด
o การปรับระดับกล้องไม่ได้ระดับ o การจดบันทึกข้อมูลผิดพลาด
o การอ่านค่าไม้ระดับขณะทีม่ ภี าพเหลือ่ ม หรือเกิดไอแดด หมอกควัน และการ o การจับขากล้องขณะทํางาน
สันสะเทื
่ อน
Dr. Surames Piriyawat 15 Dr. Surames Piriyawat 16

การรังวัดระดับจุดรายละเอียดระหวางสถานี หลัก การประยุกต์ใช้งานระดับ
o การหาค่าระดับของตําแหน่งต่างๆ ทีส่ าํ คัญซึง่ อยูร่ ะหว่างการเดินระดับระหว่างจุด
สองจุด เช่น ค่าระดับของประตูระบายนํ้า หรือตําแหน่งของจุดทีจ่ ะติดตัง้ มาตรวัด o การระดับเพือ่ สร้างหมุดหลักฐานทางดิง่ (Vertical control
นํ้า เป็ นต้น bench mark)
o ค่าระดับของจุดทีแ่ ทรกเข้ามานี้ เรียกว่า Intermediate sights (IS)
o การระดับเพือ่ งานวิศวกรรมโยธา: Cross section and Profile
o โดยทัวไปการวั
่ ดค่าระดับ IS นี้ จะอ่านค่าไม้ระดับสายใยกลางเพียงค่าเดียว และจะ
ไม่ถกู นํามาคํานวณเพือ่ ตรวจสอบความคลาดเคลือ่ นบรรจบ (Miss-closure error)
ของการเดินระดับ

Dr. Surames Piriyawat 17 Dr. Surames Piriyawat 18

การคํานวณปรับแก้ความคลาดเคลื่อนงานระดับ o จากตัวเลขค่าต่างระดับระหว่างจุดต่างๆ ถ้าไม่เกิดความคลาดเคลือ่ นในการวัด ผลรวม


ของค่าต่างระดับจะต้องเท่ากับ ศูนย์
่ : วงรอบระดับวงหนึ่งประกอบด้วยตอนระดับ 4 ตอน ซึง่ ได้รงั วัดค่าต่าง
o ตัวอยาง
o แต่จากข้อมูลพบว่า เกิดค่าความคลาดเคลือ่ นเท่ากับ 3.201+1.634-3.582-1.190 =
ระดับในทิศทางตามเข็มนาฬิกาดังแสดงในรูปด้านล่าง หลังจากได้ตรวจสอบตาม
0.063 ซึง่ ความคลาดเคลื่อนนี้ แปรผันตามระยะทางจากจุด A ดังนัน้ ค่าปรับแก้จะ
เกณฑ์งานชัน้ ที่ 3 (±12 K ) มีขอ้ มูลสรุปของแต่ละช่วงดังนี้
แปรผันตามระยะทางด้วยเช่นกัน
DAB = 1.6 km.; ΔH AB = 3.201 m.
DBC = 1.1 km.; ΔH BC = 1.634 m.
o ระยะทางทัง้ หมดทีใ่ ช้ในการเดินระดับ เท่ากับ 1.6+1.1+1.3+0.8 = 4.8 กิโลเมตร
DCD = 1.3 km.; ΔH CD = −3.582 m. o ดังนัน้ จะได้คา่ ปรับแก้ต่อระยะทาง เท่ากับ -0.063/4.8 = -0.013 เมตรต่อกิโลเมตร
DDA = 0.8 km.; ΔH DA = −1.190 m. Section Distance Diff. Elev. Cumm. dist. Correction value Corrected
(km.) (m.) (km.) for each section distance (km.)
(m.)
B
A-B 1.6 3.201 1.6 -0.021 3.180
B-C 1.1 1.634 2.7 -0.014 1.620
C-D 1.3 -3.582 4.0 -0.017 -3.599
A
D-A 0.8 -1.190 4.8 -0.011 -1.201
Sum 4.8 0.063 -0.063 0.000
Correction value -0.013 Checked Checked
D C (m./km.)

Dr. Surames Piriyawat 19 Dr. Surames Piriyawat 20


Reciprocal Leveling o จากรูปในแผ่นใส อ่านค่าจากกล้องระดับทีต่ งั ้ ใกล้จดุ A จะได้
ΔH AB = x1 − ( x2 − (c − r ))
o การทําระดับบางกรณีไม่สามารถรักษาระยะไม้ระดับหน้าและหลังให้
เท่ากันได้เนื่องจากข้อจํากัดของภูมปิ ระเทศ เช่น การทําระดับข้ามลํานํ้า
เป็ นต้น o ขณะเดียวกัน อ่านค่าจากกล้องระดับทีต่ งั ้ ใกล้จดุ B ได้
o ผลกระทบจากความคลาดเคลือ่ นแนวเล็งเอียง ความโค้งผิวโลก การ ΔH AB = ( y2 − (c − r )) − y1
หักเหของแสงจะทําให้การอ่านค่าไม้ระดับผิดไปได้
o ดังนัน้ สามารถหาค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ B ได้ดงั นี้
o Reciprocal leveling คือ การทําระดับด้วยการใช้กล้องระดับ 2 ชุด ทํา
ั่ 2ΔH AB = ( x2 − x1 ) + ( y1 − y2 )
การอ่านค่าไม้ระดับทีอ่ ยูท่ งั ้ ฝงไกลและใกล้
ในเวลาพร้อมกัน
ΔH AB = [( x2 − x1 ) + ( y1 − y2 )]
1
2

Dr. Surames Piriyawat 21 Dr. Surames Piriyawat 22

You might also like