You are on page 1of 61

วิธีการพยากรณ์ อากาศ

โดย นายชู เกียรติ ไทยจรัสเสถียร นักอุตุนิยมวิทยาชานาญการพิเศษ


สานักพยากรณ์ อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา
อุตน
ุ ย
ิ มวิทยา
• อุตนุ ย ิ มวิทยา เป็นวิชาทีศ ึ ษาเกีย
่ ก ่ วก ับบรรยากาศ และ
ปรากฏการณ์ ทีเ่ กีย ่ วข้อง
• อุตุ แปลว่า ฤดูกาล
• นิยม แปลว่า กาหนด
• อุตน ุ ย ิ มวิทยา จึงหมายถึงวิชาว่าด้วยการกาหนดฤดูกาล
แต่ในความเป็นจริง วิชานีม ้ หาครอบคลุมเรือ
้ เี นือ ่ งราวต่าง ๆ
มากมาย
• อุตน ุ ย ิ มวิทยาแบ่งออกเป็นหลายสาขา เชน ่ อุตนุ ยิ มวิทยา
การพยากรณ์ อุตน ุ ย ิ มวิทยากายภาพ อุตน ุ ยิ มวิทยาพลว ัตร
อุตน ุ ย ิ มวิทยาการบิน
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดหมายสภาวะทาง
อุตน
ุ ย
ิ มวิทยา ทีจ ้ ในอนาคต ณ สถานทีห
่ ะเกิดขึน ่ รือ
บริเวณใดบริเวณหนึง่

3
4
วิธีการพยากรณ์ อากาศ
–วิธีการคงสภาพเดิม (PERSISTENCE METHOD)

เช้ าวันนี้ เช้ าวันพรุ่ งนี้


อุณหภูมิ ตา่ สุ ด 20  C. อุณหภูมิ ตา่ สุ ด 20  C.
• เป็ นวิธีทงี่ ่ ายทีส่ ุ ด โดยใช้ สมมุตฐิ านว่ าสภาพลมฟ้ า
อากาศจะคงเดิม ไม่ เปลีย่ นแปลงไปจากปัจจุบัน
• ใช้ ได้ เฉพาะในกรณีทรี่ ูปแบบของลมฟ้ าอากาศ
เปลีย่ นแปลงอย่างช้ าๆ
–วิธีการดูแนวโน้ ม (TREND METHOD)
ความเร็วของการเคลือ่ นทีข่ องแนวปะทะอากาศ
• ใช้ การกาหนดทิศทางและความเร็วในการ
เคลือ่ นที่ของระบบลมฟ้าอากาศ
• การใช้ trends method ในการพยากรณ์ ระยะสั้ นๆ
เรียกว่ า Nowcasting และมักใช้ ในการพยากรณ์
ฝน
• ใช้ ได้ ดีกบั ระบบลมฟ้ าอากาศที่ไม่ เปลีย่ นความเร็ว
ทิศทาง หรือความรุนแรง
-วิธีการเปรียบเทียบกับลักษณะอากาศในอดีต
(ANALOG METHOD)

•ใช้ การเปรียบเทียบสภาพลมฟ้าอากาศปัจจุบัน กับลมฟ้าอากาศในอดีตที่


คล้ ายคลึงกัน แล้ วคาดหมายสภาวะในอนาคตจากสิ่ งที่เคยเกิดขึน้ ในกรณี
ที่คล้ ายคลึงกันดังกล่ าว
•เป็ นวิธีทยี่ าก เพราะลมฟ้าอากาศซับซ้ อนมากจนไม่ มเี หตุการณ์ ที่
คล้ ายคลึงกันอย่ างแท้ จริง
-วิธีใช้ ค่าสถิติ (CLIMATE METHOD)
• ใช้ ค่าเฉลีย่ จากสถิติลมฟ้ าอากาศหลายๆปี
• ใช้ ได้ ดีเมื่อลมฟ้ าอากาศมีสภาพใกล้ เคียงกับสภาวะ
ปกติของช่ วงฤดูกาลนั้น
• ใช้ ไม่ ได้ เมื่อลมฟ้ าอากาศมีสภาพแตกต่ างไปจาก
สภาวะโดยเฉลีย่ ของช่ วงเวลานั้นมาก
-วิธีพยากรณ์ อากาศจากลักษณะอากาศผิวพืน้
synoptic weather forecasting
แผนทีล่ มฟ้าอากาศครั้งแรก
ว่ากันด้วยเรื่ องของ “การพยากรณ์อากาศ”
ศัพท์ที่ควรรู้
• การพยากรณ์อากาศ คือ การคาดคะเนลักษณะอากาศล่วงหน้ า
โดยเจ้ าหน้ าที่ของกรมอุตนุ ิยมวิทยา
• อุตนุ ิยมวิทยา คือ วิชาวิทยาศาสตร์ ที่ศกึ ษาเกี่ยวกับอากาศ และ
การเปลี่ยนแปลงของอากาศ
• แผนที่อากาศ คือ แผนที่ที่แสดงลักษณะของอากาศในเวลาขณะ
ใดขณะหนึง่ ที่ผา่ นมาในแต่ละวัน
จะตรวจสภาพอากาศต้องใช้ขอ้ มูลจากไหน?
ในการเก็บข้ อมูลการตรวจสภาพอากาศ จะอาศัยเครื่ องมือหลายๆ
อย่ างประกอบกัน ได้ แก่
- Thermometer
- Hygrometer
- Rain gauge
- Wind vane
- Anemometer
- เรดาร์ ตรวจอากาศ
- บัลลูนตรวจอากาศ
- ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา

ในแผนที่อากาศมีอะไร?
ในแผนที่อากาศ จะมีสัญลักษณ์ ต่างๆ ดังนี ้

ตัวอักษร H แทนบริ เวณ


ที่มีความกดอากาศสูง
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
ในแผนที่อากาศ จะมีสัญลักษณ์ ต่างๆ ดังนี ้

ตัวอักษร L แทนบริ เวณที่


มีความกดอากาศต่า
H = ความกดอากาศสูง
L = ความกดอากาศต่า
ในแผนที่อากาศมีอะไร?
23
24
28
สัญลักษณ์แสดงความเร็ วลมที่ใช้ในแผนที่อากาศ (หน่วย knot)
0-2 48-62
3-7 53-57
13-17 58-62
18-22 63-67
23-27 98-102
28-32 102-107
33-37
38-42
43-47
สัญลักษณ์แสดงปริ มาณเมฆที่ใช้ในแผนที่อากาศ

ท้องฟ้ าไม่มีเมฆ
มีเมฆ 1 ส่ วน
มีเมฆ 3 ส่ วน
มีเมฆ 5 ส่ วน
มีเมฆเกิน 5 ส่ วน
มีเมฆ 8 ส่ วน
มีเมฆเกิน 8 ส่ วน
มีเมฆ 9 ส่ วน
มีเมฆเกิน 9 ส่ วน
มีเมฆเต็มท้องฟ้ า
สัญลักษณ์แสดงสภาพอากาศที่ใช้ในแผนที่อากาศ
สัญลักษณ์แสดงสภาพอากาศที่ใช้ในแผนที่อากาศ
สัญลักษณ์แสดงชนิดของเมฆชั้นสูงที่ใช้ในแผนที่อากาศ
สัญลักษณ์แสดงชนิดของเมฆชั้นกลางที่ใช้ในแผนที่อากาศ
สัญลักษณ์แสดงชนิดของเมฆชั้นต่าที่ใช้ในแผนที่อากาศ
เส้ นเท่ า (Isopleth)
• Isobar ความกดอากาศ
• isogon มุมหรือทิศของลม
• Isotach ความเร็วลม
• isohume ความชน ื้
• isohyet ปริมาณฝน
• isotherm อุณหภูม ิ
• isodrosotherm อุณหภูมจ ิ ด
ุ นา้ ค้าง
• isallobar การเปลีย ่ นแปลงความกด
• isallotherm การเปลีย ่ นแปลงอุณหภูม ิ

36
37
38
39
การวิเคราะห์ เส้ นเท่ า (Isopleth)
้ เท่าจะไม่ต ัดก ัน แต่อาจจะเป็นวงปิ ดได้
• โดยปกติเสน

้ เท่าจะไม่สน
• เสน ิ้ สุดอย่างกระท ันห ัน

้ เท่าจะไม่มก
• เสน ้
ี ารแยกออกเป็นหลายเสน

• เมือ ่ วิเคราะห์ขนต้
ั้ นเสร็จแล้ว ให้ทาการ smooth เสน ้ เท่าที่
วิเคราะห์ได้ เพือ ่ ให้สามารถเห็น pattern และ gradient ได้

ชดเจน

่ า
• ใสค ่ ทีแ ้ เท่าทุกเสน
่ ต่ละเสน ้

40
แนวปะทะอากาศ

41
42
ความผิดพลาดในการพยากรณ์ อากาศ
1. ความรูค ้ วามเข้าใจเกีย
่ วก ับปรากฏการณ์ตา่ งๆทาง
อุตน
ุ ย
ิ มวิทยาย ังไม่สมบูรณ์

2. บรรยากาศเป็นสงิ่ ทีต
่ อ่ เนือ
่ งและมีการเปลีย
่ นแปลง
อยูต
่ ลอดเวลา แต่การตรวจอากาศกระทา ณ จุดที่
ห่างก ันมาก และทาการตรวจบางเวลาเท่านน ั้ ทาให้
ไม่อาจทราบสภาวะทีแ ่ ท้จริงของบรรยากาศได้

3. ธรรมชาติของกระบวนการทางอุตน ุ ยิ มวิทยามีความ
ั อ
ละเอียดอ่อนและซบซ ้ นมาก ความคลาดเคลือ ่ นแม้
เพียงเล็กน้อยในการตรวจอากาศหรือการวิเคราะห์
ข้อมูล อาจทาให้ผลการพยากรณ์ผด ิ พลาดไปอย่าง
มากได้
43
วิธก
ี ารพยากรณ์
การพยากรณ์อากาศกระทาได้หลายวิธ ี
น ักพยากรณ์จะเลือกใชว้ ธ ้ อยูก
ิ ใี ดขึน ่ ับ

– ประสบการณ์

– ปริมาณข้อมูลทีไ่ ด้ร ับ

– ความยากง่ายของสภาพอากาศปัจจุบ ัน

ื่ ถือสาหร ับการ
– ระด ับความแม่นยาหรือความน่าเชอ
พยากรณ์นนๆั้
44
45
46
-วิธีการพยากรณ์ อากาศด้ วยคอมพิวเตอร์ พยากรณ์ อากาศ (NWP)
-วิธีการพยากรณ์ อากาศโมเดลพยากรณ์ อากาศต่ างๆจากหลายแหล่ ง (ENSEMBLE MODEL)
• ใช้ คอมพิวเตอร์ คานวณการเปลีย่ นแปลงของ
องค์ ประกอบทางอุตุนิยมวิทยา ตามโปรแกรม
แบบจาลอง (model)
• มีข้อจากัดเนื่องจากแบบจาลองไม่ ละเอียด
ครบถ้ วนเหมือนบรรยากาศจริง
• เป็ นวิธีการพยากรณ์ ทดี่ ที สี่ ุ ดในปัจจุบัน
ชนิดของการพยากรณ์อากาศ

-เชิงคุณลักษณะ เช่น เมฆบางส่ วน เมฆเป็ นส่ วนมาก เมฆมาก


-เชิงปริ มาณ เช่น ฝนเล็กน้อย ฝนปานกลาง ฝนหนัก
-ความน่าจะเป็ น เช่น พายุดีเปรสชันจะขึ้นฝั่งที่จงั หวัดชุมพร
ในวันพรุ่ งนี้
อ ุต ุนิยมวิทยาที่ควรรู้

การกระจายตัวของฝน
• ฝนบางพื้นที่ น้อยกว่า 20 % ของพื้นที่
• ฝนเป็นแห่ง ๆ 20-30 % ของพื้นที่
• ฝนกระจาย 40-60 % ของพื้นที่
• ฝนเกือบทัว่ ไป 70-80 % ของพื้นที่
• ฝนทัว่ ไป มากกว่า 80 % ของพื้นที่
• ฝนเป็นบริเวณกว้าง ใช้เฉพาะกรณีมีพาย ุ
เคลื่อนตัวผ่าน
อ ุต ุนิยมวิทยาที่ควรรู้

การกระจายตัวของฝน

ฝนกระจาย 40-60% ฝนบางพื้นที่ 10 %


เกณฑ์ ปริมาณฝน
1. ฝนเล็กน้ อย(Light Rain) ฝนตกมีปริมาณตั้งแต่ 0.1 - 10.0 มิลลิเมตร
2. ฝนปานกลาง(Moderate Rain) ฝนตกมีปริมาณตั้งแต่ 10.1 - 35.0 มิลลิเมตร
3. ฝนหนัก(Heavy Rain) ฝนตกมีปริมาณตั้งแต่ 35.1 - 90.0 มิลลิเมตร
4. ฝนหนักมาก(Very Heavy Rain) ฝนตกมีปริมาณตั้งแต่ 90.1 ขึน้ ไป
เกณฑ์ อากาศร้ อน
1. อากาศร้ อน(Hot) อุณหภูมติ ้งั แต่ 35.0 – 39.9 องศาเซลเซียส
2. อากาศร้ อนจัด(Very Hot) อุณหภูมติ ้งั แต่ 40.0 องศาเซลเซียสขึน้ ไป

เกณฑ์ อากาศหนาว
1. อากาศเย็น(Cool) อุณหภูมติ ้งั แต่ 18.0 – 22.9 องศาเซลเซียส
2. อากาศค่ อนข้ างหนาว(Moderately Cold) อุณหภูมติ ้งั แต่ 16.0 – 17.9 องศา
เซลเซียส
3. อากาศหนาว(Cold) อุณหภูมติ ้งั แต่ 8.0 – 15.9 องศาเซลเซียส
4. อากาศหนาวจัด(Very Cold) อุณหภูมติ ้งั แต่ 7.9 องศาเซลเซียส ลงไป
คาพยากรณ์อากาศ
ระดับความรุ นแรงของพายุหมุนเขตร้ อน
ชื่อเรียก ความเร็ วลมใกล้ ศู น ย์ กลาง
น๊ อต กิโลเมตร/ชั่วโมง
ดีเปรสชั่น D ไม่ ถึง 34 ไม่ ถึง 63
พายุโซนร้ อน 34-63 63-117
ไต้ ฝุ่น, เฮอร์ ริเคน * ตั้งแต่ 64 ขึน้ ไป ตั้งแต่ 118 ขึน้ ไป
หมายเหตุ * มีชื่อเรียกต่ างกันไปตามท้ องถิ่น
ความผิดพลาดของการพยากรณ์อากาศ

-ความรู ้และประสบการณ์ของผูพ้ ยากรณ์อากาศ


-ความอคติในการพยากรณ์อากาศ
-มีปัจจัยที่มีผลต่อการพยากรณ์อากาศหลายอย่างเข้ามาเกี่ยวข้อง
-มีตวั แปรอื่นๆที่มีผลต่อการพยากรณ์อากาศที่ยงั ไม่ทราบหรื อไม่เข้าใจ
-ช่วงเวลาในการพยากรณ์อากาศ พยากรณ์ล่วงหน้ายิง่ มาก ความผิดพลาดก็จะมาก
-ประเทศที่อยูใ่ นพื้นที่เขตร้อนจะพยากรณ์อากาศได้ยากกว่าเขตอบอุ่นหรื อหนาว
การแบ่ งการพยากรณ์ อากาศตามระยะเวลา
การพยากรณ์ ระยะสั้ นมาก ( น้ อยกว่ า 12 ชั่วโมง )
การพยากรณ์ ระยะสั้ น ( มากกว่ า 12 ชั่วโมง แต่ ไม่ เกิน 3 วัน )
การพยากรณ์ ระยะปานกลาง ( 3 - 10 วัน )
การพยากรณ์ ระยะยาว ( 10 - 30 วัน )
การพยากรณ์ ระยะนาน ( 30 วัน - 2 ปี )
- คาดหมายรายเดือน
- การคาดหมายรายสามเดือน
- การคาดหมายรายฤดูกาล
คาพยากรณ์อากาศ
การเกิดเมฆฝน

ลมพัดสอบเข้าหากัน การพาความร้อน

ยกตัวขึ้นตามลาดเชิงเขา แนวปะทะอากาศ
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

มรสุมตะวันตกเฉียงใต้

You might also like