You are on page 1of 39

Management of Water

02207441
จัดทำโดย

นายดนุพล ศรีสวย
รหัสนิสิต 610100772

เสนอ
อาจารย์อนัญญา ตังคเศณี
การสํารวจความเร็วกระแสน้ำ และปริมาณน้ำด้วย
เครื่อง
ADCP ( Acoustic Doppler Current Profile)
• อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการสาํ รวจ

• 1. เครื่องสํารวจ ACDP
• 2. เครื่อง GPS
• 3. แบตเตอรี่/ถ่านสํารอง
• 4. แฟ้ มบันทึกข้อมูล
ประโยชน์ของเครื่ องเครื่ องสาํ รวจ
ACDP
• สามารถใชใ้ นการตรวจวัดกระแสน้ำ ทิศทาง กระแสน้ำ
อุณหภูมิและความลึกของน้ำ เมื่อเราทราบ คา่ อัตราเร็วของคลื่น
เสยี งเมื่อเคลื่อนที่ในน้ำ (เมตร/วินาที) เรา จะสามารถคาํ นวณ
หาระยะทาง ระหวา่ งตัวสง่ ไปยังวัตถุ หรื อผิวทอ ้ งน้ำ นั่นคือ
ความลึก (เมตร)
วิธีการสํารวจความเร็วกระแสน้ำ และปริมาณ
น้ำด้วยเครื่อง ADCP
1. เตรียมอุปกรณ์ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องมือการ
ทํางาน เช่น แบบฟอร์ม อุปกรณ์ประกอบ ชาร์จ แบตเตอรี่
ถ่านต่างๆ และเครื่องมือแก้ไขความผิดปกติ ให้สามารถ
ปฏิบัติงานได้
2. ทําการสร้างไฟล์ต้นแบบ Project (รายละเอียดดังภาค
ผนวก)
3. ADCP ดับเบิล ้ คลิกเข้าโปรแกรม WinRiver II และทํา
การตัง้ ค่า calibrate เครื่องเพื่อสามารถอ่านค่า ทิศทางได้
แม่นยํา
4. ทําการตัง้ ชื่อไฟล์ ปรับแก้ข้อมูล เมื่อพร้อมแล้วก็เริ่มทํา
การแล่นเรือสํารวจปริมาณน้ำและตะกอนท้อง น้ำด้วย
แหล่งที่มา:ส่ วนวิจยั และพัฒนาทรัพยากรน้ำ สำนักวิจยั พัฒนาและอุทกวิทยา
วิธีบำรุงรักษา

1. ทำความสะอาดชิน
้ งาน โดยขจัดสิ่งสกปรก, เศษผงออกให้
หมดก่อนวัดงาน
2. รักษาเครื่องมือวัด ให้สะอาด และควรมีน้ำมันกันสนิม
เคลือบบางๆ ก่อนเก็บเข้ากล่อง 
3. ป้ องกัน เครื่องมือวัด ไม่ให้เกิดสนิม, การกระแทก, การ
กดทับ, การตกจากที่สูง หรือสิ่งใดๆที่จะทำให้เกิดความเสีย
หาย
4. เช็คหรือ คาลิเบรท  เมื่อถึงเวลาที่กำหนดแค่นีเ้ ครื่องมือ
วัดจะอยู่กับคุณไปอีกนาน
ราคาและข้อดีข้อเสีย

ราคา: 20,000 – 25,000 บาท


ข้อดี
1.การวัดความเร็วกระแสน้ำ และปริมาณน้ำด้วย ADCP โดยใช้
หลักการสะท้อนกลับของคลื่นเสียง
2.การวัดความเร็วกระแสน้ำ และปริมาณน้ำด้วย ADCP ทำให้ได้
ภาพตัดขวางที่มีคุณภาพ
3.การวัดความเร็วกระแสน้ำ และปริมาณน้ำด้วย ADCP ทำงาน
ได้สะดวกรวดเร็วขึน้
4.การวัดความเร็วกระแสน้ำ และปริมาณน้ำด้วย ADCP สามารถ
ผสานข้อมูลกับโปรแกรมอื่นได้สะดวก
ข้อเสีย
1.ข้อมูลที่ได้บางครัง้ ยังมี ความคลาดเคลื่อน อยู่สูง ซึ่งเกิดมาได้
จากหลายสาเหตุ ทัง้ ส่วนที่เกิดมาจากความบกพร่องของตัว
ระบบเอง และส่วนที่เกิดมาจากสภาวะแวดล้อมขณะทำการ
ตรวจวัด
2. ต้องใช้ งบลงทุน ในเบื้องต้นและงบดำเนินการสูง
3.ข้อมูลที่ได้บางครัง้ ยังมี ความคลาดเคลื่อน อยู่สูง ซึ่งเกิดมาได้
จากหลายสาเหตุ
เครื่องเก็บตัวอย่างตะกอนท้องน้ำ
อุปกรณ์ที่ใช้ในการสํารวจ

1. ตัวเครื่องเก็บตะกอนท้องน้ำ
2. รอกลวดสลิง
3. ถุงเก็บตัวอย่างตะกอนท้องน้ำ
4. ขวดใส่ตัวอย่างตะกอนท้องน้ำ
5. ลูกถ่วงน้ำหนัก
ประโยชน์เครื่องเก็บตัวอย่างตะกอน
ท้องน้ำ
• การสํารวจเก็บตัวอย่างตะกอนท้องน้ำแต่ละครัง้ สามารถเก็บ
ตามตําแหน่งที่กําหนดด้วยGPS แบ่งไว้ 5 จุด ตาม 9 ของลํา
น้ำ ทําการเก็บตัวอย่างตะกอนท้องน้ำแบบสะสมตามจุด
(Depth Integrating Sampler)ซึ่งการใช้เครื่องมือ และวิธี
การเก็บตัวอย่างตะกอนสามารถประยุกต์ใช้ตามสภาพ
ภูมิประเทศ ความลึกของแม่น้ำ ความเร็วของกระแสน้ำ
ตลอดจนพิจารณาถึงความสะดวก และความปลอดภัย ของผู้
ปฏิบัติงานอีกด้วย
ขัน
้ ตอนการสํารวจตะกอนด้วยเครื่อง
เก็บตะกอน
1.นำถุงเก็บตัวอย่างตะกอนท้องน้ำประกอบใส่เครื่องเก็บ
ตัวอย่างตะกอนท้องน้ำ
2.หย่อนเครื่องเก็บตัวอย่างตะกอนท้องน้ำในจุดที่กําหนดทัง้
5 จุด
3.นําตัวอย่างตะกอนท้องน้ำที่เก็บมาได้จากถุง เทลงขวดเก็บ
ตัวอย่างตะกอนท้องน้ำ และเขียนรายละเอียด กํากับไว้ที่
ขวด
4.นําตัวอย่างตะกอนท้องน้ำส่งไปวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ
วิธีบำรุงรักษา

1. ทำความสะอาดชิน ้ งาน โดยขจัดสิ่งสกปรก, เศษผงออกให้


หมดก่อนวัดงาน
2. รักษาเครื่องมือวัด ให้สะอาด และควรมีน้ำมันกันสนิม
เคลือบบางๆ ก่อนเก็บเข้ากล่อง
3. ป้ องกัน เครื่องมือวัด ไม่ให้เกิดสนิม, การกระแทก, การกด
ทับ, การตกจากที่สูง หรือสิ่งใดๆที่จะทำให้เกิดความเสียหาย
4. เช็คหรือ คาลิเบรท เมื่อถึงเวลาที่กำหนดแค่นีเ้ ครื่องมือวัด
จะอยู่กับคุณไปอีกนาน
5.หากไม่มีการใช้เครื่องมือเป็ นระยะเวลานานๆ ควรทำการ
ถอดแบตเตอรี่ออกเพื่อเป็ นการป้ องกันสารเคมีจากแบตเตอรี่
ซึ่งอาจทำให้เครื่องมือเกิดความเสียหายได้
ราคาและข้อดีข้อเสีย

• ราคา: 20,000 – 25,000 บาท


ข้อดี
1.เครื่องเก็บตะกอน ทำให้ทราบปริมาณตะกอน
2.เครื่องเก็บตะกอน ทำให้ได้ภาพตัดขวางที่มีมีการ
เพิ่มขึน
้ ของตะกอน
3.เครื่องเก็บตะกอน ทำงานได้สะดวกรวดเร็วขึน ้
4.ทำให้สามรถวางแผนการจัดการตะกอนได้ดีขึน ้
5.เครื่องเก็บตะกอน สามารถประยุกใช้กับระบบ
GPSได้
ข้อเสีย
1.นำเข้าข้อมูลไม่สะดวก
2. ต้องใช้ งบลงทุน ในเบื้องต้นและงบดำเนินการสูง
3.ข้อมูลที่ได้บางครัง้ ยังมี ความคลาดเคลื่อน อยู่สูง ซึ่งเกิด
มาได้จากหลายสาเหตุ
ตัวเครื่องGPS ในงานสํารวจปริมาณน้ำ
อุปกรณ์ประกอบดังนี ้

1.ตัวเครื่อง GPS
2. สายสัญญาณ ซึ่งมี 3 อย่างคือ
- สายรับสัญญาณGPS (จากดาวเทียม)
- สายโหลดข้อมูล
- สายเชื่อมสัญญา GPS เข้าคอมพิวเตอร์
3. โปรแกรม จัดการ
ประโยชน์ตัวเครื่องGPS ในงานสํารวจปริมาณน้ำ

• สามารถสํารวจความเร็วกระแสน้ำ และปริมาณน้ำด้วยการ
ทำงานผสานกับเครื่อง ADCP แบบใช้เครื่อง GPS ตัวนอก
และเครื่องวัด กระแสน้ำ (curent meter) ต้องอาศัยการใช้
เครื่อง GPS ในการบอกพิกัด นอกจากนีศ ้ ูนย์สํารวจอุทก
วิทยาที่ 4 (หนองคาย) ได้มีการปรับใช้เครื่อง GPS ในการ
หาตําแหน่งจุดพิกัดเก็บตัวอย่างน้ำและตะกอนจากเดิมที่ต้อง
ใช้การ รังวัดหาตําแหน่งจุดพิกัดเก็บข้อมูลซึ่งช่วยเพิ่มความ
สะดวกและรวดเร็วในการทํางาน โดยอาศัยข้อมูลที่ได้จาก
การวัด การสํารวจปริมาณน้ำและตะกอนท้องน้ำด้วยเครื่อง
วัด ADCP มาใช้ในการคํานวณหาตําแหน่งพิกัดเพื่อเก็บ
ตัวอย่าง ตะกอนท้องน้ำ โดยมีวิธีการดังนี ้
ขัน
้ ตอนการใช้กับงานเครื่อง GPS
1. เปิ ดโปรเจ็คที่สร้างไว้แล้ว ตรวจสอบสถานะ เครื่องมือ และใส่ราย
ละเอียดต่างๆ ของสถานี
2. ทําขัน้ ตอนการ QA/QC (รายละเอียดดังภาคผนวก)
3. ทําการเก็บข้อมูล Moving Bed โดย วิธี LOOP TEST 1 ครัง้ เก็บ
ข้อมูลCross section จํานวน
4 ครัง้ (รายละเอียดดังภาคผนวก)
4. ปิ ดเครื่อง ADCP ถอดสาย เก็บอุปกรณ์ แต่ยังใช้โน้ตบุ๊คอยู่
5. แบ่งจุดตักตะกอน โดยการส่งออกไฟล์ TXT เพื่อนําเข้าโปรแกรม
6. การแบ่งจุดเพื่อเก็บตัวอย่างตะกอนด้วยโปรแกรม EDI จะสามา
รถคํานวณแบ่ง % Q ออกมาได้จํานวน 5 จุด พร้อมได้ข้อมูลการแบ่ง
ปริมาณ ระยะทาง ความลึก และกําหนดพิกัดของแต่ละจุดออกมา
(รายละเอียดดัง ภาคผนวก)
วิธีบำรุงรักษา

1. ทำความสะอาดชิน ้ งาน โดยขจัดสิ่งสกปรก, เศษผงออกให้


หมดก่อนวัดงาน
2. รักษาเครื่องมือวัด ให้สะอาด และควรมีน้ำมันกันสนิม
เคลือบบางๆ ก่อนเก็บเข้ากล่อง
3. ป้ องกัน เครื่องมือวัด ไม่ให้เกิดสนิม, การกระแทก, การกด
ทับ, การตกจากที่สูง หรือสิ่งใดๆที่จะทำให้เกิดความเสียหาย
4. เช็คหรือ คาลิเบรท เมื่อถึงเวลาที่กำหนดแค่นีเ้ ครื่องมือวัด
จะอยู่กับคุณไปอีกนาน
5.หากไม่มีการใช้เครื่องมือเป็ นระยะเวลานานๆ ควรทำการ
ถอดแบตเตอรี่ออกเพื่อเป็ นการป้ องกันสารเคมีจากแบตเตอรี่
ราคาและข้อดีข้อเสีย
• ราคา: 20,000 – 25,000 บาท
ข้อดี
1. รู้ทุกเส้นทางที่ลำน้ำไหลผ่าน รวมถึง วัน เวลา ความเร็ว
ทิศทาง ระยะทางทัง้ หมด
2. ประหยัดรายจ่ายและค่าน้ำมัน ในการออกสำรวจพื้นที่
3. ไม่มีค่าใช่จ่ายรายเดือน
4. ไม่มีค่าใช้จ่ายอื่นๆอีกเลย ในการใช้งาน และสามารถบันทึก
ข้อมูลได้สูงสุดถึง 13,000 ครัง้ ต่อวัน (ซึ่งระบบ Real-Time
ทำไม่ได้)
5. เป็ นเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจได้ดี ประโยชน์ที่ได้รับจาก
ระบบติดตามยานพาหนะ BG-FLEET Management
ข้อเสีย

1. อาจเกิดปั ญหาที่เกิดจากดาวเทียม (Check error, Ephemeris error) อาจเกิดจาก


วงโคจรคลาดเคลื่อน เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์หรืออาจจะ
เกิดจากความคลาดเคลื่อนของนาฬิกาเพียงเล็กน้อยจะทำให้การคำนวณระยะทางผิด
พลาด ได้มากเนื่องจากดาวเทียมอยู่สูงมาก

2. การต่อเชื่อมกับอุปกรณ์อ่ น
ื และความสะดวกบางเครื่องแสดงได้เฉพาะพิกัดภูมิศาสตร์
บางเครื่องไม่สามารถต่อเข้ากับเครื่องมืออื่นหรือคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก (PC) ได้ และ
ข้อใหญ่ที่ต้องพิจารณา ความแข็งแรงทนทานถ้าต้องใช้เครื่องทำงานในพื้นที่ทะเล
หรือในพื้นที่ป่าเขา การใช้ไฟและความร้อนที่เกิดขึน
้ เป็ นตัวชีสำ
้ คัญที่จะต้องเอาใจใส่
MODEL
Cropwat
ประโยชน์ของ Appilcaion Cropwa
Model
• บ่งบอกปริมาณความต้องการน้ำชลประทานของพืช (irrigation
waer requimen)
• บ่งบอกปริมาณฝนใช้การ (Effecive rainfall
• เพื่อช่วยในการวางตารางการเพราะปลูก (Crop Schedule)
• ปริมาณการใช้น้ำของพืช (Evaporanspiraion)
• บ่งบอกปริมาณน้ำที่สูญเสีย (Waer Losses)
ข้อดีและข้อเสีย

• ข้อดี
1. บ่งบอกปริมาณความต้องการน้ำชลประทานของพืช (irrigation waer
requimen)
2. บ่งบอกปริมาณฝนใช้การ (Effecive rainfall
3. เพื่อช่วยในการวางตารางการเพราะปลูก (Crop Schedule)
4. ปริมาณการใช้น้ำของพืช (Evaporanspiraion)
5. บ่งบอกปริมาณน้ำที่สูญเสีย (Waer Losses)
ข้อดีและข้อเสีย

• ข้อเสีย
1.อ้างอิงข้อมูลจากหลายส่วนอาจทำให้ไม่สะดวกกับการเตรียมข้อมูล
2.ต้องมีการจัดการไฟล์ข้อมูลต้นทางก่อนจึงทำให้เกิดความคลาดเคลื่อน
ได้
Input ข้อมูลที่ต้องใช้ (Data required)

• ข้อมูลสภาพอากาศ (Climate data)


• ข้อมูลฝน (Rain data)
• ข้อมูลพืช (Crop data)
• ข้อมูลดิน (Soil data)
• ข้อมูลแปลงเพาะปลูก (ไม่บังคับ) Crop pattern) (optional)
ข้อมูลสภาพอากาศ (Climate data)
• ระดับความสูงของพื้นที่จากรดน้ำทะเล (Mean Sea Level(msl), meter)

• พิกัด (Location, Latitude and Longitude)


• อุณภูมิต่ำสุดและสูงสุด (Maximum and minimum temperature,
Celsius)
• ความเร็วลม(Wind speed, kilometer/day)
• ค่าความชื้นในอากาศ(Humidity, %)
• ระยะเวลาแดดออก(Sunshine duration, hours/day)
ข้อมูลฝน (rainfall data)
• ปริมาณฝนรายเดือน (Millimeter/month)
ข้อมูลพืช (Crop data)
• ค่าการใช้น้ำของพืช (Crop coefficient, KC)
• ระยะช่วงเวลาการเจริญเติบโตและเวลาการเพราะปลูก(Growth stages,
Growth duration, Days)
• ความลึกของราก (Rooting depth, meter)
• จุดวิกฤตสัดส่วนของน้ำที่พร่องไปโดยเป็ นร้อยละของความชื้นที่พืช
• นําไปใช้ได้ทัง้ หมด (Critical depletion, %)
• ค่าผลกระทบของพืชต่อการขาดน้ำ(Yield Response factor)
• ความสูงของพืช (Crop Height, meter)
ข้อมูลดิน (Soil data)

• Total Available Water (TAW) :


ความชื้นที่พืชนําไปใช้ได้ทัง้ หมด เป็ นผลต่างระหว่างความชื่นชลประทานกับ
ความชื่นเหี่ยวเฉา (mm/meter)
• Maximum infiltration rate :
อัตราการซึมผ่านดินสูงสุด
อาจกําหนดให้เท่ากับสภาพการนําน้ำอิ่มตัว (mm/day)
• Maximum rooting depth :
ความลึกของรากพืช
• Initial soil moisture depletion :
ความชื้นในดินที่พร่องไปขณะเริ่มต้น คิดเป็ นร้อยละของความชื้นที่พืชนําไปใช้ได้ ทัง้ หมด
(TAW)
ขัน
้ ตอนการ Input

1 ใส่ข้อมูล
สภาพอากาศ
2 ใส่
ข้อ3มูลใส่ฝน
ข้อ4มูลใส่พืช
ข้อ5มูล ดิน
ผลลั
6พ
ธ์ พ
ผลลั
7 ใส่
ธ์ ข้อมูล หากปลูกพืชมากกว่าหนึ่ง
8 ชนิด (ไม่บังคับ)
ผลลัพ
ธ์
Crop Irrigation Schedule แผนการให้น้ำ
ชลประทาน
1.ปริมาณน้ำ
ชลประทานที่
ต้องการทัง้ หมด

2.ปริมาณ
ฝน
3.ปริมาณน้ำที่พืชใช้
ทัง้ หมด
Thank you

You might also like