You are on page 1of 4

2.

2 ประเภทของฐานราก

ส่วนล่างที่สดุ ของโกรงสร้ างก็คือฐานราก ซึง่ มีหน้ าที่ถา่ ยน้ำหนักทั ้งหมดลงสูพ่ ื ้นดิน การออกแบบฐานรากที่คืคือ
การออกแบบให้ ความเค้ นที่ถ่ายลงสูด่ ินมีคา่ ไม่เกินความสามารถรับน้ำหนักบรรทุก (Overstress) จนก่อให้ เกิดการทรุ ดตัว
มากเกินไป และการวิบตั ิของดินเนื่องจากแรงเฉือนชนิดของฐานรากที่ควรเลือกใช้ จะแตกต่างกันตามแต่ชนิดของดิน ดังนี ้

2.2.1 ฐานรากแผ่

ฐานรากแผ่ (Shallow Foundation) หรื อฐานรากตื ้น คือไม่มีเสาเข็มรองรับโดยฐานรากลึกจากระดับ


ผิวดินน้ อยกว่า หรื อเท่ากับด้ านที่สั ้นที่สดุ ของฐานราก โดยฐานรากวางอยู่บนชั ้นดินโดยตรง และไม่มีการตอกเสาเข็มเพื่อ
รองรับฐานราก เหมาะกับสภาพพื ้นดินที่มีความสามารถแบกรับน้ำหนักบรรทุกได้ สงู และกับสภาพพื ้นดินที่ตอกเสาเข็มไม่
ลงหรื ออย่างยากลำบาก เช่น พื ้นที่ดินลูกรัง พื ้นที่ภเู ขาทะเลทราย

2.2.1.1 ฐานรากแผ่เดี่ยว (isolated footing) หรื อ ฐานรากที่รับน้ำหนักจากเสาอาคาร หรื อตอม่อเพียงต้ น


เดียวแล้ วถ่ายน้ำหนักลงสูพ่ ื ้นดิน อาจเป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส หรื อ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ าก็ได้ โดยความหนาของฐานรากต้ อง
สามารถต้ านทานโมเมนต์ดดั และแรงเฉือนได้ เพียงพอและป้องกันการกัดกร่อนเนื่องจากความชื ้นที่อาจทำให้ เหล็กเกิดสนิม
ได้ ซึง่ ฐานรากแผ่เดี่ยวที่ดี ตำแหน่งของตอม่อ หรื อ เสาจะอยู่ตรงศูนย์กลางของฐานราก แต่บางกรณีที่ต้องสร้ างฐานราก
ชิดแนวเขตที่ดิน ทำให้ ไม่สามารถสร้ างเกินไปในเขตของผู้อื่นได้ ทางผู้ออกแบบจะวางตำแหน่งของตอม่อ หรื อเสาไว้ ด้าน
ในด้ านหนึง่ ของฐานราก หรื อเรี ยกได้ วา่ ฐ านรากตีนเป็ ด หรื อ ฐานรากชิดเขต (Strap Footing)

ภาพที่ _ แสดงลัษณะฐานรากแผ่เดี่ยว (isolated footing)


ที่มา : วิศวกรรมฐานราก,ผศ.ดร.สุขสันติ์ หอพิบลู สุข(2547)

2.2.1.2 ฐานราก แบบแผ่ร่วม (Combined Footing) หรื อ ฐานรากที่ใช้ รับน้ำหนักของเสา หรื อตอม่อสองต้ น
ขึ ้นไป มักใช้ ในกรณีที่เสามีระยะใกล้ กนั มากๆ เช่นมีเสาห่างกันประมาณ 1.5 – 2 เมตร เป็ นฐานรากที่ออกแบบมาเพื่อแก้
ปั ญหา กรณีไม่สามารถสร้ างฐานรากเดี่ยวที่สมมาตรได้ หากฐานรากไม่สมมาตร เมื่อรับน้ำหนักที่ถ่ายลงบนฐานรากไม่
เท่ากัน จะทำให้ เกิดแรงเยื ้องศูนย์ซงึ่ อาจทำให้ อาคาร หรื อโครงสร้ างทรุดตัวได้ โดยทำให้ ฐานรากมีรูปทรงเป็ นสี่เหลี่ยม
คางหมูได้

ภาพที่ _ แสดงลัษณะฐานราก แบบแผ่ร่วม (Combined Footing)


ที่มา : เทคนิคการออแบบและการแก้ ไขปั ญหางานฐานราก, วศ.ม.เสริ มพันธ์ เอี่อมจะบก( 2550 )

2.2.1.3 ฐานรากแผ่ปพ
ู รม หรื อ ฐานรากแพ (Mat or Raft Foundation) มีลกั ษณะเป็ นฐานแผ่ร่วมขนาดใหญ่
เป็ นผืนเดียวกันทั ้งหมด ใช้ รับน้ำหนักของเสาหลายๆต้ นได้ ฐานรากแพ หรื อ ฐานรากแผ่ปพู รม มักจะนิยมใช้ กบั อาคารสูงๆ
ซึง่ จำเป็ นต้ องใช้ เสาเข็ม แต่มีพื ้นที่คบั แคบ โดยจะมีข้อดีที่สามารถกระจ่ายน้ำหนักสูด่ ิน หรื อหินได้ ดีกว่า และไม่มีปัญหา
ทรุดตัว เพราะฐานรากมีความต่อเนื่องตลอดเป็ นแพ แต่มีคา่ ใช้ จ่ายที่สงู และใช้ เวลาในการก่อสร้ าง
ภาพที่ _ แสดงลัษณะฐานรากแผ่ปพู รม หรื อ ฐานรากแพ (Mat or Raft Foundation)
ที่มา : วิศวกรรมฐานราก,ผศ.ดร.สุขสันติ์ หอพิบลู สุข(2547)

2.2.2 ฐานรากเสาเข็ม

ฐานรากเสาเข็ม(Friction/Floating pile) หรื อฐานรากลืก คือฐานรากที่ใช้ เสาเข็มทำหน้ าที่ถ่ายน้ำ


หนักหรื อแรงผ่านสูช่ ั ้นดินในลักษณะแรงเสียดทานรอาเสาเข็ม (Skin Friction) และแรงแบกหานที่ปลายเสาเข็ม (End
Bearing) เราสามารถ แบ่งประเภทของเสาเข็มออกเป็ น 2 ประเภทหลักๆ ตามลักษณะการรับน้ำหนักได้ คงั นี ้ เสาเข็มเสียด
ทานหรื อเสาเข็มลอย (Friction/Floating pile) คือเสาเข็มที่รับน้ำหนักบรรทุกโดยแรงเสียดทานรอบเสาเข็มเป็ นส่วนใหญ่
และเสาเข็มดาล (End bearing pile) คือเสาเข็มที่มีแรงต้ านที่ปลายเสาเข็มสูงมากเมื่อเปรี ยบเทียบกับแรงเสียดทาน
ระหว่างเสาเข็มกับดิน

ภาพที่ _ แสดงลัษณะงานที่ใช้ ฐานรากเสาเข็ม


ที่มา : วิศวกรรมฐานราก,ผศ.ดร.สุขสันติ์ หอพิบลู สุข(2547)
เอกสารและสิ่งอ้ างอิง
ผศ.ดร.สุขสันติ์ หอพิบลู สุข(2547).ฐานรากตื ้น ทฤษฏีและการออกแบบ : วิศวกรรมฐานราก,45-83
ผศ.ดร.สุขสันติ์ หอพิบลู สุข(2547).ฐานรากลึก ทฤษฏีและการออกแบบ : วิศวกรรมฐานราก,111-181
OSH CREW(2562).ประเภทของฐานราก.1/8/2564,
https://www.onestockhome.com/th/homemap_contents

ฐาปั ต ณ บางช้ าง(2559).งานฐานรากและประเภทต่างๆของฐานราก.1/8/2564, https://tpainm.wordpress.com


วศ.ม.เสริ มพันธ์ เอี่อมจะบก(2560).เทคนิคการออกแบบและการแก้ ไขปั ญหางานฐานราก (เอกสารการอบรมสัมมนา
ระยะสั ้น),3-48

You might also like