You are on page 1of 36

5

บทที่ 2

หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

การประดิษฐ์รถเข็นไฟฟ้ าเพื่อศึกษา ปั จจัยในการพัฒนารถเข็นผู้


พิการคณะผู้จัดทำได้ศึกษาหลักการทางทฤษฎีต่างๆ ตลอดจนผลงานอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้องและได้เรียบเรียงเนื้อหาและสรุปออกมาเป็ นหัวข้อได้ดังต่อไปนี ้
รถเข็นผูพ
้ ิการการศึกษาอุปกรณ์มาตรฐานและลักษณะการใช้งานรถนั่งผู้
พิการ การศึกษาต้นทุน องค์ประกอบของต้นทุนการผลิต เหล็กโครงสร้าง
การออกแบบชิน
้ ส่วนเครื่องจักรกล และงานที่เกี่ยวข้อง สำหรั บ ผู ้พ ิ ก าร
ได้ศ ึ ก ษาทฤษฎีห ลัก การ ที ่ ใช้ ในการประดิ ษ ฐ์ รถเข็ น ไฟฟ้ าเพื่ อ นำมา
ออกแบบคิดค้นและพัฒนาในการใช้ ง านได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ทธิ ภาพ
2.1 การให้ความช่วยเหลือคนพิการทางการเคลื่อนไหว
2.2 รถเข็น วีล แชร์
2.3 กล่องควบคุม
2.4 แบตเตอรี่แห้ง (Dry Battery)
2.5 คันเร่งไฟฟ้ า
2.6 มอเตอร์ไฟฟ้ า (Electric motor)
6

2.7 สายไฟ (Power cable)


2.8 สวิตช์

2.1 การให้ความช่วยเหลือคนพิการทางการ
เคลื่ อนไหว
2.1.1 สถิติคนพิการ คนพิการที่ได้รับการออกบัตรคนพิการ จำนวน
1,998,096 คน คิดเป็ น 3.01 เปอร์เซ็นของประชากรทัง้ หมด เป็ นเพศ
ชาย 1,043,632 คน คิดเป็ น 52.23 เปอร์เซ็น และเพศหญิง 954,815
คน คิดเป็ น 47.77 เปอร์เซ็น

2.1.2 สาเหตุค วามพิ ก าร


2.1.2.1 กรรมพั น ธุ ์
2.1.2.2 อุบ ัติเ หตุ
2.1.2.3 ติดเชื้ อ
2.1.2.4 มะเร็ง
2.1.2.5 ความเสื่ อ ม ชรา
2.1.2.6 การคลอด สุ ข อนามั ย
2.1.2.7 โรคหลอดเลื อ ดสมอง NCD
2.1.2.8 ไม่ทราบสาเหตุ
2.1.3 ปั ญหาอุปสรรคทางการเคลื่ อ นไหว
7

2.1.3.1 มีข ้อจํ า กั ด ในการเคลื่ อ นไหว


1) เคลื่ อ นไหวไม่ ไ ด้
2) เคลื่ อ นไหวช้ า
3) เคลื่ อ นไหวลํ า บาก
2.1.3.2 การเข้ า ถึ ง สถาปั ตยกรรมและสิ ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น
1) อาคารที ่ ไ ม่ มี ทางลาด
2) ไม่มีล ิ ฟ ท์
2.1.3.3 ทัศ นคติ ข องคนในสั งคมที ่ มี ต ่ อ คนพิ ก าร/ความ
พิก าร
1) ความพิการเป็ นเวรเป็ นกรรม น่าสงสาร ควรจะได้รบ

การสงเคราะห์ชว่ ยเหลือ
2) ไม่ส ามารถช่ วยเหลื อ ตั วเองได้ ต ้ อ งพึ งพาผู ้ อ่ ื น
2.1.4 ความต้องการทางการเคลื่ อ นไหว
2.1.4.1 อุป กรณ์ แ ละเครื่ อ งช่ วยในการเคลื่ อ นไหว
2.1.4.2 ปรับ สภาพทางสถาปั ตยกรรมและสิ ่ง แวดล้ อ มให้
เอื้ อ ต่ อคนพิก าร

รูปที่ 2.1 แสดงการทำงาน


8

2.2 รถเข็นวีลแชร์
รถเข็นผูพ
้ ิการ (Wheelchair) ในความหมายที่ร้จ
ู ักกันในภาษาไทย
มีอยู่หลายคำ เช่น เก้าอีร้ ถเข็น,เก้าอีล
้ ้อ,รถเข็นคนไข้,รถเข็นนั่ง หรือ รถ
เข็นผู้ป่วย ถือว่าเป็ นพาหนะหรือเครื่องมือสำหรับผู้ที่มีปัญหาเรื่องการเดิน
หรือการเคลื่อนไหวไม่ว่าจะเนื่องมาจากอายุอาการเจ็บป่ วย หรือ ความ
พิการ  การทำงานของเก้าอีล
้ ้อเข็นมีทงั ้ แบบที่ผู้นั่งเป็ นผู้ควบคุมให้เก้าอี ้
ล้อเข็นเคลื่อนที่ไปได้เองด้วยการหมุนล้อหลัง หรือ การอาศัยผู้ช่วยเข็น
ทำการเข็นให้นอกจากนีย
้ ังมีเก้าอีล
้ ้อเข็นระบบไฟฟ้ าที่ใช้พลังงาน
ภายนอกในการขับเคลื่อน โดยความเป็ นมาของรถเข็นผู้ป่วยเท่าที่ปรากฎ
ในหลักฐานภาพวาดบนกระถางของกรีกตัง้ แต่ 600 ปี ก่อนคริสตกาล ซึง่
ต่อมาอีก 300 ปี ก็พบหลักฐานว่าชาวจีนใช้รถเข็นล้อเดียวสำหรับการ
เคลื่อนย้ายคนพิการรวมทัง้ วัสดุสิ่งของที่มีน้ำหนักมากเป็ นครัง้ แรกก่อนที่
จะปรากฎเรื่องราวของเก้าอีล
้ ้อเข็นในงานศิลปะของจีนราวคริสต์ศตวรรษ
ที่ 525 ทัง้ นี ้ ยังพบภาพวาดขงจื๊ อนั่งอยู่บนเก้าอีล
้ ้อเข็นในราวปี 1680 อีก
ด้วยนอกจากนีย
้ ังมีข้อมูลระบุว่าประมาณปี 1760 เริ่มมีการใช้พาหนะ
สำหรับคนป่ วยกันแล้วโดยในปี 1993 มีวิศวกรเครื่องยนต์สองคนที่เป็ น
เพื่อนกันคือ แฮร์รี่เจ็นนิ่งส์ และ เฮอร์เบิร์ท เอเวอเรสท์ ถือเป็ นผู้ที่
ประสบความสำเร็จเป็ นรายแรกในการสร้างรถเข็นผู้ป่วยราคาถูก หรือ w
heelchair ราคาถูก ที่ทำด้วยโลหะน้ำหนักเบาชนิดพับเก็บได้สำหรับ
จำหน่ายเป็ นครัง้ แรกเหตุผลที่สำคัญคือเอเวอเรสท์เคยหลังหักจาก
อุบัติเหตุในการทำเหมืองแร่จึงได้ทำขึน
้ มาเพื่อใช้งาน
2.2.1 อุปกรณ์มาตรฐานรถเข็นผู้พิการ
9

2.2.1.1 ล้อทัว่ ไปล้อรถเข็นจะมีลอ


้ 2 คูไ่ ด้แก่ลอ
้ หลังซึง่ มีขนาด
ใหญ่และล้อหน้าทีม
่ ข
ี นาดเล็กกว่า
2.2.1.2 ยาง มี2 ชนิด ได้แก่ ชนิดอัดลมและชนิดยางตัน
2.2.1.3 ทีห
่ มุนล้ออยูต
่ ด
ิ กับล้อใหญ่ทงั้ 2 ข้างแต่ขนาดเล็กกว่า -
เล็กน้อย ใช้สำหรับ จับหมุนล้อ
2.2.1.4 ห้ามล้อ ติดทีล
่ อ
้ ใหญ่ทงั้ 2 ข้างโดยคันบังคับจะอยูใ่ น
ระดับทีน
่ ง่ั ซึง่ มือเอือ
้ มถึงได้สะดวก
2.2.1.5 ที่วางแขนมีหลายแบบ แบบถอดได้ แบบถอดไม่ได้
2.2.1.6 ที่นั่งความกว้างและความลึกของที่นั่งควรนั่งพอดีตัว
เมื่อนั่งแล้วรู้สึกสบาย
2.2.1.7 พนักพิงหลังแบบมาตรฐานทำด้วยหนังเทียม ยึดติดด้าน
หลังสูงจากทีน
่ ง่ั ประมาณ 16 นิว้
2.2.1.8 ที่วางเท้า สามารถพับขึน
้ ได้เพื่อให้ไปนั่งและลุกเข้า
ออกได้สะดวก
2.2.1.9 ที่รองขา มีหลายแบบ เช่นแบบที่ถอดสลักออกแล้ว
ผลักไปด้านข้างได้2.2.1.10 แบบทีม
่ แ
ี ผนกระดานหรือโฟมหุม
้ เพื่อรองรับขา
และสามารถปรับระดับให้อยูใ่ นแนวนอน
2.2.1.11 คานยกล้อหน้าอยู่ด้านหลังล้อสำหรับให้คนเข็นใช้
เท้าเหยียบลงเพื่อยก ล้อหน้าให้พ้นพื้นขณะขึน
้ ลงพื้นต่างระดับ
2.2.1.12 ที่จับสำหรับให้ผู้ดูแลใช้จับเพื่อช่วยเข็นรถให้ผู้พิการ
2.2.1.13 แผนกันเปื้ อน เป็ นโลหะติดใต้ที่วางแขนเพื่อป้ องกน
ผ้าโดนล้อรถสกปรก
10

2.2.2 การเข็น รถเข็น ให้จับที่คันจับหรือมือจับของรถเข็นทัง้ 2


ข้าง (กรณีเข็นด้วยตัวเอง)ซึง่ อยู่ทางด้านบนของพนักเก้าอีด
้ ้านหลังของผู้
พิการและเข็นไปข้างหน้าไม่เร็วหรือช้าเกินไปพร้อมใช้เทคนิคต่างๆ ดังนี ้
2.2.2.1 การเข็นขึน
้ ทางเท้าหรือทางต่างระดับ ใช้วิธียกล้อ
หน้าขึน
้ ไปก่อนด้วยการใช้เท้าผู้เข็น เหยียบแท่งเหล็กใต้เก้าอีด
้ ้าน – หลัง
แล้วจึงยกล้อหลังตามขึน
้ ไป
2.2.2.2 การเข็นลงทางเท้า หรือทางต่างระดับ ใช้วิธีให้คน
เข็นเดินหันหลังลงจากทางต่างระดับ พร้อมกบดึงล้อหลังก่อนแล้วจึงดึง
ล้อหน้าตามลงมา
2.2.2.3 วิธียกเก้าอีเ้ ข็น ในกรณีที่ต้องยกเก้าอีเ้ ข็นขึน
้ - ลง
บันได หรือข้ามสิ่งกีดขวาง ควรใช้คน 2 - 4 คน โดยจับที่ด้านข้างของรถ
เข็น ข้างละ 1 - 2 คน และจับที่มือจับของรถเข็นทางด้านหลังของ รถเข็น
อีก 1 - 2 คนยกเว้น ในกรณีผพ
ู้ ิการมีน้ำหนักไม่มากอาจใช้คนเพียง 2 คน
โดยยกเว้นรถเข็นที่ ด้านหน้าและด้านหลังด้านละ 1 คน
2.2.3 การช่วยเหลือผู้ที่ใช้รถนั่งผู้พิการ
2.2.3.1 วิธีใช้และเก็บรถนั่งผูพ
้ ิการรถนั่งผู้พิการส่วนใหญ่
สามารถพับได้ เมื่อจะใช้ให้กางที่รองนั่งออกแล้วติดที่ว่างแขนหรือที่ก้น
ด้านข้างทัง้ 2 ด้าน (กรณีถอดเก็บได้) เมื่อต้องการเก็บให้ดงึ ตรงกลางที่
รองนั่งให้พับขึน
้ ด้านข้างของรถก็จะเลื่อนมาชิดกัน
2.2.3 . 2 วิธีล็อกล้อ เมื่อผูพ
้ ิการหยุดการเดินทาง หรือก่อนจะ
ย้ายตัวขึน
้ หรือลงรถนั่งทุกครัง้ ต้อง ช่วยล็อกล้อก่อนเสมอโดยปรับที่ล็อก
ซึง่ อยู่ใกล้กับล้อทัง้ 2 ข้าง
11

2.2.3 . 3 การจัดท่า ควรจัดท่าให้ผู้พิการนั่งชิดด้านในของ


เบาะหลังตรงชิดกับพนักพิงแขนและไหล ผ่อนคลายนํา้ หนักตัวกระจาย
ระหว่างกันและต้นขาเข่าอยู่ในท่าตัง้ ฉากข้อเท้างอในท่าตัง้ ฉากโดยเท้า
วางบนที่วางเท้าทัง้ สองข้าง

2.3 กล่องมอเตอร์
รูปค
ทีวบคุ ม
่ 2.2 แสดงการทำงานของวี ล
กล่องคอนโทลเลอร์ควบคุมมอเตอร์ บัสเลส ส่วนใหญ่ในปั จจุบัน ที่
ใช้งานทั่วไปกับมอเตอร์บัสเลสแบบ 3 เฟส จะมีการใช้งานในการจ่าย
ไฟฟ้ าในองศาที่ 60° และ 120° โดยจะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ ากระแสตรง
ให้เป็ นกระแสสลับตามจังหวะของเฟสต่างๆ มีการใช้การควบคุมวงจรการ
ทำงานด้วยไมโคคอนโทลเลอร์ และมี เพาเวอร์มอสเฟส ในการตัดต่อ
กระแสไฟฟ้ า จะส่งพลังงานให้กับมอเตอร์3 เฟส จะแบ่งการควบคุม
ทำงานในการจ่ายเป็ นคลื่นพลังงานที่ปล่อยให้กับมอเตอร์ 2 แบบคือ
12

2.3.1 แบบคลื่นสแควร์เวฟ (Square Wave) คลื่นแบบสแคว


ร์เวฟจะมีลักษณ์เป็ นทรงสี่เหลี่ยม จะมีจุดเปลี่ยนระหว่างขั่วบวกกับขั่วลบ
มีความชันน้อย และเป็ นเส้นตรง ทำให้มีการจ่ายไฟฟ้ าไม่ราบเรียบ ซึ่งจะ
ส่งผมให้มอเตอร์เกิดเสียงฮัมและความร้อนสะสมกับตัวมอเตอร์ แต่จะมี
ราคา
2.3.2 แบบคลื่นซายน์เวฟ (Sine Wave) คลื่นแบบซายน์เวฟ
จะมีรูปคลื่นโคล้งมน ตามองศาของเฟส ซึง่ จะมีการตรวจสอบองศาเฟส
จาก ฮอล์เซ็นเซอร์ จะทำให้มีการราบเรียบของการจ่ายกระแส และทำให้
ประหยัดพลังงาน ไม่เกิดความร้อนสะสม ไม่เกิดเสียงมากนัก แต่จะมี
ราคาที่สูงและหาซื้อได้ยาก
13

รูปที่ 2.3 กล่องมอเตอร์ควบคุม

2.4 แบตเตอรี่แห้ง (Dry Battery)


แบตเตอรีแ
่ ห้ง หรือทีค
่ นทัว่ ไปเรียกว่าถ่านไฟฉาย เป็ นอุปกรณ์ท่ี
เปลีย
่ นแปลงพลังงานเคมีให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ าแบ่งออกเป็ นเซลล์เปี ยกหรือ
โวลตาอิดเซลล์ ซึง่ อยูใ่ นถ่ายไฟฉายรุ่นเก่าและเซลล์แห้งซึง่ เป็ นทีน
่ ย
ิ มใช้กน

อยูใ่ นปั จจุบน

2.4.1 ประเภทของ แบตเตอรีร่ ถยนต์
2.4.1.1 แบตเตอรีแ
่ บบน้ำ เป็ นแบตเตอรีท
่ ผ
่ี ใู้ ช้รถต้องหมัน

เติมน้ำกลัน
่ อยูเ่ สมอหรือเติมน้ำกลัน
่ เมื่อรถวิง่ ครบทุกๆ 1,000 กิโลเมตร แต่
แบตเตอรีแ
่ บบน้ำจะไม่เหมาะสำหรับการนำไปใช้งานกับรถยนต์ทต
่ี อ
้ งการใช้
ไฟหรือมีอป
ุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์จำนวนมาก
2.4.1.2 แบตเตอรีไ่ ฮบริด เป็ นแบตเตอรีท
่ ม
่ี ก
ี ารพัฒนาเพิม

เติม ซึง่ มีอายุการใช้งานนานกว่าและ มีกำลังแรงสตาร์ทมากกว่า
แบตเตอรีแ
่ บบน้ำ อีกทัง้ การระเหยของน้ำกลัน
่ ยังน้อยกว่าจึงใช้ได้นานมาก
ขึน
้ ถึง 15,000 กิโลเมตร หรือประมาณ 3-6 เดือน เหมาะกับรถโดยสาร รถ
บรรทุก รถรับจ้าง เป็ นต้น 2.4.1.3
แบตเตอรีแ
่ บบกึง่ แห้ง เป็ นแบตเตอรีท
่ เ่ ี หมาะกับคนทีไ่ ม่คอ
่ ยมีเวลาเติมน้ำกลัน
่ ไม่
14

ต้องบำรุงรักษามากโดยผูใ้ ช้จะต้องเติมน้ำกลัน
่ ทุก 6 เดือนหรือเมื่อรถวิง่
ครบ10,000 กิโล
2.4.1.4 แบตเตอรีแ
่ บบแห้ง เป็ นแบตเตอรีท
่ ไ่ี ม่จำเป็ นต้อง
เติมน้ำกลัน
่ ตลอดอายุการใช้งานโดยจะมีแผ่นปิ ดซีลไว้หลายๆ ชัน
้ ป้ องกัน
น้ำกรดในแบตเตอรีร่ ะเหยออกไปข้างนอกข้อดีของแบตเตอรีป
่ ระเภทนี้ คือ
เมื่อจอดรถทิง้ ไว้นานๆ แบตเตอรีก
่ ย
็ งั เก็บไฟอยูส
่ ามารถสตาร์ทรถได้ปกติ
2.4.2 แบตเตอรี่แห้ง แบ่งออกเป็ นประเภทได้ดังนี ้
2.4.2.1 แบบคาร์บอน-สังกะสี ประกอบด้วย กล่อง
สังกะสีทรงกระบอก ซึ่งเป็ นขัว้ ลบและเป็ นที่บรรจุอิเล็กโตรไลท์ อิเล็กโทร
ไลท์  (Electrolyte)  เป็ นน้ำยาที่ทำปฏิกิริยาเคมีกับอิเล็กโทรดที่จุ่มอยู่
อาจเป็ นเกลือ(Salt) กรดหรือด่าง(Alkaline) ก็ได้
2.4.2.2 แบบอัลคาไลน์ เซลล์ไฟฟ้ าแบบนีเ้ หมาะสมดีทก

อย่างยกเว้นราคาเพราะให้กระแสไฟฟ้ าสูงและทำงานได้ดท
ี อ
่ี ณ
ุ หภูมป
ิ กติ
สามารถเก็บไว้ได้นานอยูไ่ ด้นานเฉลีย
่ นานกว่าห้า
2.4.2.3 แบบซิลเวอร์ออกไซด์ ใช้ในงานสำรวจพื้นผิว
ดวงจันทร์ มีอายุการใช้งานนานกว่าอัลคาร์ไลน์ถึง 3 เท่า ถ้าใช้กับไฟฉาย
จะไม่หรี่เลยจนกว่าเซลล์จะหมดอายุไปโดยสิน
้ เชิงแต่ค่าใช้จ่ายก็ต้องสูง
ด้วยคือประมาณ 200 บาทต่อชั่วโมง
2.4.2.4 แบบเมอร์คิวรี่ เซลล์ไฟฟ้ าแบบนีใ้ ช้กันอย่าง
แพร่หลายในเครื่องใช้ที่ใช้เซลล์แบบกระดุมแต่ราคาเซลล์แบบเมอร์คิวรี่
15

จะถูกกว่าซิลเวอร์ออกไซด์ครึ่งหนึ่ง ข้อที่แตกต่างกันคือ แรงดันไฟฟ้ า


โดยเมอร์คิวรี่มีแรงดันไฟฟ้ าเซลล์ละ 1.35-1.4 โวลต์
2.4.2.5 แบบนิกเกิลแคดเมียม เซลล์ไฟฟ้ าที่กล่าวมา
ทัง้ หมดเป็ นชนิดที่เมื่อใช้จนกระแสไฟฟ้ า หมดแล้วก็ต้องทิง้ ไปแต่เซลล์
แบบนิกเกิลแคดเมียมสามารถชาร์จไฟเข้าไปใหม่ได้เซลล์หนึง่ ๆ
สามารถชาร์จไฟได้ไม่น้อยกว่า 1,000 ครัง้ แบตเตอรี่ชนิดนีม
้ ีแรง
เคลื่อนไฟฟ้ าเพียง 1.25 โวลต์
2.2.4 ข้อดีของแบตเตอรี่แห้ง
2.4.3.1 ไม่ตอ
้ งกังวลน้ำกลัน
่ จะหมดเนื่องจากแบตเตอรีแ
่ บบ
แห้งนีไ้ ม่จำเป็ นต้องเติมน้ำกลัน
่ ให้ยงุ่ ยาก
2.4.3.2 ไม่ต้องคอยชาร์จไฟเพื่อกระตุ้นแบต
2.4.3.3 ไม่ต้องกลัวว่าแบตจะหมดหากจอดรถทิง้ ไว้นาน
ๆเพราะแบตเตอรี่แบบแห้งมีระยะ การใช้งานที่นานกว่าแบตธรรมดาและ
ปริมาณแก๊สมีน้อยกว่าแบตเตอรี่รถยนต์ประเภทอื่น
2.4.4 ข้อด้อยของแบตเตอรี่แห้ง
2.4.4.1 มีราคาแพงกว่าแบตเตอรี่รถยนต์ธรรมดา
2.4.4.2 เป็ นระบบปิ ดทีม
่ รี ห
ู ายใจขนาดเล็กอาจทำให้เกิด
ปั ญหาเกีย
่ วกับแรงดันภายใน
2.4.4.3 บริเวณด้านบนทีป
่ ิ ดผนึกหากหลุดออกก็อาจทำให้
ความชืน
้ เข้าไปภายในแบตเตอรีไ่ ด้
16

รูปที่ 2.4 แสดงลักษณะของแบตเตอรี่แห้ง

2.5 คันเร่งไฟฟ้ า
คันเร่งไฟฟ้ าถือเป็ นเทคโนโลยีที่เราได้ยินมาแล้วพักใหญ่โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งสำหรับผู้ใช้รถมอเตอร์ไซค์ หากกล่าวถึง ระบบคันเร่งสาย ที่รถ
มอเตอร์ไซค์ส่วนใหญ่ใช้อยู่โดยปกติแล้ว เวลาที่เราบิดคัดเร่ง ตัวสายคัน
เร่งที่โยงอยู่กับประกับคันเร่งจะเชื่อมต่อกับลูกชักด้านใน หากเป็ นรถ
มอเตอร์ไซค์ที่จ่ายน้ำมันด้วยระบบคาร์บูเรเตอร์ หรือ ลิน
้ ปี กผีเสื้อ เห็นได้
ในรถมอเตอร์ไซค์ที่จ่ายน้ำมันด้วยระบบหัวฉีดยุคปั จจุบันกับระบบ
คาร์บูเรเตอร์บางรุ่น ดังนัน
้ จึงเท่ากับว่าสิ่งที่เราควบคุมเวลาต้องการจะเร่ง
รถคือ ปริมาณน้ำมัน หรือ ปริมาณอากาศอย่างใดอย่างหนึ่งที่ไหลเข้าสู่
เครื่องยนต์โดยตรงด้วยระบบกลไกปกติ แต่การควบคุมอัตราการจ่าย
17

น้ำมันของคาร์บูเรเตอร์ หรือ ปริมาณของอากาศด้วยการสั่งงานลิน


้ ปี ก
ผีเสื้อโดยตรงในรถมอเตอร์ไซค์หัวฉีดแม่บ้านที่เราใช้กันอยู่ทุกวันจะฟั งดูดี
ว่าแท้จริงแล้วสิ่งที่ทำให้เครื่องยนต์สามารถเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์ใน
ทุกๆรอบเครื่องยนต์ ซึ่งจำเป็ นอย่างมากในยุคที่เคร่งเรื่องมลพิษแบบนี ้
คือความสัมพันธ์ของส่วนผสมระหว่างน้ำมันกับอากาศในไอดี ดังนัน
้ จึง
เป็ นไปไม่ได้เลยที่มือของเราจะสามารถควบคุม 2 สิ่งนีใ้ ห้สัมพันธ์กันได้
แบบ 100% อย่างที่ควรจะเป็ น ขณะที่สำหรับ ระบบคันเร่งไฟฟ้ า ก็จะ
เปลี่ยนจากการ โยงสายคันเร่งตรงประกับแฮนด์ ไปยังลูกชักชักหรือลิน

ปี กผีเสื้อโดยตรง เป็ นการโยงไปยัง ชุดเซนเซอร์วัดองศาการเปิ ดคันเร่ง
เป็ นเซนเซอร์หลักในการทำงาน โดยอาจจะติดตัง้ ไว้ใกล้ๆกับลิน
้ เร่ง ไม่
เพียงเท่านัน
้ ด้วยความอิสระในเรื่องของการทำงานระหว่างลิน
้ ปี กผีเสื้อกับ
หัวฉีดทำให้วิศวกรสามารถโปรแกรมกราฟการทำงานร่วมกันของทัง้ 2 สิ่ง
ได้ตามใจมากขึน
้ ดังนัน
้ เราจึงเห็นได้ว่าเมื่อใดก็ตามที่รถมอเตอร์ไซค์คัน
นัน
้ ๆ มาพร้อมกับระบบคันเร่งไฟฟ้ าแล้ว มันก็มักจะมีโหมดการทำงาน
ของเครื่องยนต์ (Engine Mode,Engine Brake Control) ให้เลือกหลาก
หลายว่าโดยอาศัยทัง้ การคุมอัตราการจ่ายน้ำมันและอัตราความเร็วใน
การเปิ ด/ปิ ดลิน
้ ปี กผีเสื้อ ส่วนระบบความปลอดภัยอื่นๆ เช่น แทร็คชัน
คอนโทรล,Anti-Wheelie,Launch-Control ต่างก็สามารถทำงานได้
อย่างลื่นไหลมากยิ่งขึน
้ เมื่อมีเทคโนโลยีคันเร่งไฟฟ้ านี ้ ส่วน Auto-Blipper
ที่เป็ นส่วนสำคัญของระบบควิกชิฟท์เตอร์แบบ 2 ทางขึน
้ /ลง ก็ยิ่งจำเป็ น
ต้องใช้เทคโนโลยีในการทำงาน แม้แต่ระบบเพื่อความสะดวกสบายอย่าง
Cruise-Control ก็เช่นกัน
18

รูปที่ 2.5 แสดงลักษณะของชุดคัน


2.6 มอเตอร์ไฟฟ้ า (Electric motor)
มอเตอร์ไฟฟ้ าเป็ นเครื่องกลไฟฟ้ าชนิดหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงพลังงาน
ไฟฟ้ ามาเป็ นพลังงานกลมอเตอร์ไฟฟ้ าที่ใช้พลังงานไฟฟ้ าเปลี่ยนเป็ น
พลังงานกลมีทัง้ พลังงานไฟฟ้ ากระแสสลับและพลังงานไฟฟ้ ากระแสตรง
มอเตอร์ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ระหว่างขัว้ แม่
เหล็กโดยเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้ าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขัว้ แม่เหล็ก
จะทำให้ขดลวดหมุนไปรอบแกนและเมื่อสลับขัว้ ไฟฟ้ าการหมุนของขด
ลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม ในงานอุตสาหกรรม มอเตอร์มีหลายแบบ
หลายชนิดซึ่งควรเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับงานที่เกี่ยวข้อง
2.6.1 มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง (DC Motor)   มอเตอร์
ไฟฟ้ ากระแสตรง เป็ นต้นกำลังขับเคลื่อนที่สำคัญอย่างหนึ่งในโรงงาน
อุตสาหกรรมเพราะมีคุณสมบัติที่ดีเด่นในด้านการปรับความเร็วได้ตงั ้ แต่
ความเร็วต่ำสุดจนถึงสูงสุด นิยมใช้กันมากในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น
โรงงานทอผ้าโรงงานเส้นใยโพลีเอสเตอร์ โรงงานถลุงโลหะหรือให้ เป็ นต้น
19

กำลังในการขับเคลื่อนรถไฟฟ้ า เป็ นต้นในการศึกษาเกี่ยวกับมอเตอร์


ไฟฟ้ ากระแสตรงจึงควรรู้จักอุปกรณ์ต่าง ๆ ของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง
และเข้าใจถึงหลักการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบต่าง ๆ 
2.6.1.1 ส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงที่ส่วนประกอบที่สำคัญ 2 ส่วนดังนี ้
1) ส่วนที่อยู่กับที่หรือที่เรียกว่าสเตเตอร์ (Stator)
ประกอบด้วย เฟรมหรือโยค ทรงกระบอก เฟรมหรือโยค (Frame or
Yoke) เป็ นโครงภายนอกทำหน้าที่เป็ นทางเดินของเส้นแรงแม่เหล็กจาก
ขัว้ เหนือไปขัว้ ใต้ให้แข็งแรงทำด้วยเหล็กหล่อหรือเหล็กหล่อหรือเหล็ก
แผ่นหน้าม้วนเป็ นรูปทรงกระบอก
2) ขัว้ แม่เหล็ก (Pole) ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
แกนขัว้ แม่เหล็กและขดลวด ส่วนแรกแกนขัว้ (Pole Core) ทำด้วยแผ่น
เหล็กบางๆ กัน
้ ด้วยฉนวนประกอบกันเป็ นแท่งยึดติดกับเฟรม ส่วนปลาย
ที่ทำเป็ นรูปโค้งนัน
้ เพื่อโค้งรับรูปกลมของตัวโรเตอร์เรียกว่าขัว้ แม่เหล็ก
และโรเตอร์ใกล้ชิดกันมากที่สุดเพื่อให้เกิดช่องอากาศน้อยที่สุดจะมีผลให้
เส้นแรงแม่เหล็กผ่านไปยังโรเตอร์มากที่สุดแล้วทำให้เกิดแรงบิดหรือ
กำลังบิดของโรเตอร์มากเป็ นการทำให้มอเตอร์ มีกำลังหมุน (Torque)
ส่วนที่สอง ขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field Coil) จะพันอยู่รอบๆแกนขัว้
แม่เหล็กขดลวดนีท
้ ำหน้าที่รับกระแสจากภายนอกเพื่อสร้างเส้นแรงแม่
เหล็กนีจ
้ ะเกิดการหักล้างและเสริมกันกับสนามแม่เหล็กของอาเมเจอร์
ทำให้เกิดแรงบิดขึน
้ 2 ตัวหมุน (Rotor) ตัวหมุนหรือเรียกว่าโรเตอร์ตัว
20

หมุนนีท
้ ำให้เกิดกำลังงานมีแกนวางอยู่ในตลับลูกปื น (Ball Bearing) ซึ่ง
ประกอบอยู่ในแผ่นเปิ ดหัวท้าย (End Plate) ของมอเตอร์

2.6.1.2 ตัวโรเตอร์ประกอบด้วย 4 ส่วนด้วยกันคือ


1) แกนเพลา (Shaft) เป็ นตัวสำหรับยืดคอมมิวเต
เตอร์ และยึดแกนเหล็กอาร์มาเจอร์ (Armature Croe) ประกอบเป็ นตัว
โรเตอร์แกนเพลานีจ
้ ะวางอยู่บนแบริ่ง เพื่อบังคับให้หมุนอยู่ในแนวนิ่งไม่มี
การสั่นสะเทือนได้
2) แกนเหล็กอาร์มาเจอร์ (Armaeure Core) ทำ
ด้วยแผ่นเหล็กบางอาบฉนวน (Laminated Sheet Steel) เป็ นที่สำหรับ
พันขดลวดอาร์มาเจอร์ซึ่งสร้างแรงบิด (Torque)
3) คอมมิวเตอร์ (Commutator) ทำด้วยทองแดง
ออกแบบเป็ นซี่แต่ละซี่มีฉนวนไมก้า (mica) คั่นระหว่างซี่ของคอมมิวเต
เตอร์ ส่วนหัวซี่ของคอมมิวเตเตอร์ จะมีร่องสำหรับใส่ปลายสาย ของขด
ลวดอาร์มาเจอร์ ตัวคอมมิวเตเตอร์นอ
ี ้ ัดแน่นติดกับแกนเพลา เป็ นรูปกลม
ทรงกระบอก มีหน้าที่สัมผัสกับแปรงถ่าน (Carbon Brushes) เพื่อรับ
กระแสจากสายป้ อนเข้าไปยัง ขดลวดอาร์มาเจอร์เพื่อสร้างเส้นแรงแม่
เหล็กอีกส่วนหนึ่งให้เกิดการหักล้างและเสริมกันกับเส้นแรงแม่เหล็กอีก
ส่วน ซึง่ เกิดจากขดลวดขัว้ แม่เหล็ก ดังกล่าวมาแล้วเรียกว่าปฏิกิริยา
มอเตอร์ (Motor action)
4) ขดลวดอาร์มาเจอร์ (Armature Widing) เป็ น
ขดลวดพันอยู่ในร่องสลอท (Slot) ของแกนอาร์มาเจอร์ ขนาดของลวดจะ
21

เล็กหรือใหญ่และจำนวนรอบจะมากหรือน้อยนัน
้ ขึน
้ อยู่กับการออกแบบ
ของตัวโรเตอร์ชนิดนัน
้ ๆ เพื่อที่จะให้เหมาะสมกับงานต่างๆ ที่ต้องการ
ควรศึกษาต่อไปในเรื่องการพันอาร์มาเจอร์ (Armature Winding) ใน
โอกาสต่อไป
2.6.1.3 หลักการของมอเตอร์กระแสไฟฟ้ าตรง (Motor
Action) เมื่อเป็ นแรงดันกระแสไฟฟ้ าตรงเข้าไปในมอเตอร์ ส่วนหนึ่งจะ
แปรงถ่านผ่านคอมมิวเตเตอร์เข้าไปในขดลวดอาร์มาเจอร์สร้างสนามแม่
เหล็กขึน
้ และกระแสไฟฟ้ าอีกส่วนหนึ่งจะไหลเข้าไปในขดลวดสนามแม่
เหล็ก (Field coil) สร้างขัว้ เหนือ-ใต้ขน
ึ ้ จะเกิดสนามแม่เหล็ก 2 สนาม
ในขณะเดียวกัน ตามคุณสมบัติของเส้นแรง แม่เหล็ก จะไม่ตัดกันทิศทาง
ตรงข้ามจะหักล้างกัน และทิศทางเดียวจะเสริมแรงกัน ทำให้เกิดแรงบิด
ในตัวอาร์มาเจอร์ ซึง่ วางแกนเพลาและแกนเพลานี ้ สวมอยู่กับตลับลุกปื น
ของมอเตอร์ ทำให้อาร์มาเจอร์นห
ี ้ มุนได้ ขณะที่ตัวอาร์มาเจอร์ทำหน้าที่
หมุนได้นเี ้ รียกว่า โรเตอร์ (Rotor) ซึง่ หมายความว่าตัวหมุน การที่อำนาจ
เส้นแรงแม่เหล็กทัง้ สองมีปฏิกิริยาต่อกัน ทำให้ขดลวดอาร์มาเจอร์หรือ
โรเตอร์หมุนไปนัน
้ เป็ นไปตามกฎซ้ายของเฟลมมิ่ง
2.6.1.4 ชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง
1) มอเตอร์แบบอนุกรม (Series Motor) คือ
มอเตอร์ที่ต่อขดลวดสนามแม่เหล็กอนุกรมกับอาร์เมเจอร์ของมอเตอร์
ชนิดนีว้ ่า ซีรีสฟิ ลด์ (Series Field) มีคุณลักษณะที่ดีคือให้แรงบิดสูงนิยม
ใช้เป็ นต้นกำลังของรถไฟฟ้ ารถยกของเครนไฟฟ้ า ความเร็วรอบของ
มอเตอร์อนุกรมเมื่อไม่มีโหลดความเร็วจะสูงมากแต่ถ้ามีโหลดมาต่อ
22

ความเร็ว ก็จะลดลงตามโหลด โหลดมากหรือทำงานหนักความเร็วลดลง


แต่ขดลวด ของมอเตอร์ ไม่เป็ นอันตราย จากคุณสมบัตินจ
ี ้ ึงนิยมนำมาใช้
กับเครื่องใช้ไฟฟ้ า ในบ้านหลายอย่าง เช่น เครื่องดูดฝุ ่น เครื่องผสม
อาหาร สว่านไฟฟ้ า จักรเย็บผ้า เครื่องเป่ าผม มอเตอร์กระแสตรงแบบ
อนุกรม ใช้งานหนักได้ดีเมื่อใช้งานหนักกระแสจะมากความเร็วรอบ จะลด
ลงเมื่อไม่มีโหลดมาต่อความเร็วจะสูงมากอาจเกิดอันตรายได้ดังนัน
้ เมื่อ
เริ่มสตาร์ทมอเตอร์แบบอนุกรมจึงต้องมีโหลดมาต่ออยู่เสมอ
2) มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน (Shunt
Motor) หรือเรียกว่าชันท์มอเตอร์ มอเตอร์แบบขนานนี ้ ขดลวดสนามแม่
เหล็กจะต่อ (Field Coil) จะต่อขนานกับขดลวด ชุดอาเมเจอร์ มอเตอร์
แบบขนานนีม
้ ีคุณลักษณะ มีความเร็วคงที่ แรงบิดเริ่มหมุนต่ำ แต่
ความเร็วรอบคงที่ชันท์มอเตอร์ส่วนมากเหมาะกับงานดังนีพ
้ ัดลมเพราะ
พัดลมต้องการความเร็วคงที่ และต้องการเปลี่ยนความเร็วได้ง่าย
3) มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม
(Compound Motor) หรือเรียกว่าคอมเปาว์ด มอเตอร์ มอเตอร์
ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสมนี ้ จะนำคุณลักษณะที่ดีของมอเตอร์
ไฟฟ้ ากระแสตรง แบบขนาน และแบบอนุกรมมารวมกัน มอเตอร์แบบ
ผสม มีคณ
ุ ลักษณะพิเศษคือมีแรงบิดสูง (High staring torque) แต่
ความเร็วรอบคงที่ ตัง้ แต่ยังไม่มีโหลดจนกระทัง้ มีโหลดเต็มที่มอเตอร์แบบ
ผสมมีวิธีการต่อขดลวดขนานหรือขดลวดชันท์
2.6.2 มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ (AC Motor) มอเตอร์
กระแสสลับ (AC Motor)เป็ นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับไฟฟ้ ากระแสสลับ โดย
23

ใช้หลักการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้ าจากขด
ลวดมาทำให้เกิดการหมุนของมอเตอร์
2.6.2.1 มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับแบ่งออกเป็ น3 ชนิด
ได้แก่
1) มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับชนิด 1เฟส หรือเรียกว่า
ซิงเกิลเฟสมอเตอร์
2) มอเตอร์ไฟฟ้ าสลับชนิด 2 เฟสหรือเรียกว่าทูเฟส
มอเตอร์
3) มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับชนิด 3 เฟสหรือเรียกว่าที
เฟสมอเตอร์
2.6.3 มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับชนิด 1 เฟส หรือเรียกว่า
ซิงเกิลเฟสมอเตอร์ (A.C. Sing Phase)
2.6.3.1 สปลิทเฟสมอเตอร์(Split phase motor)
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสไฟฟ้ าสลับชนิดเฟสเดียวแบบสปลิท เฟสมอเตอร์มี
ขนาดแรงม้าขนาดตัง้ แต่ 1/4 แรงม้า , 1/3 แรงม้า, 1/2 แรงม้าจะมี
ขนาดไม่เกิน 1 แรงม้าบางทีนิยมเรียกสปลิทเฟสมอเตอร์นีว้ ่า อินดักชั่
นมอเตอร์( Induction motor) มอเตอร์ชนิดนีน
้ ิยมใช้งาน มากในตู้เย็น
เครื่องสูบน้ำขนาดเล็ก เครื่องซักผ้า
2.6.3.2 คาปาซิเตอร์มอเตอร์ (Capacitor Motor) คา
ปาซิเตอร์เตอร์เป็ นมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟสที่มีลักษณะคล้ายสป
ลิทเฟสมอเตอร์มาก ต่างกันตรงที่มีคาปาซิสเตอร์เพิ่มขึน
้ มาท าให้
มอเตอร์แบบนีม
้ ีคุณสมบัติพิเศษกว่าสปลิทเฟสมอเตอร์ คือมี แรงบิด
24

ขณะสตาร์ทสูงใช้กระแสขณะสตาร์ทน้อยมอเตอร์ชนิดนีม
้ ีขนาดตัง้ แต่
1/20 แรงม้าถึง10 แรงม้า มอเตอร์นีน
้ ิยมใช้งานเกี่ยวกับ ปั๊ มน้ำ เครื่อง
อัดลม ตู้แช่ตู้เย็น
2.6.3.3 รีพัลชั่นมอเตอร์(Repulsion Motor) เป็ น
มอเตอร์ที่ มีขดลวดโรเตอร์ (Rotor) จะต่อเข้ากับคอมมิวเตเตอร์และมี
แปรงถ่านเป็ นตัวต่อ ลัดวงจร จึงทำให้ปรับความเร็วและแรงบิดได้ โดย
การปรับตำแหน่งแปรงถ่าน สเตเตอร์( Stator ) จะมีขดลวดพันอยู่ใน
ร่องเพียงชุดเดียวเหมือนกับขดรันของสปลิทเฟสมอเตอร์ เรียกว่า ขด
ลวดเมน (Main winding) ต่อกับแหล่งจ่ายไฟโดยตรง แรงบิดเริ่มหมุน
สูง ความเร็วคงที่ มีขนาด 0.37-7.5 กิโลวัตต์ (10 แรงม้า) ใช้กับงาน ปั๊ ม
คอมเพลสเซอร์ ปั๊ มลม ปั๊ มน้ำขนาดใหญ่
2.6.3.4 ยูนิเวอร์แซลมอเตอร์ (Universal Motor) เป็ น
มอเตอร์ขนาดเล็กมีขนาดกำลังไฟฟ้ าตัง้ แต่ 1/200 แรงม้าถึง 1/30
แรงม้า นำไปใช้ได้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงและใช้ได้กับแหล่งจ่าย
ไฟฟ้ ากระแสสลับชนิด 1 เฟส มอเตอร์ชนิดนีม
้ ีคุณสมบัติที่โดดเด่นคือให้
แรงบิดเริ่มหมุนสูงนำไปปรับความเร็วได้ทัง้ ปรับความเร็วได้ง่ายทัง้ วงจร
ลดแรงดัน
2.6.3.5 เช็ดเด็ดโพลมอเตอร์ (Shaded Pole Motor)
เป็ นมอเตอร์ขนาดเล็กที่สุดมีแรงบิดเริ่มหมุนต่ำมากนำไปใช้งานได้กับ
เครื่องใช้ไฟฟ้ าขนาดเล็ก ๆ เช่น ไดร์เป่ าผม พัดลมขนาดเล็ก
2.6.4 มอเตอร์ไฟฟ้ าสลับชนิด 2 เฟสหรือเรียกว่าทูเฟส
มอเตอร์ (A.C.Two phase Motor)
25

2.6.5 มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับชนิด 3 เฟสหรือเรียกว่าที


เฟสมอเตอร์ (A.C. Three phase Motor)
2.6.5.1 สคิวเรลเคจโรเตอร์มอเตอร์ (Squirrel Cage
Rotor Motor) อินดักชั่นมอเตอร์สามเฟสแบบสคิวเรลเคจโรเตอร์เป็ น
โรเตอร์ที่ให้กำลังแรงม้าต่ำเมื่อเทียบกับมอเตอร์แบบอื่นๆ แต่จะมีข้อดีคือ
จะมีความเร็วรอบการทำงานคงที่ในโหลดที่มีขนาดต่างๆกันและการบำรุง
รักษามอเตอร์แบบนีไ้ ม่ยุ่งยากจึงทำให้อินดักชั่นมอเตอร์สามเฟสแบบสคิว
เรลเคจโรเตอร์เป็ นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย
2.6.5.2 วาวด์โรเตอร์มอเตอร์ (Wound Rotor) มอเตอร์
แบบวาวด์โรเตอร์ (Wound-rotor) หรือแบบ Slip-ring จะมีแกนหมุน
พันขดลวดที่มีตัวนำไฟฟ้ านำไปสู่ Slip Rings เพื่อสอดแทรกตัวความ
ต้านทานไว้เพิ่มแรงบิดในขณะสตาร์ทและลดกระแสในการสตาร์ทและยัง
วางใจได้ต่อการลดความเร็วลง 50% ภายใต้แรงบิดขณะรับภาระเต็มที่
มอเตอร์แบบนีเ้ หมาะกับมอเตอร์ปรับความเร็วได้ทงั ้ 2 แบบ มอเตอร์แบบ
วาวด์โรเตอร์ สามารถควบคุมแรงบิดในขณะช่วงเวลาการสตาร์ทได้โดย
การเพิ่มความต้านทานภายนอก เข้าไปในขดลวดทุติยภูมิ (Secondary
Winding) ของมอเตอร์ ผ่านทาง Slip Rings ทำให้สามารถไหนดู
โปรแกรมแรงบิด ระหว่างการสตาร์ท ให้เหมาะสมกับมอเตอร์ที่ขับ
อุปกรณ์ขนถ่ายแต่ละแบบการขับประเภทนีไ้ ด้มีการใช้กันอย่างกว้างขวาง
ในสายพานลำเลียงขนาดใหญ่ ๆ
26

2.7 สายไฟ (Power cable)


รูปที่ 2.6 แสดงลักษณะ
สายไฟเป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สง่ พลังงานไฟฟ้ าจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
โดยกระแสไฟฟ้ าจะเป็ นตัวนำพลังงานไฟฟ้ าผ่านไปตามสายไฟจนถึง
เครื่องใช้ไฟฟ้ า สายไฟทำด้วยสารที่ยอมให้กระแสไฟฟ้ าผ่านได้ เรียกว่า
ตัวนำไฟฟ้ า และตัวนำไฟฟ้ าที่ใช้ทำสายไฟเป็ นโลหะที่ยอมให้กระแสไฟฟ้ า
ผ่านได้ดี ลวดตัวนำแต่ละชนิดยอมให้กระแสไฟฟ้ าผ่านได้ต่างกัน ตัวนำ
ไฟฟ้ าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้ าผ่านได้มากเรียกว่ามีความนำไฟฟ้ ามากหรือมี
ความต้านทานไฟฟ้ าน้อย ลวดตัวนำจะมีความต้านทานไฟฟ้ าอยู่ด้วย โดย
ลวดตัวนำที่มีความต้านทานไฟฟ้ ามากจะยอม ให้กระแสไฟฟ้ าผ่านได้น้อย
2.7.1 ส่วนประกอบของสายไฟฟ้ า
2.7.1.1 ตัวนำไฟฟ้ า ทำหน้าที่ส่งผ่านกระแสไฟฟ้ าหรือ
สัญญาณไฟฟ้ า ตัวนำไฟฟ้ าทำจากโลหะที่มีค่าความต้านทานไฟฟ้ าต่ำและ
มีค่าความนำไฟฟ้ าสูง ซึง่ โลหะที่นิยมใช้ทำเป็ นตัวนำไฟฟ้ าได้แก่ ทองแดง
และอลูมิเนียม โดยมีคุณสมบัติ ดังนี ้
1) ทองแดง เป็ นโลหะที่มีค่าการนำไฟฟ้ าสูงมาก
(สูงเป็ นอันดับสองรองจากโลหะเงิน) มีความแข็งแรง สามารถนำมารีด
เป็ นเส้นลวดขนาดเล็ก และดัดโค้งงอได้โดยไม่เปราะหักง่าย นำความร้อน
ได้ดี แต่มีน้ำหนักค่อนข้างมาก และราคาสูงกว่าอลูมิเนียม ดังนัน
้ จึงนิยม
ใช้ทองแดงเป็ นตัวนำไฟฟ้ าสำหรับสายไฟฟ้ าที่ใช้ติดตัง้ ในอาคารและติดตัง้
ใต้ดิน (Underground cable)
27

2) อลูมิเนียม มีค่าการนำไฟฟ้ าต่ำกว่าทองแดง


(ประมาณ 62% ของทองแดง) แต่เปราะหักได้ง่ายกว่าจึงไม่สามารถรีด
เป็ นเส้นลวดขนาดเล็กมากได้ อลูมิเนียมมีข้อได้เปรียบทองแดงคือมีน้ำ
หนักเบากว่ามาก (อลูมิเนียมมีน้ำหนักประมาณ 1 ใน 3 ของทองแดงที่
ปริมาตรเท่ากัน) และราคาถูกกว่า ดังนัน
้ อลูมิเนียมจึงเหมาะสำหรับทำ
เป็ นตัวนำของสายไฟฟ้ าที่ติดตัง้ แบบแขวนลอยในอากาศ เช่นสายส่ง
ไฟฟ้ าแรงสูงเหนือพื้นดินที่ต้องเดินเป็ นระยะทางไกล ทำให้การลงทุนใน
สายส่งและโครงสร้างเสาและอุปกรณ์รับน้ำหนักน้อยลงจากน้ำหนักที่เบา
กว่าของสายตัวนำอลูมิเนียม และเนื่องจากอลูมิเนียมเปราะหักได้ง่ายกว่า
ทองแดง ดังนัน
้ จึงไม่นิยมใช้ทำเป็ นตัวนำสายตีเกลียวหรือสายอ่อนขนาด
เล็กและตัวนำที่ติดตัง้ ในอาคารซึ่งต้องการการดัดโค้งของสายในการติดตัง้
มากกว่า ฉนวน PVC มีความนิ่มและอ่อนตัว สามารถดัดโค้งงอได้ง่าย
นิยมใช้เป็ นฉนวนสายแรงดันต่ำ โดยเฉพาะสายที่ใช้ติดตัง้ ในอาคาร
เนื่องจาก PVC มีคุณสมบัติต้านทานการลุกไหม้ไฟในตัวเอง ฉนวน PVC
ใช้กับสายไฟฟ้ าที่มีพิกัดอุณหภูมิตัวนำสูงสุด 70 องศา ฉนวน XLPE ผลิต
โดยการทำให้ โพลีเอททีลีน (PE) เกิดปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนเป็ นครอสลิงค์
โพลีเอททีลีน (XLPE) ซึง่ มีความแข็งแรงและทนความร้อนได้มากขึน

ฉนวน XLPE ใช้กับสายไฟฟ้ าที่มีพิกัดอุณหภูมิตัวนำสูงสุด 90 องศานิยม
ใช้เป็ นฉนวนสายไฟฟ้ ากำลัง โดยเฉพาะสายไฟฟ้ าแรงดันสูง ฉนวน XLPE
มีคณ
ุ สมบัติที่เหนือกว่า PVC ได้แก่ ทนอุณหภูมิได้สูงกว่า มีความแข็งแรง
มากกว่า ความต้านทานไฟฟ้ าสูงกว่า ป้ องกันการซึมผ่านของน้ำได้ดีกว่า
แต่มีข้อเสียคือเมื่อติดไฟแล้วจะลุกลามไฟได้อย่างรวดเร็ว จึงไม่นิยมใช้
28

สายไฟฟ้ าฉนวน XLPE ติดตัง้ ในอาคาร ยกเว้นแต่เป็ นสายที่ออกแบบให้


ผ่านการทดสอบการลุกลามไฟเป็ นพิเศษนอกจากนีย
้ ังมีฉนวนชนิดอื่นๆ
อีกหลายชนิด เช่น ฉนวนยาง EPR ที่มีความนิ่มยืดหยุ่นสูงและกันน้ำได้ดี
เหมาะกับงานติดตัง้ ที่ต้องการความอ่อนตัวของสายไฟมาก และฉนวน
LSHF-XLPE ที่พัฒนาขึน
้ เพื่อให้ฉนวน XLPE มีคณ
ุ สมบัติต้านทานการ
ลุกลามไฟ มีควันน้อยและไม่ปล่อยก๊าซที่มีฤทธิเ์ ป็ นกรดเมื่อถูกไฟไหม้
สำหรับสายไฟฟ้ าใช้ติดตัง้ ภายในอาคาร
3) เปลือกนอก (Over sheath) เปลือกนอก หรือ
Over Sheath คือ พลาสติกโพลิเมอร์ที่อยู่ชน
ั ้ นอกสุดของสายไฟฟ้ า ทำ
หน้าที่ปกป้ องสายไฟฟ้ าจากสภาพแวดล้อมต่างๆ เช่น การขูดขีดระหว่าง
ติดตัง้ แรงกระแทกกดทับ แสงแดด น้ำและความชื้น และการกัดกร่อน
จากสภาพแวดล้อมต่างๆ เช่น PVC มีคณ
ุ สมบัติเช่นเดียวกับฉนวนพีวีซี
เหมาะกับสายไฟฟ้ าที่ใช้ติดตัง้ ภายในอาคาร PE มีความแข็งแรงสูง ทนต่อ
การขูดขีดและแรงกระแทกกดทับได้ดี และป้ องกันการซึมผ่านของน้ำได้ดี
แต่มีข้อเสียเรื่องการลุกลามไฟเช่นเดียวกับฉนวน XLPE ดังนัน
้ จึงเหมาะ
สำหรับใช้เป็ นเปลือกของสายที่ใช้ติดตัง้ ใต้ดิน LSHF (Low Smoke
Halogen Free) พัฒนาขึน
้ สำหรับสายไฟฟ้ าที่ใช้ติดตัง้ ในพื้นที่ที่ต้องการ
ความปลอดภัยมากเป็ นพิเศษ เนื่องจากเปลือก LSHF มีคุณสมบัติ
ต้านทานการลุกลามไฟ ควันน้อยและไม่ปล่อยก๊าซที่มีฤทธิเ์ ป็ นกรดเมื่อถูก
ไฟไหม้ มีข้อเสียคือ ความแข็งแรงไม่สูงมากเท่า PVC และ PE และไม่
เหมาะกับการติดตัง้ แบบฝั งดิน เนื่องจากมีการดูดซึมความชื้นสูง
29

2.7.2 ลักษณะของสายไฟ แต่ละชนิด ตัวนำ อลูมิเนียม ตัวนำ


ทองแดง
2.7.2.1 60227 IEC 01 (THW) เป็ นสายไฟฟ้ าที่รับแรง
ดันไฟฟ้ าได้ 450/750V ฉนวนทำจาก PVC ตัวนำทองแดง เป็ นสายนิยม
ใช้อย่างกว้างขวางสำหรับการเดินสายภายในอาคาร วิธีการติดตัง้ และการ
ใช้งาน ใช้เดินบนราง wire-way เดินร้อยท่อเดินใต้ฝ้าอาคาร หรือร้อยท่อ
ฝั งผนังคอนกรีต
2.7.2.2 VCT เป็ นสายไฟฟ้ าที่รับแรงดันไฟฟ้ าได้
450/750V ฉนวนและเปลือกทำจาก PVC ตัวนำทำจากทองแดงฝอยเส้น
เล็กๆมัดรวมกันเป็ นแกน มีทงั ้ แบบ 1 แกน 2 แกน 3 แกน และ 4 แกน
ข้อดีของตัวนำทองแดงที่เป็ นเส้นฝอยคือมีความอ่อนตัวและทนต่อสภาพ
การสั่นสะเทือนได้ดีนอกจากนีย
้ ังมีสาย VCT-G เป็ นสาย VCT ที่มีสายดิน
เดินรวมไปด้วยอีกเส้นหนึ่ง เพื่อให้เหมาะกับการใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่
ต้องต่อลงดิน การใช้งานเดินบนรางเคเบิล ร้อยท่อฝั งดิน หรือฝั งดิน
โดยตรงก็ได้
2.7.2.3 NYY เป็ นสายไฟที่รับแรงดันไฟฟ้ าได้ 450/750V
เช่นเดียวกับสาย VCT ต่างกันตรงที่โครงสร้างของสายไฟ คือสาย NYY
จะมีเปลือกสองชัน
้ คือ เปลือกชัน
้ ในและเปลือกชัน
้ นอก แต่สาย VCT มี
เปลือกชัน
้ เดียว ทำให้สาย NYY มีความแข็งแรง คงทนต่อสภาพแวดล้อม
มากกว่าสาย VCT มีตงั ้ แต่ 1 แกน ถึง 4 แกน และยังมี NYY-G ที่มี
สายดินเดินรวมไปด้วย การใช้งานสามารถฝั งดินโดยตรงได้ เดินลอยใน
30

อากาศ ร้อยท่อฝั งดิน ร้อยท่อฝั งผนังคอนกรีต ร้อยท่อเดินใต้ฝ้าอาคาร


เดินบนรางเคเบิลเดินในช่องเดินสาย wire-way
2.7.2.4 60227 IEC 10 เป็ นสายไฟฟ้ าที่มีลักษณะ
โครงสร้างเหมือนสาย NYY มาก ทำให้ผู้ใช้มักสับสนอยู่บ่อยๆ ความแตก
ต่างระหว่างสายไฟสองชนิดนีค
้ ือ สาย 60227 IEC 10 มีเปลือกที่บางกว่า
และทนแรงไฟฟ้ าได้เพียง 300/500V และไม่สามารถเดินสายฝั งดินได้
การใช้งานสามารถเดินลอยในอากาศ ร้อยท่อฝั งผนังคอนกรีต ร้อยท่อ
เดินใต้ฝ้าอาคาร เดินเกาะผนัง เดินบนรางเคเบิล เดินในช่องเดิน
สาย wire-wayVAF เป็ นสายไฟฟ้ าที่รับแรงดันได้ 300/500V ตัวนำเป็ น
ทองแดง ฉนวนและเปลือกทำจาก PVC นิยมใช้เดินตามฝาผนังแล้วรัด
ด้วยเข็มขัดรัดสาย (clip : กิบ
้ ) หรือเดินในช่องเดินสาย แต่ห้ามร้อยท่อ
และห้ามเดินฝั งดิน นอกจากนีย
้ ังมีสาย VAF-G ที่มีสายดินเดินรวมไปด้วย
อีกเส้นหนึ่ง
2.7.3 สายไฟฟ้ าแรงดันต่ำ (Low voltage power cable)
ลักษณะของสายไฟ รับแรงดันไฟฟ้ าได้ไม่เกิน 6kV ส่วนใหญ่จะมีฉนวน
เป็ น Cross-linked polyethylene (XLPE) ซึ่งมีความแข็งแรง ทนทาน
กว่าฉนวน PVC และยังทนความร้อนได้สูงถึง 90 ํC บางชนิดอาจมีการ
เสริมโครงสร้างโลหะเพื่อรับแรงกระแทกที่จะเกิดขึน
้ จากการติดตัง้ ได้
มากขึน
้ เช่น สาย CV, CV-AWA, CV-SWA 6/1 kV XLPE/PVC (สาย
CV) รับแรงดันได้ 600/1000V ฉนวนทำจาก Cross-linked
polyethylene (XLPE) เปลือกนอกเป็ น PVC ตัวนำเป็ นทองแดง มี
ตัง้ แต่ชนิดตัวนำแกนเดี่ยว จนถึง ตัวนำสี่แกน การใช้งานสามารถฝั งดิน
31

โดยตรง ร้อยท่อฝั งดิน ร้อยท่อฝั งผนังคอนกรีต ร้อยท่อเดินใต้ฝ้าอาคาร


เดินเกาะผนัง เดินบนฉนวนลูกถ้วย และ เดินในช่องเดินสายชนิด wire-
way ที่ปิดมิดชิด6/1 kV XLPE/PVC/AWA (สาย CV-AWA) และ 0.6/1
kV XLPE/PVC/SWA (สาย CV-SWA) รับแรงดันได้ 600/1000V ฉนวน
เปลือก ตัวนำและการใช้งานเหมือนสาย CV แต่มีการเสริมโครงสร้าง
ลวดอะลูมิเนียมและลวดเหล็กตามลำดับ เรียกโครงสร้างชัน
้ นีว้ ่า
Metallic Shield โดย Metallic Shield นีจ
้ ะช่วยสลายประจุไฟฟ้ าที่
เกิดขึน
้ บนผิวฉนวนไม่ให้แพร่ไปยังโครงสร้างชัน
้ อื่นๆ เพื่อช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพและความปลอดภัย
2.7.4 สายไฟฟ้ าควบคุม (Control Cable) สายไฟฟ้ าแรงดัน
ต่ำตามมาตรฐาน ที่ใช้งานในด้านการควบคุมของระบบขนาดแรงดัน
600V เช่น สาย CVV, CVV-S, CVV-SWA 600V CVV รับแรงดันได้
600V ฉนวนและเปลือกทำจาก PVC อุณหภูมิใช้งานที่ 70 ํC และยังมี
โครงสร้าง
2.7.5 สายไฟฟ้ าแรงดันปานกลาง (Medium voltage
power cable) รับแรงดันไฟฟ้ าตัง้ แต่ 6kV ถึง 36kV มีทัง้ ตัวนำ
อะลูมิเนียมและตัวนำทองแดง มีโครงสร้างหลายแบบขึน
้ อยู่กับลักษณะ
การนำไปใช้งาน เช่น สาย SAC, PIC, MXLP-DATA, MXLP-AWA,
MXLP-LS-SWA
1) สาย SAC ตัวนำอะลูมิเนียม ฉนวนและเปลือก
Cross-linked polyethylene (XLPE) เป็ นสายไฟที่มีน้ำหนักเบา
32

เหมาะสำหรับการเดินสายไฟบนเสาไฟฟ้ า รับแรงดันได้ 3 ขนาด คือ


15kV 25kV และ 35kV
2) สาย MXLP-DATA คือสายไฟฟ้ าแรงดันขนาดกลางที่
มีโครงสร้างเสริมคือ Double Aluminium Tape Armour เพื่อช่วยรับ
แรงกระแทกและป้ องกันความเสียหายของฉนวนที่จะเกิดขึน
้ ขณะติดตัง้
และใช้งานสายไฟ โครงสร้างของสายจะประกอบด้วย ตัวนำทองแดง
ฉนวน Cross-linked polyethylene (XLPE) เปลือกทำจาก PE
(Polyethylene : PE)
3) สาย MXLP-AWA คือสายไฟฟ้ าแรงดันขนาดกลางที่มี
โครงสร้างเสริมคือ Aluminium Wire Armour ตัวนำทองแดง ฉนวน
Cross-linked polyethylene (XLPE) เปลือกทำจาก Black PE (PE :
Polyethylene)
4) สาย MXLP-LS-SWA คือสายไฟฟ้ าแรงดันขนาด
กลางที่มีโครงสร้างเสริมคือ Lead Sheath และ Steel Wire Armour
ตัวนำทองแดง ฉนวนCross-linked polyethylene (XLPE) เปลือกทำ
จาก Black PE (PE : Polyethylene)ข้อดีของ Lead Sheath คือ
สามารถป้ องกันการซึมของน้ำ ทนต่อการกัดกร่อยของไอน้ำมันและสาร
เคมีบางชนิดได้อย่างดี นิยมใช้สายประเภทนีใ้ นการเดินสายไฟใต้ดินและ
งานอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี (Oil&Gas)
2.7.6 สายไฟฟ้ าแรงดันสูง (High voltage power cable)
รับแรงดันไฟฟ้ าตัง้ แต่ 36kV ถึง 170kV ตัวนำทองแดง มีโครงสร้าง
หลายแบบขึน
้ อยู่กับลักษณะการนำไปใช้งาน เช่น 69 kV
33

Cu/XLPE/CWS/LAT/PE สายไฟแรงดันสูงที่รับแรงดันได้สูงสุด 69kV


ตัวนำทองแดง ฉนวน XLPE เสริมโครงสร้าง Copper wire shield เพื่อ
สลายประจุไฟฟ้ าที่เกิดขึน
้ บนผิวฉนวนไม่ให้แผ่ไปยังโครงสร้างชัน
้ อื่นๆ
เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการใช้งาน และ
Laminated Aluminium tape เพื่อป้ องกันการซึมของน้ำ เปลือกเป็ น
PE ซึ่งทำเป็ นลักษณะของ Ribbed Oversheath ซึ่งช่วยลดแรงเสียด
ทานในขณะทำการลากสาย36/69(72.5) kV Cu/XLPE/LS/PE สายไฟที่
รับแรงดันได้สูงสุด 5 kV ตัวนำทองแดง ฉนวน XLPE เสริมโครงสร้าง
Lead Sheath ที่ช่วยป้ องกันการซึมของน้ำ ทนต่อการกัดกร่อนของไอ
น้ำมันและสารเคมีได้ดี(นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี ) เปลือกทำ
จาก PE127/230(245) kV Cu/XLPE/CCS/PE สายไฟที่รับแรงดันได้
สูงสุด 245 kV ตัวนำทองแดง ฉนวน XLPE เสริมโครงสร้าง
Corrugated copper sheath ที่ช่วยป้ องกันการซึมของน้ำและช่วยรับ
แรงกระแทก ความพิเศษของ Corrugated sheath คือ มีความยืดหยุ่น
ทำให้สามารถดัดโค้งสายไฟได้ง่ายขึน
้ เปลือกทำจาก PE
2.7.7 สายเปลือย (Bare Conductor) สายส่งไฟฟ้ าแรงดัน
สูง เนื่องจากไม่มีฉนวนจึงสามารถรับแรงดันได้ไม่จ ำกัด นิยมใช้เป็ น
สายส่งกำลังในเขตนอกเมือง ที่ไม่มีผ ู้คนอยู่อาศัย เพราะสายไฟไม่มี
ฉนวนป้ องกันกระแสไฟฟ้ าซึ่งจะเป็ นอันตรายต่อคนที่อยู่ใกล้ๆได้ มีทัง้
ตัวนำอะลูมิเนียมและทองแดง แต่อะลูมิเนียมจะเป็ นที่นิยมกว่าเพราะมี
น้ำหนักเบาและราคาถูกกว่าตัวนำทองแดง เช่น
34

1) สายAAC (All Aluminium Conductor) ตัวนำเป็ น


อะลูมิเนียม ทัง้ สายตีเกลียวรวมกัน
2) สาย ACSR (Aluminium Conductor Steel
Reinforced) ตัวนำอะลูมิเนียม มีเหล็กตรงแกนกลาง เพื่อช่วยรับน้ำ
หนักเมื่อเดินสายระยะไกล
3) สาย Bare Copper ตัวนำทองแดงทัง้ เส้นตีเกลียว
รวมกันสามารถฝั งดินโดยตรง หรือ เดินบนอากาศก็ได้

รูปที่ 2.7 แสดงลักษณะของสายไฟ

2.8 สวิตช์
การทำงานของสวิตช์ ส่วนประกอบพื้นฐานของสวิตช์จะมีส่วนที่
เรียกว่าหน้าสัมผัสอยู่ภายในซึ่งคล้ายกับสะพานเชื่อมให้กระแสไฟฟ้ าไหล
ในวงจรไฟฟ้ าได้สวิตช์ทำหน้าที่ เปิ ด-ปิ ด วงจรไฟฟ้ า ทำให้วงจรไฟฟ้ าเกิด
35

การทำงานอยู่ 2 ลักษณะคือ วงจรเปิ ดและวงจรปิ ด วงจรเปิ ด คือลักษณะ


ที่หน้าสัมผัสของสวิตช์ไม่เชื่อมต่อกันทำให้กระแสไฟฟ้ าไม่สามารถไหลไป
ในวงจรได้ และวงจรปิ ด คือ การที่หน้าสัมผัสของสวิตช์เชื่อมต่อกันทำให้
กระแสไฟฟ้ าไหลในวงจรได้
2.8.1 ลักษณะการทำงานของสวิตช์
1) วงจรเปิ ด หน้าสัมผัสไม่เชื่อมต่อกัน กระแสไฟฟ้ าไม่
สามารถไหลในวงจรได้ทำให้อุปกรณ์ ไฟฟ้ าไม่ทำงานแต่เรามักจะ
เรียกกันว่าเป็ นการปิ ดสวิตช์ ซึ่งหมายถึงการปิ ดการทำงานของอุปกรณ์
ไฟฟ้ านั่นเอง

รูปที่ 2.8 แสดงลักษณะการทำงานสวิตช์ไฟ วงจรเปิ ด


2) วงจรปิ ด หน้าสัมผัสเชื่อมต่อกันกระแสไฟฟ้ าสามารถ
ไหลในวงจรได้ทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้ า ทำงาน แต่เรามักจะเรียกกันว่า
เป็ นการเปิ ดสวิตช์ ซึ่งหมายถึงการเปิ ดการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้ า

รูปที่ 2.9 แสดงลักษณะการทำงานสวิตช์ไฟ วงจรปิ ด


36

รูปที่ 2.10 แสดงลักษณะแบบของสวิตช์ไฟ วงจรเปิ ด

2.9 ล้อ (wheel)


ล้อคือวัตถุรูปวงกลมถูกยึดไว้ด้วยเพลาที่บริเวณจุดศูนย์กลางทำให้
ล้อสามารถหมุนรอบเพลาได้มักใช้ประกอบกับยานพาหนะ เพื่อให้
เคลื่อนที่ได้โดยง่ายบนพื้นเป็ นเครื่องกลที่ช่วยผ่อนแรงประกอบด้วยวัตถุ
ทรงกระบอก 2 อันติดกัน อันใหญ่เรียกว่าล้อ อันเล็กเรียกว่าเพลา ใช่
เชือก 2 เส้น พันรอบล้อเส้นหนึง่ อีกเส้นหนึ่งพันรอบเพลาโดยพันไป
คนละทางปลายข้างหนึ่งของเชือกที่พันรอบเพลาผูกติดกับวัตถุ ปลายข้าง
หนึง่ ของเชือกที่พันรอบล้อใช้สำหรับออกแรงดึง
2.9.1 จำนวนดุมล้อ คนส่วนใหญ่ยอมจ่ายเงินเพื่อล้ออัลลอยด์
ซึง่ มีจำนวนดุมล้อที่ไม่เหมาะสม
2.9.2 ระยะห่างระหว่างน็อตล้อแต่ละตัว หากทราบแล้วว่า
ต้องการจำนวนดุมล้อเท่าใดก็ควรทราบด้วยว่าระยะห่างระหว่างน็อตล้อ
แต่ละตัว หรือ PCD (pitch circle diameter) ควรเป็ นเท่าใด PCD ก็คือ
37

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่เรามองไม่เห็น เกิดขึน
้ จากการวาดวงกลมโดย
ผ่านจุดศูนย์กลางของดุมล้อ? (ดังสีแดง) หากรถคุณมีจำนวนดุมล้อถูกแต่
เว้นระยะห่างผิดจะทำให้ล้อไม่พอดี
2.9.3 ขนาดจุกล้อ ขนาดจุกล้อมี 2 แบบ ได้แก่ hub-centric
และ lug-centric การออกแบบแบบ hub-centric เป็ นล้อที่ใส่จุกล้อก่อน
ที่จะขันปลอกหรือหัวให้แน่น ในการออกแบบนีจ
้ ุกจะยื่นออกมาจากเพลา
ซึง่ สามารถใช้เป็ นการตัง้ ศูนย์ล้อได้ สำหรับล้ออัลลอยด์ตามร้านต่างๆ? รู
ของจุกล้อมักใหญ่กว่าของเดิมที่ติดมากับล้อจึงทำให้คุณจำเป็ นต้องนำรถ
ไปตัง้ ศูนย์ หรือใส่ hub-centric ring ซึง่ ทำด้วยพลาสติกโลหะทรงกลมที่
สามารถเข้าเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกของจุกล้อได้ เพื่อให้มั่นใจว่าติด
อยู่กับศูนย์กลางล้อแน่นอน การออกแบบแบบ lug-centric เป็ นการวาง
ศูนย์กลางให้ล้อขณะที่อยู่ระหว่างการขันดุมล้อให้แน่นเพราะจุกจะไม่ย่ น

ออกมา
2.9.4 ประเภทของ ล้อ
2.9.4.1 Magnesium Alloy – วัสดุที่ใช้คือ
Magnesium ผสม Alloy ซึ่งคำว่าล้อแม็ก ที่คนไทยเราเรียกกันติดปาก
มาจนถังปั จจุบันก็ย่อมาจากคำว่า Magnesium นี่แหละสำหรับ
Magnesium Alloy นัน
้ มีการผลิตและมีการใช้งานมาอย่างยาวนาน โดย
ในอดีตนัน
้ Magnesium Alloy เป็ นล้อที่ผลิตมาใช้เพื่อการแข่งขันและใช้
กับรถ Super Car ในช่วงประมานปี 60’s
38

1) ข้อดี น้ำหนักเบา มีแรงต้านการหมุนน้อย มีน้ำ


หนักใต้สปริงต่ำ ส่งกำลังให้รถเคลื่อนที่ได้เร็วขึน
้ ในปั จจุบันยังในวงการ
F-1 ยังใช้อยู่ เป็ นที่ต้องการของนักสะสมรถ Hi-end
2) ข้อเสีย มีราคาแพง ผุกร่อนและพังง่าย ไม่เหมาะ
สำหรับการใช้งานประจำวัน
2.9.4.2 Aluminum Alloy – เป็ นวัสดุที่นำมาใช้ทดแทน
Magnesium Alloy มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในปั จจุบัน ที่ส่วนมากรถ
รุ่นใหม่หลายๆแบรนด์มักจะให้เป็ นล้อที่ติดรถมา
1) ข้อดี ทนกว่า ราคาถูกกว่า Magnesium Alloy
มีการพัฒนาไปได้อย่างต่อเนื่อง
2) ข้อเสีย มีน้ำหนักมากกว่า Magnesium Alloy
2.9.4.3 Steel Wheel – ล้อที่ใช้วัสดุเป็ นเหล็กล้วนๆ
หรือที่คนไทยมักเรียกติดปากว่า ล้อกระทะ นั่นเอง แบบสุดท้ายนี่อาจ
จะจะไม่เรียกว่า ล้อแม็ก แต่ยังไงก็เป็ นหนึง่ ใน ประเภท ของวงล้อ และมี
ข้อดีข้อเสียของการใช้งานเหมือนกับสองประเภทข้างบนเช่นเดียวกัน เอา
เป็ นว่ารู้ไว้ไม่เสียหาย
1) ข้อดี มีความทนทานสูงมาก ดูจากวัสดุกค
็ งไม่
ต้องบรรยายให้มากราคาถูก หาง่าย
2) ข้อเสีย น้ำหนักมากที่สุด ลายของล้อไม่ค่อยสวย
2.9.5 ล้อ ทำมาจากโลหะ 2 ประเภท คือ
2.9.5.1 อลูมิเนียม (Aluminium)
39

2.9.5.2 แมกนีเซียม (Magnesium)


2.9.6 กะทะล้อ (Rims) กะทะล้อเป็ นส่วนที่ยึดยางรถยนต์กับ
ดุมล้อ กะทะล้อประกอบด้วย 2 ส่วนด้วยกัน คือ ขอบกะทะล้อ และจาน
กะทะล้อ โดยขอบกะทะล้อ เป็ นส่วนที่ยึดยางรถยนต์กับจานกะทะล้อ
และยังทำหน้าที่ในการรักษารูปทรงของยางรถยนต์ ส่วนจานกะทะล้อทำ
หน้าที่ในการยึดของกะทะล้อให้ติดกับดุมล้อ จานกะทะล้อจะมีรูสำหรับ
ยึดน็อตกับดุมล้อเพื่อความสะดวกในการถอด-ใส่ล้อรถยนต์กับดุมล้อของ
รถยนต์กะทะล้อแบ่งตามรูปแบบการสร้าง แบ่งได้ 3 แบบ คือ
2.9.6.1 แบบกะทะล้อเหล็กกล้าอัดขึน
้ รูป เป็ นกะทะล้อที่
นิยมกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีความแข็งแรงและสามารถต้านทาน
ต่อการเกิดอุบัติเหตุที่มีแรงกระทำต่อล้อได้เป็ นอย่างดี อีกทัง้ กะทะล้อ
แบบนีส
้ ามารถผลิตได้ง่ายคราวละมากๆ โครงสร้างของกะทะล้อชนิดนี ้
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ขอบกะทะล้อ และจานกะทะล้อ โดยขอบกะทะ
ล้อ จะมีลักษณะต่ำตรงกลาง หรือเว้าตรงกลาง วัตถุประสงค์เพื่อให้ง่าย
ต่อการถอด-ใส่ยางรถยนต์ และด้านข้างของขอบกะทะล้อจะมีลก
ั ษณะ
เป็ นสันนูนยกขึน
้ เพื่อป้ องกันการเลื่อนไถล หรือป้ องกันการหลุดของยาง
เมื่อยางมีลมอ่อน และเป็ นการช่วยป้ องกันการรั่วซึมของลมส่วนจานกะ
ทะล้อหรือสไปเดอร์ ตรงกลางของจานกะทะล้อจะมีรู เพื่อใส่กับดุมล้อ
รอบๆรูใส่ดุมล้อจะมีรูไว้สำหรับร้อยน็อตยึดระหว่างกะทะล้อกับดุมล้อ
โดยทั่วไปรูเจาะร้อยน็อตจะมีตงั ้ แต่ 4-6 รูแล้วแต่ชนิดของดุมขอบกะทะ
ล้อและจานล้อจะใช้หมุด
40

2.9.6.2 แบบกระทะล้อซีล
่ วด กะทะล้อแบบนีน
้ ิยมใช้กับ
รถแข่ง รถสปอร์ต หรือรถจักรยานยนต์ ซึ่งเป็ นกะทะล้อที่มีน้ำหนักเบา
แต่มค
ี วามแข็งแรงสูงมาก สามารถถอดเปลี่ยนล้อได้อย่างรวดเร็ว มีเกลียว
ล็อกล้ออยู่ตรงกลางอันเดียว รูปแบบของล้อแบบซี่ กะทะล้อแบบซี่
ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของขอบล้อ ซึ่งมีลก
ั ษณะคล้ายกับขอบกะ
ทะล้อของกะทะล้อแบบเหล็กกล้าอัดขึน
้ รูป ส่วนที่สอง คือ ซี่ลวด ซึ่งใช้
แทนจานกะทะล้อในล้อแบบเหล็กกล้า ซี่ลวดทำด้วยเหล็กกล้าที่มีความ
แข็งแรงสูงใช้วิธีการยึดแบบไขว้ไปมา โดยทั่วไปซี่ลวดจะรับแรงดึงได้
มากกว่าแรงกด ความแข็งแรงของกะทะล้อแบบซี่ลวด ขึน
้ อยู่กับขอบกะ
ทะล้อ และการร้อยซี่ลวดระหว่างปลอกสวมดุมล้อ และขอบกะทะล้อ
2.9.6.3 กะทะล้อโลหะผสม หรือล้อแม็ก กะทะล้อแบบนี ้
ผลิตโดยการหล่อ โดยใช้โลหะเบาผสมกัน คืออะลูมิเนียม กับแม็กนีเซียม
ซึง่ ทำให้กะทะล้อแบบนี ้ มีน้ำหนักเบา และแข็งแรงกว่ากะทะล้อแบบ
เหล็กกล้า ปั จจุบันมีความนิยมใช้ล้อแม็กกับรถยนต์นั่งส่วนบุคคลมากขึน

You might also like