You are on page 1of 49

บทที่ 7 ระบบบังคับเลีย ้ ว ล้อ การ

ยึดเกาะ
• เนื้อหา และเครื่องช่วยยึดเกาะ
7.1 บทนำ
7.2 ระบบบังคับเลีย ้ ว
7.3 ล้อขับเคลื่อนและตีนตะขาบ
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาดของยาง
7.5 การวางล้อ การปรับล้อ และการถ่วงน้ำ
หนัก
7.6 การยึดเกาะ
7.7 เครื่องช่วยยึดเกาะ
7.8 การขับเคลื่อนของล้อรถแทรกเตอร์
7.9 การตัง้ ล้อหน้า
7.10 คำถามท้ายบท 1
7.1 บทนำ
การเข้าใจระบบบังคับเลีย ้ ว ระบบล้อ การ
ยึดเกาะและเครื่องช่วยยึดเกาะจะช่วยให้การ
ออกแบบหรือการปฏิบัติงานของรถแทรกเตอร์
ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน ้ ระบบ
บังคับเลีย
้ วเลีย
้ วจำเป็ นต้องมีจุดศูนย์กลางร่วม
ของล้อทัง้ หมด เพื่อให้การกระทำเป็ นไปได้ง่าย
สะดวก และไม่เกิดการสูญเสียขึน ้ ระบบล้อและ
ยางนับว่ามีความสำคัญต่อประสิทธิภาพของรถ
แทรกเตอร์อย่างมาก และเครื่องช่วยยึดเกาะ
นัน
้ ส่งผลต่อการเพิ่มสมรรถนะในการฉุดลาก
ของรถแทรกเตอร์ ซึ่งรายละเอียดต่าง ๆแสดง
ดังต่อไปนี ้ 2
7.2 ระบบบังคับเลีย
้ ว
ระบบการหันเลีย
้ วมี 5 รูปแบบ ดังแสดงรูปที่
7.1
1. ชนิดเลีย
้ วด้วยล้อหน้า ใช้ล้อหน้าเลีย ้ วอย่าง
เดียว
2. ชนิดเลีย้ วด้วย ล้อหลัง ใช้ล้อหลังเลีย ้ วอย่าง
เดียว
3. ชนิดหันเลีย ้ ว 4 ล้อคนละทาง ชนิดนีจ ้ ะมีการ
เลีย
้ วของล้อหน้าและล้อหลังคนละทิศทางกัน
4. ชนิดเลีย ้ วแบบปู ชนิดนีจ ้ ะมีการเลีย
้ วของล้อ
หน้าและล้อหลังใน ทิศทางเดียวกัน
5. ชนิดหันเลีย ้ วกลางลําตัว รถแทรกเตอร์ชนิดนี ้
7.2 ระบบบังคับเลีย
้ ว

รูปที่ 7.1 ลักษณะการหัน


เลีย
้ ว
7.2 ระบบบังคับเลีย
้ ว
การบังคับเลีย
้ วทําให้รถแทรกเตอร์เปลี่ยนทิศทางการ
เคลื่อนที่ไปทางด้านซ้ายหรือขวาเพื่อไม่ให้เกิดการลื่นไถล
ออกด้านข้าง ในขณะที่เลีย
้ วนัน
้ ล้อทุกล้อจําเป็ นต้องมี
จุดศูนย์กลางร่วมกัน รถแทรกเตอร์ธรรมดาทั่วไปหันเลีย ้ ว
ด้วยล้อหน้าและมักจะใช้ระบบอาร์คเคอร์แมน ซึ่งระบบ
นีทำ
้ โดยการออกแบบให้แกนหน้ายื่นออกไปให้เส้นที่ต่อ
จากล้อหน้าทัง้ สองตัดกันที่จุดศูนย์กลางของการหมุนของ
รถแทรกเตอร์ ซึ่งมุมเลีย ้ วของล้อหน้าทัง้ สองนัน้ จะไม่เท่า
กันทัง้ แสดงในรูปที่ 7.2

รูปที่ 7.2 ระบบบังคับเลีย


้ วแบ
บอาร์คเคอร์แมน
7.2 ระบบบังคับเลีย
้ ว
ในระบบบังคับเลีย ้ วของรถแทรกเตอร์ขับเคลื่อน 2 ล้อ
ดังที่แสดงในรูปที่ 7.3 ประกอบด้วย พวงมาลัย กระปุก
เฟื องพวงมาลัย แขนต่อและคันชักต่าง ๆ จากกระปุกเฟื อง
ไปยังล้อหน้า กระปุกเฟื องทำหน้าที่รับการหมุนจากพวง
มาลัย แล้วส่งต่อไปยังแกนต่อและคันชัก เพื่อบังคับทิศทาง
การเคลื่อนที่ของรถแทรกเตอร์โดยใช้แรงหมุนพวงมาลัย
น้อยลง กระปุกเฟื องโดยมากจะมีตัวครอบมิดชิดเพื่อ
ป้ องกันฝุ ่นและสิ่งสกปรกอื่นๆ ภายในจะมีน้ำมันหล่อลื่น
หรือจารบี

รูปที่ 7.3 แสดงส่วนประกอบกลไกในระบบ


บังคับเลีย
้ ว
7.2 ระบบบังคับเลีย
้ ว
เฟื องบังคับเลีย
้ วออกแบบให้รับแรงบิดและถ่ายทอด
แรงได้สูง เพื่อทำให้การบังคับเลีย
้ วเป็ นไปได้อย่างสะดวก
และมิให้เกิดการกระแทกขึน ้ มี 2 ชนิดคือ ชนิดเฟื องตัว
หนอน และชนิดเม็ดลูกปื นและกระบอกเกลียว ดังรูปที่
7.4 และ 7.5

รูปที่ 7.4 แสดงเฟื อง รูปที่ 7.5แสดงเฟื องแบบเม็ดลูกปื น


ตัวหนอน และกระบอกเกลียว
7.2 ระบบบังคับเลีย
้ ว
ระบบบังคับเลีย ้ วที่นิยมใช้กันในปั จจุบัน มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ
คือ
1. การหันเลีย ้ วแบบใช้กลไกธรรมดา นิยมใช้กันโดยทั่วไป
กับรถแทรกเตอร์ร่น ุ เก่าๆ และรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก ผู้
ขับขี่จะต้องออกแรงทัง้ หมดเพื่อการหันเลีย ้ ว
2. การหันเลีย ้ วแบบใช้กําลังช่วย เป็ นการออกแบบให้ช่วย
ลดแรงที่ใช้ในการหันเลีย ้ วโดยใช้แรงดันไฮโดรลิคให้เป็ น
ประโยชน์ ทำให้การหันเลีย ้ วเป็ นไปง่ายและมีแรงต้านทาน
บ้างเพื่อให้ผู้ขับขี่ร้ส
ู ึกขณะขับขี่ แสดงดังรูปที่ 7.6 ใน
ปั จจุบันมี 2 แบบ คือ
2.1 แบบไฮดรอลิค จะมีแขนต่อจากพวงมาลัยไปที่ล้อ
หน้า จำแนกออกเป็ น 2 ชนิดคือ แบบอินติกัล แบบนีเ้ ป็ น
ระบบที่นิยมใช้กันมากกับรถแทรกเตอร์ขนาดเล็กจนถึงขนาด
70 แรงม้า ความดันของน้ำมันไฮโดรลิคในระบบจะเคลื่อนที่
7.2 ระบบบังคับเลีย
้ ว

รูปที่ 7.6 แสดงการบังคับ รูปที่ 7.7 แสดงส่วนประกอบ


เลีย
้ วด้วยกำลัง ของการบังคับเลีย ้ วด้วยกำลัง
ชนิดอินติกัล
7.3 ล้อขับเคลื่อนและตีนตะขาบ
อุปกรณ์ขับเคลื่อนของรถแทรกเตอร์ แบ่งออกได้เป็ น 2
ประเภทใหญ่ๆ คือ ล้อยางและตีนตะขาบ ดังจะได้อธิบายต่อ
ไปนี ้
1. ล้อขับเคลื่อน
ล้อขับเคลื่อนของรถแทรกเตอร์ส่วนใหญ่ กะทะล้อจะ
ทำด้วยเหล็กเหนียวหรือ เหล็กหล่อ ชนิดเหล็กเหนียวจะใช้กับ
รถแทรกเตอร์ขนาดเล็กที่ไม่ต้องการแรงม้าฉุดลากมากส่วน
ชนิดเหล็กหล่อใช้สำหรับรถแทรกเตอร์ที่ใช้กําลังมากๆ โดย
เฉพาะกับรถแทรกเตอร์ที่มีน้ำหนักไม่พอในการใช้กําลังมาฉุด
ลากเมื่อไม่มีน้ำหนักถ่วงอยู่ กะทะล้อเหล็กเหนียวแบ่งได้เป็ น
2 แบบ คือ แบบที่คงที่และแบบที่แยกได้ แบบที่คงที่สามารถ
ปรับยางโดยการกลับล้อ และก็จะได้ความกว้างที่แตกต่างกัน
ส่วนแบบที่แยกได้จะทำให้สามารถปรับยางได้โดยทัง้ การ กลับ
ล้อและปรับตำแหน่งของกะทะล้อ ซึ่งทำให้ความกว้างของช่วง
7.3 ล้อขับเคลื่อนและตีนตะขาบ

รูปที่ 7.8 กะทะล้อ รูปที่ 7.9 แสดงส่วนต่าง ๆของ


กะทะล้อ
7.3 ล้อขับเคลื่อนและตีนตะขาบ
การระบุขนาดของกะทะล้อ
กระทะล้อหน้า จะระบุ ก-ความกว้างของกะทะล้อ ข-รูปร่างของพื้นที่
ขอบยาง ค-เส้น ผ่านศูนย์กลางของกะทะล้อ ง-ชนิดของโครงสร้างของ
กะทะล้อ ตัวอย่างเช่น
5JA X 10DT
กข ค ง
กระทะล้อหลัง จะระบุ ก-ความกว้างของกระทะล้อ ค- เส้นผ่าน
ศูนย์กลางของกระทะล้อ ง- ชนิดของโครงสร้างของกะทะล้อ
ตัวอย่างเช่น
W x 10 x 24
ง ก ค
ตารางที่ 7.1 แสดงรหัสของโครงสร้างของกะทะล้อ
7.3 ล้อขับเคลื่อนและตีนตะขาบ
7.3.2 ตีนตะขาบ
ตีนตะขาบเป็ นอุปกรณ์ขับเคลื่อนสำหรับรถแทรกเตอร์
ที่มีปัญหาในการทำงานในพื้นที่ที่ไม่เหมาะกับรถแทรกเตอร์ที่
ใช้ล้อยาง กล่าวคือในพื้นที่ที่เป็ นโคลนตม มีหินหรือไม่ก็ ดิน
ร่วนซุย ตีนตะขาบประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี ้ คือ ตัว
ตะขาบ เฟื องขับ ลูกกลิง้ ตัวปรับหน้า กลไกปรับความตึงของ
ตะขาบที่ป้องกันลูกกลิง้ และตัวโครง
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
ล้อยางสร้างขึน
้ จากยางดิบ สิ่งทอและลวด ส่วนประกอบ
สำคัญ 3 อย่างของล้อยางคือ ดอกยาง ตัวยางและขอบยาง
ดอกยาง เป็ นส่วนของล้อที่สัมผัสกับผิวของพื้นที่ที่รองรับ
จุดประสงค์หลักของดอกยางคือ เป็ นส่วนป้ องกันชัน ้ ของโครง
อาจมีลักษณะเป็ นริว้ เป็ นสัน เป็ นร่อง ในลักษณะรูปร่างแตก
ต่างกันไปตามลักษณะการใช้งาน และเพื่อป้ องกันการลื่นไถล
การอัดตัวของพื้นที่เมื่อล้อเคลื่อนผ่านไป และเป็ นตัวระบาย
ความร้อนที่เกิดจากการเสียดทาน ดังรูปที่ 7.10

รูปที่ 7.10 แสดงชนิดต่างๆของดอกยางของ


ล้อที่ใช้กับรถแทรกเตอร์
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
ตัวยาง เป็ นส่วนที่ประกอบด้วยชัน
้ ผ้าใบ หรือใยสังเคราะห์
เช่น ไนล่อน เรียงกันเป็ นชัน
้ ๆ สร้างเป็ นโครงของล้อยางและเชื่อม
ด้วยยางให้รวมเป็ นเนื้อเดียวกัน ความแข็งแรงของล้อยางส่วนนี ้
เมื่อมีลมหรือความดันในยางจะเป็ นตัวช่วยรับน้ำหนักและรองรับ
การสั่นสะเทือน ซึ่งมีการจัดโครงสร้างของยาง 4 ลักษณะ
ใหญ่ๆ ดังนี ้
1. จัดชัน ้ แบบใยทะแยง โครงสร้างยางในลักษณะนีจ ้ ะ
ทำให้ยางมีความแข็งแรง และทรงรูปดีทงั ้ หน้ายางและแก้ม
ยาง
2. จัดชัน ้ แบบมีชนั ้ คาดทับ ยางแบบนีจ ้ ะมีโครงสร้าง
คล้ายกับแบบใยทะแยง โครงสร้างลักษณะนีจ ้ ะเพิ่มอายุการ
ทำงานของยางขึน ้ เพราะว่าจะเป็ นตัวช่วยให้ลดอาการ
เคลื่อนตัวของหน้ายางขณะที่สัมผัสกับผิวพื้นที่เคลื่อนที่
3. จัดชัน ้ แบบรัศมีและมีชน ั ้ คาดทับ ยางแบบนีโ้ ครงสร้าง
จะมีชนั ้ เส้นใยวางในแนวตัง้ ฉากจากขอบยางหนึ่งไปอีกขอบ
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง

รูปที่ 7.11 แสดงลักษณะการจัดโครงสร้างของ


ยาง
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
7.4.1 ขอบยาง
ขอบยางเป็ นส่วนที่กดยางให้ติดกับขอบล้อ ทำด้วย
ลวดเหล็กกล้าที่มีกําลังดึงสูง เพื่อรัดตัวยางให้แน่นกับขอบล้อ
เพราะจะเกิดแรงเหวี่ยงขึน ้ ขณะที่รถแทรกเตอร์ปฏิบัติงานอยู่
ขอบยางจะไม่ทำให้ตัวยางหลุดออกจากขอบกะทะล้อได้

รูปที่ 7.12 ยางล้อหน้าและยางล้อ


หลัง
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
ตารางที ่ 7.2 แสดงรหัสมาตรฐานบอกชนิดของ
ยาง
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
ยางของล้อขับเคลื่อนที่ใช้กับเครื่องจักรกล ต้องใส่เพื่อให้
หมุนในทิศทางที่ให้แรงฉุด ลากดีที่สุด ด้วยเหตุนท
ี ้ ี่ขอบยางหรือ
แก้มยางจึงมีลูกศรบอกทิศทางการเคลื่อนที่ของยางไว้

รูปที่ 7.13 แสดงทิศทางการหมุนของ


ยาง
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
การกำหนดเครื่องหมายบนแก้มยาเป็ นสิ่งบอกขนาด สัดส่วน
ชนิด ความสามารถในการรับ น้ำหนัก แหล่งผลิต และอื่น ๆ โดยใช้
ตัวเลข ตัวอักษร สัญลักษณ์ การกำหนดเครื่องหมายมีวิวัฒนาการมา
ยาวนาน ตัง้ แต่การกำหนดเครื่องหมายแบบเก่า การกําหนด
เครื่องหมายช่วงคาบเกี่ยว และการกำหนดเครื่องหมายแบบปั จจุบัน
ซึ่งสามารถแบ่งเป็ นแบบนิว้ และแบบมิลลิเมตร ตัวอย่างเช่น
แบบเก่า 18 - 26
ช่วงคาบเกี่ยว 23.1/18 – 26
ปั จจุบัน(นิว้ ) 23.1-26
ปั จจุบัน(มิลลิเมตร) 620/75-26
ซึ่งค่าเหล่านีห
้ มายถึง
26 หมายถึง เส้นผ่าศูนย์กลางของกระทะล้อ (in)
- หมายถึง ยางธรรมดา
75 หมายถึง อัตราส่วนของยาง (0.75 หรือ 75%)
18 หมายถึง ความกว้างของกะทะล้อ (in)
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
18.4/15-34 AS TL 6 PR
18.4/ หมายถึง ความกว้างของยาง (in)
15 หมายถึง ความกว้างของกระทะล้อแบบเก่า
(in)
- หมายถึง ยางธรรมดา
34 หมายถึงเส้นผ่าศูนย์กลางของกะทะล้อ
(in)
AS หมายถึง ยางเพื่อการเกษตร
TL หมายถึง ไม่ใช้ยางใน
6PR หมายถึง ชัน
้ ผ้าใบ 6 ชัน

7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง

รูปที่ 7.14 แสดงยางและรหัสของ


ยาง
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
7.4.2 ความดันของลมยาง
ความดันของลมในยางมีความสำคัญมากต่ออายุการใช้งาน
ของยาง ยางที่มีความดันลม เหมาะสมจะมีอายุการใช้งานที่นาน
ขึน
้ ให้กําลังฉุดลากดี รับน้ำหนักได้ดี และไม่ทำให้ยางเกิดการ
สบัดตัวซึ่งจะทำให้ยางเกิดความร้อนขึน ้ ได้ หากความดันลมมาก
เกินไปจะทำให้หน้ายางไม่สัมผัสผิวพื้นขับเคลื่อน ทำให้ดอกยาง
บริเวณตอนกลางยางสึกเร็ว เกิดการสะบัดตัวของยางในขณะเลีย ้ ว
เสื่อมคุณภาพเร็ว ถ้าแรงดันของลมยางต่ำกว่ากำหนด ยางก็จะ
อ่อนทำให้ดอกยางสึกเร็วกว่า

รูปที่ 7.15 แสดงลักษณะของยางเมื่อมี


ความดันของลมต่าง ๆกัน
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
ตารางที ่ 7.3 ลักษณะของความดันลมยาง
ในแบบต่างๆ
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
รางที่ 7.4 แรงดันลมยางมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่ง
ประเทศสหรัฐอเมริกา
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
7.4.3 วิธีวัดแรงดันลมยาง
ในการวัดแรงดันลมยางล้อหลังของรถแทรกเตอร์ ควรใช้เก
จวัดที่มีความละเอียดถึง 1 ปอนด์ต่อตารางนิว้ เพื่อสามารถ
อ่านค่าได้แน่นอน วิธีที่ดีที่สุดสำหรับวัดแรงดันลมยางที่เติมน้ำผสม
แคลเซียมคลอไรด์เข้าไปในยางนัน ้ ให้วัดในขณะที่จีบยางอยู่ใน
ตำแหน่งต่ำสุด

รูปที่ 7.16 แสดงการตรวจสอบแรงดันลม


7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
7.4.4 ความดันลมกับความเร็วรถ
การขับรถแทรกเตอร์บนถนนหลวงไม่ควรเติมลมยางจน
แข็งเกินไป ทัง้ นีเ้ พราะลมภายใน ยางช่วยรับการสั่นสะเทือนไม่ให้
ส่งขึน้ ไปถึงตัวรถขณะขับเคลื่อนไปตามสภาพพื้นที่ต่าง ๆ กัน ดัง
นัน้ ความดันลมยาง ปริมาณลม (ขนาดของยาง) ความเร็วที่ใช้
โครงสร้างของยาง และสภาพ พื้นถนน จึงเป็ นข้อกําหนดการรับน้ำ
หนักของยาง และทำให้การเคลื่อนตัวของรถเป็ นไปด้วยความนุ่ม
นวล คำแนะนําในการใช้ความเร็วจากสมาคมกระทะล้อและ
ยางกําหนดให้รถแทรกเตอร์ใช้ ความเร็วสูงสุด 32 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมง ความเร็วที่ใช้สำหรับพ่วงเครื่องจักรกลเกษตรต้องไม่เกิน
16 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ถ้าขับรถแทรกเตอร์บนถนนหลวงด้วย
ความเร็ว 40 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะเกิดการสะสมความร้อน
ภายในยาง และแรงหนีจุดศูนย์กลางที่จะทำให้ชน ั ้ ผ้าใบแยกจาก
กันยางอาจจะระเบิดได้ แต่ถ้าจำเป็ นต้องวิ่งด้วยความเร็วเกิน 40
กิโลเมตรต่อชั่วโมงควรเปลี่ยนไปใช้ยางสำหรับรถบรรทุก ซึ่ง
ปั จจุบันรถแทรกเตอร์สามารถวิ่งที่ความเร็วได้ถึง 50 กิโลเมตรต่อ
7.4 ส่วนประกอบของยางและขนาด
ของยาง
7.4.4 ความดันลมกับความเร็วรถ
ในรถแทรกเตอร์ที่เพิ่มล้อหลังเป็ นล้อแฝดหรือสามล้อ ยาง
ที่อยู่ด้านนอกจะต้องมีความดันลมยางต่ำกว่ายางที่อยู่ด้านใน 2
ปอนด์ต่อตารางนิว้

รูปที่ 7.17 ความดันลมยางล้อด้านนอก


ต้องอ่อนกว่าล้อด้านใน
7.5 การวางล้อ การปรับล้อ และการ
ถ่วโดยทั
งน้ำหนั ก
่ว ๆ ไปรถแทรกเตอร์ มีล้อ 4 ล้อ ล้อหน้าสำหรับ
บังคับทิศทาง ล้อหลังสำหรับขับเคลื่อน ปั จจุบันล้อหน้า
อาจทำให้ใช้ขับเคลื่อนได้ด้วย บางชนิดอาจจะมีล้อหน้า
เพียงล้อเดียวซึ่งไม่ค่อยใช้กันแล้วเพราะมีเสถียรภาพไม่ดี
หรือล้อหน้า 2 ล้อแต่วางไว้ชิดกัน บางชนิดสามารถปรับ
ระยะห่างของทัง้ ล้อหน้าและล้อหลังได้ เพื่อประโยชน์ใน
การปฏิบัติงานในพื้นที่ ๆ ปลูกพืชเป็ นแถว

รูปที่ 7.18 แสดงวิธีการปรับช่วงล้อหน้า


7.5 การวางล้อ การปรับล้อ และการ
ถ่วการปรั
งน้ำหนั ก างของช่วงล้อหน้าทั่ว ๆ ไปจะปรับ
บความกว้
ความสัน ้ ยาวของแกนล้อหน้าหรือด้านล้อหน้า ส่วนการ
ปรับความกว้างของช่วงล้อหลังกระทำได้ 5 วิธีตามแต่
ชนิดของรถแทรกเตอร์ คือ การปรับข้างของล้อ การ
เปลี่ยนตำแหน่งจับของขอบกะทะล้อ การปรับโดยเฟื่ อง
เลื่อน การเปลี่ยนตำแหน่งของดุมล้อ และการปรับโดยกํา
ลัง

รูปที่ 7.19 แสดงวิธีการปรับช่วงล้อหลัง


ชนิดต่างๆ
7.6 การยึดเกาะ
น้ำหนักรถแทรกเตอร์ช่วยให้เกิดการยึดเกาะระหว่างล้อและ
ยางส่งผลให้เกิดกําลังฉุดลากได้ น้ำหนักรถแทรกเตอร์นต ี ้ ้อง
พิจารณาควบคู่ไปกับการเกิดการลื่นไถลของล้อยางกับพื้นผิวสัมผัส
รถแทรกเตอร์ที่มีน้ำหนักไม่พอดีก็อาจก่อให้เกิดปั ญหาได้ดังนี ้
7.6.1 รถแทรกเตอร์ที่มีน้ำหนักมากเกินไป
จะพบรอยดอกยางกดลึกในดินเป็ นรอยคมชัดและไม่มีการ
ลื่นไถล ซึ่งกรณีเช่นนีเ้ ป็ นเหตุการณ์ที่ไม่ดี เพราะดอกยางกดขยีก ้ ับ
ดินโดยตรงและยังไม่เปิ ดโอกาสให้เครื่องยนต์เกิดการสั่นตัวได้บ้าง
เมื่อเกิดการลื่นไถล
7.6.2 รถแทรกเตอร์ที่มีน้ำหนักเบาเกินไป
รอยของดอกยางที่ปรากฏบนพื้นดินจะไม่ค่อยเห็นรอย
ตะกุยของดอกยางอย่างเด่นชัด ทำให้การเคลื่อนตัวไปข้างหน้าช้า
ลงและดอกยางสึก
7.6.3 รถแทรกเตอร์น้ำหนักพอดี
รอยดอกยางจะไม่จมลงไปมาก ลักษณะของรอยดอกยางมี
การกดลงดินได้เต็มหน้ายาง การที่ยางได้รับน้ำหนักพอดี การ
7.6 การยึดเกาะ
ยางรถแทรกเตอร์ได้ถูกออกแบบมาเพื่อให้มีความสัมพันธ์กับ
น้ำหนักของรถที่ต้องรองรับไว้ ถ้ารถมีน้ำหนักมากยางย่อมใช้ความ
พยายามในการฉุดลากมาก แต่ก็ทำให้การยึดเกาะกับพื้นดินดีและ
เพิ่มความต้านทานในการลื่นไถล

รูปที่ 7.20 น้ำหนักของล้อรถแทรกเตอร์ที่ต่างกันจะมีรอย


ของดอกยางบนผิวดินต่างกัน
7.6 การยึดเกาะ
การที่จะใช้ประโยชน์จากกําลังของรถให้มากที่สุดนัน ้ ต้องคํานึง
การใช้น้ำหนักถ่วงที่ถูกต้อง การที่จะเพิ่มน้ำหนักถ่วงเท่าไรมีปัจจัย
นํามาประกอบการพิจารณาดังต่อไปนี ้
1. ผิวหน้าดิน เมื่อทำงานบนดินร่วนหรือดินทรายต้องเพิ่มน้ำ
หนักให้มากขึน้ เพื่อให้ได้กําลังฉุดลากเต็มที่มากกว่าดินแข็ง
2. ชนิดของเครื่องจักรกลเกษตรที่ใช้ต่อพ่วง เครื่องจักรกล
เกษตรที่ต่อพ่วงท้ายรถแทรกเตอร์มีการถ่ายเทน้ำหนักมาให้กับล้อ
หลัง มีผลทำให้การฉุดลากดีขน ึ ้ ดังรูปที่ 7.21

รูปที่ 7.21 การถ่ายเทน้ำหนักจากเครื่องจักรกล


เกษตรและด้านหน้ามาที่ล้อหลัง
7.6 การยึดเกาะ
3. ความเร็วในการขับ น้ำหนักรถแทรกเตอร์ที่มีน้อยย่อม
สามารถขับได้ด้วยความเร็วที่สูงกว่ารถแทรกเตอร์ที่มีน้ำหนักมาก
4. แรงม้ารถแทรกเตอร์ รถแทรกเตอร์ทำงาน 3/4 ของแรงม้า
ทัง้ หมด ดังนัน
้ น้ำหนักถ่วงที่ต้องเพิ่มให้กับล้อหลังก็ต้องประมาณ
3/4 เช่นกัน
5. ยาง มีผลต่อการเพิ่มน้ำหนักถ่วงถ้าใช้ยางหน้ากว้างหรือใช้
ล้อคู่
7.6 การยึดเกาะ
การดูความเหมาะสมของการเพิ่มน้ำหนักถ่วงอาจดูได้จากค่า
เปอร์เซ็นต์การลื่นไถลดัง แสดงในตารางที่ 7.5

ตารางที่ 7.5 แสดงการเพิ่มน้ำหนักโดยดูจากเปอร์เซ็นต์การลื่นไถล


7.7 เครื่องช่วยยึดเกาะ
7.7.1. การถ่วงน้ำหนักด้วยเหล็กหล่อ
เป็ นแผ่นเหล็กหล่อตรงกลางกลวงมีขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางใหญ่กว่าคุมเพลาล้อไม่มาก มีรูสำหรับยึดสกรูกับหน้า
แปลนกระทะล้อหลัง เป็ นวัสดุถ่วงที่นิยมใช้กันทั่วไป เนื่องจาก
สะดวก จะหล่อเป็ นแผ่นกลมแผ่นเดียวกันหรือแยกเป็ น 2 ส่วน
ขนาดของน้ำหนักมีตงั ้ แต่ 40 ถึง 140 ปอนด์ หรือมากกว่านีข ้ น
ึ ้ อยู่
กับแรงม้าเครื่องยนต์

รูปที่ 7.22 น้ำหนักถ่วงเหล็กหล่อ


7.7 เครื่องช่วยยึดเกาะ
7.7.2. การถ่วงน้ำหนักด้วยของเหลว
น้ำเป็ นของเหลวที่นิยมใช้กัน โดยเติมเข้าไปในยางหลัง
การใช้น้ำเป็ นน้ำหนักถ่วงเป็ น การถ่วงที่ค่อนข้างจะใช้อย่างถาวร
เพราะขัน ้ ตอนการปฏิบัตินน ั ้ ยุ่งยากกว่าการถ่วงด้วยเหล็กหล่อ แต่
ก็แก้ปัญหาการลื่นไถลได้ดี น้ำที่เติมเข้าไปประมาณ 75 เปอร์เซ็นต์
ของปริมาตรยาง ในประเทศ ที่มีอากาศหนาวเย็นจำเป็ นต้องเติม
สารบางอย่างผสมกับน้ำเพื่อป้ องกันการแข็งตัวของน้ำเป็ นน้ำแข็ง
ซึ่งเป็ นอุปสรรคต่อการขับเคลื่อนสารที่ใช้กันได้แก่ แคลเซียมคลอ
ไรด์ แมกนีเซียมคอลไรด์และเอ-ทิลีนไกลคอล ส่วนมากนิยมใช้
แคลเซียมคลอไรด์ ซึ่งมีลักษณะเป็ นผลึกสีขาวแตกเป็ นแผ่นเล็ก ๆ
7.7 เครื่องช่วยยึดเกาะ
7.7.3 การเพิ่มน้ำหนักด้านหน้า
การเพิ่มน้ำหนักที่ด้านหน้าก็เพื่อต้องการเพิ่มเสถียรภาพใน
การทรงตัว ไม่ให้ยางหน้าลอยพ้นพื้นดินและเพื่อความปลอดภัยใน
การขับขี่ การเพิ่มน้ำหนักถ่วงด้านหน้าในรถแทรกเตอร์ขับเคลื่อน
4 ล้ออาจติดเครื่องจักรกลเกษตรไว้ด้านหน้า เช่น ไถหัวหมูสอง
ทาง ซึ่งจะช่วยลดการใช้น้ำหนักถ่วงแต่จะสร้างปั ญหาในการหัว
เลีย
้ ว

รูปที่ 7.23 น้ำหนักถ่วงด้าน รูปที่ 7.24 การติดตัง้ น้ำหนักถ่วงด้าน


หน้า หน้าเป็ นชิน
้ เหล็กหล่อ
7.7 เครื่องช่วยยึดเกาะ
7.7.4 อุปกรณ์อ่ น ื ที่ช่วยในการยึดเกาะ
ในสภาพดินที่แตกต่างกัน อุปกรณ์ช่วยในการยึดเกาะที่
สามารถช่วยให้รถแทรกเตอร์ปฏิบัติงานได้ดีขน ึ ้ แต่ก็มีขีดจํากัดอยู่
เช่น ในที่ล่ น
ื มาก ๆ หรือมีหญ้าปกคลุมหนาๆ ซึ่งล้อยางธรรมดาไม่
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เครื่องช่วยในการ
เคลื่อนที่มีหลายแบบด้วยกัน ดังต่อไปนี ้
1. ล้อยางพิเศษ เช่น ออกแบบเพื่อใช้ในนาข้าวที่มีดินอ่อนมาก
2. สิ่งต่อเติมที่ล้อ ได้แก่ ชนิดล้อตะกุย ชนิดเป็ นล้อต่อยื่นและ
ชนิดใส่ล้อคู่
3. สิ่งที่คลุมยาง ได้แก่ กึ่งล้อตีนตะขาบและใช้โซ่และสายรัด

รูปที่ 7.25 การใช้ล้อกันจม


แบบกรงล้อ
7.7 เครื่องช่วยยึดเกาะ
ข้อได้เปรียบของการเพิ่มล้อ
1. ช่วยเพิ่มพื้นที่หน้าสัมผัสของยางกับผิวดิน ลดการลื่น
ไถล เพิ่มอัตราการทํางานและเป็ นผลให้มีส่วนในการ
ประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง
2. เพิ่มเสถียรภาพให้กับรถแทรกเตอร์
3. ลดความเมื่อยล้าให้กับผู้ขับขี่เพราะรถแทรกเตอร์
เคลื่อนตัวด้วยความนุ่มนวลขึน ้
4. รถแทรกเตอร์มีศักยภาพในการทำงานหลายๆ ด้าน
จึงมีความจําเป็ นกับรถฟาร์มที่มีแรงม้าสูงๆ เหมาะสำหรับ
งานเตรียมดิน
5. รถแทรกเตอร์ที่เพิ่มล้อสามารถทำงานในสภาพ
ทำงานในสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ และดินในสภาพ
ต่าง ๆ ได้ ทำให้สามารถทำการเตรียมดินได้แต่เนิ่น ๆ ก่อน
7.7 เครื่องช่วยยึดเกาะ
ข้อเสียเปรียบของการเพิ่มล้อ
1. เพลาขับข้างแบริ่งตลับลูกปื นและเฟื องห้องส่งกําลัง
ต้องรับภาระหนักขึน ้ ซึ่งมีผลทำให้อายุการใช้งานสัน้ ลง
2. การลดความดันลมเพื่อให้การขับขี่สบายขึน ้ อาจเป็ น
ผลเสียต่ออายุการใช้งานของยาง
3. ถ้าการฉุดลากมีน้อย การเพิ่มล้อก็ไม่เกิดประโยชน์
อะไร เพราะไม่ได้ต่างไปจากรถ
แทรกเตอร์ใช้ล้อตามปกติ
4. การหันเดียวเป็ นไปด้วยความลําบากขึน ้ ถ้าเลีย้ ววง
แคบจะเกิดความเค้นมากกับดอกยางและอาจฉีกขาดได้ง่าย
5. การเปลี่ยนเป็ นยางขนาดใหญ่เป็ นไปด้วยความลํา
บาก จำเป็ นต้องใช้เครื่องผ่อนแรงหรือเครื่องมือพิเศษมา
ช่วย
7.8 การขับเคลื่อนของล้อรถ
แทรกเตอร์
โดยทั่วไปรถแทรกเตอร์แบ่งได้เป็ น 2 แบบ ตามจำนวนล้อที่ใช้
ขับเคลื่อน คือแบบชนิด ขับเคลื่อน 2 ล้อ และ 4 ล้อ ซึ่งแบบชนิด
ขับเคลื่อน 4 ล้อนี ้ ยังแยกออกเป็ น 2 แบบพื้นฐาน คือ แบบล้อ
หน้าช่วยขับ และแบบล้อหน้าขับจริง
รถแทรกเตอร์ชนิดขับเคลื่อน 2 ล้อ มีการจัดให้ล้อหลังเป็ นล้อ
ขับเคลื่อน แรงฉุดลาก สูงสุดโดยปกติจะได้ประมาณ 60-70 %
ของน้ำหนักรถแทรกเตอร์ ดังรูปที่ 7.26 ก)

รูปที่ 7.26 ก) ขับเคลื่อน 2 ล้อ


7.8 การขับเคลื่อนของล้อรถ
แทรกเตอร์
รถแทรกเตอร์ชนิดขับเคลื่อน 4 ล้อ แบบล้อหน้าช่วยขับ รถ
แทรกเตอร์ชนิดนีก ้ ็คือชนิด ขับเคลื่อน 2 ล้อ ซึ่งทำให้ล้อหน้ามีกํา
ลังขับเคลื่อนด้วย ถึงแม้ว่าล้อหน้าของระยะแทรกเตอร์ชนิดนี ้ โดย
ทั่วไปจะใหญ่กว่าล้อหน้าของชนิดขับเคลื่อน 2 ล้อ แต่ก็ยังเล็กกว่า
ล้อหลังมาก ยางที่ใช้กับล้อ หน้าช่วยขับนีจ้ ะเป็ นสันเหมือนล้อหลัง
แรงฉุดลากสูงสุดโดยปกติจะได้ประมาณ 80-90 % ของ น้ำหนัก
รถแทรกเตอร์

รูปที่ 7.26 ข) ขับเคลื่อน 4 ล้อ


แบบล้อหน้าช่วยขับ
7.8 การขับเคลื่อนของล้อรถ
แทรกเตอร์
รถแทรกเตอร์ชนิดขับเคลื่อน 4 ล้อแบบล้อหน้าขับจริง รถ
แทรกเตอร์ชนิดนีม ้ ีการออกแบบให้ทงั ้ ล้อหน้าและล้อหลังเป็ นล้อ
ขับเคลื่อนตลอดเวลา กล่าวคือล้อหน้ามีการออกแบบให้มีกําลังขับ
เคลื่อนอยู่ตลอดเวลา ขนาดล้อทัง้ 4 เท่ากัน ระบบบังคับเลีย ้ วเป็ น
จุดหมุนเลีย ้ วกลางรถ หรือแกนบังคับเลีย ้ วเลีย
้ ว รถแทรกเตอร์
ชนิดนีใ้ ช้ในพื้นที่กว้างๆและใช้ในการฉุดลากเคลื่อนอุปกรณ์พ่วงจูง
หลายๆ ชนิด กําลังม้ามากกว่า 100kW (134 HP) แรงฉุดลาก
สูงสุดมากกว่า 90% ของน้ำหนักรถแทรกเตอร์

รูปที่ 7.26 ค) ขับเคลื่อน 4 ล้อ


แบบล้อหน้าขับจริง
7.8 การขับเคลื่อนของล้อรถ
แทรกเตอร์
ตารางที่ 7.6 ล้อขับเคลื่อนและประสิทธิภาพ
ของรถแทรกเตอร์
7.9 การตัง้ ล้อหน้า
แคมเบอร์ เป็ นมุมของการเอียงของล้อหน้าในการสัมพันธ์กับ
แนวตัง้ ฉาก ซึ่งโดยปกติ จะมีค่าประมาณ 1.5-2.0 องศา เพื่อที่จะ
ให้ได้รับการเปลี่ยนแปลงรูปหรือแรงบิดของแกนเนื่องจาก ภาระที่
ได้รับ หรือแรงต้านทานการวิ่งให้น้อยที่สุด เพื่อที่จะให้มี
เสถียรภาพในการวิ่ง
มุมคิงพิน ในการหันเลีย ้ วล้อหน้าจะหมุนโดยมีมุมเอียงค่าหนึ่ง
รอบจุดคิงพิน ในการทำเช่นนีจ ้ ะทำให้ระยะระหว่างจุดสัมผัสของ
พื้นของเส้นผ่านกลางคิงพินกับจุดกลางล้อที่สัมผัสกับพื้นมากขึน ้
จะทำให้เกิดความต้านทานพื้นสูงขึน ้ ในการที่ล้อมีการเคลื่อนที่
ทำให้การเลีย ้ วไม่เกิดเสถียรภาพได้ มุมคิงพินนีจ้ ะแก้เรื่องนีไ้ ด้โดย
ปกติจะมีค่ามุม 8-11 องศา
คาสเตอร์ ตัวคิงพินจะเอียงไปข้างหลังจากเส้นดิ่ง มุมของการ
เอียงของคาสเตอร์ ซึ่งมีเส้นกลางของตัวคิวพินตกลงบนพื้นข้าง
หน้ากลางจุดสัมผัสของล้อ คาสเตอร์โดยปกติจะมีค่าประมาณ 3
องศา จะให้เสถียรภาพมั่นคงในการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเนื่องจาก
การต้านทานของพื้น
7.9 การตัง้ ล้อหน้า

รูปที่ 7.27 การตัง้ ล้อหน้า


7.10 คำถามท้ายบท
7.1. จงอธิบายสัญลักษณ์ที่ปรากฏบนยางต่อไปนี ้
7.2. จงค้นหางานวิจัยและอธิบายถึงประสิทธิภาพของ
ยางธรรมดา(bias ply tire) และยางเรเดียล
7.3. จงค้นหางานวิจัยและอธิบายถึงการปรับแต่งล้อขับ
เคลื่อนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การทํางานของรถ
แทรกเตอร์
7.4. จงวิเคราะห์เปรียบเทียบเชิงตัวเลขเพื่อให้เห็น
ประโยชน์ของการเพิ่มน้ำหนักถ่วงที่ ล้อ
7.5. จงเปรียบเทียบระบบการหันเลีย ้ วของรถแทรกเตอร์
และรถยนต์

You might also like