You are on page 1of 7

รายงานเรื่ อง ระบบกันสะเทือน Suspension

โดย นายสกลพงศ์ พรหมมุสิก 64070506426 วิศวกรรมเครื่ องกล สาขาวิศวกรรมยานยนต์

ช่ วงล่างหรื อระบบกันสะเทือน คือส่ วนประกอบของรถด้านล่างทั้งหมด โดยไม่นบั รวมส่ วนตัวถังของรถยนต์ ซึ่ งเป็ นส่ วนที่
รองรับน้ าหนักทั้งหมดของตัวรถยนต์นนั่ เอง และเป็ นส่ วนสาคัญที่ทาให้ขบั ขี่รถได้อย่างมีประสิ ทธิภาพอีกด้วย

หน้ าที่ของระบบรับกันสะเทือน
1.รับน้ าหนักของตัวรถ

2.ทาให้การขับขี่ไหลลื่น

3.ทาให้การขับขี่รถยนต์สามารถขับไปในที่ต่างระดับได้

4.ทาให้ลอ้ รถติดถนนอยูต่ ลอด

5.ลดความเสี ยหายที่เกิดจากการะสัน่ สะเทือน

ประเภทของระบบกันสะเทือน
1. Dependent suspension (ระบบกันสะเทือนช่ วงล่างแบบไม่ อสิ ระ)
2. Independent suspension (ระบบกันสะเทือนช่ วงล่างแบบอิสระ)
3. Semi-Dependent suspension (ระบบกันสะเทือนช่ วงล่ างแบบกึ่งอิสระ)

1.Dependent suspension (ระบบกันสะเทือนช่ วงล่างแบบไม่ อสิ ระ)


Solid Axle (คานแข็ง)

เป็ นระบบช่วงล่างที่ใช้คานแข็งอันเดียว (Solid Axle) เชื่อมต่อชุดล้อทั้ง 2 ล้อเข้าด้วยกัน การที่มีแกนเหล็กเชื่อมตรงกลางจะทา


ให้ลอ้ ทั้ง 2 ข้างเชื่อมถึงกันตลอดเวลา การที่ลอ้ ข้างหนึ่งตกหลุมหรื อผ่านเนินต่าจะทาให้รถเอียงได้ โดยระบบนี้นิยมใช้กบั
รถบรรทุกเพราะว่าต้องการความสมบุกสมบันและต้องการรับน้ าหนักได้มาก ๆ

ข้ อดี เนื่องจากเป็ นระบบกันสัน่ สะเทือนช่วงล่างแบบไม่อิสระการออกแบบระบบนี้เป็ นการออกแบบที่เรี ยบง่ายทาให้มีตน้ ทุนที่


ต่าและมีความแข็งแรงสามารถซ่อมแซ่มได้ง่ายเพราะระบบไม่ได้มีความซับซ้อนมาก

ข้ อเสีย การที่ใช้คานเหล็กแข็งเป็ นระบบกันสะเทือนนั้นทาให้การกระแทกจะส่ งผลต่อมุมแคมเบอร์อีกล้อหนึ่งขยับไปด้วย เวลา


วิ่งความเร็ วสู งจะทาให้การควบคุมรถทาได้ยากขึ้นเพราะเมื่อยิง่ ความเร็ วสู งเท่าไหร่ มุมแคมเบอร์กจ็ ะยิง่ ไม่ต้ งั ฉากกับพื้นถนนมาก
ขึ้นเท่านั้น

2.Independent suspension (ระบบกันสะเทือนช่ วงล่างแบบอิสระ)

2.1 Double Wishbones

เป็ นช่วงล่างที่มีชิ้นเหล็ก 2 ชิ้น(Double) ที่มีลกั ษณะเป็ นง่ามคล้ายกับกระดูกหน้าอกของนก(Wishbones) ต่อเข้าไปกับ


ดุมล้อและแยกอิสระกันระหว่างล้อซ้ายและล้อขวา ง่ามแต่ละอันจะยึดติดกับโครงช่วงล่างสองจุด และยังยึดติดกับชุดโช้คอัพ
และคอยล์สปริ งด้วยเพื่อรับแรงในแนวตั้ง
ข้ อดี มีจุดรองรับหลายจุดเพราะเป็ นระบบกันสั่นสะเทือนที่มีรูปร่ างเป็ นง่าม มีจุดเชื่อมหลัก ๆ มากถึง 3 จุด ทาให้การตั้งมุมล้อทา
ได้เยอะกว่า มีสมรรถณะที่สูงกว่าระแบบแบบคานแข็ง และเนื่องจากมีการแยกการขยับที่ชดั เจนทาให้เมื่อมีการกระแทกเวลาที่
รถมีความเร็ วสู งรถจะไม่เสี ยการทรงตัวมากและจะสามารถควบคุมรถได้ง่ายกว่าระบบแบบคานแข็ง มุมแคมเบอร์ของทั้ง 2 ล้อมี
อิสระต่อกันทาให้เกาะถนนได้ดีมากขึ้น

ข้ อเสีย มีความซับซ้อนสู งเพราะมีชิ้นส่ วนหลายชิ้นส่ วนในระบบ มีการข้อต่อที่สามารถรับแรงกระแทกได้หลากหลายจุด และ


กินพื้นที่เยอะกว่าระบบแบบคานแข็งมาก ทาให้มีน้ าหนักที่มากและต้องใช้พ้นื ที่เยอะ มีตน้ ทุนที่สูงและดูแลรักษายากกว่า

2.2 MacPherson strut (แม็คเฟอร์ สันสตรัท)

เป็ นระบบกันสะเทือนที่นิยมมากที่สุดในรถบ้าน โดยระบบของมันคล้ายกับ Double Wishbones แต่จะมีชิ้นส่ วนที่นอ้ ย


กว่า ถ้าเป็ นรถบ้านทัว่ ไปจะใช้ระบบกันสะเทือนแบบ MacPherson ในล้อหน้า เนื่องด้วยความง่ายในการออกแบบและมี
ประสิ ทธิภาพการใช้งานที่คุม้ ค่า ชิ้นส่ วนหลักจะประกอบไปด้วยโช้คอัพและคอยล์สปริ งเป็ นแนวตั้งต่อกับดุมล้อถัดลงไป
ด้านล่างดุมล้อจะรองรับด้วยแขนเหล็กที่ใช้เป็ นตัวควบคุมการเลี้ยว

ข้ อดี ใช้งานง่ายและมีประสิ ทธิภาพที่ดีในราคาที่ต่า มีชิ้นส่ วนที่นอ้ ยชิ้นกว่าทาให้การดูแลรักษาทาได้ง่าย และเหมาะกับรถบ้าน


ทัว่ ไปหรื อรถยนต์ที่ไม่ได้ตอ้ งการการขับขี่ที่มีสมรรถนะสู ง

ข้ อเสีย ตัวระบบกันสะเทือนแบบ MacPherson Strut จะไม่ค่อยนิยมในรถสมรรถนะสู ง ๆ เนื่องจากการควบคุมการขับขี่ยงั ทาได้


ไม่สมบูรณ์แบบ องศาล้อบามุมยังทาได้ไม่ละเอียดเท่าเมื่อเทียบกับระบบกันสะเทือนแบบ Double Wishbones เนื่องจากจุดหมุน
ล้ออยูไ่ กลจากจุดกลางวงล้อ

2.3 Multi-link (มัลติลงิ ก์)

เป็ นระบบกันสั่นสะเทือนที่มีการใช้แขนเหล็กต่อกันมากกว่าสามชิ้นขึ้นไป แขนแต่ละอันจะมีความยาวที่ไม่เท่ากัน


และสามารถเคลื่อนไหวได้หลากหลายทิศทาง เป็ นหนึ่งในชิ้นส่ วนที่ซบั ซ้อนและใช้ทุนวิจยั สู ง
ข้ อดี มีความนุ่มนวลสู ง สามารถควบคุมรถได้ดีเนื่องจากระบบแบบ Multi-link สามารถทาให้หน้ายางสามารถติดกับพื้นถนนได้
ในทุกช่วงของการยุบและยังสามารถปรับองศาล้อได้อย่างละเอียด เหมาะกับรถที่วิ่งทางออฟโร้ดเพราะจะสร้างความนุ่มนวล
ให้กบั ผูข้ บั ได้อย่างดีในถนนที่ขรุ ขระ และกรณี ที่ไม่ใช่ออฟโร้ดก็มกั จะใช้ในรถยนต์หรู ที่ตอ้ งการสร้างความนุ่มนวลให้ผขู ้ บั ขี่ใน
ราคาที่จ่ายได้

ข้ อเสีย เนื่องจากมีความซับซ้อนสู งทาให้ส่วนประกอบหลากหลายชิ้น ทาให้การออกแบบของวิศวกรใช้เวลานานและใช้ทุนวิจยั


สู ง

3. Semi-Dependent suspension (ระบบกันสะเทือนช่ วงล่างแบบกึง่ อิสระ)

3.1 Torsion Beam

เป็ นคานเหล็กยึดล้อ สปริ ง และโช้คอัพเข้าด้วยกัน โดยจะยึดกับตัวถังด้วยบุชชิ่ง

ข้ อดี ให้ตวั ได้มากกว่าคานแข็ง โดยตัวบีมเองจะทาหน้าที่เหมือน Sway bar ไปในตัวโดยอาศัยการให้ตวั ของวัสดุ เป็ นรู ปแบบ
ช่วงล่างที่ไม่ซบั ซ้อนและผลิตง่าย ต้นทุนต่า นิยมใช้ในรถยนต์โดยสารขับเคลื่อนล้อหน้าขนาดเล็ก

ข้ อเสีย การขยับยังไม่ละเอียดเท่ากับระบบกันสะเทือนแบบอิสระ และไม่สามารถปรับองศาล้อได้ จึงไม่นิยมในรถสมรรถนะสู ง


ส่ วนประกอบสาคัญของช่ วงล่าง
1.ลูกหมากคันชัก

เป็ นลูกหมากที่ยึดติดอยูต่ รงดุมล้อในส่ วนของระบบบังคับเลี้ยว มีหน้าที่ในการปรับสมดุลของทิศทางล้อเมื่อวิ่งเข้าโค้ง

2.ลูกหมากปี กนกบนและลูกหมากปี กนกล่ าง

มีความสาคัญในการทาให้ลอ้ เคลื่อนที่ไปตามทิศทางต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ ทั้งทางพื้นผิวสภาพปกติหรื อทางต่างระดับที่


ความลาดชัน

3.ลูกหมากคันส่ งกลาง

เป็ นลูกหมากที่มีหน้าที่ถ่ายทอดแรงจากการเลี้ยวมาเป็ นแนวตรง เช่นเดียวกับลูกหมากแร็ ค


4.ลูกหมากแร็ค

เป็ นลูกหมากที่ช่วยถ่ายทอดแรงจากการหมุนเลี้ยวมาเป็ นเคลื่อนที่ในแนวตรง

5.ลูกหมากกันโคลง

เป็ นลูกหมากที่ทาหน้าที่ช่วยรับแรงกระแทกเพื่อให้เกิดความนุ่มนวลของตัวรถยนต์

6.Sway bar

มีลกั ษณะเป็ นเหล็กตัวยู จับที่ขาช่วงล่างทั้ง 2 ฝั่งและยึดกับตัวถัง วิธีการทางานคือ เมื่อขาข้างหนึ่งยกขึ้น ข้างอีกข้าง


หนึ่งก็จะยกตาม และเนื่องจากยึดกับตัวถังรถทาให้ตวั ถังรถลดการเอียงลงไปด้วย
Shock Absorber
1.1 โช้ คอัพกระบอกเดี่ยว หรื อ Mono Tube

การทางานของน้ ามัน แก๊ส วาล์วลูกสู บ และการทางานต่าง ๆ ทั้งหมดจะอยูใ่ นกระบอกเดียว โดยห้องน้ ามันและแก๊ส


จะแยกกันโดยลูกสู บ ห้องที่บรรจุน้ ามันจะอยูด่ า้ นบน ส่ วนห้องที่บรรจุแก๊สจะอยูด่ า้ นล่าง เมื่อโช้คอัพได้มีการยุบตัวลง ลูกสู บ
จะดันน้ ามันลงมาและจะเกิดเป็ นแรงดันจากตัวห้องแก๊สที่อยูด่ า้ นล่าง เมื่อเกิดแรงดันที่มากเกินไปในห้องแก๊สด้านล่าง แรงดัน
นั้นจะดันลูกสู บให้กลับขึ้นไปอยูใ่ นตาแหน่งเดิม เพื่อสร้างแรงหนืดให้กบั รถยนต์

จุดเด่ น ระบายความร้อนได้ดี เนื่องจากมีแค่ช้ นั เดียว สร้างแรงหนีดได้เสถียรกว่าเพราะมีกระบอกเพียงชิ้นเดียว เหมาะกับรถยนต์


ที่ตอ้ งการสมรรถนะการขับขี่ที่ตอ้ งการใช้ความเร็ ว และต้องการระบายความร้อนได้ดี

1.2 โช้ คอัพกระบอกคู่ หรื อ Twin Tube

ประกอบด้วยกระบอก 2 ชั้นซ้อนกัน ซึ่งห้องด้านในจะเป็ นตัวลูกสู บที่มีน้ ามันบรรจุอยูภ่ ายใน ส่ วนห้องด้านนอกจะ


บรรจุดว้ ยแก๊สไนโตรเจน ลูกสู บจะเคลื่อนที่ข้ ึน-ลงภายในกระบอกสู บชั้นในเท่านั้น เมื่อโช้คอัพเคลื่อนที่ข้ ึนลงตามการเคลื่อนที่
ของล้อลูกสู บจะดันน้ ามันโช้คขึ้นลงมาไหลผ่านทางเบสวาล์ว เข้าออกไปห้องแก๊สด้านนอก จึงเกิดเป็ นความหนืดเพื่อช่วยลด
แรงสัน่ สะเทือนของรถยนต์

จุดเด่ น มีราคาที่ยอ่ มเยาเมื่อเทียบกับโช้คอัพแบบกระบอกเดี่ยว แรงดันแก๊สต่า ให้ความนุ่มนวลในการขับขี่ได้ดีกว่า เหมาะ


สาหรับรถยนต์ที่ใช้ขบั ขี่ทวั่ ไป

You might also like