You are on page 1of 12

การถอดประกอบเครื่องยนต์ขนาดเล็กชนิด 2 จังหวะ

(Disassembly of a small 2-stroke engine)

เสนอ
อาจารย์ถวัลย์ มะลิซ้อน
อาจารย์ควบคุมปฏิบัติการ

รายงานปฏิบัติการนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาปฏิบัติการยานยนต์ (MEG304)


การศึกษาการถอดประกอบเครื่องยนต์ขนาดเล็ก 2 จังหวะ

อาจารย์ผู้ควบคุมปฏิบัติการ
อาจารย์ถวัลย์ มะลิซ้อน
รายชื่อสมาชิก (กลุ่ม A)
1. นายธนวันต์ ไข่ม่วง 62016268 กลุ่มเรียนที่ 304 วันที่ลงปฏิบัติการ 25/06/65
2. นายเกียรติศักดิ์ ทองดี 62044791 กลุ่มเรียนที่ 304 วันที่ลงปฏิบัติการ 25/06/65
3.นายพงศ์ธนัช นูปวิเชตร 62041943 กลุ่มเรียนที่ 304 วันที่ลงปฏิบัติการ 25/06/65
4.นาย รัตนศักดิ์ งามวิลัย 62053485 กลุ่มเรียนที่ 304 วันที่ลงปฏิบัติการ 25/06/65
1.บทนำ
รายงานนี้เป็นการนำเสนอการถอดประกอบเครื่องยนต์ขนาดเล็ก เนื่องจากมีสิ้นส่วนที่ไม่มาก
จนเกินไป หลักการและกลไกการทำงานของเครื่องยนต์เหมือนกับเครื่องยนต์ขนาดใหญ่เหมาะสำหรับ
การศึกษาหลักการทำงานของเครื่องยนต์

1.1 วัตถุประสงค์

• เพื่อศึกษาส่วนประกอบของเครื่องยนต์ขนาดเล็กชนิด 2 จังหวะ
• เพื่อฝึกถอดและประกอบชิ้นส่วนเครื่องยนต์
• เพื่อศึกษาหลักการทำงานของเครื่องยนต์ชนิด 2 จังหวะ

1.2 ขอบเขตการศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตบางเขน

1.3 ประโยชน์ที่ได้รับ
1.3.1 สามารถถอดซ่อมแซมหรือเปลี่ยนอุปกรณ์ชิ้นส่วนภายในเครื่องยนต์ และสามารถ
ประกอบได้
1.3.2 รู้หลักการทำงานของเครื่องยนต์ชนิด 2 จังหวะ และรู้ว่าเกิดข้อผิดพลาดที่ส่วนไหน
ของเครื่องยนต์
2.ทฤษฎี
เครื่องยนต์เล็ก 2 จังหวะ

เครื่องยนต์ 2 จังหวะ คือเครื่องยนต์ที่ทำงาน 2 ช่วงชัก คือช่วงชักที่ 1 คือช่วงชักดูดกับอัด และ


ช่วงชักที่ 2 คือช่วงชักระเบิดและคาย และเครื่องยนต์2 ช่วงชักจะไม่มีวาล์วเปิดปิดไอดีไอเสีย แต่จะใช้ลูกสูบ
เป็นตัวเปิดปิดไอดีไอ เสียแทน ซึ่งเครื่องยนต์ 2 ช่วงชักจะทำงานรอบจัดกว่าเครื่องยนต์ 4 จังหวะ และการเผา
ไหม้ก็มีประสิทธิภาพด้อย กว่าสี่จังหวะ
หลักการทำงานของเครื่องยนต์เล็กแก๊สโซลีนแบบ 2 จังหวะ ที่ใช้ลูกสูบแทนลิ้น และเป็นการท า
งานที่นิยมใช้ กันในรถจักรยานยนต์ , เครื่องตัดหญ้าสะพายข้าง เป็นต้น คือ จังหวะที่ 1 เป็นจังหวะดูดและอัด
, จังหวะที่ 2 เป็น จังหวะระเบิดและคาย เครื่องยนต์ 2 จังหวะจะไม่มีวาล์วเปิดปิดไอดี-ไอเสีย แต่จะใช้ลูกสูบ
เป็นตัวเปิดปิดไอดี-ไอเสีย แทน ซึ่งเครื่องยนต์ 2 จังหวะจะทำงานรอบจัดกว่าเครื่องยนต์ 4 จังหวะและการเผา
ไหม้ก็มีประสิทธิภาพด้อยกว่า เครื่องยนต์ 4 จังหวะ
จังหวะที่ 1 ดูดและอัด (Suction or intake stroke and Compression stroke) ด้านบนลูกสูบ
จะอัดไอดี ส่วนด้านใต้ลูกสูบจะดูดไอดี เข้าไปในห้องเพลาข้อเหวี่ยง
จังหวะที่ 2 ระเบิดและคาย (Power stroke and Exhaust stroke) ด้านบนลูกสูบจะส่งกาลัง
ส่วนด้านล่าง ลูกสูบจะเพิ่ม ความดันของไอดี การท างานของเครื่องยนต์ในจังหวะที่ 2 กลับไปยังจังหวะที่ 1
ด้านบนของลูกสูบจะ คาย และขับไล่ไอเสียด้วยไอดีส่วนด้านล่างลูกสูบจะอัดไอดีเข้าไปในกระบอกสูบ
3.การถอดและประกอบเครื่องยนต์ขนาดเล็ก
3.1 ขั้นตอนการถอด
3.1.1 ถอดด้ามมือจับเครื่อง โดยใช้ ไขควงแฉกถอดนอตออกให้ครบทุกตัว

3.1.2 ถอดฝายางหุ้มพร้อมกรองเครื่องเพื่อขันหัวเทียน โดยใช้บล็อกขันออก

3.1.3 ถอดฝาครอบด้านหัวเครื่อง โดยใช้ไขควงแฉก


3.1.4 ถอดฝาครอบข้างเครื่อง ซึ่งเป็นฝาครอบฝั่ง สตาร์จเครื่องยนต์ และ ทำการขัน นอตยึดตัว
ระบายความร้อนออก

3.1.5 ถอดแผ่นฝาครอบท่อไอเสียออก

3.1.6 ทำการถอดกิ๊บล็อคสลักลูกสูบออก และทำการใช้ค้อนยางเคาะสลักออกเบาๆ เพื่อจะได้แยก


ชิ้นงาน ออกจากกัน พร้อมจัดให้เป็นระเบียบ

3.1.7 ทำการถอดชุดคอยหัวเทียนออกทั้งชุด
3.1.8 ทำการถอดชุดใบพัดระบายความร้อนออก

3.1.9 ถอดชุดครอบด้านนอกเครื่องออก พร้อมขันนอตออกให้ครบทุกตัว และเบ้าลูกยางปิดฝาครอบนอต


3.2.0 ทำการถอดนอตเสื้อสูบทุกตัว โดยใช้ประแจหกเหลี่ยมขันออก เพื่อทำการแยกออกจากกัน

3.2.1 ทำการใช้ก้อนยางวางบนข้อเหวี่ยง แล้วใช้ค้อนยางเคาะเบาๆ เพื่อให้ข้อเหวี่ยงหลุดออกจาก เสื้อสูบ


แล้วจัดเรียงให้เป็นระเบียบ
3.2.2 หลังจากนั้นให้ทำการวัดค่า อุปกรณ์ตัวเครื่องทุกชิ้น เช่น ก้านสูบ , สลัก , แหวน , ปลอกเสื้อสูบ ลูกสูบ

เพื่อหาค่าการสึกหลอของอุปกรณ์เหล่านี้
4.ผลการทดลอง
ในการถอดประกอบชิ้นส่วนเครื่องเลื่อยโซ่ยนต์ขนาดเล็ก 2 จังหวะ ได้ท าตามขั้นตอนที่อาจารย์ผู้สอนระบุไว้
อย่างครบถ้วน มีการตรวจสอบสภาพของเครื่องเลื่อยโซ่ยนต์ขนาดเล็ก 2 จังหวะ ก่อนและหลังปฏิบัติงาน ใน
ด้านการ ปฏิบัติผลการด าเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยตามขั้นตอน และถูกต้อง หลักการท างานของ
เครื่องยนต์เล็กแก๊ส โซลีนแบบ 2 จังหวะ จังหวะที่ 1 ดูดและอัด (Suction or intake stroke and
Compression stroke) ด้านบน ลูกสูบจะอัดไอดี ส่วนด้านใต้ลูกสูบจะดูดไอดี เข้าไปในห้องเพลาข้อเหวี่ยง
จังหวะที่ 2 ระเบิดและคาย (Power stroke and Exhaust stroke) ด้านบนลูกสูบจะส่งกาลัง ส่วนด้านล่าง
ลูกสูบจะเพิ่ม ความดันของไอดี การท างาน ของเครื่องยนต์ในจังหวะที่ 2 กลับไปยังจังหวะที่ 1 ด้านบนของ
ลูกสูบจะคาย และขับไล่ไอเสียด้วยไอดีส่วนด้านล่าง ลูกสูบจะอัดไอดีเข้าไปในกระบอกสูบ

You might also like