You are on page 1of 15

การถอดประกอบเครื่องยนต์ 4 จังหวะ

(Disassembly a 4-stroke engine)

เสนอ
อาจารย์ควบคุมปฏิบัติการ
อาจารย์ปรีชา มะหะหมัด

รายงานปฏิบัติการนี้ เป็นส่วนหนึ่งของวิชาปฏิบัตกิ ารยานยนต์ (MEG304)


การศึกษาการถอดประกอบเครื่องยนต์ขนาดเล็ก 2 จังหวะ
รายชื่อสมาชิก (กลุ่ม A)
1. นายธนวันต์ ไข่ม่วง 62016268 กลุ่มเรียนที่ 304 วันที่ลงปฏิบัติการ 25/06/65
2. นายเกียรติศักดิ์ ทองดี 62044791 กลุ่มเรียนที่ 304 วันที่ลงปฏิบัติการ 25/06/65
3.นายพงศ์ธนัช นูปวิเชตร 62041943 กลุ่มเรียนที่ 304 วันที่ลงปฏิบัติการ 25/06/65
4.นาย รัตนศักดิ์ งามวิลัย 62053485 กลุ่มเรียนที่ 304 วันที่ลงปฏิบัติการ 25/06/65
1.บทนำ
เนื่องจากรายวิชาปฏิบตั กิ ารยานยนต์ (MEG304) เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร
วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ได้มกี ารศึกษาทัง้ ด้านทฤษฎี และด้านปฏิบตั ใิ นเรื่อง
เครื่องยนต์ 4 สูบ 4 จังหวะ และมีการแนะนาเครื่องมือทีใ่ ช้ในการปฏิบตั งิ าน ส่วนประกอบ และวิธกี ารถอด
ชิน้ ส่วนประกอบ ตามขัน้ ตอนทีอ่ าจารย์ผสู้ อนควบคุมการปฏิบตั งิ าน และถอดประกอบเครื่องยนต์ 4 สูบ 4
จังหวะได้ จากนัน้ ทาการวัดและหาขนาด เพือ่ นามาศึกษาและวิเคราะห์

1.1 วัตถุประสงค์

• เข้าใจหลักการทางานของเครื่องยนต์ 4 สูบ 4 จังหวะ


• สามารถตรวจสภาพการสึกหรอของกระบอกสูบ และลูกสูบได้อย่างถูกต้อง
• รูถ้ งึ หลักการในการถอดประกอบเครื่องยนต์ 4 สูบ 4 จังหวะได้อย่างถูกต้องตามขัน้ ตอน

1.2 ขอบเขตการศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตบางเขน

1.3 ประโยชน์ที่ได้รับ
1.3.1 ได้รบั ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับเครื่องยนต์ 4 สูบ 4 จังหวะ
1.3.2 ถอดประกอบชิน้ ส่วนเครื่องยนต์ 4 สูบ 4 จังหวะได้ถูกต้องและปลอดภัย
2.ทฤษฎี
เครื่องยนต์ 4 จังหวะ

เครื่องยนต์เผาไหม้ภายในของยานยนต์ในปั จจุบนั ได้แก่ เครื่องยนต์ดเี ซล เครื่องแก๊สโซลีน


จะมีวฏั จักรการทางานทีเ่ หมือนกันคือมี 4 จังหวะ ได้แก่ จังหวะดูดอัดระเบิดคาย แตกต่างกันในส่วนของ
รายละเอียดการทางาน โดยเครื่องแก๊สโซลีนอากาศทีผ่ สมกับเชือ้ เพลิงทีท่ ่อร่วมไอดีก่ อนถูกดูดเข้าสูห่ อ้ ง
เผาไหมและจุดระเบิดด้วยประกายไฟหรือหัวเทียน (SI Engine) ขณะทีเ่ ครื่องดีเซล (SI Engine) จะมี
เพียงอากาศทีถ่ ูกดูดเข้าห้องเผาไหมแบะเริม่ ฉีดน้ ามันเชื้อเพลิงเพือ่ จุดระเบิดในจังหวะอันทีล่ ูกสูบเคลื่อน
ใกล้ตาแหน่งศูนย์ตายบน โดยลูกสูบเคลื่อนทีข่ น้ึ 2 ครัง้ และลง 2 ครัง้ ขณะทีเ่ พลาข้อเหวีย่ งหมุม 2 รอบ
เพลาลูกเบีย้ วหมุน 1 รอบ จุดระเบิด 1 ครัง้ ต่อ 1 สูบ ส่วนเครื่องยนต์ 2 จังหวะ หมายถึงเครื่องยนต์ท่ี
ครบวัฏจักรการทางานคือ ดูดอันระเบิดคาย ลูกสูบจะเคลื่อนทีข่ น้ึ 1 ครัง้ และลง 1 ครัง้ โดยเพลาข้อเหวีย่ ง
หมุน 1 รอบ จุดระเบิด 1 ครัง้ ต่อ 1 สูบ
1.) การทางานในจังหวะดูด ลิน้ ไอดีเปิ ดลิน้ ไอเสียปิ ดลูกสูบเคลลื่อนทีจ่ ากศูนย์ตายบนลงสูศ่ ูนย์
ตายล่าง เพือ่ ดูดอากาศหรืออากาศผสมเชือ้ เพลิง ผ่านท่อร่วมไอดี และลิน้ ไอดีเข้า มา ในกระบอกสูบ ซึง่
การดูดอากาศเข้า มาได้นนั ้ เกิดจากการเคลื่อนที่ ลงของลูกสูบทาให้เกิด สุญญากาศ ดูดอากาศเข้ามาใน
กระบอกสูบได้ (การทางานในช่วงจังหวะนี้ ลูกสูบจะ เคลื่อนทีล่ ง 1 ครัง้ เพลาข้อเหวีย่ งหมุนไปประมาณ
ครึง่ รอบหรือประมาณ180 องศา)
2.) การทางานในจังหวะอัด ในจังหวะอัดนี้จะทางานต่อเนื่องจากจังหวะดูด เริม่ ขึน้ เมื่อลูกสูบเริม่
เคลื่อนทีจ่ ากศูนย์ตายล่างขึน้ สูศ่ ูนย์ตายบน (Top dead center) ลิน้ ไอดี และลิน้ ไอเสียจะเริม่ ปิ ดและปิ ด
สนิทเพือ่ ไม่ให้อากาศไหลออกจากลูกสูบ โดยลูกสูบจะเคลื่อนทีข่ น้ึ เพือ่ อัดอากาศหรือ อากาศทีผ่ สม
เชือ้ เพลิง ให้มปี ริมาตรน้อยลง ส่งผลให้มคี วามดันและอุณหภูมสิ งู ขึน้ รอรับการจุด ระเบิดต่อไป (การ
ทางานจากช่วงจังหวะดูดมาถึงช่วงนี้นบั รวมมุมองศาเพลาข้อเหวีย่ งหมุนไป ประมาณหนึ่งรอบหรื
อประมาณ 360 องศา)

3.) การทางานในจังหวะระเบิด การทางานในจังหวะนี้จะเกิดขึน้ ต่อเนื่องจากช่วงของการอัดสุด


เมื่ออากาศถูกอัดตัวพร้อมสาหรับการจุดระเบิดซึง่ อยู่ใกล้กบั ศูนย์ตายบนเล็กน้อยประมาณ 10-25 องศา
สาหรับเครื่องยนต์แก๊สโซลีนหัวเทียนจะจุดประกายไฟเพือ่ จุดระเบิดส่วนเครื่องยนต์ดเี ซลหัวฉีดจะฉีด
เชือ้ เพลิง หรือน้ามัน ดีเซลเป็ นฝอยละอองเข้าไปในห้องเผาไหม้ละอองเชือ้ เพลิงจะคลุกเคล้ากับอากาศ
ร้อนทีห่ มุนวนอยู่จนระเหยเป็ นไอเกิดการระเบิดขึน้ ด้วยตัวเองเกิดการระเบิดเผาไหม้ความดัน ทีเ่ กิดจาก
การเผาไหมจะผลักดันลูกสูบให้เคลื่อนทีจ่ ากศูนย์ตายบนลงสูศ่ ูนย์ตายล่าง ซึง่ จังหวะนี้เป็ นจังหวะกาลัง
งานของเครื่องยนต์
4.) การทางานในจังหวะ คายในจังหวะนี้จะทางาน
ต่อเนื่องจากจังหวะระเบิดซึ่งเมื่อการจุดระเบิดเกิดการเผาไหม้สว่ นผสมเรียบร้อยแล้วลูกสูบจะเคลื่อนที่
ลงเกือบถึงศูนย์ตายล่างลิ้นไอเสียจะเริม่ เปิ ดออกเพือ่ ให้ไอเสียจากการเผาไหม้ซง่ึ มีความร้อนและความ
ดันสูงจะถูกถ่ายทอดออกจากห้องเผาไหม้ผ่านลิน้ ไอเสียผ่านท่อไอเสียอย่างรวดเร็วและเมื่อลูกสูบ
เคลื่อนทีส่ ศู่ ูนย์ตายบนไอเสียทีต่ กค้างอยู่ทก่ี ระบอกสูบจะถูกผลักดันออกไปจนหมดด้วยลูกสูบโดยผ่าน
ลิน้ ไอเสียทีเ่ ปิ ดค้างอยู่เมื่อทางานครบวัฏจักรแล้วเครื่องยนต์จะเริม่ ต้นทางานใหม่ตามวัฏจักรการทางาน
ของเครื่องยนต์ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะดับเครื่องยนต์
3.ขัน้ ตอนการถอดลูกสูบ

1.) หมุนเครื่องให้สุดถึงอัดสุดด้วยครีมล็อค ใช้ประแจบล็อค คลายนอตยึดฝารองลื่นก้านสูบ


ออกในทิศทางทวนเข็มนาฬิกาคลายออก ครัง้ น้อยสลับกันทัง้ 2 ตัวจากนัน้ ถอดนอตยึดฝารองลื่นก้าน
สูบออกจากก้านสูบ

2) ถอดฝารองลื่นก้านสูบออกจากเพลาข้อเหวี่ยง ก่อนถอดให้สงั เกตและจดจาเครื่องหมาย


ด้านข้างฝารองลื่นก้านสูบ
3.) ถอดลู ก สูบออกจากกระบอกสูบ ให้ใ ช้ด้ามค้อ นไม้ห รือ ท่อ นไม้ด ัน บริเ วณก้ า นสู บ จาก
ด้านล่าง ด้านล่างเสือ้ สูบให้ก้านสูบและลูกสูบเลื่อนขึน้ มาด้านบนของเสือ้ สูบ

4.) ถอดแหวนลู ก สู บ ให้ใ ช้เ ครื่อ งถ่ า งแหวนลู ก สู บ ถอดแหวนออกจากลู ก สู บ ด้ ว ยความ


ระมัดระวัง ครัง้ ละ 1ตัว โดยถอดแหวนลูกสูบตัวบนสุดก่อนจากนัน้ ให้ถอดแหวนอัดตัว รองและถอด
แหวนกวาด
5.) ถอดแยกลูกสูบออกจากก้านสูบ โดยใช้คมี หุบแหวนล็อกถอดแหวนล็อกสลักลู กสูบ ออก
จาก สลักลูกสูบ

6.) ทาความสะอาดขูดคราบเขม่าบนหัวลูกสูบด้วยมีดขูดปะเก็นและทาความสะอาดร่องแหวน
ลูกสูบ
7.) ตรวจสอบการชารุดสึกหลอของลูกสูบ ตรวจร่องรอยขีดข่วนรอยร้าวคราบเขม่ารอยไหม้
ต่างๆ

8.) ตรวจสอบระยะปากแหวนลูกสูบทัง้ หมด 3 ตัวประกอบด้ว ยแหวนอัดจานวน 2 ตัว และ


แหวนกวาดน้ามันจานวน 1 ตัว

9.) ตรวจสอบระยะห่างช่องว่างระหว่างร่องแหวนกับแหวนลูกสูบใช้ฟีลเลอร์เกจวัดระยะห่าง
ด้านข้างระหว่างแหวนกับร่องแหวนลูกสูบร่องที่ 1 ระยะห่างแหวนกับร่องแหวนร่องที่ 2
10.) ตรวจสอบรองลื่นก้านสูบโดยตรวจสอบทัง้ รองลื่นก้านสูบตัวบนและรองลื่นก้านสูบตัวล่าง
ตรวจสอบรอยขีดข่วนชารุดแตกร้าวของรองลื่นก้านสูบด้วยสายตา

11.) ตรวจสอบระยะกระบอกสูบด้วย Bore gauge


ขัน้ ตอนการประกอบลูกสูบ
1.) ประกอบลูกสูบเริม่ จากประกอบลูกสูบเข้ากับก้านสูบและชโลมน้ ามันหล่อลื่นที่รูในก้านสูบ
จากนัน้ ประกอบสลักลูกสูบเข้าไปรูใ นก้านสูบเพื่อ ยึดลูกสูบเข้ากับก้านสูบ และใช้ค ีมหุบแหวนล็อ ก
ประกอบแหวนล็อกสลักลูกสูบทัง้ สองข้างให้เรียบร้อย

2. ) ประกอบ
แหวนลูกสูบเข้ากับลูกสูบโดยใช้เครื่องถ่างแหวนลูกสูบถ่างแหวนให้กว้างกว่าขนาด ลูกสูบเล็กน้อ ย
ประกอบแหวนลูกสูบโดยเลื่อยแหวนทีอ่ ยู่ในเครื่องถ่างแหวนให้ตรงกับร่องแหวนลูกสูบ ปล่อยแหวนลง
ไปในร่องแหวนลูกสูบด้ว ยความระมัดระวัง โดยเริม่ จากประกอบแหวนกวาดน้ ามันเป็ น ล าดับแรก
จากนัน้ ประกอบแหวนอัดตัวรองและประกอบแหวนอัดตัวบนสุดเป็ นตัวสุดท้าย และใส่น้ ามันหล่อลื่น
ตรงฝารองลื่นแคมชาร์ฟ
3.) ประกอบแคมชาร์ฟเข้ากับเสื้อสูบจากนัน้ จากนัน้ ขันนอตยึดฝารองลื่น แคมชาร์ฟ ขันด้วย
ประแจปอนด์

4.) จัดปากแหวนลูกสูบถูกต้องเรียบร้อยแล้วต่อไปใช้เครื่องมือรัดแหวนลูกสูบ รัดแหวนลูกสูบ


และใช้ประแจขันเครื่องมือรัดแหวนลูกสูบ
5.) ประกอบฝารองลื่นก้านสูบชโลมน้ ามันเครื่องทีร่ องลื่นจากนัน้ ประกอบฝารองลื่นก้านสูบเข้า
กับก้านสูบให้ตรงตามเครื่องหมายประกอบ จากนัน้ ขันนอตยึดฝารองลื่นก้านสูบ ขันด้วยประแจปอนด์
สรุปผลและวิ เคราะห์

ในการถอดประกอบชิน้ ส่วนเครื่องยนต์ 4 สูบ 4 จังหวะ ได้ทาตามขัน้ ตอนทีอ่ าจารย์ผสู้ อน


ระบุไว้อย่างครบถ้วน มีการตรวจสอบลูกสูบและกระบอกสูบของเครื่องยนต์ 4 สูบ 4 จังหวะ ใน
ด้านการปฏิบตั ผิ ลการดาเนินงานเป็ นไปด้วยความเรียบร้อยตามขัน้ ตอน และการวัด หา
ขนาดของร่องแหวนกวาดน้ามัน กระบอกสูบ และขนาดแหวนลูกสูบ เพือ่ วิเคราะห์สาเหตุการ
เสือ่ มสภาพและการบารุงรักษา นาความรูท้ ไ่ี ด้มาปรับใช้ในชีวติ ประจาวันได้

You might also like