You are on page 1of 10

รายงาน

เรื่อง Engine Assembly


จัดทาโดย
นายภัทรพล พิทักษ์พงศ์
รหัสนักศึกษา 64070506439
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล

เสนอ
อ.จักรภพ วงศ์วิวัฒน์

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชา INTRODUCTION TO AUTOMOTIVE


ENGINEERING
ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 2565
มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี
เครื่องตัดหญ้า เครื่ อ งยนต์ 2จัง หวะ
เครื่ อ งตั ด หญ้ า แบบ 2 จั ง หวะคื อ เครื่ อ งยนต์ ที่ ไ ม่ มี ว าล์ ว หรื อ ระบบหล่ อ ลื่ น เครื่ อ งตั ด หญ้ า
แบบ 2 จั ง หวะนั้ น ใช้ ง านได้ ง่ า ยมาก ง่ า ยกว่ า เครื่ อ งตั ด หญ้ า แบบ 4 จั ง หวะมาก เพราะมี ชิ้ น ส่ ว นภายใน
เครื่ อ งน้ อ ยและมี น้า หนั ก เบามาก ซึ่ ง หมายความว่ า การบารุ ง รั ก ษาก็ จ ะง่ า ยกว่ า และมี ร าคาถู ก กว่ า มาก
ในการผลิ ต โดยทั่ ว ไปแล้ ว เครื่ อ งตั ด หญ้ า แบบ 2 จั ง หวะ มี กาลั ง ต่ อ น้า หนั ก มากกว่ า เครื่ อ งตั ด หญ้ า แบบ
4 จั ง หวะ นั่ น ก็ ห มายความว่ า เครื่ อ งยนต์ ข นาดเล็ ก จะบรรจุ ก าลั ง ได้ มากกว่ า เครื่ อ งตั ด หญ้ า แบบ 4
จั ง หวะขนาดเล็ ก อายุ ก ารใช้ ง านของเครื่ อ งยนต์ ไ ม่ ไ ด้ น่ า กั ง วลเหมื อ นกั บ ยานพาหนะ เพราะไม่ ไ ด้ ถู ก ใช้
งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ดั ง นั้ น จึ ง มี อ ายุ ก ารใช้ ง านที่ ย าวนาน เนื่ อ งจากการใช้ ง านที้ สั้ น จึ ง สร้ า งปั ญ หามลพิ ษ
ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ น้ อ ย ในเครื่ อ งตั ด หญ้ า แบบ 2 จั ง หวะจาเป็ น ต้ อ งผสมน้า มั น หล่ อ ลื่ น กั บ น้า มั น เชื้ อ เพลิ ง ใน
อั ต ราส่ ว นที่ แ ม่ น ยามาก เพื่ อ กาหนดอั ต ราส่ ว นสามารถตรวจสอบที่ คู่ มื อ การใช้ อุ ป กรณ์ ส่ ว นผสมของ
น้า มั น เชื้ อ เพลิ ง และน้า มั น ที่ ไ หลผ่ า นเครื่ อ งยนต์ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ห ล่ อ ลื่ น ชิ้ น ส่ ว น อย่ า งไรก็ ต ามเนื่ อ งจากไม่ ใ ช่
ระบบหล่ อ ลื่ น ที่ ร ะบุ เ ครื่ อ งยนต์ เ หล่ า นี้ มั ก จะเสื่ อ มสภาพเร็ ว กว่ า
หลั ก การทางานของเครื่ อ งตั ด หญ้ า 2 จั ง หวะ
1.น้า มั น เชื้ อ เพลิ ง และเครื่ อ งอั ด อากาศในกระบอกสู บ หลั ก (จั ง หวะการบี บ อั ด )
2.หั ว เที ย นลุ ก ไหม้ ทาให้ เ กิ ด การระเบิ ด ที่ ขั บ เคลื่ อ นลู ก สู บ ลง (จั ง หวะกาลั ง )
3.เมื่ อ ลู ก สู บ ใกล้ ถึ ง จุ ด สิ้ น สุ ด ของจั ง หวะระบบจะเปิ ด พอร์ ต ไอเสี ย (จั ง หวะกาลั ง )
4.ความดั น ในกระบอกสู บ จะขั บ ก๊ า ซไอเสี ย ส่ ว นใหญ่ อ อกจากกระบอกสู บ ผ่ า นพอร์ ต ไอเสี ย (จั ง หวะ
กาลั ง )

ข้ อ ดี แ ละข้ อ เสี ย ของเครื่ อ งตั ด หญ้ า 2 จั ง หวะ


ข้ อ ดี
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะไม่มีวาล์วซึ่งง่ายต่อการประกอบและลดน้าหนักลง
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะจะยิงหนึ่งครั้งในทุกๆ รอบ ในขณะที่สี่จังหวะทุกๆ รอบ
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะนี้ให้กาลังม้าที่ต่าลง
- เครื่องยนต์ 2 จังหวะสามารถทางานได้ในทุกตาแหน่ง เนื่องจากการไหลของน้ามันไม่เกี่ยวข้องกับวาล์วใดๆ ที่ต้อง
กังวล
ข้ อ เสี ย
- เครื่องยนต์สองจังหวะมีอายุการใช้งานไม่นานเท่ากับเครื่องยนต์สี่จังหวะ ไม่มีระบบหล่อลื่นในเครื่องยนต์สอง
จังหวะ ชิ้นส่วนจึงสึกหรอเร็วกว่ามาก
- น้ามันสองจังหวะมีราคาแพงกว่า
- เครื่องยนต์สองจังหวะใช้เชื้อเพลิงมากกว่า
- เครื่องยนต์สองจังหวะสร้างมลพิษได้มาก และวิธีที่เครื่องยนต์ได้รับการออกแบบให้ส่วนหนึ่งของอากาศ/เชื้อเพลิง
รั่วออกจากห้องผ่านช่องระบายอากาศ ซึ่งเป็นสาเหตุที่คุณเห็นฟิล์มบางๆ หรือเงาๆ ของน้ามันรอบๆ

ความแตกต่างอื่นๆ สาหรับเครื่องตัดหญ้า 2 จังหวะ

เครื่องยนต์ 2 จังหวะมักจะส่งเสียงดังและมีควันมากกว่าเครื่องยนต์ 4 จังหวะ ทาให้เกิดมลพิษทางเสียงและมลพิษ


ทางอากาศมากขึ้น เครื่องยนต์ 2 จังหวะสามารถวิ่งได้ทุกตาแหน่ง แม้จะอยู่ด้านข้าง เครื่องยนต์ 4 จังหวะอาจ
สูญเสียการไหลของน้ามันภายในหากน้ามันสะสมที่ด้านหนึ่งของอ่างเก็บน้าเมื่อตัดหญ้าบนทางลาดชัน เครื่องยนต์
4 จังหวะมักจะสตาร์ทได้ง่ายกว่าประเภท 2 จังหวะ และมีแนวโน้มที่จะยืนขึ้นได้ดีกว่าภายใต้การใช้งานหนักอย่าง
ต่อเนื่อง

การตัดสินใจเลือกเครื่องยนต์ที่เหมาะสมที่สุด

มีหลายปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการตัดสินใจเลือกรูปแบบเครื่องยนต์ ที่สาคัญที่สุดคือคุณจะใช้มันอย่างไร หากราคา


เป็นปัญหาที่ใหญ่ที่สุด เครื่องยนต์ 2 จังหวะน่าจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดของคุณ เนื่องจากมีราคาถูกกว่าเครื่องยนต์
4 จังหวะ ดีไซน์เรียบง่ายกว่า และเหมาะสาหรับการใช้งานพื้นฐาน

ในทางกลับกัน เครื่องยนต์ 4 จังหวะมีค่าใช้จ่ายในการผลิตมากกว่า เนื่องจากมีเทคโนโลยีที่ดีกว่า ซึ่งรับประกัน


ประสิทธิภาพและอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น ดังนั้นหากเครื่องตัดหญ้าของคุณต้องทางานมากกว่าระดับพื้นฐาน
เครื่องยนต์ 4 จังหวะก็ควรเป็นทางเลือกของคุณ
เครื่องยนต์เ บนซิ น 4จัง หวะ

ส่วนประกอบหลักของเครื่องยนต์เบนซิน

- กระบอกสูบ เป็นจุดที่เอาไว้ใช้ในการจุดระเบิดภายในเสื้อสูบ โดยให้ลูกสูบเคลื่อนขึ้นลงตามจังหวะการทางาน


- ลูกสูบ มีทาหน้าที่อัดอากาศและรองรับแรงจุดระเบิดภายในกระบอกสูบ โดยจะเคลื่อนที่ขึ้นลงตามจังหวะการจุด
ระเบิด
- วาล์วไอดี ทาหน้าที่ เปิด-ปิดเพื่อรับเอาออกซินเจนเข้าไปใช้ในการจุดระเบิดภายในกระบอกสูบ
- วาล์วไอเสีย ทาหน้าที่ เปิด-ปิดเพื่อระบายอากาศเสียหลังจากการจุดระเบิดให้ออกมาจากกระบอกสูบ
- หัวฉีด ทาหน้าที่ฉีดน้ามันเข้าสู่กระบอกสูบ เพื่อเผาไหม้ให้เกิดความร้อนจนไปผลักลูกสูบให้ขยับได้
- หัวเทียน ทาหน้าที่จุดประกายไฟ เพื่อให้น้ามันเบนซินที่ถูกฉีดเข้าไปผสมกับอากาศติดไฟขึ้นมา
- ก้านสูบ เป็นก้านที่เชื่อมต่อระหว่างลูกสูบกับเพลาข้อเหวี่ยง เพื่อทาหน้าที่ส่งกาลังจากการขยับของลูกสูบไปยัง
เพลาข้อเหวี่ยง
- เพลาข้อเหวี่ยง ทาหน้าที่รับกาลังจากกระบอกสูบผ่านทางก้านสูบ เพื่อหมุนแล้วส่งกาลังไปแปลงผ่านทางเกียร์
และส่งกาลังไปสู่ล้อ
หลักการทางานของเครื่องยนต์เบนซิน

การทางานของเครื่องยนต์เบนซิน เป็นหลักการ 4 จังหวะ คือ ดูด อัด ระเบิด คาย

1.ดูด เริ่มต้นที่ “ส่วนผสมไอดี” ที่ผสมกันระหว่างอากาศจากภายนอกกับน้ามันเบนซิน โดยฉีดฝอยออกมาจาก


หัวฉีด แล้วเริ่มจังหวะ “ดูด” โดยลูกสูบอยู่ตาแหน่งบนสุดของกระบอกสูบ ขยับลงสู่จุดล่างสุดของกระบอกสูบ ใน
จังหวะที่กาลังขยับลงมานั้น วาล์วไอดีเปิดรับอากาศดีเข้ามาผสม โดยที่วาล์วไอเสียจะปิดกันไอดีออก
2.อัด เมื่อกระบอกสูบลงมาจุดล่างสุด ได้ส่วนผสมไอดีเข้ามาแล้ว วาล์วไอดีจะปิด จากนั้นลูกสูบจะขยับตัวขึ้นไปสู่
จุดบนสุด เพื่ออัดส่วนผสมไอดีให้ได้อัตราส่วนตามที่กาหนดไว้
3.ระเบิด เมื่ออัดจนสุดเต็มอัตราส่วนแล้ว หัวเทียนจะจุดประกายไฟ เพื่อให้อากาศที่อัดเอาไว้ติดไฟเกิดการ
ระเบิด อากาศที่ถูกจุดระเบิดจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว และผลักให้ลูกสูบกลับเข้าไปสู่ตาแหน่งด้านล่างอีกครั้ง
4.คาย เมื่อจุดระเบิดเสร็จ ลูกสูบยกตัวขึ้น วาล์วไอเสียเปิดออก เพื่อให้ลูกสูบดันอากาศเสียวิ่งออกไปทางท่อไอเสีย
ระบายออกสู่ภายนอก แล้วกลับมาเริ่มต้นกระบวนการใหม่อีกครั้ง
เครื่องยนต์ดีเซล 4จังหวะ

ส่วนประกอบหลักของเครื่องยนต์ดีเซล

- กระบอกสูบ เป็นจุดที่เอาไว้ใช้ในการจุดระเบิดภายในเสื้อสูบ โดยให้ลูกสูบเคลื่อนขึ้นลงตามจังหวะการทางาน


- ลูกสูบ มีทาหน้าที่อัดอากาศและรองรับแรงจุดระเบิดภายในกระบอกสูบ โดยจะเคลื่อนที่ขึ้นลงตามจังหวะการจุด
ระเบิด
- วาล์วไอดี ทาหน้าที่ เปิด-ปิดเพื่อรับเอาออกซินเจนเข้าไปใช้ในการจุดระเบิดภายในกระบอกสูบ
- วาล์วไอเสีย ทาหน้าที่ เปิด-ปิดเพื่อระบายอากาศเสียหลังจากการจุดระเบิดให้ออกมาจากกระบอกสูบ
- หัวฉีด ทาหน้าที่ฉีดน้ามันเข้าสู่กระบอกสูบ เพื่อเผาไหม้ให้เกิดความร้อนจนไปผลักลูกสูบให้ขยับได้
- ก้านสูบ เป็นก้านที่เชื่อมต่อระหว่างลูกสูบกับเพลาข้อเหวี่ยง เพื่อทาหน้าที่ส่งกาลังจากการขยับของลูกสูบไปยัง
เพลาข้อเหวี่ยง
- เพลาข้อเหวี่ยง ทาหน้าที่รับกาลังจากกระบอกสูบผ่านทางก้านสูบ เพื่อหมุนแล้วส่งกาลังไปแปลงผ่านทางเกียร์
และส่งกาลังไปสู่ล้อ
หลักการทางานของเครื่องยนต์ดีเซล

การทางานของเครื่องยนต์เบนซิน เป็นหลักการ 4 จังหวะ คือ ดูด อัด ระเบิด คาย

1. ดูด เริ่มต้นที่ “ส่วนผสมไอดี” ที่ผสมกันระหว่างอากาศจากภายนอกกับน้ามันเบนซิน โดยฉีดฝอยออกมาจาก


หัวฉีด แล้วเริ่มจังหวะ “ดูด” โดยลูกสูบอยู่ตาแหน่งบนสุดของกระบอกสูบ ขยับลงสู่จุดล่างสุดของกระบอกสูบ ใน
จังหวะที่กาลังขยับลงมานั้น วาล์วไอดีเปิดรับอากาศดีเข้ามาผสม โดยที่วาล์วไอเสียจะปิดกันไอดีออก
2.อัด เมื่อกระบอกสูบลงมาจุดล่างสุด ได้ส่วนผสมไอดีเข้ามาแล้ว วาล์วไอดีจะปิด จากนั้นลูกสูบจะขยับตัวขึ้นไปสู่
จุดบนสุด เพื่ออัดส่วนผสมไอดีให้ได้อัตราส่วนตามที่กาหนดไว้
3.ระเบิด เมื่อลูกสูบยกตัวขึ้นบนสุด อากาศถูกอัดเอาไว้เต็มอัตราส่วนที่กาหนด หัวฉีดจะฉีดน้ามันดีเซลละออง
ฝอยเข้าไป เมื่อเจอกับอากาศที่ถูกอัดจนมีแรงดันกับความร้อนสูง จะเกิดการติดไฟแล้วระเบิดขึ้น เมื่อเกิดการ
ระเบิด อากาศที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วจะผลักให้ลูกสูบกลับเข้าไปสู่ด้านล่างสุดอีกครั้ง โดยจังหวะการฉีดน้ามันดีเซล
เข้าสู่กระบอกสูบนั้น มีการคานวนว่าในอุณหภูมิเครื่องยนต์ขนาดนี้ ควรฉีดที่จังหวะไหน
4.คาย เมื่อจุดระเบิดเสร็จ ลูกสูบยกตัวขึ้น วาล์วไอเสียเปิดออก เพื่อให้ลูกสูบดันอากาศเสียวิ่งออกไปทางท่อไอเสีย
ระบายออกสู่ภายนอก แล้วกลับมาเริ่มต้นกระบวนการใหม่อีกครั้ง

ความแตกต่างของเครื่องยนต์ทั้งสองชนิด

จะเห็นได้ว่า ทั้งเครื่องยนต์เบนซินและเครื่องยนต์ดีเซลนั้น มีส่วนประกอบหลักที่ใช้ในการท างานเหมือนกัน


เกือบจะทุก อย่า ง รวมไปถึงจังหวะการ ดูด อัด ระเบิด คาย ก็ใช้ระบบสี่จังหวะเหมือ นกัน แต่ต่างกัน ตรง
กระบวนการจุดระเบิด ที่เครื่องยนต์เบนซินใช้วิธีจุดระเบิดจากหัวเทียน ในขณะที่เครื่องยนต์ดีเซลไม่มีหัวเที ยน แต่
ใช้วิธีการฉีดละอองฝอยของน้ามันดีเซลในการจุดระเบิดแทน และอัตราส่วนในการบีบอัดจะแตกต่างกัน

ดังนั้น ด้วยหลักการจุดระเบิดที่แตกต่างกัน น้ามันเครื่องทีใช้งานจึงจาเป็นต้องใช้ให้ถูกประเภท เพื่อให้หมาะสมกับ


การทางานของเครื่องยนต์ และช่วยเสริมประสิทธิภาพการทางานให้ดีที่สุด
ความแตกต่างของเครือ่ งยนต์ 4 จังหวะและเครื่องยนต์ 2 จังหวะ
สาหรับเครื่องยนต์ที่เรียกว่า 4 จังหวะก็เพราะว่า ใน 1 วัฏจักร (Cycle) เครื่องยนต์จะแบ่งการท างาน
ออกเป็น 4 จังหวะ (stroke) ได้แก่ จังหวะดูด อัด ระเบิด และคาย ซึ่งแตกต่างจากเครื่องยนต์ 2 จังหวะที่มีการ
ทางานรวบรัดมากกว่า โดยรวมเอา จังหวะดูด -อัดเป็น 1 จังหวะ และ จังหวะระเบิด-คาย เป็นอีก 1 จังหวะ และ
เครื่องยนต์ 2 จังหวะทาการหมุนหนึ่งครั้ง สาหรับการระเบิดแต่ละครั้ง ในขณะที่เครื่องยนต์ 4 จังหวะจะทาการ
หมุนสองครั้ง สาหรับการระเบิดแต่ละครั้ง
นอกจากนี้เครื่องยนต์ทั้ง 2 ประเภทยังมีความแตกต่างกันอีก 4 จุดสาคัญ

1. ขนาดเสื้อสูบ

สาหรับเสื้อสูบของเครื่องยนต์ 4 จังหวะนั้นจะมีขนาดใหญ่กว่าเครื่องยนต์ 2 จังหวะ เนื่องจากระบบภายใน


เครื่องยนต์ 4 จังหวะมีชิ้นส่วนมากกว่า เช่น ระบบกลไกของวาลว์หรือโซ่ขับเพลาลูกเบี้ยว เป็นต้น ส่วนเครื่องยนต์
2 จังหวะไม่มีระบบกลไกลของวาลว์เหล่านี้ มีเพียงแค่ท่อสาหรับคายไอเสียออกมา

2. ท่อดูดอากาศ

บริเวณท่อดูดอากาศจากคาร์บูเรเตอร์ของเครื่องยนต์ 2 จังหวะนั้นจะไม่อยู่ในระดับเดียวกัน แต่ถ้าเป็นเครื่องยนต์


4 จังหวะ จะอยู่ในระดับเดียวกัน

3. ระบบการเผาไหม้และการหล่อลื่น

เครื่องยนต์ 4 จังหวะส่วนใหญ่จะไม่ปล่อยควันขาวออกมา เนื่องจากมีการเผาไหม้ที่สมบูรณ์และไม่มีการเผาไหม้


น้ามันเครื่อง ทาให้ปัญหาควันขาวจากท่อไอเสียน้อยมาก ๆ หรือไม่มีเลย แต่เครื่องยนต์ 2 จังหวะนั้นมีโอกาสปล่อย
ควันขาวได้มาก จึงต้องอาศัยน้ามันเครื่องสูตรเฉพาะ (น้ามันเครื่อง 2T) สาหรับผสมกับน้ามันเชื้อเพลิง (แบบ Pre-
mixed และแบบ Autolube) เพื่อช่วยในการหล่อลื่นชิ้นส่วนภายในเครื่องยนต์และถูกเผาไหม้ไปพร้อมกับน้ามัน
เชื้อเพลิงโดยไม่ทาให้เกิดควันขาว
4.เสียงเครื่องยนต์

เครื่องยนต์ 4 จังหวะจะมีเสียงที่นุ่มทุ้ม แตกต่างจากเครื่องยนต์ 2 จังหวะที่มีเสียงค่อนข้างแหลม โดยเราสามารถ


สังเกตความแตกต่างของเสียงได้จากตอนที่สตาร์ตเครื่องยนต์

ข้อดี-ข้อเสียของเครื่องยนต์ 4 จังหวะและเครื่องยนต์ 2 จังหวะ

เครื่องยนต์ 2 จังหวะ มีข้อดีที่ออกตัวได้รวดเร็ว อัตราเร่งดีกว่า มีชิ้นส่วนน้อยจึงทาให้ดูแลรักษาง่าย แม้ว่าจะ


ปรับแต่งไม่มากก็สามารถมีเครื่องยนต์ที่แรงได้ แต่ก็มีข้อเสีย นั่นคือการปลดปล่อยมลพิษและควันขาวมากกว่า
เครื่องยนต์มีเสียงดัง และการสิ้นเปลืองน้ามันเชื้อเพลิงมากกว่า เนื่องจากประสิทธิภาพในการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่า
กว่าจากการปนของไอเสียที่ตกค้างในห้องเผาไหม้ รวมถึงมีอัตราการสึกหรอของเครื่องยนต์ค่อนข้างสูง การระบาย
ความร้อนไม่ดี ทาให้มีอายุการใช้งานสั้นครับ

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ มีข้อดีอยู่ที่ความประหยัดน้ามันเชื้อเพลิง รอบเครื่องยนต์เดินเรียบ เสียงเบาขณะขับขี่ ดูแล


รักษาง่าย สามารถปรับแต่งเครื่องยนต์ได้มากกว่า และการเผาไหม้สมบูรณ์กว่า ไม่มีควันขาว ทาให้มลพิษต่า แต่ก็มี
ข้อเสียตรงที่มีชิ้นส่วนมากและมีความซับซ้อน ทาให้มีค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาที่สูงตามไปด้วย

You might also like