You are on page 1of 10

136 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564)

การพัฒนาชุดติดตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่สาหรับดุมล้ อวีลแชร์


ตามหลักวิศวกรรมย้ อนรอย
Development of Planetary Gear Set Mounting for Wheelchair Hubs
By Principle Reverse Engineering

นราพงศ์ ช่วยชัย 1* อนันตกุล อินทรผดุง 2 ประเสริ ฐ วิโรจน์ชีวนั 3 และ ดุษณี ศุภวรรธนะกุล 2


Narapong Chuaychai 1*, Anantakul Intarapadung 2, Prasert Wirotcheewan 3 and Dusanee Supawantanakul 2
Received: 21 January 2020, Revised: 30 September 2020, Accepted: 8 December 2020

บทคัดย่ อ

งานวิจยั นี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุ ดติดตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่ (Planetary Gear) สาหรับดุมล้อวีลแชร์


ตามหลักวิศวกรรมย้อนรอยมีข้ นั ตอนในการดาเนินงานวิจยั ดังนี้ การศึกษาสภาพการใช้งานวีลแชร์ โดยเก็บรวบรวม
ข้อ มู ล จากผูใ้ ช้วีล แชร์ ด ้ว ยวิ ธี การสั ม ภาษณ์ ถึ งกระบวนการใช้งานวีล แชร์ ในชี วิ ต ประจ าวัน อุ ป สรรคในการ
ขับเคลื่อนวีลแชร์ในสภาพพื้นที่ขรุ ขระ พื้นทรายรวมถึงทางลาดเอียง แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อพัฒนา
กระบวนการขับเคลื่อน เพื่อช่วยให้ผใู ้ ช้วีลแชร์ใช้กาลังแขนลดลงจากการเข็นวีลแชร์ โดยการพัฒนาชุดดุมล้อทดแรง
ต้นแบบ ศึกษาระบบการทางานของชุ ดเฟื องที่ ช่วยในการทดแรงโดยเลือกใช้ชุดเฟื องแพลนเนตตารี่ ออกแบบและ
ติดตั้งภายในดุมล้อวีลแชร์ จาลองการทางานชุดดุมล้อทดแรงด้วยคอมพิวเตอร์ (CAD) วิเคราะห์ผลและเปรี ยบเทียบ
ดุ ม ล้อ วี ล แชร์ แ บบมาตรฐาน จากการศึ ก ษาและพัฒ นาชุ ด ดุ ม ล้อ ทดแรงต้ น แบบ โดยการขยายดุ ม ล้อ ให้ มี
เส้นผ่าศูนย์กลาง 190 มิลลิเมตร ภายในดุมล้อยึดติ ดกับเฟื องวงแหวน (Ring Gear) มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 130 มิลลิเมตร
ภายในเฟื องวงแหวนมีชุดเฟื องแพลนเนตตารี่ (Planetary Gear) ที่ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 40 มิ ลลิเมตร มีจานวน 3
เฟื อง และเฟื องตัวกลาง (Sun Gears) มี เส้นผ่าศู นย์กลาง 60 มิ ลลิ เมตร ประกอบเป็ นชุ ดเฟื องทดแรงติ ดตั้งภายใน
ดุ มล้อวีลแชร์ ช่ วยในการทดแรงจากการเข็นวีลแชร์ ผลการทดลองใช้เปรี ยบเที ยบดุ มล้อวีลแชร์ แบบมาตรฐานกับ
ดุ มวี ลแชร์ ทดแรงต้นแบบ กับกลุ่ มตัวอย่ างประเมิ นผลความพึ งพอใจและประเมิ นความเจ็ บปวดกับผูใ้ ช้วี ลแชร์

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1
สาขาการจัดการเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุ งเทพมหานคร 10220
1
Department of Technology Management, Faculty of Industrial Technology, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok 10220, Thailand.
2
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุ งเทพมหานคร 10220
2
Faculty of Industrial Technology, Phranakhon Rajabhat University, Bangkok 10220, Thailand.
3
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กรุ งเทพมหานคร 10800
3
Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Phra Nakhon, Bangkok 10800, Thailand.
*
ผูน้ ิพนธ์ประสานงาน ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (Corresponding author, e-mail): ponk1976@gmail.com
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564) 137

จานวน 50 คน พบว่า ดุมล้อวีลแชร์ ทดแรงต้นแบบให้น้ าหนักเบากว่าในการเข็นขึ้ นทางลาดชันและจากการประเมิ น


ความเจ็บปวด พบว่า ดุมล้อทดแรงต้นแบบให้ความรู ้สึกเจ็บปวดน้อยกว่าจากการเข็นในทางขรุ ขระและในทางที่เป็ นพื้น
ทราย

คาสาคัญ: ชุดเฟื องแพลนเนตตารี่ , วิศวกรรมย้อนรอย, ดุมล้อวีลแชร์, ระบบขับเคลื่อน, การทดแรง

ABSTRACT

The purpose of the study was to develop the planetary gear installation set used to control the
wheelchairs based on reverse engineering principles. It consisted of the following procedures. First, study the use
of wheelchairs from the users through the interview relating to the use of the wheelchairs in daily life and
problems in moving the wheelchairs on rough surfaces, sand, and slopes. Second, analyze and synthesize the data
to develop the driving procedures which would enable the wheelchair users to reduce the arm force. Next, develop
the prototype reduction wheelchair hubs. Then study the system of the gear set that helped reduce the force
through the use of the planetary gear set with its design and install it in the wheelchair hubs. After that, simulate
the work of the reduction wheelchair hubs with computer (CAD) by analyzing and comparing the standard
wheelchair hubs and the developed reduction wheelchair hub prototype which expanded the wheelchair hub to the
diameter of 190 millimeters in the wheelchair hub attached with the ring gear with a diameter of 130 millimeters.
In the ring gear, there was a planetary gear with the diameter of 40 millimeters for 3 gears and a sun gear with the
diameter of 60 millimeters. They were assembled to make a reduction gear set to be installed in the wheelchair
hubs which could reduce the effort required to use the wheelchairs. Participants were 50 wheelchair-users who
were surveyed regarding their satisfaction and their pains after they used the standard wheelchair hubs and the
prototype reduction wheelchair hubs. The comparing results indicated that the prototype of reduction wheelchair
hubs required less effort to use the wheelchairs on the slope. Moreover, the results pertaining to their pain
assessment were found less on rough surfaces and sand.

Key words: planetary gear set, reverse engineering, wheelchair hub, drive system, testing

บทนา สังคมในการใช้งานวีลแชร์ อย่างไรก็ตามผูใ้ ช้เกิ ด


วีลแชร์เป็ นอุปกรณ์เครื่ องช่วยที่มีการใช้งาน ปัญหาจากปัจจัยด้านน้ าหนักของวีลแชร์ น้ าหนักผูใ้ ช้
อย่างแพร่ หลายเพื่ อส่ งเสริ มความสามารถด้า นการ ชนิ ดของวี ลแชร์ และสภาพพื้ นผิวเส้นทางต่ า งๆ ที่
เคลื่ อ นที่ ข องบุ ค คล ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่ งของสิ ทธิ ออกแรงมากน้อยไม่เท่ากัน จึงทาให้เกิดปั ญหาในการ
มนุ ษ ยชนและการด ารงชี วิ ต อย่ า งมี ศ ัก ดิ์ ศรี ทั้ง นี้ ใช้งาน กล้ามเนื้อแขนเมื่อยล้าเพราะ ต้องส่ งกาลังจาก
เพื่ อ ให้ค นพิ การสามารถเป็ นสมาชิ กที่ มีคุ ณ ค่ า ของ แขนและไหล่ในการเข็นบนเส้นทางขรุ ขระ พื้นทราย
138 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564)

ละเอียด หรื อโคลน ขั้นบันได และในการเข็นขึ้ นลง วิธีดาเนินการวิจัย


ทางลาดชัน (Chapal and Kylie, 2012) ซึ่ งหากต้อง งานวิจยั นี้ได้พฒั นาชุดติดตั้งเฟื องแพลนเนต
เดิ นทางโดยลาพังมี ค วามยากลาบากจากการที่ ต้อง ตารี่ สาหรับดุมล้อวีลแชร์ ตามหลักวิศวกรรมย้อนรอย
เข็นและใช้แรงในการเข็นวีลแชร์ ให้ผ่านสภาพพื้นที่ โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผูใ้ ช้วีลแชร์ โดย
ดังกล่ าว จึ งมี แ นวคิ ดที่ จะพัฒนาเฟื องเข้ามาช่ วยใน การสั ม ภาษณ์ แ ละสั ง เกตวิ ธี การใช้ วี ล แชร์ ใน
การทดแรงในการเข็นวีลแชร์ ตามหลักวิศวกรรมย้อน ชี วิ ต ประจ าวั น และน าข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม าวิ เ คราะห์
รอย สังเคราะห์เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบทดแรงใน
วิศวกรรมย้อนรอยเพื่อพัฒนาดุมล้อวีลแชร์ การขับเคลื่อนวีลแชร์โดยการศึกษาและพัฒนาจากดุม
เป็ นการทางานในลักษณะย้อนกลับ โดยศึกษาจากดุม ล้อเดิ มของวีลแชร์ ตามหลักวิศวกรรมย้อนรอย โดย
ล้อวีลแชร์ แบบมาตรฐานประเมินด้วยความเจ็บปวด กระบวนการพัฒนาใช้การวิ เคราะห์สืบกลับไปจาก
พบว่า บุคคลที่ใช้วีลแชร์เป็ นหลักในการเคลื่อนไหวมี ดุ ม ล้อ แบบมาตรฐานที่ ผู ้พิ ก ารใช้ ง านอยู่ โดยมี
อาการปวดแขน ไหล่ เนื่องจากใช้แรงมากเกินไปและ การศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล จากดุ ม ล้ อ แบบ
การเคลื่ อนที่ ของแรงขับซ้ า โดยน้ าหนักของวีลแชร์ มาตรฐานอย่างเป็ นระบบ ตั้งแต่วสั ดุ คุณสมบัติ จนถึง
และน้ าหนักผูพ้ ิการรวมถึงสภาพพื้นผิวเส้นทางต่างๆ กรรมวิธีการผลิ ต เป็ นการแก้ไขข้อบกพร่ องของดุ ม
ที่ผพู ้ ิการออกแรงมากน้อยไม่เท่ากัน จึ งทาให้ผูพ้ ิการ ล้อแบบมาตรฐานให้ดียิ่งขึ้น (Tossaporn, 2016) โดย
เกิ ดปั ญหาในการใช้งาน กล้ามเนื้ อแขนเมื่อยล้าต้อง ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็ จรู ปเป็ นตัวช่วยในการ
ใช้แรงในการขับเคลื่อนเพื่อผ่านอุปสรรคของแต่ละ ออกแบบเขียนแบบ เพื่อนาต้นแบบ จาลองการทางาน
สภาพพื้ นผิวจึ งมี แนวคิ ด ที่ จะนาเฟื องทดแรงเข้ามา การขับ เคลื่ อ นดุ ม ล้อ วี ล แชร์ ที่ ไ ด้ใ ห้ ผู ้เ ชี่ ย วชาญ
ช่ ว ยในการขับ เคลื่ อ นในการเข็ น ของผู ใ้ ช้วี ล แชร์ ตรวจสอบและน ามาปรั บ ปรุ ง เป็ นชุ ด ดุ ม ล้อ ติ ด ตั้ง
สามารถช่ ว ยให้ ผู ้ใ ช้วี ล แชร์ เ ข้า ถึ ง พื้ น ที่ ที่ มี ค วาม เฟื องแพลนเนตตารี่ ตน้ แบบ เพื่อช่วยลดต้นทุนในการ
ยากล าบากที่ ต้องใช้แรงในการเข็นโดยการพัฒนา ผลิ ต และน าไปติ ด ตั้ง กั บ วี ล แชร์ แ ละทดลองใช้
เฟื องเข้ามาช่วยในการทดแรง (Rodkwan et al., 2003)
จากการสัมภาษณ์ ผูใ้ ช้วีลแชร์ พบว่าปั ญหา ตอนที่ 1
เกิ ด จากปั จจัยด้านน้ า หนักของวี ลแชร์ น้ าหนักผูใ้ ช้ การออกแบบตามหลักวิ ศ วกรรมย้อยรอย
ชนิดของวีลแชร์และสภาพพื้นผิวเส้นทางต่างๆ ที่ผใู ้ ช้ โดยกระบวนการพัฒนาใช้การวิเคราะห์สืบกลับไป
ต้อ งใช้กาลังแขนและไหล่ใ นการเข็น จึ งทาให้เ กิ ด จากดุมล้อแบบมาตรฐานอย่างเป็ นระบบ ตั้งแต่วสั ดุ
ปั ญหาในการใช้งานมีอาการปวดกล้ามเนื้ อช่ องท้อง คุ ณ สมบั ติ จนถึ ง กรรมวิ ธี การผลิ ต โดยการใช้
กล้ามเนื้อแขนและไหล่เมื่อยล้า เมื่อใช้งานวีลแชร์ ไป โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็ จรู ปเป็ นเครื่ องมือในการ
ระยะหนึ่ งทาให้เกิ ดอาการบาดเจ็บบริ เวณไหล่ หลัง ออกแบบเขี ยนแบบ นาแบบที่ ไ ด้มาให้ผูเ้ ชี่ ยวชาญ
และแขน (Petrozzdo and Stepper, 2013) จึงมีแนวคิด ตรวจสอบความถู ก ต้อ งของแบบและจ าลองการ
ที่จะพัฒนาชุดดุมล้อทดแรงติดตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่ ทางานของระบบขับเคลื่ อน แล้วจึ งนามาสร้ า งเป็ น
มาช่ วยในกระบวนการขับเคลื่ อนวีลแชร์ โดยพัฒนา นวัตกรรมต้นแบบ เพื่อศึกษาถึงกระบวนการผลิตโดย
ตามหลักวิศวกรรมย้อนรอย การเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่จะช่วยในการสร้าง
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564) 139

ต้น แบบระบบขับ เคลื่ อ นวี ล แชร์ ซึ่ งแบ่ ง ออกเป็ น 3. น าแบบที่ ได้ จ ากข้ อ เสนอแนะของ
หัวข้อต่อไปนี้ ผู เ้ ชี่ ย วชาญมาจ าลองด้ว ยโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์
1. ออกแบบ ร่ างต้นแบบ เขี ยนแบบและ สาเร็ จรู ป เพื่อดูหลักการทดแรง โดยให้ผูเ้ ชี่ ยวชาญ
จาลองการหมุนของชุ ดดุ มล้อทดแรงจากการศึ กษา จานวน 5 ท่าน เป็ นผูต้ รวจสอบความถูกต้องในการ
ทฤษฎี และงานวิ จยั ที่ เกี่ ย วข้อง ทาการร่ า งต้นแบบ ออกแบบในด้า นที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ ผู ้พิ ก าร ด้า นการ
เขียนแบบภาพ 2 มิติ เพื่อกาหนดขนาดของดุมล้อวีล ออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ วิศวกรเครื่ องกล รวมถึ ง
แชร์ทดแรงตามที่ศึกษาและเขียนแบบเป็ นภาพ 3 มิติ ผู ้ ป ระกอบการที่ ท างานด้ า นการผลิ ต เฟื องมา
2. นาแบบที่ ไ ด้จ ากการร่ า งต้นแบบ ให้ โดยเฉพาะ มาตรวจสอบแบบและจาลองการทางาน
ผู เ้ ชี่ ย วชาญตรวจสอบความถู ก ต้อ งของแบบและ ด้วยคอมพิวเตอร์ และปรับแก้แบบตามที่ ผูเ้ ชี่ ยวชาญ
ปรับแก้ตามที่ผเู ้ ชี่ยวชาญเสนอแนะ เพื่อกาหนดขนาด เสนอแนะ
ของดุมล้อวีลแชร์ทดแรง

ตารางที่ 1 รายชื่อผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการออกแบบและจาลองการทางานออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์ (CAD)


ลาดับที่ รายชื่ อผู้เชี่ยวชาญ ความเชี่ยวชาญ
1 ผูเ้ ชี่ยวชาญคนที่ 1 การออกแบบฝึ กทักษะการทรงตัวคนพิการ
2 ผูเ้ ชี่ยวชาญคนที่ 2 วิศวกรเครื่ องกล
3 ผูเ้ ชี่ยวชาญคนที่ 3 การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์
4 ผูเ้ ชี่ยวชาญคนที่ 4 การออกแบบผลิตภัณฑ์กระบวนการผลิต
5 ผูเ้ ชี่ยวชาญคนที่ 5 กระบวนการผลิตเฟื องทดแรง

(ก) (ข)
ภาพที่ 1 ชุดดุมล้อต้นแบบจากการศึกษา (ก) ร่ างต้นแบบชุดเฟื องแพลนเนตตารี่ และ (ข) ภาพต้นแบบที่ได้จากการ
เขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์

ภาพที่ 1 (ก) แบบร่ างต้นแบบชุดเฟื องแพลน แล้ ว น ามาออกแบบเขี ย นแบบด้ ว ยโปรแกรม


เนตตารี่ และภาพที่ 1 (ข) ลัก ษณะของชุ ด ดุ ม ล้อ คอมพิวเตอร์สาเร็ จรู ป
ต้นแบบที่ ได้จากการศึ กษาทฤษฎี เอกสารตาราและ ตอนที่ 2
งานวิจยั ที่ เกี่ยวข้อง และจากผูเ้ ชี่ ยวชาญในด้านต่างๆ วางแผนกระบวนการผลิตชุ ดดุ มล้อทดแรง
ต้น แบบตามหลัก วิ ศ วกรรมย้อ นรอย โดยศึ ก ษา
140 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564)

กระบวนการผลิตดุมล้อแบบมาตรฐานและพัฒนาชุด ตัวกลาง (Sun Gear) มีขนาด 22 ฟั น โดยชุดเฟื องแพ


ดุมล้อทดแรงต้นแบบ โดยการขยายส่ วนของดุมล้อ ลนเนตตารี่ จะสวมยึดอยูใ่ นตัวเรื อนของมัน และหมุน
เพื่ อ รองรั บ ชุ ด เฟื องแพลนเนตตารี่ ทดแรง โดยมี ไปเป็ นชุ ด เดี ย วกัน โดยตัว ต้น ก าลัง จะหมุ น ด้ว ย
ขั้นตอนดังนี้ ความเร็ วรอบน้อยกว่ากาลังงานเอาต์พุต ทาให้ใช้แรง
1. ศึกษากระบวนการผลิตล้อวีลแชร์ โดย ในการเข็นน้อยได้แรงบิ ดเพิ่มขึ้ นโดยใช้สูตรในการ
การวิเคราะห์ตามหลักวิศวกรรมย้อนรอย เน้นไปที่ คานวณ (Carvarella et al., 1999)
เรื่ องของกระบวนการทดแรง
N1 z2
2. ศึ กษากระบวนการนาชุ ดเฟื องแพลน i= และ i = (1)
N2 z1
เนตตารี่ เข้ามาติ ดตั้งภายในดุ มล้อเพื่ อให้เกิ ดการทด
แรงในขณะขับเคลื่อน เมื่อ N1 = ความเร็ วรอบของเฟื องขับ
3. ลักษณะของชุ ดเฟื องแพลนเนตตารี่ Z1 = จานวนฟันเฟื องขับ
ทดแรงประกอบไปด้วยเฟื องวงแหวน (Ring Gear) N2 = ความเร็ วรอบเฟื องตาม
ทาจากวัสดุทองเหลืองมีขนาด 53 ฟั น ชุดเฟื องแพลน Z2 = จานวนฟันเฟื องตาม
เนตมี 3 เฟื อง (Planet Gear) มีขนาด 15 ฟั น และเฟื อง

ตารางที่ 2 ขนาดจานวนฟัน เส้นผ่าศูนย์กลาง และอัตราทดจากการคานวณ


ชนิดเฟื อง จานวนฟัน เส้ นผ่ าศู นย์ กลาง (มิลลิเมตร) อัตราทด
เฟื องวงแหวน 53 130 1 : 1.41
เฟื องแพลนเนต 15 40 1 : 0.71
เฟื องตัวกลาง 22 60 1 : 3.4

จากตารางที่ 2 ใช้สูตรหาความเร็ วรอบของเฟื อง แก้ปัญหาด้วยเทคนิ ค การทดแรงขับเคลื่ อนวี ลแชร์


จากการประเมิ น ต้น แบบโดยผู เ้ ชี่ ย วชาญ (Reducing the Force) โดยการประยุกต์ชุดเฟื องแพ
พบว่า การออกแบบชุ ดทดแรงช่ วยในกระบวนการ ลนเนตตารี่ ชุ ดเฟื องแพลนเนตารี่ มีการทดแรงได้มี
ขับ เคลื่ อ นวี ล แชร์ การแก้ปั ญ หากระบวนการ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ฟื อ ง ข บ กั น พ อ ดี
ขั บ เคลื่ อ นวี ล แชร์ ในพื้ นผิ ว ขรุ ขระ ควรมี ก าร

ภาพที่ 2 ชุดเฟื องแพลนเนตตารี่ ที่ได้จากกระบวนการศึกษาตามหลักวิศวกรรมย้อนรอย


วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564) 141

ภาพที่ 2 ชุดเฟื องแพลนเนตตารี่ ตน้ แบบที่ได้ 1. ได้ตน้ แบบ และจาลองการทดแรงของชุด


ศึ กษาตามกระบวนการวิศวกรรมย้อนรอยที่ ได้ผ่าน ดุ มล้อติ ด ตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่ เพื่ อกาหนดขนาด
การตรวจสอบจากผูเ้ ชี่ ยวชาญและนาไปผลิตเป็ นชุ ด ของดุมล้อวีลแชร์ทดแรงตามหลักวิศวกรรมย้อนรอย
ดุมล้อทดแรงต้นแบบ นาชุ ดดุมล้อวีลแชร์ ตน้ แบบที่ 2. นาต้นแบบที่ได้ ให้ผเู ้ ชี่ ยวชาญตรวจสอบ
ได้ไ ปทดลองเพื่ อหาสมรรถนะด้า นการขับเคลื่ อ น ความถูกต้องของแบบและปรับแก้ตามที่ ผูเ้ ชี่ ยวชาญ
โดยทดลองใช้ใ นสภาพพื้ น ที่ ที่ ผู ใ้ ช้วี ล แชร์ ใ ช้ใ น เสนอแนะ เพื่อกาหนดขนาดของดุมล้อวีลแชร์ ติดตั้ง
ชี วิ ต ประจ าวั น สร้ า งตารางเปรี ยบเที ยบด้ า น เฟื องแพลนเนตตารี่ ตามผูเ้ ชี่ยวชาญเสนอแนะ
สมรรถนะการใช้งาน ด้านการทดแรง ควบคุมความ 3. น าร่ างต้ น แบบที่ ไ ด้ จ ากผู ้ เ ชี่ ย วชาญ
ปลอดภัย โดยผู เ้ ชี่ ย วชาญด้า นความปลอดภัย เพื่ อ เสนอแนะมาสร้ า งชุ ด ดุ ม ล้ อ ทดแรงต้ น แบบซึ่ ง
เปรี ยบเทียบกับระบบขับเคลื่อนแบบดุมล้อมาตรฐาน สอดคล้อ งกับ การสร้ า งเสาสั ญ ญาณวิ ท ยุ สื่ อ สาร
โดยใช้แบบประเมินความเจ็บปวดโดยให้ผใู ้ ช้วีลแชร์ โดยในการสร้างชิ้นงานใหม่น้ นั จะใช้หลักวิศวกรรม
แบบมาตรฐานและวีลแชร์ ทดแรงติ ดตั้งเฟื องแพลน ย้อนรอยในการออกแบบชิ้นงานขึ้นมาใหม่ โดยมีการ
เนตตารี่ เข็นในทางขรุ ขระและทางลาดชันที่ กาหนด ออกแบบเลื อ กใช้ อุ ป กรณ์ ด ้ว ยการใช้ โ ปรแกรม
และให้ผใู ้ ช้วีลแชร์ให้คะแนนความรุ นแรงของอาการ คอมพิ ว เตอร์ ส าเร็ จ รู ป และการค านวณเพื่ อ ความ
เจ็บปวด แบบประเมิ นความเจ็บปวดผิ ดปกติ ทาง ปลอดภัยในการใช้งาน (Tossaporn, 2016)
ระบบกระดู ก และกล้า มเนื้ อจากการใช้วีล แชร์ ให้ วางแผนกระบวนการผลิตชุ ดดุ มล้อทดแรง
คะแนนความรุ น แรงของอาการที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแต่ ล ะ ติดตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่ ตน้ แบบตามหลักวิศวกรรม
ส่ วนของร่ างกาย ย้อนรอย โดยศึกษากระบวนการผลิตดุมล้อแบบเดิ ม
และพัฒนาดุ มล้อต้นแบบโดยการขยายส่ วนของดุ ม
ผลการวิจัยและวิจารณ์ ผล ล้อเพื่ อรองรั บชุ ดเฟื องแพลนเนตตารี่ ทดแรง โดยมี
ผลการพัฒนาชุ ดติ ดตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่ ขั้นตอนดังนี้
สาหรับดุมล้อวีลแชร์ตามหลักวิศวกรรมย้อนรอย 1. การขยายดุมล้อจากต้นแบบเดิมให้มีขนาด
ตอนที่ 1 โตขึ้นโดยมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร
ผลการออกแบบตามหลักวิศวกรรมย้อยรอย 2. ออกแบบชุดเฟื องทดแรงเพื่อติดตั้งในดุม
โดยการใช้โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ส าเร็ จ รู ปเป็ น ล้อโดยมีชุดเฟื อง 3 ชนิ ดได้แก่ เฟื องวงแหวน (Ring
เครื่ องมือในการออกแบบเขี ยนแบบ นาแบบที่ได้มา Gear) เฟื องแพลนเนต 3 ตัว (Planet Gear) และเฟื อง
ให้ผูเ้ ชี่ ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องของแบบและ กลาง (Sun Gear)
จาลองการทางานของระบบขับเคลื่อน แล้วจึ งนามา 3. อัตราทดโดยการเข็นวีลแชร์ 1 รอบโดย
สร้างเป็ นชุ ดดุมล้อวีลแชร์ ติดตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่ ใช้เฟื องวงแหวนเป็ นตัวขับชุ ดเฟื องภายในจะหมุ น
ต้นแบบ แบ่งออกเป็ นหัวข้อดังนี้ 1.41 รอบ ใช้เฟื องตัวเล็กเป็ นตัวขับ 1 รอบ ชุ ดเฟื อง
ภายในจะหมุน 0.71 รอบ และใช้เฟื องตัวกลางเป็ นตัว
ขั บ 1 รอบ ชุ ดเฟื องภายในจะหมุ น 3.4 รอบ
142 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564)

(ก) (ข)
ภาพที่ 3 เปรี ยบเทียบชุดล้อมาตรฐานกับชุดล้อต้นแบบที่ได้จากการพัฒนาตามหลักวิศวกรรมย้อนรอย (ก) ดุมล้อวีล
แชร์แบบมาตรฐาน และ (ข) ดุมล้อวีลแชร์ทดแรงติดตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่

ตอนที่ 2 วางแผนกระบวนการผลิตต้นแบบการสนทนากลุ่ม
การศึ ก ษาสภาพเทคโนโลยี ก ารใช้ ง าน (Focus Group) การวิเคราะห์หาสาเหตุ ของปั ญหา
ต้ น แบบใช้ แ บบสั ม ภาษณ์ แ บบกึ่ งโครงสร้ า ง (Root Cause Analysis) เป็ นการค้นหาสาเหตุ ของ
วิเคราะห์โครงสร้างเทคโนโลยีที่มีปัญหาวิเคราะห์หา ปั ญ หาหรื อความเสี่ ยงส าคั ญ ที่ เ กิ ด ขึ้ นโดยการ
ส่ วนประกอบของโครงสร้างวีลแชร์ ที่ได้จากปั ญหา วิเคราะห์หาสาเหตุ ที่แท้จริ งหรื อสาหตุ จากของการ
ของผูใ้ ช้ (Jarosz, 1996) ให้เ ห็ น ถึ ง กระบวนการ เกิ ด ปั ญหาการใช้ร ะบบขับเคลื่ อนวี ลแชร์ จากการ
ท างานและแก้ปั ญ หาโดยให้ ผู ้เ ชี่ ย วชาญด้า นการ วิเคราะห์ผลเปรี ยบเทียบดุมล้อแบบมาตรฐานและดุม
ออกแบบเฟื องที่ ผลิ ตจากทองเหลื องโดยใ ช้ ล้อ ติ ด ตั้ง เฟื องแพลนเนตตารี่ ไ ด้ด ัง ตารางต่ อ ไปนี้
กระบวนการขึ้ นรู ปทางกลเป็ นผู ้ป ระเมิ น แบบ

ตารางที่ 3 การทดสอบระบบขับเคลื่อนวีลแชร์แบบมาตรฐานเปรี ยบเทียบกับวีลแชร์ทดแรงเฟื องแพลนเนตตารี่


ประเด็นในการสั มภาษณ์ ผลจากการสั มภาษณ์ ข้ อมูลเชิงเทคนิค
1. การทดสอบในเรื่ องอัตราทด อัตราทดช่วยให้การเข็นเบาขึ้น การแก้ปัญหาในเรื่ องของอัตราทดควร
แรง อย่างชัดเจน แต่วงปั่ นมีขนาดเล็ก ใช้ระบบเฟื องมาช่วยในการทดแรง
2. การทดสอบในเรื่ องการขึ้นลง ใช้งานยากเกินไป การขึ้นลงทาง
ทางลาดชัน ลาดชันการทดแรงช่วยให้เบาขึ้น
ในการขึ้นลง
3. การทางานของชุ ดดุ มล้อช่ วย ช่ วยทดแรงได้ดีในทางตรง ที่ พ้ื น วีลแชร์ทดแรงติดตั้งเฟื องแพลนเนตตา
ทดแรงได้หรื อไม่ อย่างไร ขรุ ขระ การปรับจุดศูนย์ถ่วงมีการ รี่ ช่วยทดแรงได้ในทางตรง ทางขรุ ขระ
ใช้ได้ดี แต่เข็นยากเนื่ องจากวงปั่ น และดินทรายบดละเอียดเหมาะสมกับ
เลื่ อนไปด้า นหลัง การใช้งานไม่ สภาพที่ใช้งานในปัจจุบนั
ยุง่ ยาก
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564) 143

จากตารางที่ 3 น าข้ อ มู ล ที่ ได้ จ ากการ มากกว่า 5 – 7 ปวดระดับปานกลาง - ปวดมาก


สัมภาษณ์ผใู ้ ช้วีลแชร์ พบว่า วีลแชร์ แบบมาตรฐานยัง มากกว่า 7 – 9 ปวดมากๆ
ไม่มีการติดตั้งชุดเฟื องแพลนเนตตารี่ ไม่มีการทดแรง มากกว่า 9 – 10 ปวดมากจนไม่สามารถทนไหวมีไข้
วงปั่ นที่ ติดตั้งกับวีลแชร์ ทดแรงทาให้เข็นได้เบาขึ้ น
แต่วงปั่นมีขนาดเล็กจึงใช้งานไม่สะดวก ปั จจัย ที่ สัมพันธ์ กับ วี ลแชร์ ค วามบกพร่ อ ง
จากการสัมภาษณ์ ผูใ้ ช้วีลแชร์ จึ งเป็ นที่ ม า ทางร่ างกายและสิ่ งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการรับรู ้
ของกระบวนการออกแบบดุมล้อทดแรงติ ดตั้งเฟื อง การมีส่วนร่ วมในกิจกรรมต่าง ๆ ใน 3 สถานที่คือ ที่
แพลนเนตตารี่ ดว้ ยการทดสอบการสัมภาษณ์จากผูใ้ ช้ บ้า นชุ ม ชนและระหว่ า งการเดิ นทางของผู ท้ ี่ ไ ด้รั บ
วี ล แชร์ โ ดยใช้ แ บบประเมิ น ความเจ็ บ ปวด (Pain บาดเจ็บไขสันหลัง 7 คน ผลจากการวิจยั พบว่า วีล
Scale) แชร์เป็ นข้อจากัดมากที่สุดในการมีส่วนร่ วมทั้งที่บา้ น
0 – 1 ไม่ปวดเลย ในชุ มชน และระหว่างการเดินทาง (Chapalk and
มากกว่า 1 – 3 ปวดนิดหน่อย Kylie, 2012)
มากกว่า 3 – 5 ปวดระดับปานกลาง

ตารางที่ 4 ผลการเปรี ยบเทียบระบบขับเคลื่อนวีลแชร์แบบมาตรฐานและวีลแชร์ติดตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่ ทดแรง


ลักษณะของวีลแชร์ นา้ หนักใน นา้ หนักในการเข็น นา้ หนักในการเข็น นา้ หนักในการ
การเข็น วีลแชร์ ในสภาพ วีลแชร์ ในทางลาด เข็นวีลแชร์ ใน
อัตราทดแรง พื้นผิวขรุ ขระ ขึน้ พื้นดินปนทราย
(ค่ าเฉลีย่ ) (ค่ าเฉลีย่ ) (ค่ าเฉลีย่ ) (ค่ าเฉลีย่ )
วีลแชร์ดุมล้อแบบมาตรฐาน 7 6 8 7
วีลแชร์ ติดตั้งเฟื องแพลนเนต 3 2 4 3
ตารี่ ทดแรง

จากตารางที่ 4 ผลการทดลองใช้กบั กลุ่ ม ทางลาดชันผูพ้ ิการควบคุมการไหลลงของวีลแชร์ ได้


ตัวอย่างที่ใช้วีลแชร์ในชีวิตประจาวัน โดยประเมินผล ง่ายกว่าวีลแชร์แบบมาตรฐาน ซึ่ งสอดคล้องกับระบบ
ความพึ งพอใจและประเมิ นความเจ็บปวด โดยการ การเปลี่ ย นเกี ย ร์ อ ัต โนมัติ ส าหรั บ วี ล แชร์ โดยการ
เปรี ยบเทียบวีลแชร์ แบบมาตรฐานกับวีลแชร์ ทดแรง พัฒนาระบบเกียร์ อตั โนมัติ (AGS : Automatic Gear-
จานวน 50 คน พบว่า จากการเปรี ยบเที ยบผล การ Shift) สาหรับรถเข็นคนพิการด้วยตนเองระบบ AGS
เปรี ย บเที ย บดุ ม ล้อ วี ลแชร์ มาตรฐานกับ ดุ มวี ลแชร์ มีความเร็ ว 3 ระดับ ระดับที่ 1 เกี ยร์ หนึ่ งสาหรับทาง
ติ ด ตั้งเฟื องแพลนเนตตารี่ ทดแรง โดยเปรี ย บเที ย บ ลาดขึ้นหรื อทางลาดลง ระดับที่ 2 เกี ยร์ สองแบบเดิ ม
ด้านอัตราทดพบว่า ดุมล้อวีลแชร์ ทดแรงให้น้ าหนัก สาหรับใช้งานในชีวิตประจาวันและระดับที่ 3 เกียร์ ที่
เบากว่า ซึ่ งเฟื องแพลนเนตตารี่ ช่วยให้อตั ราทดในการ สามเพื่อการยศาสตร์ ที่ดีข้ ึนในระหว่างการขับขี่อย่าง
เข็นเบาขึ้ น ในการเข็นวีลแชร์ ข้ ึนทางลาดชันผูพ้ ิการ รวดเร็ วระบบ AGS จัดเป็ นชุดเสริ มสาหรับล้อวีลแชร์
ใช้แรงน้อยกว่าวีลแชร์ มาตรฐาน การเข็นวีลแชร์ ลง 2 ล้ อ หลั ง ใช้ อุ ป กรณ์ อิ เล็ ก ทรอนิ กส์ ส าหรั บ
144 วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564)

เปลี่ ย นเกี ย ร์ ลดความตึ ง เครี ยดของกล้า มเนื้ อ ลด เข็นขึ้นทางลาดชัน ใช้กาลังในการเข็นมาก (Daigle et


อาการปวดแขนและไหล่เมื่อใช้เป็ นเวลานาน ในการ al., 2012)

ภาพที่ 4 วีลแชร์ที่ติดตั้งดุมล้อทดแรง

สรุป
การพัฒ นาชุ ด ติ ด ตั้ง เฟื องแพลนเนตตารี่ กิตติกรรมประกาศ
สาหรับดุมล้อวีลแชร์ ตามหลักวิศวกรรมย้อนรอยเป็ น งานวิจยั นี้ ได้รับการสนับสนุนข้อมูลผูพ้ ิการ
ผลการศึกษาจากกระบวนการขับเคลื่อนวีลแชร์ ที่ ใ ช้ วี ล แ ช ร์ จ า ก มู ล นิ ธิ เ ม า ไ ม่ ขั บ จั ง ห วั ด
1. จากการใช้ง านดุ ม ล้อ วี ล แชร์ ทดแรง นครศรี ธรรมราชให้ค วามร่ วมมื อในการเก็บข้อมู ล
ต้นแบบช่ วยให้คนพิ การเข็นได้เบากว่าวีลแชร์ แบบ และร่ วมทดลองในการใช้ ดุ ม ล้อ ทดแรงต้น แบบ
มาตรฐานลดอาการปวดเมื่ อ ยบริ เ วณแขนจากการ ผูว้ ิ จัย ได้ผ่า นการฝึ กอบรมเชิ ง ปฏิ บ ัติ การหลักสู ต ร
ขับเคลื่อนทางขรุ ขระ หลัก จริ ยธรรมการวิ จัย และปกป้ อ งผู ้รั บ การวิ จัย
2. ลดอาการปวดเมื่ อยแขนและไหล่ในการ (Ethical Principles and Human Subject Protection
เข็นขึ้นทางลาดชันเมื่อใช้กบั วีลแชร์ ที่ไม่ได้ติดตั้งชุ ด Course)
ดุมล้อในระยะทางที่เท่ากัน
3. การเข็ น วี ล แชร์ ล งทางลาดชัน ผู ้พิ ก าร เอกสารอ้างอิง
ควบคุมความเร็ วในการไหลลงของวีลแชร์ ได้มนั่ คง Carvarella, M., Demelio, G. and Ciavarella, M.
กว่าวีลแชร์แบบมาตรฐาน 1999. Numerical method for the
แนวคิ ด ในการพัฒนาโดยใช้กระบวนการ optimization of specific sliding, stress
ทางวิ ศ วกรรมย้ อ นรอยที่ เ น้ น ผู ้ ใ ช้ วี ล แชร์ เป็ น concentration and fatigue life of gears.
ศู นย์กลางออกแบบพัฒนากลไกเพื่ อ ช่ วยในการทด International Journal of Fatigue 21: 465-
แรงและสร้างนวัตนกรรมต้นแบบตามความต้องการ 474.
ของผู ใ้ ช้ต รวจสอบความสอดคล้องและเหมาะสม Chapal, K., Kylie, M. and World Health
พร้อมกับปรับปรุ งนวัตกรรมให้สอดคล้องกับผูใ้ ช้วีล Organization. 2012. Wheelchair service
แชร์ ตามข้อกาหนดของผูใ้ ช้วีลแชร์ และผูเ้ ชี่ ยวชาญ training package: basic level. World
ด้านวิศวกรรมก่อนนาไปทดลองใช้ Health Organization. Available Source:
วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชยั 13(1) : 136-145 (2564) 145

https://apps.who.int/iris/handle/10665/7823 Rodkwan, S., Rianmora, S., Chianrabutra, S. and


6, March 27, 2019. Pungyont, J. 2003. An Investigation of
Daigle, S.C., Hsiao-Wecksler, E.T. and Sosnoff, J.J. CAD Model Development with Reverse
2012. An evaluation of an automatic gear- Engineering Technique Using the 3D Laser
shifting system for manual wheelchairs. Scanner, pp. 88-89. In the 3rd PSU-
Journal of Medical Devices, Engineering Conference (PEC-3).
Transactions of the ASME 6(1): 9-10. Faculty of Engineering, Prince of Sonkla
Jarosz, E. 1996. Determination of Workspace of University, Songkhla. (in Thai)
Wheelchair Users. International Journal Tossaporn, S. 2016. Reverse Engineering for The
of Industrial Ergonomics 17(1): 123-133. Construction of Radio Communication
Petrozzdo, D.P. and Stepper, J.C. 2013. Successful Towers. Co-operative education, Bachelor
Reengineering. Thomson Publishing U.S., of Engineering Program in Mechanical
New York. Engineering, Siam University. (in Thai)

You might also like