You are on page 1of 82

เฉ

เคร�่องมือวัดและประเมินผลนักเร�ยน
ตามตัวชี้วัดเปนรายบุุคคล
ลย

แบบวัด
ภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ม.3
และบันทึกผลการเรียนรู
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

เฉลย
100%

70%

50%

แบบวัดฯ
เครือ
่ งมือวัดและประเมินผล
นักเรียนรายบุคคล

ครบทุกตัวชี้วัด
ตามหลักสูตรแกนกลาง ’51
รองรับการประเมิน
คุณภาพผู้เรียนจาก สมศ.

อำนวยความสะดวกให้
นักเรียนและครูผู้สอน

ประนอม พงษเผือก จินตนา วีรเกียรติสนุ ทร


แบบวัด
และบันทึกผลการเรียนรู้
เศรษฐศาสตร์ ม.๓
ตามมาตรฐานตัวชีว้ ดั กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑

นครรัฐ โชติพรม
วรรัตน์ วรรณเลิศลักษณ์
วัธนีย์วรรณ อุราสุข
สุรภา กรุดอินทร์
ไชยพศ โล่ดำ�ำรงรัตน์

คณะบรรณาธิการและผู้ตรวจ ฉบับ
จิราภรณ์ นวลมี เฉลย
สุพัตรา เอ่าซุ่น
ทัศนีย์ สายันห์กุลดิลก
ศมา เอี่ยมประดิษฐ์ภัณ

พิิมพ์์ครั้้�งที่่� ๗
๑๒
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินค้า ๒๓๔๓๑๗๐
๒๓๓๓๑๙๒

ชื่อ ........................................................................................................................................................................................................ ชั้น ................................................................................. เลขที่ ...................................................................


¤íÒªÕáé ¨§

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดไว


เปนกรอบและทิศทางในการกําหนดเนือ้ หา ทักษะ กระบวนการเรียนรู กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมิน
ผลการเรียนรูของผูเรียนวามีระดับความรู ความสามารถ และมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมตามที่กําหนดไวใน
มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูตางๆ มากนอยเพียงใดรวมถึงพัฒนาการดานสมรรถนะ
สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามเปาหมายที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางฯ ดวย
มาตรฐานการเรียนรูจ งึ เปนเปาหมายสําคัญในการพัฒนาผูเ รียนใหมคี วามรูค วามสามารถ ครอบคลุม ๘
สาระการเรียนรู สวนตัวชี้วัดจะระบุสิ่งที่ผูเรียนตองรูและปฏิบัติได รวมถึงคุณลักษณะ ที่ตองเกิดขึ้นกับผูเรียน
ในแตละระดับชัน้ สถานศึกษาและผูส อนจึงตองนําตัวชีว้ ดั ไปจัดทําหนวยการเรียนรู จัดกระบวนการเรียนรู และ
กิจกรรมการเรียนการสอน รวมถึงกําหนดเกณฑสาํ คัญทีจ่ ะใชสาํ หรับประเมินผลผูเ รียน เพือ่ ตรวจสอบคุณภาพ
ผูเ รียนแตละคน พรอมทัง้ จัดทําหลักฐานรายงานผลการเรียน และพัฒนาการดานตางๆ ของผูเ รียนเปนรายบุคคล
การจัดทําแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรูของผูเรียนเปนรายบุคคลฉบับนี้ จึงมีวัตถุประสงคสําคัญ
เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูสอน ในการนํากิจกรรมและเครื่องมือที่ออกแบบไวนี้ไปประยุกตใชเปนเครื่องมือ
ฉบับ วัดผลเพื่อตรวจสอบผลการเรียนรูที่เกิดขึ้นกับผูเรียน จะไดนําผลการวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียนแตละคน
เฉลย จนเต็มศักยภาพตามเปาหมายของหลักสูตร
ทัง้ นีก้ ารวัดผลประเมินผลระดับชัน้ เรียน จัดเปนภาระงานสําคัญทีส่ ดุ ในกระบวนการวัดผลประเมินผล
ของผูสอน เพราะตองการวัดความรู ทักษะ และความสามารถที่เกิดกับผูเรียนทุกคน ผูสอนจะไดนําผลการวัด
เหลานัน้ ไปวางแผนจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความสามารถของผูเ รียนเปนรายบุคคล รายกลุม และ
หรือรายหองเรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหไดตามเกณฑประกันคุณภาพการศึกษาทีส่ ถานศึกษา
แตละแหงกําหนดไว
ดังนัน้ การประเมินผลผูเรียนจึงจําเปนตองใชเครื่องมือวัดผลที่มีคุณภาพ ซึ่งผูสอนตองสรางหรือ
เลือกใชเครื่องมือวัดผลที่มีคุณภาพสอดคลองกับตัวชี้วัด เพื่อนําผลการวัดมาใชตัดสินผลการเรียนของ
ผูเรียนไดอยางมั่นใจวา ระดับผลการเรียนที่ตัดสินนั้นสอดคลองกับระดับความรูความสามารถที่เกิดขึ้นจริง
ของผูเรียนแตละคน ซึ่งมีคาความเที่ยงตรงและคาความเชื่อมั่นสูง แสดงใหเห็นถึงความสามารถของผูสอน
ในดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และดานการจัดระบบประกันคุณภาพผูเรียนที่สามารถ
ตรวจสอบและรายงานผลแกผูปกครองนักเรียนได
แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรูของผูเรียนฉบับนี้ จึงเปนประโยชนตอผูสอนและผูเรียนที่จะใช
วางแผนการประเมิ น ผลการเรี ย นรู  ร  ว มกั น เพื่ อ นํ า ไปสู  การพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู  เ รี ย นตามเป า หมายของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ทุกประการ
คณะผูจัดทํา
ÊÒúÑÞ
µÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ (ñ)
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ¡Åä¡ÃÒ¤Òã¹ÃкºàÈÃÉ°¡Ô¨ ñ
 ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ñ
 ¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ó.ñ Á.ó/ñ) ó
 Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ñò
 ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ñô

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò àÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§¡Ñº¡ÒþѲ¹Ò»ÃÐà·È ñõ
 ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ñõ
 ¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ó.ñ Á.ó/ò-ó) ñ÷
 Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò òö
 ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ òø

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó º·ºÒ·¢Í§ÃÑ°ºÒÅ㹡ÒþѲ¹Ò»ÃÐà·È òù
 ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ òù
 ¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ó.ò Á.ó/ñ-ò, ô-õ) óð
 Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó óø
 ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ôð ฉบับ
เฉลย
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ô ¡ÒäŒÒáÅСÒÃŧ·Ø¹ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ôñ
 ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ôñ
 ¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ó.ò Á.ó/ö) ôó
 Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ô õô
 ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ õö

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè õ ¡ÒÃÃÇÁ¡ÅØ‹Á·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È õ÷
 ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ õ÷
 ¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (Ê ó.ò Á.ó/ó) õù
 Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè õ öõ
 ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ö÷

Ẻ·´Êͺ»ÃÐàÁÔ¹¼ÅÊÑÁÄ·¸Ôì·Ò§¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШíÒÇÔªÒ öø
µÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕÇé ´
Ñ ªÑ¹
é »‚
หนวย มาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผล สรุปผล
ที่ การ การประเมิน
เรียนรู ระดับคุณภาพ
วิธีการ เครื่องมือ ตามตัวชีว้ ดั
ประเมิน ประเมินผล ชัน้ ปของ
หนวยการเรียนรู
๑ มฐ. ๑. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ ตรวจ ก. ๑.๑ ● ก. ๑.๑ อธิบายความสัมพันธของตลาด
ส ๓.๑ ประเภทตางๆ
ตรวจ ก. ๑.๒ ● ก. ๑.๒ อธิบายลักษณะสําคัญของ
ตลาดแขงขันสมบูรณ
ตรวจ ก. ๑.๓ ● ก. ๑.๓ วิเคราะหขอดี-ขอเสียของ
ตลาดแขงขันสมบูรณ
ตรวจ ก. ๑.๔ ● ก. ๑.๔ วิเคราะหลักษณะสําคัญของ
ตลาดแขงขันไมสมบูรณ
ตรวจ ก. ๑.๕ ● ก. ๑.๕ วิเคราะหขอดี-ขอเสียของ ส ๓.๑ ม.๓/๑
ตลาดแขงขันไมสมบูรณ

ฉบับ
ตรวจ ก. ๑.๖ ● ก. ๑.๖ เปรียบเทียบตลาดแขงขัน
สมบูรณและตลาดแขงขันไมสมบูรณ ❏
ตรวจ ก. ๑.๗ ก. ๑.๗ วิเคราะหปจ จัยทีก่ อ ใหเกิดการ
เฉลย ●

ผูกขาดในตลาดประเภทตางๆ
ตรวจ ก. ๑.๘ ● ก. ๑.๘ วิเคราะหเกี่ยวกับอุปสงค
อุปทาน และราคาดุลยภาพ
ตรวจ ก. ๑.๙ ● ก. ๑.๙ ตอบคําถามเกี่ยวกับอุปสงค
และอุปทาน
ตรวจ ก. ๑.๑๐ ● ก. ๑.๑๐ วิเคราะหการเปลี่ยนแปลง
ระดับอุปสงคและอุปทานจากตาราง
๒ มฐ. ๒. มีสว นรวมในการแกไขปญหาและพัฒนา ตรวจ ก. ๒.๑ ● ก. ๒.๑ วิเคราะหปญหาทองถิ่นไทย
ส ๓.๑ ทองถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ ในปจจุบัน
พอเพียง
ตรวจ ก. ๒.๒ ● ก. ๒.๒ วิเคราะหปญ หาทองถิน่ ของ
ตนเอง โดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
ตรวจ ก. ๒.๓ ● ก. ๒.๓ สํารวจปญหาทองถิ่นของ
ตนเองทางดานสังคม เศรษฐกิจ และ
สิ่งแวดลอม
ส ๓.๑ ม.๓/๒-๓
ตรวจ ก. ๒.๔ ก. ๒.๔ วิเคราะหลักษณะชุมชน

เขมแข็ง
ตรวจ ก. ๒.๕ ● ก. ๒.๕ เสนอแนะแนวทางการสราง
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชุมชน
ตรวจ ก. ๒.๖ ● ก. ๒.๖ วิ เ คราะห เ ป า หมายของ
การพัฒนาทองถิ่นตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
ตรวจ ก. ๒.๗ ● ก. ๒.๗ บอกคุณลักษณะของคนใน
ทองถิ่นที่ปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง
* ก. หมายถึง กิจกรรมตามตัวชี้วัด
(๑)
หนวย มาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผล สรุปผล
ที่ การ การประเมิน
เรียนรู ระดับคุณภาพ
วิธีการ เครื่องมือ ตามตัวชีว้ ดั
ประเมิน ประเมินผล ชัน้ ปของ
หนวยการเรียนรู
๓. วิเคราะหความสัมพันธระหวางแนวคิด ตรวจ ก. ๒.๘ ● ก. ๒.๘ อธิบายลักษณะความพอดีตาม
เศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตรวจ ก. ๒.๙ ● ก. ๒.๙ อธิบายการนําแนวคิดปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการพัฒนา
ในระดับตางๆ ส ๓.๑ ม.๓/๒-๓
ตรวจ ก. ๒.๑๐
ตรวจ ก. ๒.๑๑


ก. ๒.๑๐ ตอบคําถามเกี่ยวกับสหกรณ
ก. ๒.๑๑ บอกประเภทของสหกรณ

ตรวจ ก. ๒.๑๒ ● ก. ๒.๑๒ วิเคราะหความสัมพันธระหวาง
แนวคิ ด ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
กับหลักการสหกรณในการพัฒนาชุมชน
๓ มฐ. ๑. อธิบายบทบาทหนาทีข่ องรัฐบาลในระบบ ตรวจ ก. ๓.๑ ● ก. ๓.๑ อธิบายบทบาทหนาที่ของ
ส ๓.๒ เศรษฐกิจ รัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
ตรวจ ก. ๓.๒ ● ก. ๓.๒ ตอบคําถามเกี่ยวกับแนวทาง ฉบับ
การแกปญหาของรัฐบาล เฉลย
๒. แสดงความคิ ด เห็ น ต อ นโยบายและ ตรวจ ก. ๓.๓ ● ก. ๓.๓ วิเคราะหการดําเนินกิจกรรม
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีตอ ทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
บุคคล กลุมคน และประเทศชาติ ส ๓.๒ ม.๓/๑-๒,
ตรวจ ก. ๓.๔ ● ก. ๓.๔ วิเคราะหนโยบายทางเศรษฐกิจ
ของรัฐบาล ๔-๕
๔. อภิปรายผลกระทบทีเ่ กิดจากภาวะเงินเฟอ ตรวจ ก. ๓.๕
เงินฝด
ตรวจ ก. ๓.๖


ก. ๓.๕ วิเคราะหเกีย่ วกับภาวะเงินเฟอ
และเงินฝด
ก. ๓.๖ วิเคราะหปญ หาและผลกระทบ

จากภาวะเงินเฟอ และเงินฝด
ตรวจ ก. ๓.๗ ● ก. ๓.๗ บอกวิธีการแกปญหาภาวะ
เงินเฟอและเงินฝดของรัฐบาล
๕. วิเคราะหผลเสียจากการวางงาน ตรวจ ก. ๓.๘ ● ก. ๓.๘ วิเคราะหปญหาการวางงาน
และแนวทางแกปญหา และแนวทางการแกปญหา
๔ มฐ. ๖. วิเคราะหสาเหตุและวิธีการกีดกันทาง ตรวจ ก. ๔.๑ ● ก. ๔.๑ ตอบคําถามเกี่ยวกับการคา
ส ๓.๒ การคาในการคาระหวางประเทศ และการลงทุนระหวางประเทศ
ตรวจ ก. ๔.๒ ● ก. ๔.๒ บอกลักษณะเศรษฐกิจของ
ประเทศตางๆ
ตรวจ ก. ๔.๓ ● ก. ๔.๓ วิเคราะหการคาของไทยจาก ส ๓.๒ ม.๓/๖
ตารางสถิติ
ตรวจ ก. ๔.๔ ● ก. ๔.๔ ตอบคําถามเกี่ยวกับการคา
ของไทย ❏
ตรวจ ก. ๔.๕ ● ก. ๔.๕ วิเคราะหขอดี ขอเสียของการ
คาระหวางประเทศของไทย
ตรวจ ก. ๔.๖ ● ก. ๔.๖ อธิบายเกี่ยวกับการลงทุน
ทางตรงและทางออม

(๒)
หนวย มาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผล สรุปผล
ที่ การ การประเมิน
เรียนรู ระดับคุณภาพ
วิธีการ เครื่องมือ ตามตัวชีว้ ดั
ประเมิน ประเมินผล ชัน้ ปของ
หนวยการเรียนรู
ตรวจ ก. ๔.๗ ก. ๔.๗ ยกตัวอยางธุรกิจตางชาติที่

เขามาลงทุนในประเทศไทย
ตรวจ ก. ๔.๘ ก. ๔.๘ วิเคราะหสาเหตุของการกีดกัน

ทางการคา
ตรวจ ก. ๔.๙ ก. ๔.๙ วิเคราะหวิธีการกีดกันทาง

การคา
ตรวจ ก. ๔.๑๐ ก. ๔.๑๐ วิเคราะหผลจากมาตรการ

กีดกันทางการคา
ตรวจ ก. ๔.๑๑ ก. ๔.๑๑ ตอบคําถามเกี่ยวกับการคา

ระหวางประเทศ
๕ มฐ. ๓. อภิ ป รายบทบาทความสํ า คั ญ ของการ ตรวจ ก. ๕.๑ ● ก. ๕.๑ ตอบคําถามเกี่ยวกับการรวม
ส ๓.๒ รวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ กลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ
ฉบับ ตรวจ ก. ๕.๒ ● ก. ๕.๒ บอกความสําคัญของการรวม
เฉลย กลุมทางเศรษฐกิจ
ตรวจ ก. ๕.๓ ● ก. ๕.๓ อธิบายลักษณะสําคัญของการ
รวมกลุมทางเศรษฐกิจ
ส ๓.๒ ม.๓/๓
ตรวจ ก. ๕.๔ ก. ๕.๔ อธิบายเกีย่ วกับกลุม เศรษฐกิจ

ที่สําคัญ
ตรวจ ก. ๕.๕ ● ก. ๕.๕ อธิบายบทบาทหนาที่ของ
องคกรหรือกลุมทางเศรษฐกิจ
ตรวจ ก. ๕.๖ ● ก. ๕.๖ บอกลักษณะสําคัญขององคกร
ระหวางประเทศ
ตรวจ ก. ๕.๗ ● ก. ๕.๗ สืบคนขอมูลการรวมกลุมทาง
เศรษฐกิจหรือองคกรระหวางประเทศ

หมายเหตุ : ๑. ใหผูสอนประเมินผลระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของหนวยการเรียนรู โดยนํา


คะแนนรวมทั้งหมดของทุกกิจกรรมตามตัวชี้วัดในแบบบันทึกการประเมินของแตละ
หนวยการเรียนรูมาเปรียบเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพของตัวชี้วัดตามหนวย
การเรียนรูแตละหนวย
๒. ใหผูสอนนําผลการประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของแตละหนวยการเรียนรู
มาสรุปในตาราง โดยใสหมายเลขระดับคะแนน ๑ - ๔ (๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = พอใช
๑ = ปรับปรุง) ลงในชอง ❏ ตามระดับคุณภาพ

(๓)
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๑ ¡Åä¡ÃÒ¤Òã¹ÃкºàÈÃÉ°¡Ô¨

ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีหรือแบบทุนนิยม ราคาสินคาและบริการถูกกําหนด
โดยอุปสงค คือ ปริมาณความตองการซือ้ สินคาของผูบ ริโภค และอุปทาน คือ ปริมาณความตองการ
ขายสินคาของผูผลิต หรือที่เรียกวา กลไกราคา การเรียนรูเกี่ยวกับกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ
จะชวยในการตัดสินใจเลือกซื้อสินคาของผูบริโภค และสามารถวางแผนในการผลิตสินคาของ
ผูผลิตในแตละชวงเวลาได ทําใหเปนผูบริโภคที่ชาญฉลาดและเปนผูผลิตที่สามารถวิเคราะห
ความเปนไปของภาวะเศรษฐกิจ
กิจกรรมฝกทักษะ

กิจกรรมที่ ๑ ใหนักเรียนดูภาพการจัดงานแสดงสินคา ใหวิเคราะหความตองการบริโภค


ของประชาชนและความตองการผลิตสินคาของผูประกอบการ
ฉบับ
เฉลย

กลุมคนที่ไปงานแสดงรถยนต คือ คนที่ตองการซื้อรถยนตและกลุม


๑. ความตองการซื้อสินคา ……………………………………………………………………………………………………………………………………..
ผูที่ใหความสนใจ ชื่นชอบแตอาจซื้อหรือไมซื้อก็ได แตการจัดงานดังกลาวทําใหมียอดซื้อรถยนต
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เพิ่มมากขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ทําใหผูประกอบการสามารถขายรถยนตไดมากขึ้น ทําใหมีการผลิตสินคา
๒. ความตองการผลิตสินคา …………………………………………………………………………………………………………………………………..
เพิ่มมากขึ้น เพื่อสนองตอบความตองการของลูกคา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

กิจกรรมที่ ๒ ใหนักเรียนอานขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามใหถูกตอง

ในชวงเดือนมีนาคม-เมษายน มะนาวจะ
มีราคาแพง ทําใหผูบริโภคตองซื้อมะนาว
ในราคาแพง

๑. ทําไมมะนาวจึงมีราคาแพงในชวงเดือน มีนาคม-เมษายน
เพราะเปนหนารอน มะนาวไมคอ ยติดผล ทําใหชาวสวนผลิตมะนาวไดนอ ย ในขณะทีค่ วามตองการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
บริ โภคมะนาวเทาเดิมหรือเพิ่มขึ้น ทําใหมะนาวมีราคาแพง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. ในชวงใดที่ผูบริโภคสามารถบริโภคมะนาวในราคาถูก เพราะเหตุใด
มะนาวจะมี ราคาแพงมากในชวงฤดูรอน สวนเดือนอื่นๆ ราคาจะอยูในภาวะปกติและในบางชวง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ราคาจะถู กมาก
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ฉบับ
เฉลย
ในชวงใกลเปดเทอมใหญ หางสรรพสินคา
ตางพากันจัดรายการ Back to school
นําเสื้อผากระเปา รองเทา มาจัดรายการ
ลดราคา

๑. ทําไมผูประกอบการจึงมีการจัดรายการสงเสริมการขายในชวงใกลเปดเทอมใหญ ในปลาย
เดือนเมษายน - ตนเดือนพฤษภาคม
เพราะในชวงนี้มีผูบริโภคซึ่งเปนนักเรียน ผูปกครอง มีความตองการอุปกรณนักเรียนเพื่อใชใน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เทอมใหม ทําใหความตองการสินคาสูง ผูประกอบการจึงใชโอกาสนี้ในการเพิ่มการผลิตและลด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ราคาสินคาเพื่อดึงดูดผูบริโภค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๒. ในชวงเดือนอื่นๆ สินคาอุปกรณนักเรียนจะมีราคาเปนอยางไร และมีสินคาใหเลือกมาก


เหมือนในชวงใกลเปดเทอมหรือไม
ราคาตามทองตลาดทั่วไป แตรายการสงเสริมการขายจะไมมี เพราะความตองการของผูบริโภค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
มีนอย สวนสินคาจะมีไมมากเหมือนชวงใกลเปดเทอม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนักเรียนเติมขอความที่แสดงถึงความสัมพันธของตลาด ñð
ประเภทตางๆ ลงในชองวางใหถูกตอง (ส ๓.๑ ม.๓/๑)

ชื่อตลาด ลักษณะสําคัญ ตัวอยางสินคาที่ทําการซื้อ-ขาย


๑. ตลาดสินคาเกษตร ทํ……………………………………………………………..
าการซือ้ ขายสินคาเกษตรเปนหลัก ผั……………………………………………………………..
ก ผลไม ขาว เนื้อสัตว
…………………………………………………………….. ……………………………………………………………..

๒. ตลาดสินคาผูผลิต ผู……………………………………………………………..
ซื้อนําไปใชในกระบวนการผลิต ผลผลิ ต ทางการเกษตรเพื่ อ ป อ น
……………………………………………………………..
อี……………………………………………………………..
กทอดหนึง่ โรงงานอุ
ตสาหกรรม
……………………………………………………………..

๓. ตลาดสินคา ผู……………………………………………………………..
บ ริโภคซือ้ สินคาไปบริโภคโดยตรง เสื
อ้ ผา อาหาร ของใชในชีวติ ประจําวัน
……………………………………………………………..
ผูบริโภค …………………………………………………………….. ……………………………………………………………..

๔. ตลาดขายสง าการซือ้ ขายจํานวนครัง้ ละมากๆ เพือ่ ขายสงใหกบั เสื


ทํ…………………………………………………………….. ้อผา สินคาเกษตร
……………………………………………………………..
พ……………………………………………………………..
อคาระดับรองลงไปเพือ่ นําไปขายใหกบั ผูข ายปลีก …………………………………………………………….. ฉบับ
เฉลย
๕. ตลาดขายปลีก ทํ……………………………………………………………..
าการซื้อขายสินคาใหกับผูบริโภค สบู  ยาสีฟน เสื้อผา
……………………………………………………………..
โดยตรง ซือ้ ขายในจํานวนไมมากนัก ……………………………………………………………..
……………………………………………………………..

๖. ตลาดสินคา ทํ……………………………………………………………..
าการซื้อขายสินคาอุตสาหกรรม เครื ่องจักร เครื่องยนต
……………………………………………………………..
อุตสาหกรรม …………………………………………………………….. ……………………………………………………………..

๗. ตลาดบริการ ทํ……………………………………………………………..
าการซือ้ ขายดานบริการตางๆ เชน บริ การขนสงสินคาตางๆ
……………………………………………………………..
การขนส ง ทองเที่ยว ประกันภัย ขายประกั
…………………………………………………………….. นภัย
……………………………………………………………..

๘. ตลาดหุน ทํ……………………………………………………………..
าการซือ้ ขายหุน ในตลาดหลักทรัพย หุ……………………………………………………………..
น
…………………………………………………………….. ……………………………………………………………..

๙. ตลาดทุน าการระดมทุนและใหกยู มื ระยะยาว เงิ……………………………………………………………..


ทํ…………………………………………………………….. นทุนของธนาคาร
เกิ น ๑ ป
…………………………………………………………….. ……………………………………………………………..

๑๐. ตลาดปจจัย  ซื้ อ สิ น ค า นํ า ไปใช ใ นการผลิ ต นํ……………………………………………………………..


ผู…………………………………………………………….. ้ามัน เครื่องจักร
การผลิต อี……………………………………………………………..
กทอดหนึง่ มักอยูใ นรูปของวัตถุดบิ ……………………………………………………………..


คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๒ ใหนักเรียนเติมขอความลักษณะสําคัญของตลาดแขงขัน õ
สมบูรณใหถูกตอง (ส ๓.๑ ม.๓/๑)

ผูซื้อ-ผูขาย ลักษณะของสินคา
๑. ผูซ อื้ -ผูข ายมีจาํ นวนมากจนไมมอี ทิ ธิพลเหนือ
……………………………………………………………………………………. ๑. สินคามีคณ
ุ ภาพใกลเคียงกัน ราคามีอทิ ธิพล
…………………………………………………………………………………….
ราคา
………………………………………………………………………………….. ตอสินคา
…………………………………………………………………………………..
๒. ผูซื้อ-ผูขายมีความรอบรูในสถานการณของ
……………………………………………………………………………………. ๒. ผูผลิตสามารถเขามาขายหรือออกจากตลาด
…………………………………………………………………………………….
ตลาดเปนอยางดี
………………………………………………………………………………….. ไดโดยเสรี
…………………………………………………………………………………..
๓. ผู  ข ายสามารถย า ยสิ น ค า ไปขายยั ง ที่ ต  า งๆ
……………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………….
ได โ ดยสะดวก โดยไม เ สี ย ค า ใช จ  า ยมาก
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
จนมีผลตอระดับราคาสินคา
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนักเรียนวิเคราะหขอดี ขอเสีย ของตลาดแขงขันสมบูรณ õ
ฉบับ
เฉลย แลวเติมขอความลงในชองวางใหถูกตอง (ส ๓.๑ ม.๓/๑)

ขอดี ขอเสีย
๑. ผูผ ลิตทําการผลิตสินคาไดอยางมีประสิทธิภาพ
……………………………………………………………………………………. ๑. เปนตลาดที่ไมสามารถเกิดขึ้นไดตามสภาพ
…………………………………………………………………………………….
เพื่อใหตนทุนตํ่าที่สุด
………………………………………………………………………………….. ความเปนจริง เปนเพียงตลาดในอุดมคติ
…………………………………………………………………………………..
๒. ผูบ ริโภคจะไดรบั ความพึงพอใจสูงสุดในการ
……………………………………………………………………………………. เนื่องจากผูขายหรือผูซื้อบางคนขาดความรู
…………………………………………………………………………………….
เลือกซื้อสินคาและบริการ
………………………………………………………………………………….. ในภาวะตลาด
…………………………………………………………………………………..
๓. ผูบริโภคสามารถเลือกซื้อสินคาและบริการ
……………………………………………………………………………………. ๒. ตองใชทรัพยากรในการผลิตมาก เนื่องจาก
…………………………………………………………………………………….
ในราคาที่ตํ่าที่สุด
…………………………………………………………………………………… ราคาสินคาไมสูงเกินไป ทําใหมีการบริโภค
……………………………………………………………………………………
๔. สามารถจัดสรรทรัพยากรไดอยาง
…………………………………………………………………………………… อยางฟุมเฟอย จึงใชทรัพยากรจํานวนมาก
……………………………………………………………………………………
มีประสิทธิภาพ
…………………………………………………………………………………… ๓. ไมมีการแขงขันระหวางผูผลิตอยางแทจริง
……………………………………………………………………………………
๕. ผูผ ลิตมีการปรับปรุงการผลิตอยางสมํา่ เสมอ
…………………………………………………………………………………… เนื่องจากผูผลิตแตละรายมีความสามารถใน
……………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………… การแขงขันเพื่อลดตนทุนไดไมเทากันทําให
……………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………… ธุรกิจขนาดเล็กเสียเปรียบ ในที่สุดก็จะไมมี


……………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………… การแขงขันระหวางผูผลิตอยางแทจริง
……………………………………………………………………………………


คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
กิจกรรมที่ ๑.๔ ให้นักเรียนวิเคราะห์ลักษณะสำ�ำคัญของตลาดแข่งขัน ๕
ไม่สมบูรณ์ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (ส ๓.๑ ม.๓/๑)
ผู้ซื้อ ผู้ขาย
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ตลาดที่ผู้ซื้อมีลักษณะกึ่งผูกขาด
มี.................................................................................................
ผู้ ซื้ อ และผู ้ ข ายจำ� ำ นวนมาก มี อิ ส ระในการ มีผู้ซื้อจำ�ำนวนมาก แต่ผู้ซื้อพอใจซื้อสินค้าของ
.................................................................................................
ซื...............................................................................................
้ อ ขาย สิ น ค้ า ชนิ ด เดี ย วกั น มี ใ ห้ เ ลื อ กหลาย ผูข้ ายบางคนเท่านัน้ ทำ�ำให้ผซู้ อื้ มีทางทีจ่ ะควบคุม
...............................................................................................
ยี...............................................................................................
่ห้อ เป็นเหตุจูงใจในการซื้อ ราคาได้บ้าง
...............................................................................................
ตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย ตลาดที่มีผู้ซื้อน้อยราย
มี...............................................................................................
ผู้ขายไม่กี่ราย แต่ละรายขายสินค้าจำ�ำนวนมาก มีผู้ซื้อตั้งแต่ ๒ รายขึ้นไป ถ้าผู้ซื้อคนใด
...............................................................................................
ถ้.................................................................................................
าผู้ขายเปลี่ยนแปลงราคาจะส่งผลกระทบต่อ เปลี่ยนแปลงปริมาณการซื้อจะมีผลกระทบ
.................................................................................................
ผู...............................................................................................
้ผลิตรายอื่น เช่น บริษัทโรงกลั่นน้�้ำำมัน ต่อราคาตลาดและผู้ซื้อรายอื่นๆ
...............................................................................................
ตลาดผูกขาด ตลาดที่มีผู้ซื้อรายเดียว
มี................................................................................................
ผขู้ ายเพียงรายเดียว ทำ�ำให้ผขู้ ายมีอทิ ธิพลเหนือ มีผู้ซื้อเพียงรายเดียว ผู้ซื้อจึงมีอิทธิพลในการ
................................................................................................
ราคา เช่น โรงงานยาสูบ รถไฟ ไฟฟ้า ประปา
................................................................................................ กำ�ำหนดราคา เช่น โรงงานยาสูบเป็นผู้รับซื้อ
................................................................................................
................................................................................................ ใบยาสูบ
................................................................................................
ฉบับ
เฉลย
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
กิิจกรรมที่่� ๑.๕ ให้้นัักเรีียนวิิเคราะห์์ข้้อดีี-ข้้อเสีีย ของตลาดแข่่งขััน ๕
ไม่สมบูรณ์ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (ส ๓.๑ ม.๓/๑)
ข้อดี ข้อเสีย
๑. สามารถควบคุมการบริโภคและการให้สวัสดิการ
................................................................................................. ๑. การจัดสรรทรัพยากรไม่เป็นธรรม เนือ่ งจาก
.................................................................................................
เช่น กิจการที่รัฐผูกขาดซึ่งเป็นการผลิตเพื่อ
............................................................................................... ผูผ้ ลิตซือ้ ปัจจัยการผลิตทีด่ อ้ ยคุณภาพมาผลิต
...............................................................................................
ควบคุมการบริโภค เช่น สลากกินแบ่งรัฐบาล
................................................................................................. สินค้าและบริการ เพราะมีผู้ผลิตน้อยราย
.................................................................................................
๒. เป็ น ผลดี ต ่ อ การผลิ ต สิ น ค้ า พื้ น ฐานทาง
............................................................................................... หรือผู้ผลิตผูกขาดจำ�ำหน่ายสินค้าในราคาสูง
...............................................................................................
เศรษฐกิจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่ต้อง
................................................................................................. จึงเป็นการเอาเปรียบผู้บริโภค
.................................................................................................
ใช้เงินทุนมาก แต่ให้ผลตอบแทนต่�่ำำ เช่น
................................................................................................ ๒. ผู้บริโภคขาดทางเลือกในการบริโภคสินค้า
................................................................................................
ไฟฟ้า ประปา รัฐจึงต้องเข้าไปดำ�ำเนินการ
................................................................................................ ................................................................................................
เพื่อให้ประชาชนได้รับความเป็นธรรมและ
................................................................................................ ................................................................................................
บริโภคสินค้าในราคาที่เหมาะสม
................................................................................................ ................................................................................................

5
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๖ ใหนกั เรียนเปรียบเทียบตลาดแขงขันสมบูรณและตลาดแขงขัน õ
ไมสมบูรณ แลวเขียนเติมลงในชองวางใหถกู ตอง (ส ๓.๑ ม.๓/๑)
ดาน ตลาดแขงขันสมบูรณ ตลาดแขงขันไมสมบูรณ
มีมาก
…………………………………………………………….. ถ………………………………………………………………..
าเปนตลาดกึ่งแขงขันกึ่งผูกขาดมีจำนวน
จํานวนผูขาย
…………………………………………………………….. ผู……………………………………………………………….
ข ายมาก ถาเปนตลาดผูกขาด มีผขู ายรายเดียว

สินคาเหมือนกัน สามารถใชทดแทน ถ……………………………………………………………….


…………………………………………………………….. าเปนตลาดกึง่ แขงขันกึง่ ผูกขาดสินคามีความ
ลักษณะสินคาที่ขาย
กันไดอยางสมบูรณ
…………………………………………………………….. แตกต างกัน แตสามารถใชทดแทนกันได
……………………………………………………………….

ความยากงายในการ งายมาก
…………………………………………………………….. ในตลาดกึ
ง่ แขงขันกึง่ ผูกขาดผูข ายรายใหมเขาสู
……………………………………………………………….
เขาสูตลาด …………………………………………………………….. ตลาดง
าย แตถา เปนตลาดผูกขาดจะมีความยากมาก
……………………………………………………………….

สินคามีราคาเดียว มีความคงที่และ ในตลาดผู


…………………………………………………………….. กขาด ราคาสินคาขึ้นอยูกับผูผลิต
……………………………………………………………….
ราคาสินคา
ไมเปลี่ยนแปลง
…………………………………………………………….. เนื ่องจากมีผูผลิตนอยราย
……………………………………………………………….

ใชทดแทนกันได
…………………………………………………………….. ในตลาดกึ ่ ง แข ง ขั น กึ่ ง ผู ก ขาด สิ น ค า มี
……………………………………………………………….
ฉบับ คุณภาพสินคา
เฉลย …………………………………………………………….. มาตรฐานเดี
ยวกัน แตมหี ลายยีห่ อ ใหเลือกซือ้
……………………………………………………………….

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๗ ใหนักเรียนวิเคราะหปจจัยที่กอใหเกิดการผูกขาดในตลาด
ประเภทตางๆ (ส ๓.๑ ม.๓/๑) õ
ขอจํากัด โอกาสในการผูกขาด
๑. การซื้อปจจัย ผลิตหรือธุรกิจผูกขาดเปนผูควบคุมปริมาณวัตถุดิบแตเพียงผูเดียว
ผู……………………………………………………………………………………………………………………………………..
การผลิต ……………………………………………………………………………………………………………………………………..

๒. กฎหมาย เกิ ดจากขอกฎหมาย การมีลิขสิทธิ์หรือการอนุญาตแบบมีสัมปทานเฉพาะ


……………………………………………………………………………………………………………………………………..
รายธุ รกิจ ทําใหธุรกิจอื่นไมสามารถเขามาแขงขันได
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

๓. เงินทุน รกิจที่มีเงินทุนสูงสามารถขยายการลงทุนไดดีกวาธุรกิจที่มีเงินทุนนอย
ธุ……………………………………………………………………………………………………………………………………..
หรื อสามารถผลิตสินคาที่มีคุณภาพสูงกวาธุรกิจที่มีเงินทุนนอย
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

๔. เทคโนโลยี ธุ……………………………………………………………………………………………………………………………………..
รกิจทีส่ ามารถคิดคนเทคโนโลยีใหมๆ ไดสาํ เร็จหรือนําเทคโนโลยีใหมมาใช
ในการผลิ ต การประชาสัมพันธ ทําใหมีโอกาสผูกขาดการผลิตสินคานั้นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

๕. เงินทุน ธุ……………………………………………………………………………………………………………………………………..
รกิจที่มีเงินทุนสูง มีโอกาสขยายตลาด ทําการสงเสริมการขาย ทําการ
โฆษณาเพื ่อเขาถึงกลุมผูบริโภคไดดีกวาธุรกิจขนาดเล็ก
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๘ ให นั ก เรี ย นอ า นประเด็ น ศึ ก ษาที่ กํ า หนดให แ ล ว ทํ า õ
เครื่องหมาย ✓ ลงในชองวางใหถูกตองสอดคลองกับ
ขอความที่กําหนดให (ส ๓.๑ ม.๓/๑)

ราคาดุลยภาพ
ขอที่ ประเด็นศึกษา

อุปทาน
อุปสงค
๑ ปนเี้ งาะราคาถูกมาก ชาวสวนจึงลดปริมาณการขยายพืน้ ทีป่ ลูก
เงาะลง ✓
๒ ปกตินํ้าองุนขวดละ ๒๕ บาท สมใจจะซื้อวันละ ๑ ขวด แตวันนี้
ลดราคาพิเศษ จําหนาย ๒ ขวด ราคา ๓๕ บาท สมใจจึงไดซอื้ เพิม่ ✓
๓ ปนี้ฝนตกชุกกวาทุกป โรงงานผลิตรมและเสื้อกันฝนจึงเพิ่ม
ปริมาณการผลิตถึง ๑๐ เทา เนื่องจากรมและเสื้อกันฝนมีราคา ✓
สูงขึ้น ฉบับ
เฉลย
๔ แมบานนิยมซื้อปลาไปทําอาหารแทนเนื้อหมู เนื่องจากปนี้
เนื้อหมูมีราคาสูง ✓
๕ ในชวงใกลฤดูฝน สดใสไดเพิ่มกําลังการผลิตรมและเสื้อกันฝน
เพื่อใหทันขายในชวงฤดูฝนที่จะถึง ✓
๖ ระดับสินคาที่ปริมาณของอุปสงคเทากับปริมาณอุปทาน ✓
๗ ปาสมศรีผลิตมะมวงนอกฤดูจําหนายไดราคาดี เนื่องจากเปน
ที่นิยมของลูกคา ✓
๘ มะพราวนํ้าหอมของดวงใจขายดีทุกวัน เพราะลดราคาลงจาก

ลูกละ ๑๕ บาท เปน ๒ ลูก ๒๐ บาท
๙ ปริมาณสินคาและบริการที่ผูผลิตหรือผูขายพรอมที่จะผลิต
ออกขาย ณ ระดับราคาตางๆ ภายในระยะเวลาที่กําหนด ✓
๑๐ ปริมาณสินคาและบริการที่ผูบริโภคตองการซื้อสินคาในระยะ
เวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาตางๆ ของสินคาและบริการชนิดนั้น ✓

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๙ ใหนักเรียนใชหลักการของอุปสงคและอุปทานตอบคําถาม
ตอไปนี้ (ส ๓.๑ ม.๓/๑) ñð
๑. อุปสงค หมายถึงอะไร
ปริมาณสินคาและบริการทีผ่ บู ริโภคตองการซือ้ สินคาในระยะเวลาหนึง่ ณ ระดับราคาตางๆ ของสินคา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
และบริการชนิดนั้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๒. การศึกษาเกี่ยวกับอุปสงคมีเปาหมายอยางไร
เพื่ออธิบายพฤติกรรมของผูบริโภคเกี่ยวกับการเลือกซื้อสินคาและบริการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๓. กฎของอุปสงคเปนอยางไร
ถาราคาสินคาและบริการใดๆ เพิ่มขึ้น ความตองการซื้อสินคาและบริการนั้นๆ จะลดนอยลง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ตรงกันขามถาราคาสินคาหรือบริการใดๆ ลดลง ความตองการซือ้ สินคาและบริการนัน้ ๆ จะเพิม่ ขึน้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๔. ในชวงทีม่ ะมวงในฤดูกาลมีมาก ความตองการซือ้ ของประชาชนมีลกั ษณะอยางไร ใหนกั เรียน
อธิบายโดยใชกฎของอุปสงค
ความตองการซื้อจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากมะมวงมีราคาถูก แตถาหากเปนนอกฤดูกาลมะมวงจะมีราคา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
เพิ่มขึ้นจะทําใหการซื้อลดลง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ฉบับ ๕. ปจจัยที่เปนตัวกําหนดอุปสงคมีอะไรบาง
เฉลย เชน ราคาสินคา จํานวนประชากร รายได การเปลีย่ นแปลงของฤดูกาล การศึกษา และการโฆษณา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
เปนตน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๖. อุปทานหมายถึงอะไร
ปริมาณสินคาและบริการทีผ่ ผู ลิตหรือผูข ายพรอมทีจ่ ะผลิตออกขาย ณ ระดับราคาตางๆ ภายในระยะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เวลาที่กําหนด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๗. การศึกษาเกี่ยวกับอุปทานมีเปาหมายอยางไร
เพื่ออธิบายพฤติกรรมของผูผลิตเกี่ยวกับการผลิตสินคาและบริการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๘. กฎของอุปทานเปนอยางไร
ถาราคาสินคาและบริการใดๆ เพิม่ ขึน้ ผูผ ลิตจะผลิตสินคาออกมาจําหนายเพิม่ ขึน้ ตรงกันขามถาราคา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
สินคาและบริการใดๆ ลดลง ผูผลิตจะผลิตสินคาออกมาจําหนายนอยลง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๙. ในปจจุบนั คนไทยใหความสนใจในสินคาเทคโนโลยี ความตองการของผูผ ลิตจะมีลกั ษณะอยางไร
มีการคิดคนและผลิตสินคาดานเทคโนโลยีมากขึ้น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๐. ปจจัยที่เปนตัวกําหนดอุปทานมีอะไรบาง
เชน ราคาสินคา ราคาปจจัยการผลิต จํานวนผูผลิตหรือผูขาย สภาพดินฟาอากาศ เปนตน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๘ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
กิจกรรมที่ ๑.๑๐ ใหนกั เรียนตอบคําถามโดยวิเคราะหอปุ สงคและอุปทานจาก คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ตารางที่กําหนดใหและเขียนกราฟแสดงความเปลี่ยนแปลง ñð
ระดับอุปสงคและอุปทาน (ส ๓.๑ ม.๓/๑)
P (บาท/ลิตร)
ปริมาณ ปริมาณ
ราคา S
การบริโภค การผลิต ๓๐ D
(บาท/ลิตร)
(ลิตร/สัปดาห) (ลิตร/สัปดาห) ๒๕
๓๐ ๑๐ ๔๐ ๒๐
E
๒๕ ๑๕ ๓๐ ๑๕
๒๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐ D S
๑๕ ๒๕ ๑๐ ๕
๑๐ ๓๐ ๕
๕ ๑๐ ๑๕ ๒๐ ๒๕ ๓๐ ๓๕ ๔๐Q (ลิ ตร/
สัปดาห)
๑. ครอบครัวของฟาใสมีความตองการบริโภคนมอยางไร ฉบับ
เฉลย
ถ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
าราคานมลดลงจะบริโภคนมเพิ่มมากขึ้น แตถาราคานมเพิ่มขึ้นก็จะบริโภคนมลดลง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๒. อะไรเปนปจจัยสําคัญในการบริโภคนมของครอบครัวฟาใส
ราคานม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๓. อะไรเปนปจจัยสําคัญในการผลิตนมของผูผลิต
เมื ่อราคานมเพิ่มขึ้น ผูผลิตก็จะเพิ่มการผลิต
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๔. ในชวงใดที่ปริมาณการบริโภคนมกับความตองการผลิตนมมีความพอดี
เมื ่อนมมีราคาลิตรละ ๒๐ บาท ปริมาณความตองการบริโภค ๒๐ ลิตร/สัปดาห
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๕. แนวโนมการบริโภคนมของครอบครัวฟาใสและแนวโนมการผลิตนมของผูผลิตเปนอยางไร
ถ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
าราคานมลดลงครอบครัวฟาใสจะบริโภคนมเพิ่มมากขึ้น สวนผูผลิตหากความตองการของลูกคา
มี…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
มาก ราคานมเพิ่มขึ้นก็จะผลิตนมเพิ่มขึ้น แตถาราคานมลดลงผูผลิตก็จะลดกําลังการผลิตลง


คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๑๑ ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ใหถูกตอง (ส ๓.๑ ม.๓/๑) ñð
๑. กลไกราคา มีความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจอยางไร
เป นตัวชวยในการตัดสินใจของผูบริโภคและผูผลิต เชน ถาระดับราคาสินคาสูงมาก แสดงวาความ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ต……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
องการของผูบ ริโภคมีมาก ผูผ ลิตก็จะผลิตสินคาเพิม่ ขึน้ ทําใหมสี นิ คาในตลาดเพิม่ ขึน้ ราคาก็จะลดลง
๒. อะไรเปนปจจัยสําคัญที่เปนตัวกําหนดกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ
อุ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปสงค อุปทาน และวัตถุประสงคของผูผลิตหรือเจาของธุรกิจ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ตัวแปรสําคัญในการกําหนดอุปสงคและอุปทานคืออะไร
ราคาสิ นคาและบริการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๔. ถาอุปสงคตอสินคามีมากกวาอุปทานจะเปนอยางไร
ความต องการบริโภคสินคามีมากกวาสินคาที่ผลิตได จะทําใหสินคาขาดตลาดเพราะมีความตองการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
บริ โภคสูง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๕. ถาอุปทานตอสินคามีมากกวาอุปสงคจะเปนอยางไร
ฉบับ หมายถึ
ง ความตองการผลิตสินคาและบริการมีมากกวาความตองการบริโภค จะทําใหสนิ คาลนตลาด
เฉลย …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๖. การปรับและเปลี่ยนแปลงราคาสินคาและบริการเกิดขึ้นจากสาเหตุใดบาง
เช……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
น ความตองการของผูบ ริโภคเพิม่ ขึน้ ในขณะทีก่ ารผลิตคงที่ ทําใหสนิ คาขาดแคลน ผูผ ลิตจึงปรับ
ราคาเพิ ่มขึ้น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๗. อุปทาน ตอสินคาจะมีมากหรือนอยขึ้นอยูกับปจจัยใด
ความต อ งการผลิ ต สิ น ค า จะมี ม ากหรื อ น อ ยขึ้ น อยู  กั บ ราคาสิ น ค า ที่ ผ ลิ ต ราคาป จ จั ย การผลิ ต
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ต……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นทุนการผลิต สภาพดินฟาอากาศ ความตองการของผูบริโภค เปนตน
๘. ปจจัยสําคัญอะไรบางทีท่ าํ ใหปริมาณสินคาและบริการทีผ่ บู ริโภคตองการซือ้ และผูข ายตองการ
ขายมีการปรับราคาขึ้นและลงตางกัน
ราคาสิ นคาและบริการไมคงที่และเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ซึ่งอาจเกิดจากตนทุนการผลิต
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ที……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
่เพิ่มขึ้น ความนิยมในระยะเวลาหนึ่ง เปนตน
๙. ราคาดุลยภาพเปนอยางไร
ราคาดุ ลยภาพเปนชวงที่ระดับราคาสินคาที่ปริมาณความตองการซื้อและปริมาณความตองการขาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เท ากันพอดี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑๐. การปรับเพิ่มราคาและบริการเกิดจากสาเหตุใดบาง
เช น ความตองการบริโภคเพิ่มมากขึ้น แตความตองการผลิตคงที่ ปจจัยการผลิตมีราคาเพิ่มขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ทํ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
าใหตนทุนการผลิตเพิ่ม จึงตองปรับเพิ่มราคาสินคา เปนตน
๑๐
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๑.๑๒ ใหนกั เรียนอานขอความจากขาวตอไปนี้ แลววิเคราะหประเด็น
คําถามเขียนตอบลงในชองวางใหถูกตอง (ส ๓.๑ ม.๓/๑) õ
“ขึ้นคาแรง” MLM ขานรับ! จอปรับราคาสินคาตามตนทุน
นโยบาย “ขึ้นคาแรงขั้นตํ่า” สอสงผลกระทบบริษัทเล็ก/ใหญ กอดคอจอขึ้นราคาตามตนทุนที่เพิ
่ม “คังเซน-เคนโก”
เตรียมถกผูบริหาร หวังปรับราคาตามกระแสของแพง “กิฟฟารีน” ขอตรึงราคา ปรับไมปรับขอเวลา
วัดรายรับรายจาย
ดาน TNI บอกสินคานําเขาไรผลกระทบ พรอมมั่นใจคาแรงเพิ่ม มนุษยเงินเดือนเดินเขาขายตรงเพิ
่ม

“พาณิชย” ไมหวงของแพง คาดเดือนห นาสินคาปรับขึ้นอีก ๑๐% ดานนายก


ง่ “คาภายใน” เรงตรวจสอบ หวัน่ ถูกเหมารวมสินคาแพง
“พาณิชย” ยอมรับราคาอาหารปรับขึน้ จริง สั
ยอม บ
รั น
สิ า
ค บาง ราย การ บ
ปรั น
ขึ ้ ราคาไป ว
แล คาด อนหนา ปรับขึน้ อีก ๑๐% หลายรายการ
เดื
สมาคมคา สง-ปลกี

ชาวบานรับภาระเพิ่ม นํ้า
“ประชาชนรับภาระหนกั อี มันพืช-นมจืด ขยับขึ้นราคา
ขณะทนี่ าํ้ มนั พชื ขยบั ๓-๕กระลอก ของขนึ้ ราคาอีกหลายรายการ นมจืดขย
กลองสําเร็จรูปแบบ ๓ เด บาท แถมตามหา งดงั แทบไมม วี างขาย หรือถา บั ราคาขึน้ รวดเดียว ๑๒ บาทตอขวด
ือน ขยับราคาเพิ่มขึ้น ๘ มกี จ็ าํ กัดจํานวนในการซอื้
บาท ดานอาหาร
ฉบับ
๑. การปรับขึ้นราคาสินคาตามขาวเกิดจากปจจัยใดบาง เฉลย
ตนทุนการผลิตและการจําหนายเพิม่ ขึน้ เชน เกิดจากราคานํา้ มันปรับตัวสูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง ทําใหราคา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ปจจัยการผลิตมีราคาสูงขึน้ ตนทุนจึงสูงขึน้ หรือการปรับเพิม่ คาแรงทําใหผผู ลิตตองมีคา ใชจา ยเพิม่ ขึน้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๒. ผูประกอบการมีหลักในการกําหนดราคาสินคาอยางไร
เชน การกําหนดราคาโดยการกําหนดสวนบวกเพิ่มเขาไปกับตนทุน การกําหนดราคาเพื่อใหไดผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ตอบแทนจากเงินลงทุน และการกําหนดราคาขายใหตา งกัน เชน ขายสงราคาถูกกวาขายปลีก เปนตน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๓. การปรับขึ้นของราคาสินคาดังกลาวสงผลกระทบตอผูบริโภคอยางไร
ทําใหประชาชนมีรายจายเพิ่มขึ้น คาครองชีพสูงขึ้น ในขณะที่รายไดเทาเดิมหรือเพิ่มขึ้นเล็กนอย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๔. ในการกําหนดราคาสินคาผูประกอบการควรคํานึงถึงปจจัยใดบาง
เชน สภาวะทางเศรษฐกิจ การแขงขันของตลาด ตนทุนการผลิตและการจําหนาย กลุมเปาหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๕. ผูบริโภคควรปฎิบัติตนอยางไรในสภาวะที่ราคาสินคาปรับตัวสูงขึ้น เพื่อไมใหกระทบตอการ
ดําเนินชีวิต
วางแผนการใชจาย ไมใชจายฟุมเฟอย ซื้อแตสิ่งของที่จําเปน ทํางานเพิ่มขึ้น ดําเนินชีวิตเพื่อใหมี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
รายไดเพิ่มขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน) ๑๑
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑
คําชี้แจง ใหนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
ñð

๑. “ตลาด” ในระบบเศรษฐกิจ หมายถึงขอใด


ก. สถานที่ที่มีผูซื้อและผูขายมาติดตอซื้อขายระหวางกัน
ข. สถานที่สําหรับวางแผนการซื้อขายระหวางผูซื้อกับผูขาย
ค. สถานที่ที่ใชสําหรับการประชาสัมพันธสินคาที่ผลิตขึ้นใหม
ง. สถานที่สําหรับจับจายใชสอยของผูซื้อที่ตองการสินคาชนิดใหม
๒. ขอใดเปนตลาดที่มีการแขงขันกันอยางเต็มที่ระหวางผูซื้อกับผูขาย และผูซื้อกับผูขายเปน
ผูกําหนดราคาสินคาดวยตนเอง โดยไมมีปจจัยอื่นๆ เขามาแทรกแซง
ก. ตลาดแขงขันสมบูรณ
ข. ตลาดสินคาเกษตรกรรม
ค. ตลาดแขงขันไมสมบูรณ
ง. ตลาดสินคาขายปลีกและขายสง
ฉบับ ๓. ขอใดเปนตลาดทีผ่ ซู อื้ หรือผูข ายมีอทิ ธิพลในการกําหนดราคาหรือปริมาณสินคาในตลาดโดยที่
เฉลย สินคาสวนมากมีลักษณะไมเหมือนกัน
ก. ตลาดผูบริโภค
ข. ตลาดปจจัยการผลิต
ค. ตลาดสินคาผูบริโภค
ง. ตลาดแขงขันไมสมบูรณ
ใหนักเรียนอานขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามขอ ๔-๕
ก. ปริมาณสินคาและบริการที่ผูบริโภคตองการขายสินคาและผลิตสินคาในระยะเวลาหนึ่ง
ข. ปริมาณสินคาและบริการทีผ่ บู ริโภคตองการซือ้ สินคาในระยะเวลาหนึง่ ณ ระดับราคาตางๆ
ค. ปริมาณสินคาและบริการที่ผูผลิตหรือผูขายพรอมที่จะผลิตออกขาย ณ ระดับราคาตางๆ
ง. ปริมาณสินคาและบริการที่ผูบริโภคตองการซื้อและขายสินคาในระยะเวลาหนึ่ง ณ ระดับ
ราคาตางๆ
๔. ขอใดหมายถึงอุปสงค (ตอบขอ ข.)
๕. ขอใดหมายถึงอุปทาน (ตอบขอ ค.)

๑๒
๖. ขอใดเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหปริมาณสินคาและบริการที่ผูบริโภคตองการซื้อและผูขาย
ตองการขายปรับราคาขึ้นและลงตางกัน
ก. ทรัพยากรธรรมชาติมีอยูอยางจํากัด
ข. ปจจัยการผลิตมีราคาที่สูงขึ้นเรื่อยๆ
ค. รายไดประจําของผูบริโภคตอครัวเรือน
ง. ราคาสินคาที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา
๗. ขอใดเปนไปตามกฎของอุปสงค
ก. เมื่อไขไกมีราคาตํ่าลงจํานวนผูบริโภคจะนอยลง
ข. เมื่อไขไกมีราคาสูงขึ้นจํานวนผูบริโภคจะมากขึ้น
ค. เมื่อไขไกมีราคาสูงขึ้นผูบริโภคซื้อไขไกบริโภคมากขึ้น
ง. เมื่อไขไกมีราคาตํ่าลงผูบริโภคจะซื้อไขไกบริโภคมากขึ้น
๘. ขอใดเปนไปตามกฎของอุปทาน
ก. ผูผลิตจะผลิตสินคาเพิ่มขึ้น ถาราคาสินคาสูงขึ้น
ข. ผูผลิตจะผลิตสินคาเพิ่มขึ้น ถาราคาของปจจัยการผลิตตํ่าลง
ค. ผูผลิตจะผลิตสินคาลดลง ถาผูบริโภคมีความตองการสูงขึ้น
ฉบับ
ง. ผูผลิตจะผลิตสินคาเพิ่มขึ้น ถาผูบริโภคมีความตองการสูงขึ้น เฉลย
๙. เมื่อประชาชนมีความตองการซื้อพันธุขาวหอมมะลิมากเกินกวาปริมาณที่ผูผลิตพันธุ
ขาวหอมมะลิจะขาย สัมพันธกับขอใดมากที่สุด
ก. ราคาพันธุขาวหอมมะลิจะขึ้นๆ ลงๆ
ข. ราคาพันธุขาวหอมมะลิจะมีราคาคงที่
ค. ราคาพันธุขาวหอมมะลิจะปรับตัวลดลง
ง. ราคาพันธุขาวหอมมะลิจะปรับตัวสูงขึ้น
๑๐. อะไรเปนสาเหตุหลักที่ทําใหในปจจุบันสินคาที่มีความสําคัญพื้นฐานในการบริโภคจึงมีการ
ปรับราคาสูงขึ้น
ก. จํานวนผูบริโภคเพิ่มมากขึ้น
ข. ตนทุนการผลิตมีราคาสูงขึ้น
ค. เกิดภาวะการขาดแคลนสินคา
ง. ผูประกอบการตองการกําไรเพิ่มขึ้น

๑๓
แบบบันทึกผลการประเมิน

คะแนน ผลการประเมิน
เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู
เต็ม ได ผาน ไมผาน
● กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ส ๓.๑ ม.๓/๑
กิจกรรมที่ ๑.๑ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๑.๒ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๑.๓ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๑.๔ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๑.๕ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๑.๖ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๑.๗ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๑.๘ ๕ …………….

ฉบับ
กิจกรรมที่ ๑.๙ ๑๐ …………….
เฉลย กิจกรรมที่ ๑.๑๐ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๑.๑๑ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๑.๑๒ ๕ …………….

…………….
คะแนนรวมทั้งหมด ๘๐
● แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๖๘ - ๘๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถงึ ครึง่ ของคะแนนเต็ม ๕๔ - ๖๗ ๓ ดี
๔๐ - ๕๓ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๔๐ ๑ ปรับปรุง

๑๔
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๒ àÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§
¡Ñº¡ÒþѲ¹Ò»ÃÐà·È
ในปจจุบันประเทศไทยมุงพัฒนาทางดานเศรษฐกิจทําใหเศรษฐกิจขยายตัว แตในขณะ
เดียวกันก็ไดเกิดปญหาตามมา ทัง้ ทางดานสังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดลอม ประชาชนไมสามารถ
พึ่งตนเองได การนําหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการพัฒนาประเทศจะชวยให
การพัฒนาเกิดความสมดุลและยัง่ ยืน การเรียนรูห ลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนา
ประเทศจะทําใหเขาใจถึงความสําคัญของเศรษฐกิจพอเพียงในการนํามาพัฒนาทองถิน่ และประเทศ
เพื่อการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน
กิจกรรมฝกทักษะ

กิจกรรมที่ ๑ ใหนกั เรียนเติมขอความลงในแผนผังสรุปความคิดหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจ


พอเพีียง
ทางสายกลาง ฉบับ
เฉลย

พอประมาณ
………………………………………….

มีเหตุผล
…………………………………………. มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
………………………………………….

ความรู (รอบรู รอบคอบ


เงือ่ นไข …………………………………………………. คุณธรรม (ซื่อสัตยสุจริต
เงือ่ นไข ………………………………………………….
ระมัดระวัง)
………………………………………………………………… ขยัน อดทน สติปญญา แบงปน)
…………………………………………………………………

นําสู

ชีวิต/เศรษฐกิจ/สังคม/สิ่งแวดลอม
………………………………………………………………………..

สมดุล/มั่นคง/ยั่งยืน
………………………………………………………………………..

๑๕
กิจกรรมที่ ๒ ใหนักเรียนยกตัวอยางการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในชีวิตประจําวัน

ใชจายอยางประหยัด
……………………………………………………………………………

ชวยเหลือกิจกรรมตางๆ ในทองถิ่น
……………………………………………………………………………

แนวทางการนําปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช ทํางานเพื่อหารายไดพิเศษ
……………………………………………………………………………

ในชีวิตประจําวัน
มีจิตสํานึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม
……………………………………………………………………………

สนับสนุนสินคาในชุมชน
……………………………………………………………………………

ฉบับ
เฉลย กิจกรรมที่ ๓ ใหนักเรียนเติมขอความประโยชนของการนําหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช ลงในชองวาง

ตัวเอง ชุมชน ประเทศ


มีความเปนอยูที่ดี ไมเปนหนี้
…………………………………………………………. ชุ………………………………………………………….
มชนเขมแข็ง ประชาชนมีอาชีพ ประชาชนดํ าเนินชีวิตอยางมี
………………………………………………………….
มีรายไดเลีย้ งตัวเองและครอบครัว
………………………………………………………… ที…………………………………………………………
่มั่นคง มีรายไดที่แนนอน ความสุ ข เพราะทุกคนพึง่ ตนเองได
…………………………………………………………
สมาชิกในครอบครัวมีความเปน
…………………………………………………………. พึ………………………………………………………….
่งตนเองได ทําใหเศรษฐกิจใน มี………………………………………………………….
อาชีพที่มั่นคงไมตองรอ
อยูที่ดี มีเงินเก็บออม ไมมี
…………………………………………………………. ชุ………………………………………………………….
มชนเขมแข็ง พึ………………………………………………………….
่งแตปจจัยภายนอกหรือให
หนี้สิน
………………………………………………………… ………………………………………………………… หน วยงานตางๆ มาชวยเหลือ
…………………………………………………………

…………………………………………………………. …………………………………………………………. ทํ………………………………………………………….


าใหเศรษฐกิจของประเทศ
…………………………………………………………. …………………………………………………………. เข………………………………………………………….
มแข็ง พัฒนาประเทศไดอยาง
………………………………………………………… ………………………………………………………… รวดเร็ ว
…………………………………………………………

…………………………………………………………. …………………………………………………………. ………………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑๖
กิจกรรมตามตัวชี้วัด คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
õ
กิจกรรมที่ ๒.๑ ใหนกั เรียนวิเคราะหปญ หาทองถิน่ ของไทยในปจจุบนั และ
สรุปลงในตาราง (ส ๓.๑ ม.๓/๒)

ดาน สภาพปญหา สาเหตุของปญหา แนวทางการปองกันและแกไข


๑.……………………………………………..
ปญหาความยากจน ๑. ขาดแคลนทีด่ นิ ทํากิน ไมมี
…………………………………………….. ๑. ภาครัฐควรจัดสรรที่ดินทํากิน
……………………………………………………….
๒.……………………………………………..
ปญหาการบริหารจัดการ กรรมสิทธิ์ในที่ดิน
…………………………………………….. ใหแกเกษตรกรอยางเปนธรรม ให
……………………………………………………….
ของท องถิน่ เพือ่ นําไปสูก ารพึง่
…………………………………………….. ๒. ขาดแคลนบุ ค ลากรที่ มี
…………………………………………….. ความรูดานการประกอบอาชีพและ
………………………………………………………
ตนเองยั งไมเขมแข็ง
…………………………………………….. ความรูในการบริหารจัดการ
…………………………………………….. สงเสริมการประกอบอาชีพตางๆ
………………………………………………………
๓.……………………………………………..
ปญหาการอพยพยายถิ่น ทองถิน่ การใหความรูก บั คน
…………………………………………….. เพื่อสรางรายไดเลี้ยงครอบครัว
………………………………………………………
สังคม …………………………………………….. ในทองถิน่ เพือ่ การสรางงาน
…………………………………………….. ๒. ประยุกตใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
………………………………………………………
…………………………………………….. สรางอาชีพ
…………………………………………….. พอเพียงในการดําเนินชีวติ เชน ลด
………………………………………………………
…………………………………………….. …………………………………………….. การบริโภคสิ่งที่ฟุมเฟอย มีคานิยม
……………………………………………………….
…………………………………………….. …………………………………………….. ในการบริโภคทีถ่ กู ตอง ลด ละ เลิก
……………………………………………………….
…………………………………………….. …………………………………………….. อบายมุข ไมสรางหนี้ เปนตน
………………………………………………………

๑.……………………………………………..
ปญหาความเหลื่อมลํ้าของ ๑. การพัฒนาเศรษฐกิจที่มุง
…………………………………………….. ๑. สรางชุมชนที่เขมแข็ง
……………………………………………………….
การกระจายรายได
…………………………………………….. ความเจริ ญ เติ บ โตด า นการ
…………………………………………….. ๒. สรางศักยภาพดานการแขงขัน
……………………………………………………….
๒.……………………………………………..
ปญหาคาครองชีพที่พุง ผลิต โดยไมคํานึงถึงคุณภาพ
…………………………………………….. เพื่อลดความเสียเปรียบจากการคา
………………………………………………………
ฉบับ
สู……………………………………………..
งขึ้น และการวางรากฐานใหมั่นคง
…………………………………………….. โดยการปรับปรุงกระบวนการผลิต
……………………………………………………… เฉลย
๓.……………………………………………..
ปญหาการวางงาน และยั่งยืน
…………………………………………….. และใชเทคโนโลยีในการผลิต
………………………………………………………
เศรษฐกิจ …………………………………………….. ๒. พึ่งพาปจจัยภายนอกมาก
…………………………………………….. ๓. ปรั บ เปลี่ ย นค า นิ ย มในการ
………………………………………………………
…………………………………………….. เกินไป
…………………………………………….. บริโภค โดยบริโภคสิ่งที่จําเปนตอ
………………………………………………………
…………………………………………….. ๓. ความผั น ผวนของภาวะ
…………………………………………….. การดํารงชีวิต ใชจายแตพอดีและไม
……………………………………………………….
…………………………………………….. เศรษฐกิจโลก
…………………………………………….. กอหนี้สิน
……………………………………………………….
…………………………………………….. ๔. การบริโภคที่ฟุมเฟอย
…………………………………………….. ………………………………………………………

๑.……………………………………………..
ความเสื่อมโทรมของ ๑. การพัฒนาเศรษฐกิจที่มุง
…………………………………………….. ๑. พัฒนาแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
……………………………………………………….
สิ……………………………………………..
่งแวดลอม ขยายเชิงปริมาณโดยไมคํานึง
…………………………………………….. ทีป่ ระสานกับการพัฒนาสิง่ แวดลอม
……………………………………………………….
๒.……………………………………………..
การลดจํานวนของทรัพยากร ถึงสิ่งแวดลอม
…………………………………………….. ๒. สรางคานิยมในคุณภาพชีวติ ใหมี
………………………………………………………
บางชนิ ดอยางรวดเร็วจนทําให
…………………………………………….. ๒. ความต อ งการบริ โ ภค
…………………………………………….. นิ สั ย รั ก ความสะอาด ความเป น
………………………………………………………
เกิ ดภาวะการขาดแคลน
…………………………………………….. เพิ่มมากขึ้น ทําใหตองผลิต
…………………………………………….. ระเบียบเรียบรอย
………………………………………………………
ดาน …………………………………………….. สินคาตางๆ เพื่อตอบสนอง
…………………………………………….. ๓. ใชเครื่องจักรและเทคโนโลยีใน
………………………………………………………

สิง่ แวดลอม …………………………………………….. ความตองการ


…………………………………………….. การผลิตอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึง
………………………………………………………
…………………………………………….. ๓. การมุ  ง ใช เ ครื่ อ งจั ก รใน
…………………………………………….. สิ่งแวดลอม
……………………………………………………….
…………………………………………….. การผลิ ต สิ น ค า แทนการใช
…………………………………………….. ๔. ฟนฟูสิ่งแวดลอมของชุมชน
……………………………………………………….
…………………………………………….. แรงงานคน ทําใหมีของเสีย
…………………………………………….. ………………………………………………………
…………………………………………….. ที่ เ กิ ด จากการใช พ ลั ง งาน
…………………………………………….. ………………………………………………………
…………………………………………….. จํานวนมาก
…………………………………………….. ………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑๗
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๒ ใหนักเรียนสํารวจปญหาในทองถิ่นของตนเองคนละ ๑ õ
ปญหา วิเคราะหสภาพปญหาโดยใชหลักการของปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงและบันทึกลงในแผนผังกางปลา
(ส ๓.๑ ม.๓/๒)
ชื่อชุมชน ………………………………………….. อําเภอ ……………………………………. จังหวัด …………………………………….

สภาพปญหา สาเหตุ
● มีวัยรุนติดยาเสพติดเพิ่มขึ้น
…………………………………………………………………….. ●กลุมวัยรุนมีเวลาวางเกินไปจึงรวม
……………………………………………………………………..
● มีปญหาอาชญากรรมและลักขโมย
……………………………………………………………………. กลุมเสพยา
…………………………………………………………………….
ทรัพยสินเพิ่มขึ้น
……………………………………………………………………. ● ถูกเพื่อนชักชวนใหลองเสพทําให
…………………………………………………………………….
……………………………………………………………………. ติดยาในที่สุด
…………………………………………………………………….

ฉบับ
เฉลย ปญหาการแพร
…………………………
ระบาดของ
…………………………
ยาเสพติ ด
………………………..

แนวทางการ ผลที่คาดวา
ปองกันแกไข จะไดรับ
● จัดกิจกรรมใหวยั รุน เขามามีสว นรวม
…………………………………………………………………….. ● วัยรุน เขารวมกิจกรรมและใชเวลาวาง
……………………………………………………………………..
เพื่อใชเวลาวางใหเปนประโยชน
……………………………………………………………………. ใหเปนประโยชน
…………………………………………………………………….
● สรางลานกีฬา เพือ่ ใหวยั รุน เลนกีฬา
……………………………………………………………………. ● ปญหายาเสพติดคอยๆ ลดลงจน
…………………………………………………………………….
● ใหความรูที่ถูกตองชี้แนะใหเห็นโทษ
……………………………………………………………………. หมดไป
…………………………………………………………………….
ของการติดยาเสพติด
……………………………………………………………………. ● ชุมชนมีความสงบ
…………………………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑๘
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๓ ใหนักเรียนสํารวจสภาพปญหาทองถิ่นของตนเองทางดาน ñð
สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม (ส ๓.๑ ม.๓/๒)
บานตลาดศุกร
ชื่อชุมชน / ทองถิ่น …………………………………………………………….
ม. ๕ ต. ฉลอง อ. สิชล จ. นครศรีธรรมราช
๑. ทีต่ งั้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๑,๒๓๐ คน ผูนําหมูบานหรือผูนําชุมชน ………………………………………………………….
๒. จํานวนประชากร ………………… นายสุภาพ ใจหาว
๓. ลักษณะทั่วไปทางดานตางๆ
● เปนสังคมเครือญาติ มีการพึ่งพาอาศัยกัน
ลักษณะทางดานสังคม วัฒนธรรม ประเพณี ……………………………………………………………………………………..
มี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
การจัดงานประเพณีตางๆ เพื่อการอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรมประเพณี เชน การทําบุญ
เดื อนสิบ เพื่ออุทิศสวนบุญสวนกุศลใหกับบรรพบุรุษ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
● ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพทําสวนยางพารา สวนปาลม
ลักษณะทางดานเศรษฐกิจ ………………………………………………………………………………………………………………………..
สวนผลไม มีฐานะความเปนอยูที่ดี
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
● พืน้ ทีอ่ ดุ มสมบูรณ อากาศบริสทุ ธิ์ มีทรัพยากรธรรมชาติทสี่ าํ คัญ เชน
ลักษณะดานสิ่งแวดลอม ……………………………………………………………………………………………………………………………
ป………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
าไม แหลงนํ้าอุดมสมบูรณ
ฉบับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เฉลย
๔. สภาพปญหาทางดานตางๆ
● ปญหายาเสพติดแพรระบาดในกลุม วัยรุน ทําใหเกิดปญหาลักขโมย ปญหา
ปญหาทางดานสังคม ………………………………………………………………………………………………………………………………….
อาชญากรรมตามมา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
● ปญหาทางดานเศรษฐกิจประชาชนใช
จา ยฟุม เฟอย ขาดการวางแผนการใชจา ย ขาดแคลนแรงงาน
…………………………………………………………………………………………………………………………..
ทํ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
าใหคาแรงสูงมาก จึงตองมีการจางแรงงานตางดาว
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
● ปญหาการขยายพื้นที่ปลูกยางพาราทําใหมีการบุกรุกพื้นที่ปา ทําให
ปญหาทางดานสิง่ แวดลอม ……………………………………………………………………………………………………………………….
ป………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
าไมถูกทําลาย เมื่อฝนตกทําใหเกิดนํ้าปา สรางความเสียหายแกพื้นที่เกษตรกรรมและบานเรือน
๕. แนวทางการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการปองกันและแกไขปญหา
๑.……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
มีความพอเพียงในการดําเนินชีวิต ไมใชจายฟุมเฟอย มีการวางแผนการใชจาย
๒. นําความรูม าใชในการวางแผนในการประกอบอาชีพ เชน ในการขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูก โดยคํานึงถึง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๓. ใชเวลาวางจากการทําสวนยาง มาทําการเพาะปลูกพืชผักไวบริโภคในครัวเรือน เพื่อลดการซื้อ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
จากภายนอกชุมชน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๑๙
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๔ ใหนักเรียนวิเคราะหลักษณะชุมชนเขมแข็งและสรุปลงใน
แผนผัง (ส ๓.๑ ม.๓/๒) õ
๑.…………………………………………………………………..
เป น ชุ ม ชนที่ มี ศั ก ยภาพในการ ๒. มีการสงเสริมการรวมกลุมใน
…………………………………………………………………..
บริหารจัดการทางดานเศรษฐกิจ
………………………………………………………………….. การเรียนรู รวมคิด รวมทดลอง
…………………………………………………………………..
มีความเปนอยูที่อยูไดดวยตนเอง
………………………………………………………………….. ปฏิบัติจริงรวมกัน
…………………………………………………………………..

๕. มีการสรางเครือขายการเรียนรูทั้ง
…………………………………………………………………..
๓. ดําเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
…………………………………………………………………..

ภายในชุมชนและภายนอกชุมชน
…………………………………………………………………..
พอเพียง คํานึงถึงความพอประมาณ
…………………………………………………………………..

…………………………………………………………………..
ความพออยูพอกินของคนในชุมชน
…………………………………………………………………..

๔.…………………………………………………………………..
มีการพัฒนาศักยภาพความพรอม
ของชุมชนเชือ่ มโยงกับการประกอบ
…………………………………………………………………..

ฉบับ อาชีพของคนในชุมชน
…………………………………………………………………..
เฉลย
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๕ ใหนกั เรียนเสนอแนะแนวทางการสรางความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ
ของชุมชนลงในแผนผัง (ส ๓.๑ ม.๓/๒) õ
๑.………………………………………………………………………………………………………………….
สนับสนุนการรวมกลุม อาชีพ และสรางเครือขายเพือ่ ดําเนิน
กิจกรรมที่หลากหลายบนฐานทรัพยากรของชุมชน
…………………………………………………………………………………………………………………..

๒. สงเสริมการนําทรัพยากรในทองถิ่นมาผลิต ทําใหเกิดการ
………………………………………………………………………………………………………………….
สรางงาน คนในชุมชนมีรายได ลดการอพยพยายถิ่น
…………………………………………………………………………………………………………………..

แนวทางการสราง ๓. สงเสริมการลงทุนและการรวมลงทุนกับองคกรปกครอง
………………………………………………………………………………………………………………….
ความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจของชุมชน สวนทองถิ่น หนวยงานภาครัฐ เอกชน
…………………………………………………………………………………………………………………..

๔. สนับสนุนการนําภูมิปญญาและวัฒนธรรมทองถิ่นมาใชใน
………………………………………………………………………………………………………………….
การผลิตสินคา การสรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคา
…………………………………………………………………………………………………………………..

๕. จัดหาตลาดเพือ่ รองรับผลผลิตจากชุมชน มีการประชาสัมพันธ


………………………………………………………………………………………………………………….
สินคาใหเปนที่รูจักแพรหลายและขยายตลาดไปนอกชุมชน
…………………………………………………………………………………………………………………..

๒๐ (พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๖ ใหนกั เรียนวิเคราะหเปาหมายของการพัฒนาทองถิน่ ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลงในแผนผัง (ส ๓.๑ ม.๓/๒) õ

เพื่อใหคนในทองถิ่น
………………………………………….
สามารถพึ่งตนเองได
………………………………………….
เพื่ อ การมี คุณภาพชีวิต
…………………………………………. เพือ่ การสรางชุมชนที่
………………………………………….
ที่ดี
…………………………………………. เขมแข็ง
………………………………………….

เปาหมายการพัฒนา
ทองถิ่นตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อใหคนดําเนินชีวิต
…………………………………………. ลดการพึ่งพาปจจัย
………………………………………….
โดยยึดทางสายกลาง
…………………………………………. ภายนอก
………………………………………….

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๗ ใหนกั เรียนเติมขอความคุณลักษณะของคนในทองถิน่ ทีป่ ฏิบตั ิ
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (ส ๓.๑ ม.๓/๒) õ ฉบับ
เฉลย

๑. มีความพอประมาณ มีความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมาก
………………………………………………………………………………………………………………….
เกินไป ไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น
…………………………………………………………………………………………………………………..

๒. มีการตัดสินใจที่มีเหตุผล พิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ
………………………………………………………………………………………………………………….
อยางรอบคอบ และคํานึงถึงผลที่จะไดรับ
…………………………………………………………………………………………………………………..

๓. มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี เตรียมตัวพรอมรับการเปลีย่ นแปลงที่


………………………………………………………………………………………………………………….
เกิดขึน้ โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณทคี่ าดวาจะ
…………………………………………………………………………………………………………………..
เกิดขึน้ ในอนาคต
๔. มีความรู โดยการศึกษาความรูตางๆ แลวนํามาเชื่อมโยง
………………………………………………………………………………………………………………….
เพื่อประกอบการวางแผนในการนําไปปฏิบัติ
…………………………………………………………………………………………………………………..

๕. มีคุณธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวิต เชน มีความซื่อสัตย


………………………………………………………………………………………………………………….
อดทน ความเพียร
…………………………………………………………………………………………………………………..

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๒๑
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๘ ใหนกั เรียนเติมขอความทีแ่ สดงถึงลักษณะของความพอดีตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ส ๓.๑ ม.๓/๓) õ
ดานจิตใจ ดานสังคม
๑. มีจิตใจเขมแข็ง พึ่งตนเองได
…………………………………………………………………………… ๑.……………………………………………………………………………
ชวยเหลือเกื้อกูลกัน
๒. มีจิตสํานึกที่ดี
…………………………………………………………………………. ๒.………………………………………………………………………….
รูรักสามัคคี
๓. คํานึงถึงประโยชนสวนรวม
………………………………………………………………………….. ๓.………………………………………………………………………….
สรางความเขมแข็งใหครอบครัวและชุมชน

ลักษณะของความพอดี
ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
ดานเศรษฐกิจ ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม
๑. ลดการใชจายที่ฟุมเฟอย ไมใชจาย
…………………………………………………………………………… ๑.……………………………………………………………………………
ใช เ ทคโนโลยี ใ ห ส อดคล อ งกั บ ความ
เกินตัว
…………………………………………………………………………. ตองการและเหมาะกับสภาพแวดลอม
………………………………………………………………………….
๒. วางแผนในการใชจายอยางรอบคอบ
…………………………………………………………………………. ๒. ใชทรัพยากรธรรมชาติเทาทีจ่ าํ เปนอยาง
………………………………………………………………………….
ฉบับ …………………………………………………………………………. ระมัดระวัง
………………………………………………………………………….
เฉลย
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๙ ใหนักเรียนเติมขอความที่แสดงถึงการนําแนวคิดปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการพัฒนาในระดับตางๆ õ
(ส ๓.๑ ม.๓/๓)
๑. รัฐตองใหความสําคัญกับการพัฒนาศักยภาพของคน และความเขมแข็งของชุมชน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ระดับประเทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
และสรางความอยูเย็นเปนสุขของสังคมไทย ใหคนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
๒. สรางการมีสวนรวมของคนในทองถิ่นในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๑. รวมมือกันสรางชุมชนเขมแข็ง พึ่งพาตนเองได ลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ระดับทองถิ่น ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๒. รวมกลุมผลิตสินคาและบริการโดยการนําทรัพยากร ภูมิปญญาในทองถิ่น
เปนฐานในการผลิต
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๑. มีความพอเพียง พออยู พอกิน พึ่งตนเองได มีการประกอบอาชีพที่มั่นคง


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ระดับบุคคล ๒. ใชจายอยางประหยัด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๒๒ (พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๑๐ ใหนักเรียนตอบคําถามเกี่ยวกับสหกรณใหถูกตอง ñð
(ส ๓.๑ ม.๓/๓)
๑. สหกรณ หมายถึงอะไร
องค กรทีเ่ กิดจากการรวมกลุม ของบุคคลโดยสมัครใจเพือ่ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพือ่ สนองความ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ต…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
องการของสมาชิกภายใตหลักประชาธิปไตย ไมมงุ แสวงหากําไร และแบงผลประโยชนอยางเปนธรรม
๒. สหกรณมีลักษณะสําคัญอยางไร
เกิ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ดจากการรวมกลุม ดวยความสมัครใจ เพือ่ รวมกันแกปญ หาทางเศรษฐกิจของสมาชิก มีวตั ถุประสงค
เพื ่อชวยเหลือตนเองและสมาชิก และมีการจดทะเบียนถูกตองตามกฎหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๓. สหกรณของโลกเกิดขึ้นที่ใด และมีมูลเหตุจากอะไร
เกิ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ดขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ มีมูลเหตุจากความลําบากในการประกอบอาชีพจากการปฏิวัติ
อุ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ตสาหกรรม ที่มีการใชเครื่องจักรแทนแรงงานคนทําใหคนตกงาน
๔. สหกรณในประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อใด มีการริเริ่มอยางไร
ในสมั ยรัชกาลที่ ๖ โดยไดจัดตั้งธนาคารเงินกูแหงชาติ ใหชาวนาที่ตองการกูเงินรวมตัวเปนสมาคม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
และสหกรณ มีการชวยเหลือดูแลกัน โดยสหกรณแหงแรกชื่อสหกรณวัดจันทรไมจํากัดสินใช
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๕. สหกรณมีหลักการสําคัญอยางไร
๑.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
เปนสมาชิกดวยความสมัครใจ ๒. ดําเนินการโดยยึดหลักประชาธิปไตย ๓. จํากัดอัตราดอกเบี้ย
ฉบับ
ไม…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ใหสงู เกินไป ๔. จายปนผลใหแกสมาชิก ๕. สงเสริมการศึกษา ๖. สงเสริมความรวมมือกับทุกระดับ เฉลย
๖. สหกรณมีภารกิจอะไรบาง
เช…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
น ดําเนินธุรกิจการผลิต การคา การบริการ เพื่อประโยชนของสมาชิก ใหความชวยเหลือทาง
วิ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ชาการแกสมาชิก รับฝากเงิน เปนตน
๗. สหกรณมีวิธีการดําเนินการอยางไร
กํ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
าหนดวัตถุประสงคหรือนโยบาย วางแผนนํานโยบายไปปฏิบตั ิ แบงโครงสรางบริหาร ประสานงาน
กั…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
บสหกรณอื่น ติดตามผลงาน
๘. เพราะเหตุใดระบบสหกรณจึงมีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
สหกรณ เปนสถาบันทางเศรษฐกิจและสังคมที่ชวยแกปญหาในการประกอบอาชีพ และชวยยกระดับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ความเป นอยูของประชาชนใหดีขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๙. สามารถนําหลักการของสหกรณมาใชในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศได
อยางไร
โดยการนํ าหลักการของสหกรณมาปรับใช เพื่อใหคนในประเทศชวยเหลือตนเอง รวมกลุมแกปญหา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
พื…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
้นฐานและนําวิธีการรวมกลุม มาชวยใหการรวมกลุมอาชีพเกิดความเขมแข็ง ชวยเหลือตัวเองได
๑๐. สามารถนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชกับสหกรณ ไดอยางไร
เช…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
น นําหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเกี่ยวกับการพึ่งตนเองมาใช โดยสหกรณแตละแหง
มี…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
การบริหารจัดการที่สามารถพึ่งตนเองได ไมพึ่งพาแตเฉพาะปจจัยภายนอก เปนตน

๒๓
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๑๑ ใหนกั เรียนอานขอความลักษณะสําคัญของสหกรณ แลวเติม õ
ชื่อประเภทของสหกรณใหสัมพันธกัน (ส ๓.๑ ม.๓/๓)

สหกรณรอชเดลผูบุกเบิก
…………………………………………………….. ๑. สหกรณแหงแรกของโลก
อันเที่ยงธรรม
สหกรณวัดจันทรไมจํากัดสินใช ๒. สหกรณแหงแรกของประเทศไทย
……………………………………………………..

สหกรณการเกษตร
…………………………………………………….. ๓. จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ การเกษตร มีหนาทีส่ ง เสริมการผลิตและการเพิม่ พูน
รายไดใหแกสมาชิกที่เปนเกษตรกร
สหกรณการประมง
…………………………………………………….. ๔. จัดตั้งขึ้นในหมูชาวประมง เพื่อแกปญหาและอุปสรรคในการ
ประกอบอาชีพ
สหกรณการเกษตร
…………………………………………………….. ๕. ใหสินเชื่อดานการเกษตร รับฝากเงิน สนับสนุนเครื่องมือดาน
การเกษตร เปนตน
ฉบับ
สหกรณรานคา
…………………………………………………….. ๖. จัดตั้งขึ้นเพื่อบริการสินคาดานอุปโภคและบริโภคแกสมาชิกใน
เฉลย
ราคาที่ยุติธรรม
สหกรณออมทรัพย
…………………………………………………….. ๗. ใหบริการผูที่มีรายไดประจําที่ตองการออมทรัพย ใหกูยืมเมื่อ
จําเปน โดยใหดอกเบี้ยเปนผลตอบแทน
สหกรณเครดิตยูเนี่ยน
…………………………………………………….. ๘. ตั้งขึ้นสําหรับผูประกอบอาชีพเดียวกันและมีภูมิลําเนาเดียวกัน
มีวัตถุประสงคเพื่อชวยเหลือซึ่งกันและกัน โดยการนําเงิน
มาสะสมเปนกองทุนและใหสมาชิกกูย มื และจัดสวัสดิการตางๆ
ใหแกสมาชิกและครอบครัว
สหกรณการประมง
…………………………………………………….. ๙. มีหนาที่สงเสริมความรูทางวิชาการและธุรกิจประมง จําหนาย
อุปกรณการประกอบอาชีพใหสมาชิก เปนตน
สหกรณนิคม
…………………………………………………….. ๑๐. มีวัตถุประสงค ในการจัดสรรที่ดินใหเกษตรกรที่ตองการที่ดิน
ในการประกอบอาชีพ และใหบริการดานอื่นๆ ที่มีความจําเปน
แกสมาชิก
๒๔
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๒.๑๒ ใหนักเรียนวิเคราะหความสัมพันธระหวางแนวคิดปรัชญา õ
เศรษฐกิจพอเพียงกับหลักการสหกรณในการพัฒนาชุมชน
(ส ๓.๑ ม.๓/๓)

หลักการของสหกรณ ความสัมพันธ หลักการของปรัชญา


เศรษฐกิจพอเพียง
๑. เกิดจากการรวมตัวของกลุม
……………………………………………………… ทั้ง ๓ หลักการ มีจุดมุงหมาย
……………………………………………………… เปนหลักการดําเนินชีวิตโดย
………………………………………………………
บุคคลที่มีจุดมุงหมายเดียวกัน
……………………………………………………… เพื่ อ แก ป  ญ หาเศรษฐกิ จ ของ
……………………………………………………… ยึ ด ทางสายกลางและความ
………………………………………………………
เพื่ อ แก ป  ญ หาเศรษฐกิ จ ของ
……………………………………………………… ตนเอง ชุ ม ชน เพื่ อ การพึ่ ง
……………………………………………………… ไมประมาท โดยคํานึงถึงความ
………………………………………………………
กลุม
……………………………………………………… ตนเอง ชุมชน เพื่อการสราง
……………………………………………………… พอประมาณ ความมี เ หตุ ผ ล
………………………………………………………
๒. มีการชวยเหลือซึง่ กันและกัน
……………………………………………………… ชุมชนเขมแข็ง ปจจุบันชุมชน
……………………………………………………… การมีภูมิคุมกันที่ดี ใชความรู
………………………………………………………
และจัดสรรผลประโยชนอยาง
……………………………………………………… ตางๆ จึงไดนําหลักการนี้มา
……………………………………………………… ความรอบคอบและคุ ณ ธรรม
………………………………………………………
ยุติธรรม
……………………………………………………… ผสมผสาน โดยการสงเสริม
……………………………………………………… ประกอบการวางแผนการทํางาน
………………………………………………………
๓. ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดยการนํ า
……………………………………………………… ใหประชาชนประกอบอาชีพเพื่อ
……………………………………………………… การประกอบอาชี พ เพื่ อ การ
………………………………………………………
ทรั พ ยากรในท อ งถิ่ น มาผลิ ต
……………………………………………………… การพึ่งตนเอง มีการรวมกลุม
……………………………………………………… พึี่งตนเอง ลดการพึ่งพาจาก
………………………………………………………
เพื่อการคาและบริการ
……………………………………………………… อาชี พ ต า งๆ เพื่ อ การผลิ ต ไว
……………………………………………………… ภายนอก
……………………………………………………… ฉบับ
เฉลย
……………………………………………………… บริโภคในครัวเรือน และเปน
……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… สินคาของกลุม มีการวางแผน


……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… การตลาด เพื่ อ ส ง สิ น ค า ไป


……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… จําหนายในชุมชนตางๆ
……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

……………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๒๕
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒
คําชี้แจง ใหนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
ñð

๑. ขอใดเปนปญหาดานเศรษฐกิจที่สําคัญที่สุดในทองถิ่นของไทย
ก. ปญหาการวางงาน
ข. ปญหาคาครองชีพสูง
ค. ปญหาการกูเงินนอกระบบ
ง. ปญหาดานการกระจายรายได
๒. ขอใดเปนปญหาสําคัญซึง่ เกิดจากการพัฒนาประเทศเพือ่ ขยายความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
มากที่สุด
ก. ปญหานํ้าทิ้งจากครัวเรือนและชุมชน
ข. ปญหามลพิษทางอากาศและทางเสียง
ค. ปญหาควันพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม
ง. ปญหาความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอม
ฉบับ ๓. ขอใดเปนปญหาสังคมของทองถิน่ ของไทยทีน่ าํ ไปสูป ญ หาการขาดโอกาสทางการศึกษามาก
เฉลย ที่สุด
ก. ปญหาสิ่งแวดลอม
ข. ปญหาความยากจน
ค. ปญหาแรงงานราคาถูก
ง. ปญหาการอพยพยายถิ่น
๔. ขอใดเปนการพัฒนาทองถิ่นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ก. การพัฒนาบนฐานของความสามารถของตนเอง
ข. การพัฒนาตามมาตรฐานสากลและกระแสความนิยม
ค. การพัฒนาบนรากฐานของทางสายกลางและความไมประมาท
ง. การพัฒนาบนฐานของการทําธุรกิจและความเปนตัวตนของตนเอง
๕. ขอใดเปนเปาหมายสําคัญของการพัฒนาทองถิ่นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ก. เพื่อใหคนในทองถิ่นมีงานที่ดีทําทุกคน
ข. เพื่อใหคนในทองถิ่นสามารถพึ่งตนเองได
ค. เพื่อใหคนในทองถิ่นมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
ง. เพื่อใหคนในทองถิ่นมีรายไดเฉลี่ยตอคนตอปเพิ่มขึ้น
๒๖
๖. บุคคลในขอใดไมคํานึงถึงการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการพัฒนา
ทองถิ่น
ก. ผูใหญรวย ทําการเกษตรดวยการพึ่งตนเองเปนหลัก
ข. กํานันสันติ สรางความสามัคคีและความปรองดองใหประชาชน
ค. ปาเรียม ดําเนินชีวิตดวยความพอประมาณ พอเหมาะ และพอสมควร
ง. หนุมเสก ทําไรขาวโพดดวยการใชเทคโนโลยีสมัยใหมจากตางประเทศ
๗. ขอใดเปนคุณลักษณะของคนในทองถิ่นที่สามารถพึ่งตนเองไดอยางยั่งยืน
ก. ลุงชม มีความพอประมาณ ปลูกผักสวนครัวไวบริโภคในครัวเรือน
ข. มาลี มีความรู และตองซื้อโทรศัพทมือถือยี่หอที่ตนเองชอบทุกครั้งเมื่อมีรุนใหม
ค. รักไทย มีความรอบคอบ ตรวจสอบสินคาอยางละเอียดถึงแมจะเลยกําหนดสงใหลูกคา
ก็ตาม
ง. ปาศรี มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ ชอบบริจาคเงินใหเด็กยากจนถึงแมวาตนเองจะหาเงิน
ไดลําบาก
๘. ขอใดเปนองคกรทีร่ วมตัวกันดวยความสมัครใจเพือ่ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายใตหลัก
ประชาธิปไตย โดยไมแสวงหากําไรและแบงปนผลประโยชนอยางเปนธรรม ฉบับ
ก. สหกรณ เฉลย
ข. กลุมออมทรัพย
ค. ธนาคารอาคารสงเคราะห
ง. ธนาคารแหงประเทศไทย
๙. ประเภทของสหกรณและการดําเนินกิจการของสหกรณขอใดไมสัมพันธกัน
ก. สหกรณการเกษตร - ใหสินเชื่อดานการเกษตร
ข. สหกรณประมง - จําหนายอุปกรณการทําประมง
ค. สหกรณบริการ - จําหนายผลิตภัณฑอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ง. สหกรณรานคา - จัดสรรที่ดินทํากินใหแกเกษตรกรประกอบอาชีพ
๑๐. เพราะเหตุใดระบบสหกรณจึงมีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
ก. ทําใหสังคมมีการพัฒนาอยางยั่งยืน
ข. ทําใหประชาชนมีความเปนอยูอยางรํ่ารวย
ค. ชวยยกระดับความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น
ง. เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันระดับประเทศ

๒๗
แบบบันทึกผลการประเมิน

คะแนน ผลการประเมิน
เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู
เต็ม ได ผาน ไมผาน
● กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ส ๓.๑ ม.๓/๒
กิจกรรมที่ ๒.๑ ๕ …………….
กิจกรรมที่ ๒.๒ ๕ …………….
กิจกรรมที่ ๒.๓ ๑๐ …………….
กิจกรรมที่ ๒.๔ ๕ …………….
กิจกรรมที่ ๒.๕ ๕ …………….
กิจกรรมที่ ๒.๖ ๕ …………….
กิจกรรมที่ ๒.๗ ๕ …………….

รวม ๔๐
ส ๓.๑ ม.๓/๓
กิจกรรมที่ ๒.๘ ๕ …………….
ฉบับ กิจกรรมที่ ๒.๙ ๕ …………….
เฉลย กิจกรรมที่ ๒.๑๐ ๑๐ …………….
กิจกรรมที่ ๒.๑๑ ๕ …………….
กิจกรรมที่ ๒.๑๒ ๕ …………….

รวม ๓๐
คะแนนรวมทั้งหมด ๗๐
● แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๕๙ - ๗๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถงึ ครึง่ ของคะแนนเต็ม ๔๗ - ๕๘ ๓ ดี
๓๕ - ๔๖ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๓๕ ๑ ปรับปรุง

๒๘
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๓ º·ºÒ·¢Í§ÃÑ°ºÒÅ
㹡ÒþѲ¹Ò»ÃÐà·È
รัฐบาลมีภารกิจหลัก คือ การพัฒนาประเทศใหมีความเจริญรุงเรือง ประชาชนมีความ
เปนอยูท ดี่ ี การศึกษาบทบาทหนาทีข่ องรัฐบาลในการพัฒนาประเทศจะทําใหมคี วามรู ความเขาใจ
ในบทบาทหนาที่ของรัฐบาลและการแกไขปญหาตางๆ ทั้งทางดานการเมืองการปกครอง สังคม
การศึกษา และดานเศรษฐกิจ

กิจกรรมฝกทักษะ

กิจกรรม ใหนักเรียนอานขอความที่กําหนดใหแลวนําขอความบทบาทของรัฐบาลดานตางๆ
เติมลงในชองวางใหถูกตอง

ดานการเมืองการปกครอง ดานสังคม ดานเศรษฐกิจ ดานการศึกษา


ด……………………………………………………..
านการเมืองการปกครอง ฉบับ
๑. กระจายอํานาจการปกครองจากสวนกลางไปสูท อ งถิน่ และชุมชน เฉลย
ด……………………………………………………..
านเศรษฐกิจ/ดานการเมืองการปกครอง๒. ควบคุมคาจางแรงงาน
ด……………………………………………………..
านการศึกษา ๓. ปฏิรปู การศึกษาเพือ่ พัฒนาศักยภาพเด็กไทย เพือ่ เตรียมพรอม
รับการเขาสูประชาคมอาเซียน
ด……………………………………………………..
านเศรษฐกิจ ๔. ควบคุมราคาสินคาอุปโภคที่มีความจําเปนพื้นฐานเพื่อไมให
ราคาสูงมากจนผูบริโภคเดือดรอน
ด……………………………………………………..
านสังคม ๕. สงเสริมและพัฒนาภาคราชการใหมีประสิทธิภาพและมี
ธรรมาภิบาล
ด……………………………………………………..
านเศรษฐกิจ ๖. สงเสริมการลงทุนทั้งในประเทศและตางประเทศ
ด……………………………………………………..
านการศึกษา ๗. จัดใหมกี ารศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๑๒ ป โดยเด็กไทยทุกคนมีโอกาส
เทาเทียมกัน
ด……………………………………………………..
านการเมืองการปกครอง ๘. จัดใหมีการเลือกตั้งระดับชาติ และระดับทองถิ่น
ด……………………………………………………..
านเศรษฐกิจ ๙. สงเสริม สนับสนุนงบประมาณในการวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพ
การผลิตและการแขงขันของประเทศ
ด……………………………………………………..
านการศึกษา ๑๐. จัดสรรทุนการศึกษาแกผูดอยโอกาสทางสังคม

๒๙
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๓.๑ ใหนักเรียนเติมขอความบทบาทหนาที่ของรัฐบาลในการ
พัฒนาประเทศในดานตางๆ ลงในแผนผังใหถูกตอง ñð
(ส ๓.๒ ม.๓/๑)

ดานการเมืองการปกครอง ดานสังคม
๑. การสรางอธิปไตยใหมีความเสมอภาค โดย
…………………………………………………………………………………… ๑. ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบตางๆ
……………………………………………………………………………………
รัฐเขาไปมีบทบาทใหประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ
…………………………………………………………………………………… ใหทันสมัย เหมาะกับยุคสมัย เพื่อสราง
……………………………………………………………………………………
เทาเทียมกัน
…………………………………………………………………………………… ความสมดุลในการจัดสรรผลประโยชน
……………………………………………………………………………………
๒. สงเสริมและควบคุมการดําเนินการของ
…………………………………………………………………………………… ๒. สงเสริมการอยูรวมกันอยางมีความสุข
……………………………………………………………………………………
ภาคเอกชน โดยการเขาไปกําหนดระเบียบ
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
กฎเกณฑตางๆ
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………

ฉบับ
เฉลย หนาที่ของรัฐบาล
ในการพัฒนาประเทศ

ดานเศรษฐกิจ ดานการศึกษา
๑. สงเสริมการคาและการลงทุนทัง้ ในประเทศ
…………………………………………………………………………………… ๑. จั ด การศึ ก ษาให ทั่ ว ถึ ง และเท า เที ย มกั น
……………………………………………………………………………………
และระหวางประเทศ โดยการสงเสริมสิทธิ
…………………………………………………………………………………… เพื่ อ ให ค นทุ ก คนมี โ อกาสได รั บ การศึ ก ษา
……………………………………………………………………………………
พิเศษตางๆ เพื่อจูงใจในการลงทุน เชน สิทธิ
…………………………………………………………………………………… อยางมีคุณภาพเทาเทียมกัน
……………………………………………………………………………………
ประโยชนดา นภาษี ใหสถาบันการเงินปลอยกู
…………………………………………………………………………………… ๒. จัดการศึกษากระจายไปยังพื้นที่ตางๆ
……………………………………………………………………………………
เพื่อการลงทุนในอัตราดอกเบี้ยตํ่า
…………………………………………………………………………………… เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
……………………………………………………………………………………
๒. เพิม่ รายไดใหกบั ประชาชน โดยการสงเสริม
…………………………………………………………………………………… ๓. เปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวม
……………………………………………………………………………………
การประกอบอาชีพตางๆ การใหความรูเ กีย่ วกับ
…………………………………………………………………………………… ในการจัดการศึกษา
……………………………………………………………………………………
อาชีพ เพื่อใหประชาชนมีรายไดพอเหมาะกับ
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
สภาวะเศรษฐกิจและคาครองชีพ
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๓๐
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๓.๒ ใหนักเรียนอานสถานการณที่กําหนดให แลวเติมขอความ õ
ในชองวางใหถูกตอง (ส ๓.๒ ม.๓/๑)
แนวทางการแกปญหาของรัฐบาล
รั………………………………………………………………………………………….
ฐบาลมีบทบาทในการควบคุมราคาสินคาอุปโภค
๑. ในสถานการณ ที่ สิ น ค า อุ ป โภคบริ โ ภค บริ โภคดังกลาว เนือ่ งจากเปนสินคาพืน้ ฐานทีค่ น
………………………………………………………………………………………….
ประเภทนํา้ ตาล นม นํา้ มันพืช ไข ขาวสาร
ส………………………………………………………………………………………….
วนใหญตองบริโภค เพราะถาราคาสินคาแพง
มีราคาแพง
ประชาชนจะได รับความเดือดรอนจากคาครองชีพ
………………………………………………………………………………………….
ที………………………………………………………………………………………….
่เพิ่มสูงขึ้น

๒. ในสถานการณทสี่ นิ คาและบริการประเภท รั………………………………………………………………………………………….


ฐ บาลมี บ ทบาทในการแทรกแซงราคาสิ น ค า
รถยนตโดยสารปรับเพิม่ ราคา ราคานํา้ มัน อุ………………………………………………………………………………………….
ปโภคและบริโภคดังกลาวเพื่อไมใหปรับขึ้นราคา
เชือ้ เพลิง คานํา้ ประปา ไฟฟา มีราคาแพง อย างรวดเร็ว โดยอาจจายเงินชดเชยคาโดยสาร
………………………………………………………………………………………….
ลดค าไฟฟาครัวเรือน เปนตน
………………………………………………………………………………………….

ฉบับ
๓. ในสถานการณ ที่ ร าคาข า ว หรื อ สิ น ค า รั………………………………………………………………………………………….
ฐบาลมีบทบาทในการพยุงราคาหรือประกันราคา เฉลย
ทางการเกษตรราคาไมมเี สถียรภาพ เพราะ หรื อรับจํานําสินคาดังกลาวเพื่อไมใหเกษตรกร
………………………………………………………………………………………….
ปริมาณการผลิตเปลี่ยนแปลงไป ทําให เดื อดรอน
………………………………………………………………………………………….
ราคาเปลีย่ นแปลงตามไปดวย ผูผ ลิตจึงอยู ………………………………………………………………………………………….
ในสถานะที่เสียเปรียบ ………………………………………………………………………………………….

๔. ในสถานการณที่ชาวสวนผลไมออกมา รั………………………………………………………………………………………….
ฐบาลมีบทบาทในการพยุงราคาและหาตลาดให
ประทวงราคาผลไมที่ตกตํ่า เนื่องจาก เกษตรกร เชน หาชองทางในการสงออก รับซื้อ
………………………………………………………………………………………….
ผลผลิตมีมากและมีผลไมจากตางประเทศ จากเกษตรกรและนํ าไปขายในพื้นที่ตางๆ เปนตน
………………………………………………………………………………………….
เขามาขายมาก ทําใหความตองการบริโภค ………………………………………………………………………………………….
ของคนในประเทศมีไมมาก ………………………………………………………………………………………….

๕. ในชวงที่ยางพาราราคาตกตํ่า ในขณะที่ รั………………………………………………………………………………………….


ฐบาลมีบทบาทในการประกันราคา และหาตลาด
ความตองการของตลาดโลกยังอยูในภาวะ ใหม เพื่อระบายสินคาเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันให
………………………………………………………………………………………….
ปกติ แตตลาดคูค า ของไทย ไดมกี ารรับซือ้ เกษตรกรปรั บปรุงคุณภาพการผลิตเพื่อจะไดขาย
………………………………………………………………………………………….
ยางพาราจากประเทศเพื่อนบานเพิ่มขึ้น สิ………………………………………………………………………………………….
นคาในราคาที่เหมาะสม
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน) ๓๑
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๓.๓ ใหนักเรีย นกาเครื่อ งหมาย ✓ลงในช อ งนโยบายทาง ñð
เศรษฐกิจใหสัมพันธกัน (ส ๓.๒ ม.๓/๒)
นโยบายทางเศรษฐกิจ
การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
การผลิต การเงิน การคลัง
๑. การเพิ่มผลผลิตสินคาและบริการเพื่อตอบสนองความตองการของ
ประชาชน จัดสรรและใหผลตอบแทนจากการผลิตใหกระจายไปสูเ จาของ ✓
ปจจัยการผลิตอยางเปนธรรม
๒. ในชวงที่เศรษฐกิจตกตํ่ามีปริมาณเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ
นอย ประชาชนมีการใชจายนอย ถารัฐบาลตองการเพิ่มการใชจายของ
ประชาชนโดยรวม รัฐดําเนินการโดยเพิ่มการใชจายของรัฐบาลเพื่อให ✓
เกิดการผลิตและการจางงาน
๓. นโยบายเกีย่ วกับรายรับและรายจายของรัฐบาล เชน การจัดหารายได
และการใชจา ยของรัฐบาล การกอหนีส้ าธารณะ และการบริหารเงินคงคลัง ✓
๔. ชวยใหมีสินคาและบริการเพิ่มขึ้น เพื่อสนองความตองการในการ
บริโภคของประชาชนในประเทศ และทําใหมีสินคาสงไปจําหนายยัง ✓
ฉบับ ตางประเทศเพิ่มขึ้น
เฉลย
๕. ธนาคารกลางใชนโยบายจํากัดเครดิต โดยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยให
สูงขึ้น เพื่อลดการกูยืม ✓
๖. ธนาคารกลางใชนโยบายขยายเครดิต โดยการลดอัตราดอกเบี้ยให
ตํ่าลงเพื่อใหธนาคารพาณิชยนําไปปลอยสินเชื่อใหกับลูกคาของตน ✓
เพิ่มมากยิ่งขึ้น
๗. การบริหารรายจายของรัฐบาล การใชจา ยของรัฐบาล เปนการใชจา ย
ในการบริหารประเทศตามภาระหนาที่ เพือ่ จัดใหมสี นิ คาและบริการตางๆ
ซึ่งจะเปนประโยชนแกประชาชน โดยจัดสรรคาใชจายเปนงบประมาณ ✓
แผนดิน
๘. มีเปาหมายสําคัญเพื่อใหเศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอยางมี
เสถียรภาพและประชาชนมีความอยูดีกินดี ✓
๙. ดําเนินงานดานการควบคุมปริมาณเงินและสินเชือ่ ของธนาคารกลาง
ใหอยูในระดับทีเ่ หมาะสมเพือ่ ใหประชาชนมีงานทํา มีรายไดเพิม่ ขึน้ และ ✓
เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาและอัตราแลกเปลี่ยน
๑๐. ในชวงที่เศรษฐกิจซบเซา ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมีนอย
รัฐอาจมีความจําเปนตองกูเ งินจากตางประเทศเขามาใชในโครงการตางๆ ✓
เพื่อกระตุนเศรษฐกิจ โดยการกูยืมเงินภายในประเทศและตางประเทศ

๓๒
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๓.๔ ใหนักเรียนวิเคราะหนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล ñð
(ส ๓.๒ ม.๓/๒)

นโยบายของรัฐบาล เปาหมาย

ช ว ยให มี สิ น ค า และบริ ก ารเพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ ตอบสนองความ


……………………………………………………………………………………………………

๑. นโยบายการเพิ่มผลผลิต ตองการในการบริโภคของประชาชนภายในประเทศและ
……………………………………………………………………………………………………
ทําใหมีสินคาสงไปจําหนายยังตางประเทศเพิ่มขึ้น เชน
……………………………………………………………………………………………………
สงเสริมการใชเทคโนโลยี
……………………………………………………………………………………………………

เพื่ อ ควบคุ ม ปริ ม าณการผลิ ต สิ น ค า ชนิ ด ใดชนิ ด หนึ่ ง ใน


……………………………………………………………………………………………………
๒. นโยบายควบคุมปริมาณการผลิต ทองตลาดออกมาจําหนายไมใหมากเกินไป ใหมีปริมาณ
……………………………………………………………………………………………………
พอเหมาะ เพื่อใหราคาไมสูงและไมตํ่าจนเกินไป
……………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………
ฉบับ
เฉลย
โดยการกําหนดอัตราคาจางแรงงาน การเขาไปแทรกแซง
……………………………………………………………………………………………………
๓. นโยบายจัดสรรผลตอบแทนปจจัย ราคาสินคาไมใหสูง-ตํ่าเกินไป การกําหนดคาเชาที่ดิน
……………………………………………………………………………………………………
การผลิต ที่เหมาะสม การประกันรายไดของเกษตรกร การควบคุม
……………………………………………………………………………………………………
ราคาปจจัยการผลิต
……………………………………………………………………………………………………

จากการจัดเก็บภาษีอากร รายไดจากหนวยงานธุรกิจ
……………………………………………………………………………………………………
๔. การจัดหารายไดของรัฐบาล ที่รัฐบาลเปนเจาของ เชน สํานักงานสลากกินแบงรัฐบาล
……………………………………………………………………………………………………
โดยกระทรวงการคลัง เพื่อนํามาพัฒนาประเทศ
……………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………

เปนการใชจายเงินงบประมาณแผนดินทีผ่ านการอนุมัตจิ าก
……………………………………………………………………………………………………
๕. การใชจายเงินงบประมาณ รัฐสภา เพื่อนําไปใชในการพัฒนาประเทศ เชน พัฒนาทาง
……………………………………………………………………………………………………
ดานการศึกษา สาธารณูปโภคพื้นฐาน กระตุนเศรษฐกิจ
……………………………………………………………………………………………………
เพื่อแกปญหาการวางงาน เปนตน
……………………………………………………………………………………………………

๓๓
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๓.๕ ใหนักเรียนอานเหตุการณที่กําหนดใหแลววิเคราะหวา ñð
เกี่ยวของกับภาวะเงินเฟอหรือเงินฝด โดยเขียนเติมลงใน
ชองวางใหถูกตอง (ส ๓.๒ ม.๓/๔)
เงินเฟอ ๑. ภาวะทีส่ นิ คามีราคาสูงขึน้ ทําใหคา ครองชีพของประชาชนเพิม่ สูงขึน้ ดวย
……………………

เงินฝด ๒. ภาวะที่ระดับราคาทั่วๆ ไปของสินคาและบริการทุกชนิดลดลงเรื่อยๆ


……………………

เงินเฟอ ๓. เมือ่ สินคามีราคาสูงขึน้ สงผลใหคา ครองชีพของประชาชนสูงขึน้ เปนสาเหตุใหเกิด


……………………

การกระจายรายไดเหลื่อมลํ้ากันมากยิ่งขึ้น ประชาชนขาดความเชื่อมั่นในรัฐบาล
ทําใหรัฐบาลมีสถานภาพไมมั่นคง
เงินฝด ๔. ประชาชนมีความตองการสินคาและบริการลดลง เนื่องจากการดําเนินนโยบาย
……………………

การเงินอยางเขมงวด
เงินฝด ๕. เกิดจากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า สินคาและบริการจําหนายไดนอยลง อัตราคาจาง
……………………

แรงงานไมสูงขึ้น ปจจัยการผลิตอื่นๆ มีแนวโนมลดราคาลง


เงินเฟอ ๖. ทําใหราคาสินคาในประเทศและสินคาที่สงออกไปจําหนายยังตางประเทศมีราคา
……………………

ฉบับ สูงขึน้ ปริมาณสินคาทีข่ ายใหกบั ตางประเทศจึงลดลง แตมสี นิ คาจากตางประเทศ


เฉลย
เขามาขายมากขึ้น
เงินเฟอ ๗. อํานาจการซื้อของเงินลดลง นั่นหมายถึง มีเงินจํานวนเทาเดิมแตซื้อสินคาไดใน
……………………

ปริมาณที่ลดลง
เงินเฟอ ๘. ความตองการสินคาของประชาชนขยายตัวอยางรวดเร็ว เกินกวาความสามารถ
……………………

ในการผลิตจะตอบสนองไดจึงเกิดภาวะสินคาขาดแคลน
เงินฝด ๙. สินคาและบริการมีแนวโนมลดลง ผูผ ลิตจึงลดปริมาณการผลิต ลดการลงทุน จึงเกิด
……………………

ภาวะการวางงานเพิม่ สูงขึน้ ทําใหรายไดของประชาชนและผลกําไรของธุรกิจลดลง


เศรษฐกิจจึงมีแนวโนมหดตัวลง
เงินเฟอ ๑๐. ทําใหการกระจายอํานาจซื้อที่แทจริงเปลี่ยนไป มีการกระจายรายไดอยาง
……………………

ไมเปนธรรมเพิ่มขึ้น

๓๔
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๓.๖ ใหนักเรียนวิเคราะหปญหาและผลกระทบจากภาวะเงินเฟอ õ
เงินฝด ลงในชองวางที่กําหนดให (ส ๓.๒ ม.๓/๔)
ปญหาและอุปสรรค สาเหตุ ผลกระทบ
เงินเฟอ ๑. ความตอ งการสิน คาและบริ การ
…………………………………………………………………. ๑. ทําใหราคาสินคาเพิ่มสูงขึ้น
………………………………………………………………….
เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเกินกวาความ
…………………………………………………………………. ๒. คาครองชีพสูงขึ้น
………………………………………………………………….
สามารถในการผลิ ต ทํ า ให เ กิ ด
…………………………………………………………………. ๓. เป น การกระตุ  น เศรษฐกิ จ ภาค
………………………………………………………………….
ภาวะขาดแคลน ทําใหราคาสินคา
…………………………………………………………………. การผลิ ต ให มี ก ารขยายการผลิ ต
………………………………………………………………….
สูงขึ้นเรื่อยๆ
…………………………………………………………………. มีการจางงานเพิ่มขึ้น
………………………………………………………………….
๒. ตนทุนการผลิตสินคาเพิ่มสูงขึ้น
…………………………………………………………………. ๔. รัฐบาลมีรายไดเพิ่มจากภาษี
………………………………………………………………….
จากสาเหตุ เชน การขอเพิม่ คาแรง
…………………………………………………………………. มูลคาเพิ่มจากราคาสินคาที่เพิ่มขึ้น
………………………………………………………………….
ผู  ผลิ ต กํ า หนดสั ด ส ว นของกํ า ไร
…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….
เพิม่ ขึน้ เกิดวิกฤตการณทางการเมือง
…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….
ความฝนแปรทางธรรมชาติ เปนตน
…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….

…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….
ฉบับ
เฉลย
…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….

เงินฝด ๑. เกิดจากความตองการสินคาและ ………………………………………………………………….


…………………………………………………………………. ๑. มีการผลิตและการลงทุนนอยลง
บริ ก ารลดลง ทํ า ให ผู ผลิ ต ลด ………………………………………………………………….
…………………………………………………………………. ๒. เกิดภาวะการวางงานเพิ่มสูงขึ้น
การผลิต ทําใหเกิดภาวะขาดแคลน ………………………………………………………………….
…………………………………………………………………. ๓. รัฐเก็บภาษีการคาและภาษีเงินได
๒. ปริ ม าณเงิ น หมุ น เวี ย นในระบบ ………………………………………………………………….
…………………………………………………………………. ไดนอยลง
เศรษฐกิจมีนอยลง
…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….
๓. เกิดจากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า
…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….

…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….

…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….

…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….

…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….

…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….

…………………………………………………………………. ………………………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๓๕
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๓.๗ ใหนักเรียนเติมขอความวิธีการแกปญหาภาวะเงินเฟอและ ñð
เงินฝดของรัฐบาลลงในชองวาง (ส ๓.๒ ม.๓/๔)
๑. กํ า หนดราคาขายสิ น ค า ที่
………………………………………………………. ๑. เพิม่ การใชจา ยของรัฐบาลใน
……………………………………………………….
จําเปนตอการครองชีพไมใหสูง
………………………………………………………. โครงการขนาดใหญเพื่อใหเกิด
……………………………………………………….
เกินไปเพื่อชวยใหคาครองชีพ
……………………………………………………… การสรางงาน จางงาน ทําให
………………………………………………………
ของประชาชนไมสูงมาก
……………………………………………………… แรงงานมีรายได และกระตุน
………………………………………………………
……………………………………………………… การใชจาย
………………………………………………………

๒. ลดปริ ม าณเงิ น หมุ น เวี ย น


………………………………………………………. แนวทาง แนวทาง ๒. เพิ่ ม ปริ ม าณเงิ น หมุ น เวี ย น
……………………………………………………….
ภายในประเทศ โดยเพิ่มอัตรา
……………………………………………………….
การแก การแก ในประเทศ เชน ลดอัตราเงิน
……………………………………………………….
เงินสํารองตามกฎหมาย เพื่อ
………………………………………………………
ปญหา ปญหา สํ า รองตามกฎหมายเพื่ อ ให
………………………………………………………
ภาวะ ภาวะ
ให ธ นาคารพาณิ ช ย ส ร า งเงิ น
……………………………………………………… ธนาคารพาณิชยสรางเงินฝาก
………………………………………………………
เงินเฟอ เงินฝด
ฝากใหนอยลง
……………………………………………………… ไดมากขึ้น
………………………………………………………

ฉบับ ๓. รั ฐ บาลขายพั น ธบั ต รและตั๋ ว เงิ น คงคลั ง


…………………………………………………………………………………… ๓. รัฐสงเสริมการสงสินคาออกไปจําหนายยัง
……………………………………………………………………………………
เฉลย ซึ่งทําใหปริมาณเงินหมุนเวียนลดลง มีผลให
………………………………………………………………………………….. ตางประเทศใหมากขึน้ เพือ่ ชวยใหเกิดการผลิต
…………………………………………………………………………………..
อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้น ผูผลิตจึงลดการลงทุน
………………………………………………………………………………….. การจางงาน และสงผลใหประชาชนในประเทศ
…………………………………………………………………………………..
ลดการจ า งงาน ทํ า ให ค นมี ร ายได ล ดลง
…………………………………………………………………………………. มีรายไดสูงขึ้น
………………………………………………………………………………….
การใชจายก็จะลดลงดวย
…………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………….

๔. ใชนโยบายการคลัง เพือ่ ลดความตองการซือ้


…………………………………………………………………………………… ๔. ลดภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา ทําใหคา ใชจา ย
……………………………………………………………………………………
ของผูบ ริโภคในประเทศ ดวยการเพิม่ อัตราภาษี
………………………………………………………………………………….. นอยลง
…………………………………………………………………………………..
อากรและลดการใชจายของรัฐบาล
………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………..

๕. ควบคุมการสงออกดวยการเพิม่ อากรสินคา
…………………………………………………………………………………… ๕. ลดอัตราภาษีการคา ภาษีมูลคาเพิ่ม ทําให
……………………………………………………………………………………
ขาออก กําหนดโควตาการสงออก ทําใหตน ทุน
………………………………………………………………………………….. ราคาสินคาถูกลง คนมีอาํ นาจซือ้ มากขึน้ ทําให
…………………………………………………………………………………..
สูงขึ้น ปริมาณสินคาสงออกก็จะลดลง ทําให
………………………………………………………………………………….. มี ป ริ ม าณเงิ น หมุ น เวี ย นในระบบเศรษฐกิ จ
…………………………………………………………………………………..
มีสนิ คาจําหนายในประเทศมากขึน้ ราคาสินคา
…………………………………………………………………………………. มากขึ้น
………………………………………………………………………………….
จะลดลงตามไปดวย
…………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๓๖
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๓.๘ ใหนักเรียนวิเคราะหปญหาการวางงานและแนวทางการ ñð
แกปญหา โดยเติมขอความลงในแผนผัง (ส ๓.๒ ม.๓/๕)

ปญหาการวางงาน

สาเหตุ ผลกระทบ
๑. เกิดจากการวางงานชั่วคราว ซึ่งเปน
…………………………………………………………………………………… ๑. ทําใหมีการใชทรัพยากรแรงงานไมสมบูรณ
……………………………………………………………………………………
การวางงานในชวงสั้น
…………………………………………………………………………………… ๒. รัฐเสียผลประโยชนจากผูท สี่ าํ เร็จการศึกษา
……………………………………………………………………………………
๒. เกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงในการผลิ ต
…………………………………………………………………………………… สูงแตตองวางงาน
……………………………………………………………………………………
แรงงานปรับตัวไมทนั เชน การใชเทคโนโลยี
…………………………………………………………………………………… ๓. รายไดของแรงงานลดลง ทําใหการบริโภค
……………………………………………………………………………………
การยายแหลงการผลิต
…………………………………………………………………………………… ลดลง การลงทุนก็ลดลง
……………………………………………………………………………………
๓. เกิดจากการวางงานตามฤดูกาล เชน
…………………………………………………………………………………… ๔. รัฐตองใชงบประมาณมากขึ้นเพื่อกระตุน
……………………………………………………………………………………
หลังฤดูเก็บเกี่ยว
…………………………………………………………………………………… การลงทุนสรางงานใหกับผูวางงาน
……………………………………………………………………………………
ฉบับ
เฉลย
๔. เกิ ด จากวั ฏ จั ก รเศรษฐกิ จ เช น ช ว งที่
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
เศรษฐกิจกิจดี มีการผลิตสูง การจางงาน
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
ก็ขยายตัว แตชว งเศรษฐกิจหดตัว ผูป ระกอบ
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………
การลดการผลิต ทําใหแรงงานตองตกงาน
…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………

แนวทางการแกปญหา
๑. การใชนโยบายทางการเงิน เพื่อเพิ่มปริมาณเงินหมุนเวียนภายในประเทศ สงผลใหอัตราดอกเบี้ย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลดตํ่าลง ทําใหมีการกูเงินมาลงทุนมากขึ้น สงผลใหเกิดการจางงานตามมา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๒. การใชนโยบายการคลัง เปนการดําเนินนโยบายดานภาษี เชน ลดอัตราภาษีสรรพสามิต
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ภาษีมูลคาเพิ่มเพื่อราคาสินคาจะไดถูกลง เปนการกระตุนการบริโภค หรือเพิ่มการใชจายของรัฐ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ในโครงการขนาดใหญ เพื่อใหเกิดการจางงาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๓๗
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๓
ñð
คําชี้แจง ใหนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. ขอใดเปนเปาหมายสําคัญของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศดานสังคม
ก. เพื่อใหคนในสังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข
ข. เพื่อใหประชาชนมีความมั่นคงและเสมอภาคกัน
ค. เพื่อใหประชาชนมีคุณภาพ คุณธรรมและความรอบรู
ง. เพื่อสงเสริมดานการคาและการลงทุนระหวางประเทศ
๒. นโยบายเรียนฟรี ๑๕ ป อยางมีคุณภาพ เปนบทบาทของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศโดยมี
เปาหมายสําคัญอยางไร
ก. เพื่อกระจายการศึกษาไปยังทองถิ่นตางๆ
ข. เพื่อผลิตผูที่สําเร็จการศึกษาไปพัฒนาประเทศ
ค. เพื่อใหคนไทยไดมีโอกาสในการศึกษาอยางเทาเทียมกัน
ง. เพื่อใหผูสําเร็จการศึกษาประกอบอาชีพตามที่ตนเองใฝฝนไว
ฉบับ ๓. เมื่อใดรัฐบาลจึงควรมีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจในการ “ควบคุมราคา”
เฉลย ก. เมื่อยางพารามีราคาตกตํ่า
ข. เมื่อราคานํ้ามันเชื้อเพลิงมีราคาสูงขึ้น
ค. เมื่อราคาผลผลิตทางการเกษตรตกตํ่า
ง. เมื่อไขไก เนื้อสุกร นํ้าตาล มีราคาสูงขึ้น
๔. ในกรณีที่ประเทศไทยประสบปญหาการขาดดุลการชําระเงินติดตอกันหลายป รัฐบาลจะใช
มาตรการใดในการแกปญหา
ก. การกําหนดอากรขาออก
ข. การกําหนดโควตาการนําเขา
ค. ลดคาเงินตราของประเทศลง
ง. เพิ่มคาเงินตราของประเทศใหสูงขึ้น
๕. “เงินเฟอ” หมายถึงขอใด
ก. ภาวะที่อํานาจการซื้อของเงินในมือประชาชนเพิ่มขึ้น
ข. ภาวะที่ระดับราคาของสินคาและบริการทุกชนิดลดลงเรื่อยๆ
ค. ภาวะที่ระดับราคาของสินคาและบริการทุกชนิดเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ
ง. ภาวะที่ประชาชนมีเงินจํานวนเทาเดิมแตสามารถซื้อสินคาไดมากขึ้น
๓๘
๖. ขอใดเปนผลกระทบที่ประชาชนไดรับจากปญหาเงินเฟอมากที่สุด
ก. ประชาชนมีคาครองชีพตํ่าลง
ข. ประชาชนมีคาครองชีพสูงขึ้น
ค. ประชาชนมีอํานาจการซื้อที่สูงขึ้น
ง. ประชาชนสามารถออมเงินไดมากขึ้น
๗. ขอใดเปนมาตรการในการแกปญหาเงินเฟอ
ก. ลดปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศ
ข. เพิ่มปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศ
ค. ลดอัตราภาษีอากรและเพิ่มการใชจายของรัฐบาล
ง. สงเสริมการสงสินคาออกไปจําหนายตางประเทศ
๘. “เงินฝด” หมายถึงขอใด
ก. ภาวะที่อํานาจการซื้อของเงินในมือประชาชนลดลง
ข. ภาวะที่ระดับราคาทั่วไปของสินคาและบริการทุกชนิดลดลง
ค. ภาวะที่ระดับราคาทั่วไปของสินคาและบริการทุกชนิดเพิ่มสูงขึ้น
ง. ภาวะที่ประชาชนมีเงินจํานวนเทาเดิมแตสามารถซื้อสินคาไดนอยลง ฉบับ
๙. ขอใดเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาเงินฝด เฉลย
ก. การขอขึ้นคาแรงของสหภาพแรงงาน
ข. ตนทุนในการผลิตสินคาและบริการสูงขึ้น
ค. ความตองการสินคาและบริการของประชาชนลดลง
ง. ความตองการสินคาและบริการของประชาชนสูงขึ้น
๑๐. ปญหาการวางงานมีผลกระทบตอฐานะทางการคลังของรัฐบาลอยางไร
ก. รัฐบาลเก็บภาษีไดนอยลง
ข. รัฐบาลมีรายไดเขาคลังมากขึ้น
ค. มีเงินตราจากตางประเทศนอยลง
ง. รัฐบาลมีรายไดจากการลงทุนเพิ่มขึ้น

๓๙
แบบบันทึกผลการประเมิน

คะแนน ผลการประเมิน
เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู
เต็ม ได ผาน ไมผาน
● กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ส ๓.๒ ม.๓/๑
กิจกรรมที่ ๓.๑ ๑๐ …………….
กิจกรรมที่ ๓.๒ ๕ …………….
รวม ๑๕
ส ๓.๒ ม.๓/๒
กิจกรรมที่ ๓.๓ ๑๐ …………….
กิจกรรมที่ ๓.๔ ๑๐ …………….
รวม ๒๐
ฉบับ
ส ๓.๒ ม.๓/๔
เฉลย กิจกรรมที่ ๓.๕ ๑๐ …………….
กิจกรรมที่ ๓.๖ ๕ …………….
กิจกรรมที่ ๓.๗ ๑๐ …………….
รวม ๒๕
ส ๓.๒ ม.๓/๕
กิจกรรมที่ ๓.๘ ๑๐ …………….

รวม ๑๐
คะแนนรวมทั้งหมด ๗๐
● แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๓ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๕๙ - ๗๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถงึ ครึง่ ของคะแนนเต็ม ๔๗ - ๕๘ ๓ ดี
๓๕ - ๔๖ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๓๕ ๑ ปรับปรุง
๔๐
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๔ ¡ÒäŒÒáÅСÒÃŧ·Ø¹
ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È
ประเทศไทยมีรายไดหลักจากการคาระหวางประเทศ และการลงทุนทัง้ ในและตางประเทศ
ซึ่งสินคาสงออกสวนใหญเปนสินคาทางภาคอุตสาหกรรมและสินคาเกษตร โดยในปจจุบันรูปแบบ
การคามีการเปลี่ยนแปลงเปนแบบเสรีมากขึ้น มีการกีดกันทางการคาโดยการใชมาตรการตางๆ
การศึกษาการคาและการลงทุนระหวางประเทศจะทําใหมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับสถานการณ
ทางเศรษฐกิจ สถานะทางการคาของไทย นโยบายของรัฐบาลในการสงเสริมการคาและการลงทุน
และการพัฒนาศักยภาพในการแขงขัน เพื่อความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจของประเทศ

กิจกรรมฝกทักษะ

กิจกรรมที่ ๑ ใหนักเรียนดูแผนภูมิมูลคาสินคาออก สินคาเขา และดุลการคาของไทย


และตอบคําถามใหถูกตอง
มูลคา : (ลานบาท) ฉบับ
๗๐๐,๐๐๐ เฉลย

๕๐๐,๐๐๐

๓๐๐,๐๐๐ สงออก
นําเขา
๑๐๐,๐๐๐ ดุลการคา

-๑๐๐,๐๐๐
๕๔/๑
๕๔/๒
๕๔/๓
๕๔/๔
๕๔/๕
๕๔/๖
๕๔/๗
๕๔/๘
๕๔/๙
๕๔/๑๐
๕๔/๑๑
๕๔/๑๒

สถานะทางการคาของไทยเปนอยางไร
บางชวงมีการสงออกมากกวานําเขา เชน ในเดือน ก.พ. มี.ค. ก.ค. แตชวงไตรมาสสุดทายของป
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ไทยตองขาดดุลการคาอยางตอเนื่อง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๑
กิจกรรมที่ ๒ ใหนกั เรียนสืบคนอัตราแลกเปลีย่ นของเงินบาทกับเงินตราสกุลตางๆ จากสถาบัน
การเงิน แลวเติมลงในชองวาง
ประเทศ สกุลเงิน บาทตอ ๑ หนวยเงินตรา
๑. บรูไน ดอลลารบรูไน
……………………………………….. ๒๕.๘๐
……………………………………………….

๒. กัมพูชา เรียล
……………………………………….. ๐.๐๐๘
……………………………………………….

๓. อินโดนีเซีย รูเปย
……………………………………….. ๒.๗๙
……………………………………………….
(๑,๐๐๐)
๔. ลาว กีบ
……………………………………….. ๐.๐๐๔
……………………………………………….

๕. มาเลเซีย ริงกิต
……………………………………….. ๘.๕๕
……………………………………………….

๖. เมียนมา จั๊ต
……………………………………….. ๐.๐๒๘
……………………………………………….

ฉบับ ๗. ฟลิปปนส เปโซฟลิปปนส


……………………………………….. แลกเปน ๐.๗๓
……………………………………………….
เฉลย เงินบาทได
๘. สิงคโปร ดอลลารสิงคโปร
……………………………………….. ๒๕.๘๑
……………………………………………….

๙. เวียดนาม ดอง
……………………………………….. ๐.๐๐๑
……………………………………………….

๑๐. สหรัฐอเมริกา ดอลลารสหรัฐ


……………………………………….. ๓๔.๘๓
……………………………………………….

๑๑. สหภาพยุโรป ยูโร


……………………………………….. ๓๙.๒๑
……………………………………………….

๑๒. ญี่ปุน (๑๐๐) เยน


……………………………………….. ๓๔.๖๙
……………………………………………….

๑๓. จีน หยวน


……………………………………….. ๕.๒๖
……………………………………………….

๑๔. เกาหลีใต วอน


……………………………………….. ๐.๐๓
……………………………………………….

๑๕. ฮองกง ดอลลารฮองกง


……………………………………….. ๔.๕๑
……………………………………………….

๒๖ กันยายน ๒๕๕๙
อัตราแลกเปลี่ยน วันที่ ……………………………………………….. ธนาคารแหงประเทศไทย
ที่มา …………………………………………………..
๔๒ (พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๑ ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ใหถูกตอง (ส ๓.๒ ม.๓/๖) ñð
๑. เพราะเหตุใดจึงตองทําการคาขายกับตางประเทศ
เนื่องจากประเทศตางๆ มีทรัพยากรธรรมชาติ ที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ความชํานาญในการผลิตที่แตกตางกัน จึงเกิดการแลกเปลี่ยนสินคากับประเทศอื่น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. การคาขายกับตางประเทศมีความสําคัญอยางไร
เชน ทําใหประเทศตางๆ มีสินคาและบริการตางๆ มาสนองความตองการของประชาชนในประเทศ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ถึงแมวาเปนสินคาที่ผลิตในประเทศไมไดก็ตาม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. ประเทศไทยสามารถผลิตสินคาประเภทใดไดมาก เพราะเหตุใด
สินคาเกษตร เนือ่ งจากลักษณะภูมปิ ระเทศเหมาะแกการเพาะปลูก เชน การมีพนื้ ทีร่ าบลุม กวางใหญ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
มีดินอุดมสมบูรณ มีแหลงนํ้า เปนตน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๔. สถานการณการคาระหวางประเทศของไทยเปนอยางไร
ประเทศไทยมีรายไดหลักจากการสงออกสินคาไปขายตางประเทศ สินคาสงออกที่สําคัญ เชน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
เครื่องคอมพิวเตอร รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ สินคาเกษตร เชน ยางพารา ขาว
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๕. สินคาทางการเกษตรชนิดใดบางที่ประเทศไทยสงออกเปนอันดับตนๆ ของโลก เพราะเหตุใด ฉบับ
ขาวหอมมะลิ เพราะเปนขาวที่มีคุณภาพดี ปลูกไดดีในประเทศไทย เนื่องจากสภาพดินที่เหมาะสม เฉลย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การมีพื้นที่เพาะปลูกมาก ทําใหผลิตไดมาก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๖. การทีป่ ระเทศไทยเปนฐานการผลิตสินคาของประเทศตางๆ สงผลดี ผลเสีย ตอประเทศอยางไร
ผลดี เชน คนมีงานทํา แรงงานมีรายได ผลเสีย เชน เมื่อตางชาติยายฐานการผลิต แรงงานตอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตกงาน รายไดจากการสงออกในภาพรวมจะเปนของบริษัทแมซึ่งเปนของตางชาติ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๗. เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงมีการสงออกสินคาอุตสาหกรรมเปนอันดับตนๆ ของโลก
เพราะประเทศไทยเปนฐานการผลิตของสินคาตางๆ เชน เปนฐานการผลิตชิ้นสวนรถยนต
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประกอบรถยนตของบริษัทแมที่ญี่ปุน แลวสงไปขายทั่วโลก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๘. ดุลการคาหมายถึงอะไร
บัญชีแสดงมูลคาของสินคาเขากับมูลคาสินคาออกของประเทศ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๙. ดุลการคาสมดุล ดุลการคาเกินดุล ดุลการคาขาดดุล หมายถึงอะไร
ดุลการคาสมดุล คือ การสงสินคาออกเปนมูลคาเทากับสินคาเขา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ดุลการคาเกินดุล คือ มูลคาของสินคาสงออกสูงกวามูลคาสินคานําเขา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ดุลการคาขาดดุล คือ การสงสินคาออกมีมูลคานอยกวามูลคาสินคาเขา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑๐. เพราะเหตุใดการคาขายระหวางประเทศจึงมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว
เพราะมีการเปดเสรีการคามากขึ้น และมีความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีและระบบโลจิสติกส
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๔๓
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๒ ใหนกั เรียนอานขอความทีก่ าํ หนดให แลวเติมชือ่ ประเทศให õ
สัมพันธกัน (ส ๓.๒ ม.๓/๖)

โอเปก
…………………………………. ๑. เปนกลุมประเทศที่มีนํ้ามันดิบมาก ในแตละปมีรายไดจากการคานํ้ามัน
มหาศาล
ไทย เวียดนาม
…………………………………. ๒. มีพื้นที่ราบลุมกวางใหญเหมาะแกการปลูกขาว
บราซิ ล
…………………………………. ๓. แหลงผลิตกาแฟชั้นเยี่ยมของโลก
ออสเตรเลี ย
…………………………………. ๔. ดวยสภาพภูมิอากาศอบอุน มีทุงราบกวางใหญ จึงเปนประเทศที่สงออก
ผลิตภัณฑปศุสัตว ผลิตภัณฑนมรายใหญของโลก
ญี………………………………….
่ปุน ๕. เปนประเทศสงออกรถยนตรายใหญของโลก มีหลายยี่หอ เชน โตโยตา
ฮอนดา
จี………………………………….
น ๖. ประเทศยักษ ใหญ ในเอเชียที่มีศักยภาพในการผลิตสูง มีความพรอม
ทัง้ แรงงาน ทุน ทรัพยากร สามารถผลิตสินคาไดหลากหลาย ตัง้ แตชนิ้ เล็กๆ
ไปจนถึงอุตสาหกรรมหนัก ทําใหสินคาของประเทศนี้วางขายอยูทั่วโลก
ฉบับ รวมทั้งในประเทศไทย
เฉลย เมี ยนมา
…………………………………. ๗. เปนประเทศในเอเชียที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ มีแหลงแกส
ธรรมชาติ ในทะเลและแรธาตุมากมาย ประเทศไทยตองนําเขาแกส
ธรรมชาติจากประเทศนี้
เกาหลี ใต
…………………………………. ๘. ผลิตอุตสาหกรรมบันเทิงประเภทภาพยนตรซีรีส นักรอง เปนที่ชื่นชอบ
ของคนไทยและประเทศในแถบเอเชีย
สหรั ฐอเมริกา
…………………………………. ๙. เปนแหลงผลิตคอมพิวเตอรและสินคาเทคโนโลยีและการสื่อสารที่สราง
กระแสความนิยมไปทั่วโลก ภายใตสัญลักษณแอปเปล มีสินคามากมาย
ทั้งคอมพิวเตอร โทรศัพทมือถือ iPhone เครื่องเลน iPad
อั………………………………….
งกฤษ ๑๐. บริษทั ขามชาติภายใตชอื่ เทสโก-โลตัส เขามาลงทุนหางคาปลีกขนาดใหญ
ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทยและไดมีการขยายสาขาไปทั่วภูมิภาค เพื่อ
บริการลูกคา เปนการสรางงานใหคนไทย แตก็มีผลกระทบตอผูคาปลีก
ในทองถิ่น

๔๔
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๓ ใหนักเรียนศึกษาสถิติการคาของไทยจากตาราง แลวตอบ ñð
คําถามใหถูกตอง (ส ๓.๒ ม.๓/๖)
ตอนที่ ๑ ศึกษาตารางแสดงสินคาสงออก แลวตอบคําถาม
ตารางแสดงสินคาสงออก ๑๐ อันดับแรกของไทย
มูลคา : ลานบาท
รายการ ๒๕๕๘ รายการ ๒๕๕๘
๑ รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ ๘๖๓,๘๒๘.๔ ๖ แผงวงจรไฟฟา ๒๖๑,๓๑๖.๘
๒ เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณ ๕๙๕,๔๑๘.๖ ๗ เครื่องจักรกล และสวน ๒๓๘,๕๖๔.๙
และสวนประกอบ ประกอบเครื่องจักรกล
๓ อัญมณีและเครื่องประดับ ๓๗๑,๐๗๑.๖ ๘ ผลิตภัณฑยาง ๒๓๐,๔๒๗.๗
๔ เม็ดพลาสติก ๒๗๘,๓๓๔.๙ ๙ เคมีภัณฑ ๒๑๕,๓๔๖.๖
๕ นํ้ามันสําเร็จรูป ๒๗๑,๔๒๔.๖ ๑๐ เหล็ก เหล็กกลา ๑๗๙,๒๕๓.๘
และผลิตภัณฑ

๑. ประเทศไทยสงออกสินคาประเภทใดมากที่สุด ฉบับ
รถยนต อุปกรณและสวนประกอบ ซึ่งเปนสินคาทางดานอุตสาหกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เฉลย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๒. ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ ประเทศไทยสงออกสินคาใดมากเปนอันดับ ๒ เพราะเหตุใด


เครือ่ งคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ เพราะคอมพิวเตอรไดรบั ความนิยมอยางสูงในปจจุบนั
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๓. สถานะการคาของไทยใน พ.ศ. ๒๕๕๘ เปนอยางไร


ไทยตองเสียดุลการคากับบางประเทศ อันเนื่องมาจากการที่ตองนําเขาสินคาประเภทนํ้ามัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๔. แนวโนมการสงออกของประเทศไทยเปนอยางไร เพราะเหตุใด
แนวโนมการสงออกของไทยไปยังตลาดคูค า หลัก มีแนวโนมลดลง เนือ่ งจากการคาโลกชะลอตัว ทําให
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
อุปสงคมปี ริมาณนอยลง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๕. ประเทศไทยควรพัฒนาดานการสงออกอยางไร
เชน พัฒนาคุณภาพสินคาใหไดมาตรฐาน พัฒนาฝมือแรงงานทางดานเทคนิค การใชเทคโนโลยี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ทักษะทางดานภาษา เปนตน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

๔๕
ตอนที่ ๒ ศึกษาตารางแสดงสินคานําเขา แลวตอบคําถาม
ตารางแสดงสินคานําเขา ๑๐ อันดับแรกของไทย
มูลคา : ลานบาท
รายการ ๒๕๕๘ รายการ ๒๕๕๘
๑ เครือ่ งจักรกลและสวนประกอบ ๖๖๖,๔๑๐.๕ ๖ สวนประกอบและอุปกรณ ๓๔๒,๖๒๘.๐
ยานยนต
๒ นํ้ามันดิบ ๖๖๓,๒๑๑.๗ ๗ แผงวงจรไฟฟา ๓๒๑,๕๘๗.๓
๓ เครื่องจักรไฟฟา ๕๔๑,๑๐๖.๒ ๘ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี ๓๑๘,๕๔๖.๖
และสวนประกอบ เงินแทงและทองคํา
๔ เคมีภัณฑ ๔๔๕,๙๙๕.๗ ๙ เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณ ๒๕๔,๒๐๙.๗
และสวนประกอบ
๕ เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ ๓๕๘,๘๔๖.๖ ๑๐ สินแรโลหะอื่นๆ เศษโลหะ ๒๓๙,๔๒๕.๙
และผลิตภัณฑ
๑. ประเทศไทยนําเขาสินคาใดมากที่สุด เพราะเหตุใด
ฉบับ เครือ่ งจักรกลและสวนประกอบ เนือ่ งจากประเทศไทยตองพิงึ่ พาวิทยาการดานอุตสาหกรรมจากตาง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เฉลย ประเทศอยางมาก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
นํ้ามันดิบ เพราะประเทศไทยไมมีแหลงนํ้ามันดิบเพียงพอที่จะนํามาใชในประเทศ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๒. แนวโนมการนําเขานํ้ามันเชื้อเพลิงของไทยเปนอยางไร เพราะเหตุใด
เพิ่มขึ้น เพราะการขยายตัวทางดานอุตสาหกรรม ทําใหตองใชพลังงานเชื้อเพลิงเพิ่มขึ้น ประกอบกับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การเพิ่มขึ้นของประชากร ยานพาหนะ ทําใหความตองการใชเพิ่มขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๓. ทําไมประเทศไทยจึงมีการนําเขาสินคาประเภทอุปกรณและสวนประกอบของภาคอุตสาหกรรม
ในมูลคาสูง
เพราะประเทศไทยเปนฐานการผลิตของสินคาภาคอุตสาหกรรม จึงตองมีการนําเขาชิ้นสวนมา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ประกอบ และสงกลับประเทศแม หรือสงขายทั่วโลก เชน ประกอบรถยนต
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๔. การที่ประเทศไทยเปนฐานการผลิตสินคาภาคอุตสาหกรรม สงผลดี ผลเสียตอเศรษฐกิจของ


ประเทศอยางไร
สงผลดี เชน เกิดการจางงาน คนไทยมีงานทํา มีรายได แรงงานไดรบั การพัฒนาฝมอื ผลเสีย เชน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เมื่อบริษัทแมยายฐานการผลิต แรงงานตองตกงาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๕. รัฐบาลควรแกปญหาเพื่อลดการนําเขาสินคาจากตางประเทศอยางไร
เชน รณรงคสงเสริมใหคนไทยสนับสนุนสินคาไทย ลดการบริโภคสินคาฟุมเฟอย ที่นําเขาจาก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ตางประเทศ ปลูกฝงคานิยมบริโภคของคนไทย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๔๖ (พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๔ ใหนักเรียนตอบคําถามใหถูกตอง (ส ๓.๒ ม.๓/๖) õ
๑. ตลาดสงออกสําคัญของไทย ไดแกประเทศใดบาง
จีนเปนตลาดสงออกรายใหญ รองลงมาไดแก สหรัฐอเมริกา ฮองกง สหภาพยุโรป
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงเปนทั้งผูสงออกและนําเขาเครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและ
สวนประกอบและสวนประกอบอุปกรณยานยนต
เพราะสินคาเหลานี้เปนสินคากลับสงออกเนื่องจากประเทศไทยเปนฐานการผลิต การประกอบเครื่อง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คอมพิวเตอร รถยนต ตองมีการนําเขาสินคาเหลานี้เพื่อเปนสวนประกอบเพื่อผลิตสงไปยังตางประเทศ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. เพราะเหตุใดไทยจึงเปนฐานการผลิตรถยนต คอมพิวเตอรรายใหญของโลก
เพราะมีความเชี่ยวชาญดานการผลิต แรงงานมีฝมือและมีคุณภาพ คาแรงไมสูงมาก ประกอบกับ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นโยบายภาครัฐในการสงเสริมการลงทุน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๔. ประเทศไทยควรพั ฒ นาขี ด ความสามารถทางการแข ง ขั น อย า งไรเพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพใน
การผลิตเพื่อการสงออก
เชน พัฒนาฝมือแรงงาน โดยการจัดอบรมทักษะตางๆ ในการทํางาน การใชเทคโนโลยี
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๕. คนไทยควรปฏิบัติตนอยางไรเพื่อลดการขาดดุลการคากับตางประเทศ ฉบับ
เชน ลดการใชเชื้อเพลิงและพลังงาน ลดการบริโภคสินคาฟุมเฟอยเพื่อลดการนําเขา พัฒนาฝมือ เฉลย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การผลิตและคุณภาพการคา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๕ ใหนกั เรียนวิเคราะหขอ ดี และขอเสียของการคาระหวางประเทศ õ
และเขียนคําตอบลงในชองวาง (ส ๓.๒ ม.๓/๖)
การคาระหวางประเทศ
ขอดี ขอเสีย
๑. มีสินคาและบริการตางๆ ตอบสนองความ ๑.……………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………. หากมีการสงออกมากเกินไป ทรัพยากรใน
ตองการของประชาชนในประเทศ
………………………………………………………………………………………. ประเทศจะถูกใชมากเกินไป
……………………………………………………………………………………….
๒. เกิดการแบงงานกันทํา
………………………………………………………………………………………. ๒.……………………………………………………………………………………….
หากมีการสงออกนอยเกินไป แตมีการนําเขา
๓. เกิดความรู ความชํานาญและความถนัดในการ ……………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………. สินคาจากตางประเทศมากจะทําใหเกิดการขาด
ผลิตเฉพาะอยาง
………………………………………………………………………………………. ดุลการคา
……………………………………………………………………………………….
๔. เปนฐานการผลิตสินคาอุตสาหกรรมทีท่ นั สมัย ๓.……………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………. เกิดปญหาสังคมตามมาจากการนําเขาสินคา
เพื่อการสงออก ทําใหเกิดการจางงาน
………………………………………………………………………………………. เทคโนโลยีและนํามาใชในทางที่ไมดี
……………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………. ๔. ทํ า ให ค นในประเทศต อ งจ า ยเงิ น ในการซื้ อ
……………………………………………………………………………………….
สินคาฟุมเฟอยเพิ่มขึ้น
………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………. ๕. เกิ ด การพึ่ ง พาต า งประเทศมากขึ้ น ทั้ ง ด า น
……………………………………………………………………………………….
เครื่องจักร เชื้อเพลิง แรงงาน
………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………….
๔๗
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๖ ใหนักเรียนเติมขอความเกี่ยวกับการลงทุนทางตรงและ ñð
ทางออม ลงในแผนผัง (ส ๓.๒ ม.๓/๖)

ลักษณะทั่วไป ขอดี ขอเสีย

การลงทุ นของบุคคล ธุรกิจ


………………………………………………. มี……………………………………………….
เงินตราจากตางประเทศ ทําใหอุตสาหกรรมใน
……………………………………………….
บรรษั ทขามชาติของประเทศ
………………………………………………. ไหลเข า มาในประเทศ
………………………………………………. ประเทศถูกครอบงําโดย
……………………………………………….
หนึ ่งไปลงทุนผลิตสินคา
………………………………………………. มากขึ ้น ชวยทําใหดุลการ
………………………………………………. บรรษัทตางชาติ และกําไร
……………………………………………….
และบริ การอีกประเทศหนึง่
………………………………………………. ชํ……………………………………………….
าระเงินเกินดุล ชวยให จากการลงทุ น จะถู ก นํ า
……………………………………………….
การลงทุน โดยปฏิ บัติตามเงื่อนไขของ
………………………………………………. เกิ ด การจ า งงาน ได รั บ
………………………………………………. กลับไปยังบริษัทแมใน
……………………………………………….
ทางตรง ประเทศให การลงทุน
………………………………………………. การถ ายทอดเทคโนโลยี
………………………………………………. ตางประเทศ ทําใหเงิน
……………………………………………….

………………………………………………. สมั ยใหมจากประเทศที่


………………………………………………. ตราไหลออกนอกประเทศ
……………………………………………….

………………………………………………. เข……………………………………………….
ามาลงทุน มากขึ้น
……………………………………………….

………………………………………………. ………………………………………………. ……………………………………………….


ฉบับ
เฉลย ………………………………………………. ………………………………………………. ……………………………………………….

การลงทุ นของบุคคล ธุรกิจ


………………………………………………. ผู……………………………………………….
 ล งทุ น ได รั บ ประโยชน ผู……………………………………………….
ลงทุนมีความเสี่ยง เชน
องค กร บรรษัทขามชาติ
………………………………………………. จากดอกเบี ้ย เงินปนผล
………………………………………………. การลงทุ นซื้อหุนในตลาด
……………………………………………….
ของประเทศหนึ
………………………………………………. ่ ง ผ า น จากการซื อ้ หุน และพันธบัตร
………………………………………………. หลั กทรัพย มีความเสีย่ งใน
……………………………………………….
สถาบั นการเงิน โดยการ
………………………………………………. ได รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษด า น
………………………………………………. การสู ญเงินตน หากราคา
……………………………………………….
การลงทุน นํ……………………………………………….
าเงินไปซื้อหุนของธุรกิจ ภาษี ด อกเบี้ ย และภาษี
………………………………………………. ซื……………………………………………….
้อหลักทรัพยตํ่ากวาราคา
ทางออม ในตลาดหลั กทรัพย ซื้อ
………………………………………………. เงิ นปนผล
………………………………………………. ป……………………………………………….
จจุบัน
พั……………………………………………….
นธบัตร โดยมิไดเขามา ………………………………………………. ……………………………………………….
ตั……………………………………………….
้งโรงงานหรือเขามาผลิต ………………………………………………. ……………………………………………….
สิ……………………………………………….
นคาโดยตรง ………………………………………………. ……………………………………………….

………………………………………………. ………………………………………………. ……………………………………………….

๔๘
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๗ ใหนกั เรียนยกตัวอยางบรรษัทขามชาติ หรือธุรกิจของตางชาติ õ
ที่ เ ข า มาลงทุ น ในประเทศไทย และเติ ม ข อ ความลงใน
ชองวางใหสมบูรณ (ส ๓.๒ ม.๓/๖)
ชื่อบรรษัท/ธุรกิจของตางชาติ
ประเภทธุรกิจ สงผลตอสังคมไทย
ในประเทศไทย

๑. เซเวน อีเลฟเวน
…………………………………………………. รานสะดวกซื้อ
…………………………………………………. มีสนิ คาบริโภคมากขึน้ ใหความ
………………………………………………….
ประเทศสหรัฐอเมริกา
…………………………………………………. ธุรกิจขายปลีก
…………………………………………………. สะดวกในการซื้อสินคาและ
………………………………………………….

…………………………………………………. …………………………………………………. บริการแตสงผลใหคาปลีก


………………………………………………….

…………………………………………………. …………………………………………………. ของคนไทยไดรับผลกระทบ


………………………………………………….

๒. บริษัทแมคโดนัลด
…………………………………………………. รานอาหารฟาสตฟูด
…………………………………………………. สงผลใหพฤติกรรมการบริโภค
………………………………………………….
ประเทศสหรัฐอเมริกา
…………………………………………………. …………………………………………………. ของคนบางกลุ ม เปลี่ ย นไป
………………………………………………….

…………………………………………………. …………………………………………………. อาจมีผลขางเคียงตอสุขภาพ


………………………………………………….

…………………………………………………. …………………………………………………. เชน เปนโรคอวน


…………………………………………………. ฉบับ
เฉลย
๓. บริษัทโตโยตา มอเตอร
…………………………………………………. ประกอบรถยนต ส  ง ขายไป
…………………………………………………. ทํ า ให ค นไทยมี ร ถยนต ใ ช
………………………………………………….
ประเทศญี่ปุน
…………………………………………………. ทั่วโลก
…………………………………………………. อํานวยความสะดวก
………………………………………………….

…………………………………………………. …………………………………………………. เกิดการจางงาน


………………………………………………….

…………………………………………………. …………………………………………………. ………………………………………………….

๔. บริษัทโคคา-โคลา
…………………………………………………. นํ้าอัดลม
…………………………………………………. หากดื่มมากจะสงผลกระทบ
………………………………………………….
ประเทศสหรัฐอเมริกา
…………………………………………………. …………………………………………………. ตอสุขภาพ เชน ฟนผุ
………………………………………………….

…………………………………………………. …………………………………………………. โรคอวน นํ้าตาลในเลือดสูง


………………………………………………….

…………………………………………………. …………………………………………………. ………………………………………………….

๕. ไมโครซอฟต
…………………………………………………. บริ ษั ท ผู  ผลิ ต จํ า หน า ยและ
…………………………………………………. ทําใหคนไดใชเทคโนโลยี
………………………………………………….
ประเทศสหรัฐอเมริกา
…………………………………………………. พั ฒ นาซอฟต แ วร ร ายใหญ
…………………………………………………. ในการอํานวยความสะดวก
………………………………………………….

…………………………………………………. ของโลก
…………………………………………………. ………………………………………………….

…………………………………………………. …………………………………………………. ………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๔๙
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๘ ให นั ก เรี ย นวิ เ คราะห ส าเหตุ ข องการกี ด กั น ทางการค า õ
แลวเขียนเติมลงในแผนผัง (ส ๓.๒ ม.๓/๖)

เพื ่ อ ปกป อ งอุ ต สาหกรรมภายในประเทศ


………………………………………………………………………………. เพื ่อรักษาแหลงรายรับของรัฐบาลซึ่งไดแก
……………………………………………………………………………….
โดยเฉพาะประเทศที ่ศักยภาพในการแขงขัน
……………………………………………………………………………… ภาษี โดยการรั ก ษาอั ต ราภาษี ศุ ล กากร
………………………………………………………………………………
ยั………………………………………………………………………………
งออนแอ โดยการตั้งกําแพงภาษีสินคา นํ………………………………………………………………………………
าเขาไมใหตํ่าลงอยางรวดเร็ว เพราะใน
นํ………………………………………………………………………………
าเขาใหมีราคาสูงขึ้น ป………………………………………………………………………………
จจุบนั ในการคาระหวางประเทศไดพยายาม
………………………………………………………………………………. เจรจาเพื ่ อ ลดอั ต ราภาษี ซึ่ ง ทํ า ให ร ายได
……………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………. ของรั ฐบาลลดลง


……………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………….

สาเหตุของการกําหนดมาตรการ
กีดกันทางการคา
ฉบับ
เฉลย
เพื ่ อ ป อ งกั น การขาดดุ ล การค า จากการ
………………………………………………………………………………. เพื ่ อ ควบคุ ม มาตรฐานและคุ ณ ภาพสิ น ค า
……………………………………………………………………………….
เสี ยเปรียบดานการแขงขันซึ่งสงผลกระทบ
……………………………………………………………………………… มิ………………………………………………………………………………
ใหถกู เอาเปรียบจากการปลอมปนการผลิต
ต………………………………………………………………………………
อแรงงานภายในประเทศที่ตองวางงาน ที………………………………………………………………………………
่ไมไดมาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยของ
……………………………………………………………………………… ผู………………………………………………………………………………
บริโภคในประเทศ
………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………….

เพื ่อปองกันปญหาสิ่งแวดลอม จากกระบวนการผลิต


…………………………………………………………………………………………………
และของทิ ้งหรือขยะ เพื่อปองกันมลพิษทางสิ่งแวดลอม
…………………………………………………………………………………………………
และความปลอดภั ยของคนในประเทศ
…………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๕๐
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๙ ใหนกั เรียนอานขอความทีก่ าํ หนดและเติมขอความทีแ่ สดงถึง ñð
วิธีการกีดกันทางการคาลงในชองวาง (ส ๓.๒ ม.๓/๖)

โควตาภาษี
…………………………………………………… ๑. จัดเก็บภาษีศุลกากร โดยจัดเก็บในอัตราตํ่าสําหรับการนําเขา

ภายในจํานวนสินคาที่กําหนด
กํ……………………………………………………
าหนดราคาขั้นตํ่า ๒. เพื่อปองกันมิใหมีการนําเขาสินคาราคาตํ่ามากเขามาตีตลาด
ภายในประเทศ
เรี……………………………………………………
ยกเก็บคาธรรมเนียมการนําเขา ๓. เรียกเก็บภาษีเพิม่ เติมจากอัตราปกติ เพือ่ ไมใหมกี ารนําเขาสินคา
ชนิดนั้นมากในชวงระยะหนึ่ง
กํ……………………………………………………
าหนดโควตานําเขา ๔. กําหนดปริมาณอนุญาตใหมกี ารนําเขาไดไมเกินปริมาณทีก่ าํ หนด
การเก็ บภาษีตอบโตการอุดหนุน
…………………………………………………… ๕. การจัดเก็บภาษีอากรเขา เพื่อตอบโตการอุดหนุนทั้งทางตรง
และทางออมในกระบวนการผลิตและการสงออกเพื่อพิสูจนวา
ประเทศผูสงออกใหการอุดหนุนการผลิตหรือสงออก ฉบับ
เฉลย
การกํ าหนดมาตรฐานสินคา ๖.
…………………………………………………… การกําหนดมาตรฐานสินคานําเขา เพื่อความปลอดภัยดาน
สุขลักษณะและสิ่งแวดลอม
การห ามการนําเขา
…………………………………………………… ๗. ออกกฎหมายสั่งหามนําเขาในชวงที่การผลิตในประเทศสูง
การอุ ดหนุนการผลิต
…………………………………………………… ๘. รัฐใหการชวยเหลือทางดานตนทุนแกผูที่ผลิตสินคาทดแทนการ
นําเขาจากตางประเทศ เพื่อใหสินคาขายแขงกับตางประเทศได
การกํ าหนดอัตราภาษีศุลกากร ๙.
…………………………………………………… จัดเก็บภาษีศุลกากรแตกตางกันตามฤดูกาลของสินคา จัดเก็บ
ตามฤดูกาล ในอัตราสูงในชวงที่มีสินคาในประเทศมาก เพื่อไม ใหสินคา
ตางประเทศเขามาแขงขัน
รั……………………………………………………
ฐบาลใหการอุดหนุนการสงออก ๑๐. รัฐบาลใหเงินอุดหนุนแกผูสงออกเพื่อขยายการสงออก เชน
ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล ใหเงินกูย มื อัตราดอกเบีย้ ตํา่ เปนตน

๕๑
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๑๐ ใหนักเรียนวิเคราะหผลจากมาตรการกีดกันทางการคาที่ ñð
กําหนดให แลวเติมขอความลงในชองวาง (ส ๓.๒ ม.๓/๖)
มาตราการ ผลที่เกิดขึ้น
กีดกันทาง
การคา ผูบริโภค ผูผลิตในประเทศ รัฐบาล
๑. การเก็บ ต อ งซื้ อ สิ น ค า นํ า เข า จาก ………………………………………………
……………………………………………… เมือ่ สินคาจากตางประเทศ ………………………………………………
ไดรบั ผลตอบแทนจากภาษี
ต า งประเทศในราคาที่ ………………………………………………
ภาษีนําเขา ……………………………………………… มี ร าคาสู ง จึ ง เพิ่ ม การ ………………………………………………
ที่จดั เก็บเพิ่มขึ้น
สูงขึ้น เปนเหตุใหตองลด ผลิ ต และการจ า งงานใน
……………………………………………… ……………………………………………… ………………………………………………
การบริโภคลง
……………………………………………… ประเทศ
……………………………………………… ………………………………………………

ได บ ริ โ ภคสิ น ค า ราคา ………………………………………………


๒. การเก็บภาษี ……………………………………………… จําหนายสินคาใน ไดรบั ผลตอบแทนจากภาษี
………………………………………………
สงออก ถูกลงเพราะผูสงออกลด ………………………………………………
……………………………………………… สงออก
ตางประเทศไดนอยลง ………………………………………………
การสงออก เนือ่ งจากภาษี ปริมาณการผลิตอาจลดลง
……………………………………………… ……………………………………………… ………………………………………………
สงออกสูง
……………………………………………… มีกาํ ไรนอยลง
……………………………………………… ………………………………………………
ฉบับ
เฉลย สิ น ค า นํ า เข า มี ร าคาสู ง ผลิ ต สิ น ค า จํ า หน า ยใน ไดรบั ภาษีและคาธรรมเนียม
๓. มาตรการ ……………………………………………… ……………………………………………… ………………………………………………
กึ่งภาษี ทําใหหันมาบริโภคสินคา ………………………………………………
……………………………………………… ประเทศมากขึ้น การนําเขาสินคาจาก
………………………………………………
ในประเทศมากขึ้น
……………………………………………… ตางประเทศเพิ่มมากขึ้น
……………………………………………… ………………………………………………

……………………………………………… ……………………………………………… ………………………………………………

สินคานําเขามีราคาสูงขึ้น ………………………………………………
๔. การควบคุม ……………………………………………… ไดรบั ภาษีและคาธรรมเนียม
ผลิ ต สิ น ค า จํ า หน า ยใน ………………………………………………
ราคา ทําใหหันมาบริโภคสินคา ………………………………………………
……………………………………………… ประเทศมากขึ้น การนําเขาสินคาจาก
………………………………………………
ในประเทศมากขึ้น
……………………………………………… ……………………………………………… ……………………………………………… ตางประเทศเพิ่มมากขึ้น
……………………………………………… ……………………………………………… ………………………………………………

๕. การจํากัด สินคามีนอยลงเพราะถูก ผลิ ต สิ น ค า ออกจํ า หน า ย ไมไดรับผลตอบแทน


……………………………………………… ……………………………………………… ………………………………………………
ปริมาณ จํากัดโควตานําเขา จึงตอง ………………………………………………
……………………………………………… มากขึน้ แตอาจถูกมาตรการตอบโต
………………………………………………
จากประเทศคูคา
บริโภคสินคาทีม่ รี าคาแพง ……………………………………………… ………………………………………………
………………………………………………

……………………………………………… ……………………………………………… ………………………………………………

๕๒
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๔.๑๑ ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ (ส ๓.๒ ม.๓/๖) õ
๑. ปจจุบนั คาเงินบาทเมือ่ เทียบกับเงินดอลลารสหรัฐ เงินหยวน เงินเยน มีอตั ราแลกเปลีย่ นอยางไร
อั…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ตราแลกเปลี่ยนเมื่อวันที่ ๒๖ ก.ย. ๒๕๕๙ อัตราแลกเปลี่ยน ๑ ดอลลารสหรัฐ แลกเปน
เงิ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
นบาทได ๓๔.๘๓ บาท
๑…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
หยวน แลกเปนเงินบาทได ๕.๒๖ บาท
๑๐๐ เยน แลกเปนเงินบาทได ๓๔.๖๙ บาท
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
๒. ปจจุบันประเทศไทยใชระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราแบบใด
ใช อัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัวภายใตการจัดการ มีธนาคารกลางเขาแทรกแซงใหไปในทิศทางที่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ต…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
องการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๓. คาเงินบาทแข็งมีลักษณะอยางไร สงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศอยางไร
ค…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
าเงินบาทแข็ง หมายถึง การทีเ่ งินบาทมีคา มากขึน้ เมือ่ เทียบกับเงินสกุลทีเ่ ปรียบเทียบ ซึง่ สวนใหญ
เป นดอลลารสหรัฐ ผูซื้อสินคาจากตางประเทศไดประโยชนเพราะใชเงินนอยลง สวนผูสงออกเสีย เฉลย ฉบับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ประโยชน ไดเงินบาทนอย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๔. คาเงินบาทออนตัว มีลักษณะอยางไร สงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศอยางไร


เกิ ดขึ้นในกรณีที่ไทยตองการนําเขามาก เชน ตองการนําเขานํ้ามัน จึงตองนําเงินบาทไปแลกกับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
เงิ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
นตราตางประเทศ ซึ่งตองใชเงินบาทมาก ทําใหคาเงินบาทออนตัว มีผลดีตอผูสงออก สามารถ
ส…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
งออกไดมากขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๕. ธนาคารแหงประเทศไทยมีวิธีการปกปองและรักษาเสถียรภาพของคาเงินบาทอยางไรบาง
เพื่อไมใหสงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศ
เช…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
น ธนาคารแหงประเทศไทยเขาไปแทรกแซงคาเงินบาทอยางตอเนื่อง เพื่อปองกันมิใหเงินบาท
แข็ งคาเร็วเกินไป
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

๕๓
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๔
ñð
คําชี้แจง ใหนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. การคาขายกับตางประเทศโดยการสงออกมากเกินไปมีผลกระทบตอเสถียรภาพภายในประเทศ
อยางไร
ก. เกิดการจางแรงงาน ประชาชนมีรายไดที่แนนอน
ข. ทรัพยากรในประเทศถูกใชมากขึ้น ราคาสินคาและคาแรงในประเทศสูงขึ้น
ค. เกิดปญหาการกระจายรายไดระหวางสาขาการผลิตกับผูที่อยูในสาขาการสงออก
ง. เกิดการพึ่งพาระหวางประเทศดานเครื่องจักร อุปกรณ นํ้ามัน และแรงงานมากขึ้น
๒. ขอใดหมายถึง “ดุลการคา”
ก. เมื่อประเทศไทยสงสินคาออกเปนมูลคาเทากับสินคาเขา
ข. เมื่อประเทศไทยสงสินคาออกเปนมูลคาสูงกวามูลคาสินคาเขา
ค. เมื่อประเทศไทยสงสินคาออกเปนมูลคานอยกวามูลคาสินคาเขา
ง. บัญชีที่แสดงถึงมูลคาของสินคาเขากับมูลคาสินคาออกของประเทศ
ฉบับ ๓. การนําเขาสินคาจากตางประเทศมากเกินไปแตสงออกนอยมีผลกระทบตอเสถียรภาพ
เฉลย ของประเทศอยางไร
ก ดุลการคาเกินดุล
ข. ดุลการคาขาดดุล
ค. ดุลการคาสมดุล
ง. มีการกีดกันทางการคา
๔. ขอใดเปนสินคาสงออกที่มีมูลคามากที่สุดของประเทศไทย
ก. สินคาประเภทประมง
ข. สินคาประเภทเกษตรกรรม
ค. สินคาประเภทอุตสาหกรรม
ง. สินคาประเภทปาไมและเหมืองแร
๕. ปจจัยสําคัญขอใดที่ทําใหประเทศไทยนําเขาสินคาจากประเทศจีนมากขึ้นในปจจุบัน
ก. ราคาถูก
ข. มีของแถม
ค. คุณภาพดี
ง. สินคาไดมาตรฐาน
๕๔
๖. เมื่อนักเรียนตองการทราบวาปใดประเทศไทยไดเปรียบหรือเสียเปรียบดุลการคา นักเรียน
จะพิจารณาจากขอใด
ก. ดุลการชําระเงินของประเทศ
ข. รายไดประชาชาติตอหัวของประชากร
ค. งบประมาณของแผนดินขาดดุลหรือเกินดุล
ง. มูลคาการสงสินคาออกและมูลคาการนําเขาสินคา
๗. ขอใดเปนเปาหมายสําคัญของการกีดกันทางการคาในการคาขายระหวางประเทศ
ก. เพื่อคุมครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ
ข. เพื่อควบคุมมาตรฐานสินคาภายในประเทศ
ค. เพื่อสรางแรงจูงใจในการทํางานของแรงงานในประเทศ
ง. เพื่อปกปองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในประเทศ
๘. ขอใดเปนมาตรการกีดกันทางการคาที่นิยมใชเพื่อปกปองสินคาที่ผลิตภายในประเทศ
กับประเทศคูคาที่มีศักยภาพการผลิตสูง
ก. รัฐบาลใหความชวยเหลือโดยตรง
ข. ควบคุมดานราคาและจํากัดปริมาณ ฉบับ
ค. จํากัดปริมาณการนําเขาและสงออก เฉลย
ง. มาตรการทางภาษีศุลกากรและที่ไมใชภาษีศุลกากร
๙. มาตรการกีดกันทางการคาโดยการเก็บภาษีนําเขามีผลตอผูบริโภคภายในประเทศอยางไร
ก. บริโภคสินคาในประเทศในราคาที่สูงขึ้น
ข. บริโภคสินคามากขึ้นเพราะสินคามีราคาตํ่าลง
ค. ซื้อสินคานําเขาจากตางประเทศในราคาที่ตํ่าลง
ง. ซื้อสินคานําเขาจากตางประเทศในราคาที่สูงขึ้น
๑๐. ปจจุบันประเทศไทยใชระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบใด
ก. ระบบตะกรา
ข. ระบบลอยตัวเสรี
ค. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่
ง. ระบบลอยตัวภายใตการจัดการ

๕๕
แบบบันทึกผลการประเมิน

คะแนน ผลการประเมิน
เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู
เต็ม ได ผาน ไมผาน
● กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ส ๓.๒ ม.๓/๖
กิจกรรมที่ ๔.๑ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๔.๒ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๔.๓ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๔.๔ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๔.๕ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๔.๖ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๔.๗ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๔.๘ ๕ …………….


ฉบับ
เฉลย กิจกรรมที่ ๔.๙ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๔.๑๐ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๔.๑๑ ๕ …………….

คะแนนรวมทั้งหมด ๘๐
● แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๔ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๖๘ - ๘๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถงึ ครึง่ ของคะแนนเต็ม ๕๔ - ๖๗ ๓ ดี
๔๐ - ๕๓ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๔๐ ๑ ปรับปรุง

๕๖
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๕ ¡ÒÃÃÇÁ¡ÅØÁ‹ ·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨
ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È
ในยุคของการคาเสรีที่มีการแขงขันทางการคา ทําใหประเทศตางๆ มีการรวมกลุมทาง
เศรษฐกิจ เพื่อลดอุปสรรคทางการคาและสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ เสริมสรางอํานาจ
ตอรองในการเจรจาทางการคากับประเทศนอกกลุม การศึกษาการรวมกลุม เศรษฐกิจของโลกทําให
มีความรูค วามเขาใจภาวะการแขงขันในเวทีการคาโลก สามารถวิเคราะหสถานการณเศรษฐกิจโลก
และเศรษฐกิจของประเทศ บทบาทของประเทศไทยในกลุมเศรษฐกิจตางๆ และผลประโยชน
ที่ไทยไดรับ และเตรียมพรอมรับสถานการณทางเศรษฐกิจทั้งของในประเทศและของโลก

กิจกรรมฝกทักษะ
กิจกรรมที่ ๑ ใหนักเรียนดูภาพการประชุมกลุมเศรษฐกิจที่กําหนดให แลวเติมขอความ
ลงในชองวาง
ฉบับ
เฉลย

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
๑. ชื่อกลุมทางเศรษฐกิจ ………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๒. สมาชิก มี…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ทั้งหมด ๑๐ ประเทศ ไดแก ไทย ลาว เวียดนาม มาเลเซีย ฟลิปปนส บรูไน สิงคโปร
อินโดนีเซีย เมียนมา กัมพูชา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
เรงรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความกาวหนาทางสังคม เพื่อชวยให
๓. บทบาทหนาที่สําคัญ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ประชากรในประเทศสมาชิกมีชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
เพิ่มอํานาจตอรองในการเจรจาการคากับประเทศนอกกลุม
๔. ผลที่ไดรับจากการรวมกลุม …………………………………………………………………………………………………………………………….
๕๗
กิจกรรมที่ ๒ ให้นกั เรียนอ่านลักษณะเด่นของกลุม่ ทางเศรษฐกิจ แล้วทำ�ำเครือ่ งหมาย ✓ ลงใน
ช่องชื่อย่อของกลุ่มเศรษฐกิจให้ถูกต้อง
กลุ่มทางเศรษฐกิจ
ลักษณะเด่นของกลุ่มทางเศรษฐกิจ
AFTA ASEAN APEC USMCA EU EFTA OPEC

๑. มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การค้าภายในอาเซียนเป็นไป
โดยเสรี เก็บภาษีต่�่ำำ ✓

๒. ประเทศสมาชิกจำ�ำนวน ๑๐ ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย


อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย สิงคโปร์ เมียนมา กัมพูชา ✓
ลาว เวียดนาม บรูไน
๓. กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก ✓
๔. เป็นกลุ่มประเทศที่มีปริมาณน้�้ำำมันดิบสำ�ำรองมากที่สุด
ในโลก ✓
ฉบับ
เฉลย ๕. รวมตััวกัันเป็็นประชาคมใน พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่่�อการ

รวมกัันเป็็นหนึ่่�งเดีียว
๖. มีวตั ถุประสงค์เพือ่ เป็นตัวกลางประสานงานด้านนโยบาย
น้�ำ้ำ มันระหว่างประเทศผูผ้ ลิตน้�ำ้ำ มัน การรักษาระดับราคา ✓
ที่เป็นธรรมและสร้างความมั่นคงให้ผู้ผลิตน้�้ำำมัน
๗. เป็ น องค์ กรความร่ ว มมื อ ที่ เ ข้ ม แข็ ง ของประเทศใน
ทวีปยุโรป ✓

๘. เกิดจากความร่วมมือระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกา
แคนาดา เม็กซิโก ✓

๙. มีวัตถุประสงค์เพื่อกำ�ำจัดอุปสรรคที่กีดกันการค้าและ
บริการ และส่งเสริมการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม ขยายโอกาส ✓
และบรรยากาศด้านการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิก
๑๐. กลุ่่�มสมาคมเขตการค้้าเสรีียุุโรป มีีสมาชิิก ๔ ประเทศ ✓

58
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๕.๑ ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ (ส ๓.๒ ม.๓/๓) ñð
๑. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจมีลักษณะอยางไร
การที่ประเทศตั้งแต ๒ ประเทศขึ้นไป มารวมกันอยางเปนทางการ เพื่อรวมมือกันในการรักษาผล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๒. อะไรเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหประเทศตางๆ มารวมกลุมทางเศรษฐกิจ
อยูในภูมิภาคเดียวกัน มีอาณาเขตติดตอกัน ประสบปญหาทางเศรษฐกิจที่คลายคลึงกัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๓. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจมีวัตถุประสงคเพื่ออะไร
เชน เพือ่ ประโยชนในการขยายการคาระหวางประเทศ อํานวยประโยชนดา นการผลิตและการจางงาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
สรางอํานาจการตอรองและการเจรจากับประเทศนอกกลุม เปนตน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๔. ปจจัยที่มีอิทธิพลสําคัญตอการรวมกลุมทางเศรษฐกิจมากที่สุดคืออะไร
ผลประโยชนดานเศรษฐกิจระหวางประเทศ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๕. ความตองการพื้นฐานของการรวมมือทางเศรษฐกิจคืออะไร
ฉบับ
การใหสิทธิพิเศษดานการคาระหวางประเทศสมาชิก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. เฉลย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๖. เพราะเหตุใดในปจจุบันจึงมีการรวมกลุมทางเศรษฐกิจมากขึ้น
เพราะในปจจุบันมีการคาเสรีมากขึ้น มีการแขงขันกันมากขึ้น จึงตองมีการรวมกลุมเพื่อความมั่นคง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
แข็งแรงและสรางอํานาจตอรองในการคาระหวางประเทศ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๗. ประเทศสมาชิกกลุมเศรษฐกิจตางๆ ไดรับสิทธิพิเศษในการคาระหวางประเทศอยางไรบาง
เชน สิทธิิพิเศษทางภาษี ลดการกีดกันทางการคา ใหความชวยเหลือทางดานวิชาการ ถายทอด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เทคโนโลยี เปนตน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๘. กลุมเศรษฐกิจที่มีความมั่นคงและเขมแข็งที่สุดในโลกคือกลุมเศรษฐกิจใด เพราะเหตุใด
สหภาพยุโรป (EU) เพราะสมาชิกแตละประเทศลวนเปนประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลว มีพนื้ ฐานทางเศรษฐกิจ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ที่ดี มีวัฒนธรรมที่มาจากรากฐานเดียวกัน และมีการรวมกลุมกันมาเปนเวลานาน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๙. การรวมกลุมทางเศรษฐกิจสงผลกระทบตอประเทศนอกกลุมอยางไรบาง
สงผลกระทบตอประเทศนอกกลุม เชน การเคลื่อนยายแรงงาน ทุน อยางรวดเร็ว อาจกอใหเกิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ปญหาสังคมในประเทศสมาชิก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑๐. ประเทศไทยเปนสมาชิกกลุมเศรษฐกิจอะไรบาง และสงผลดีตอเศรษฐกิจของประเทศอยางไร
เชน เปนสมาชิกอาเซียน สงผลดี เชน ไดสงสินคาไปขายในประเทศสมาชิก และใน พ.ศ. ๒๕๕๘
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เมือ่ เขาสูป ระชาคมอาเซียน ทําใหการคาสะดวกขึน้ สามารถเคลือ่ นยายแรงงาน ทุน ฐานการผลิตได
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
อยางเสรี มีการลดอัตราภาษีตอกัน เปนตน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน) ๕๙
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๕.๒ ใหนักเรียนเติมขอความลงในชองวาง (ส ๓.๒ ม.๓/๓) õ
ความสําคัญของการ
รวมกลุมทางเศรษฐกิจ
ตลาดการค าขยายตัว เนือ่ งจากการทําขอตกลงเพือ่ ลดหรือยกเลิกขอจํากัดทางการคาระหวางกัน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ทํ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
าใหปจจัยการผลิตเคลื่อนยายไดอยางเสรี เชน การเคลื่อนยายแรงงาน เงินทุน
ต……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นทุนการผลิตสินคาลดลง เนื่องจากมีการสงเสริมการผลิตใหมากขึ้น
เกิ ดการขยายตัวทางเศรษฐกิจระหวางประเทศสมาชิกอยางรวดเร็ว
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
มี…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
การจัดสรรทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๕.๓ ใหนกั เรียนเติมขอความลักษณะสําคัญของการรวมกลุม ทาง õ
เศรษฐกิจ ลงในแผนผัง (ส ๓.๒ ม.๓/๓)
รัฐบาลของแตละประเทศตางยินยอมสละอํานาจอธิปไตย
๖. สหภาพเหนือชาติ ………………………………………………………………………………………………….
ของตนเพื่อใหสวนรวมสามารถตัดสินใจกําหนดนโยบายตางๆ รวมกันไดอยาง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
ฉบับ
เฉลย มีประสิทธิภาพ (ยังไมมีการรวมกลุมของประเทศใดเกิดขึ้นจริง)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

๕. สหภาพเศรษฐกิจ ………………………………………………………………………………………………………….
๑. กําหนดนโยบายเศรษฐกิจรวมกัน เชน นโยบายการเงินและ
การคลังเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ๒. มีหนวยงานกลางที่บริหารนโยบายรวมกัน ทําให
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ความสัมพันธทางการเมืองเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เชน สหภาพยุโรป
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๔. ตลาดรวม …………………………………………………………………………………………………………………………………
กําหนดใหสินคา ปจจัยการผลิตสามารถเคลื่อนยายไดโดยตรงอยางเสรี
ระหวางประเทศสมาชิก เชน ประชาคมเศรษฐกิจยุโรปหรือตลาดรวมยุโรป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. สหภาพศุลกากร ……………………………………………………………………………………………………………………………….
๑. ประเทศสมาชิกจะตองตกลงกันยกเลิกการเก็บภาษีศลุ กากรและมาตรการ
จํากัดการคาอื่นๆ ระหวางกันเอง ๒. กําหนดอัตราภาษีขาเขาจากประเทศนอกกลุมในอัตรา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เดียวกัน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๒. เขตการคาเสรี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑. เพื่อยกเลิกอุปสรรคทางการคาระหวางประเทศสมาชิก ๒. ยกเลิกมาตรการ
จํากัดการนําเขาดานการเก็บภาษีศุลกากรจากการนําเขาสินคาระหวางประเทศในกลุม ๓. ยกเลิก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
มาตรการที่ไมใชภาษีอื่นๆ และขอจํากัดทางการคาระหวางประเทศสมาชิก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๑. การจัดทําขอตกลงเพื่อแลกเปลี่ยนสิทธิพิเศษทางการคา ๑.…………………………………………………………………..
ทําขอตกลงรวมกันในการลดอัตราภาษี
ศุลกากรใหกบั การนําสินคาเขาจากประเทศในกลุม ๒. ทําขอตกลงลดหรือยกเลิกขอจํากัดทางการคาทีไ่ มใชภาษี
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ศุลกากรหรืออุปสรรคทางการคาดานอืน่ ๆ ๓. เรียกเก็บภาษีศลุ กากรจากการนําเขาสินคาจากประเทศนอกกลุม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๖๐
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๕.๔ ใหนกั เรียนอานขอความทีก่ าํ หนดใหแลวนําชือ่ กลุม เศรษฐกิจ õ
ที่กําหนดใหมาเติมลงในชองวางใหสัมพันธกัน (ส ๓.๒ ม.๓/๓)
APEC ASEAN AFTA
BRICS EU OPEC EFTA
BRICS
………………………. ๑. กลุม เศรษฐกิจทีม่ พี นื้ ทีร่ วมกันมากกวา ๑ ใน ๔ ของโลก ประกอบดวย ประเทศ
บราซิล รัสเซีย อินเดีย จีน และสาธารณรัฐแอฟริกาใต
APEC
………………………. ๒. เปนการรวมกลุมกันทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค โดยมีออสเตรเลียเปนผูริเริ่ม
ในการกอตั้ง
ASEAN
………………………. ๓. ประกอบดวยสมาชิก ๑๐ ประเทศ มีสํานักงานใหญตั้งอยูที่กรุงจาการตา
ประเทศอินโดนีเซีย
AFTA
………………………. ๔. ประเทศไทยมีบทบาทสําคัญในการประกาศเจตนารมณเพื่อรวมมือกันจัดตั้ง
EU
………………………. ๕. เปนกลุม เศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังจากประเทศสมาชิกของประชาคมยุโรปได
รวมมือกันลงนามในสนธิสญั ญามาสทริชต
APEC
………………………. ๖. ใน พ.ศ. ๒๕๔๖ ประเทศไทยไดรับเกียรติใหเปนเจาภาพการจัดประชุมระดับ ฉบับ
รัฐมนตรีและผูนําทางเศรษฐกิจ เฉลย
AFTA
………………………. ๗. เขตการคาเสรีของกลุม ประเทศสมาชิกอาเซียน เพือ่ สงเสริมการคาเสรีในอาเซียน
เสริมสรางอํานาจการตอรองและเพิม่ ศักยภาพดานการผลิตของประเทศสมาชิก
BRICS
………………………. ๘. กลุมประเทศที่แสดงถึงการยายฐานอํานาจเศรษฐกิจโลกจากกลุมประเทศ
พัฒนาแลวมาสูประเทศกําลังพัฒนา
EU
………………………. ๙. กลุมทางเศรษฐกิจที่มีความมั่นคงและเขมแข็งที่สุดในโลก
ASEAN
………………………. ๑๐. มีการรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจ ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ เพือ่ เปนเขตการผลิตเดียว
ตลาดเดียว และสรางขีดความสามารถในการแขงขัน
OPEC
………………………. ๑๑. กลุมประเทศที่มีความมั่งคั่งจากการเปนผูผลิตนํ้ามันรายใหญของโลก
ASEAN
………………………. ๑๒. วัตถุประสงคในการกอตัง้ เพือ่ เปนการสงเสริมความรวมมือทางดานตางๆ เชน
ดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สันติภาพ ฯลฯ
ASEAN
………………………. ๑๓. มีการจัดตัง้ กรอบความรวมมือ ๓ เสาหลัก คือ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คง
ประชาคมเศรษฐกิจ และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
BRICS
………………………. ๑๔. กลุมเศรษฐกิจที่เอื้อตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจในลักษณะสงเสริมกัน
เนื่องจากการมีทรัพยากรสมบูรณและเปนศูนยกลางการผลิตและบริโภค
ของโลก
EFTA
………………………. ๑๕. เขตการคาเสรีในยุโรป เพื่อสงเสริมการคาใหเปนการคาเสรีในประเทศสมาชิก
๖๑
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๕.๕ ใหนักเรียนสืบคนบทบาทหนาที่ขององคกรหรือกลุมทาง ñð
เศรษฐกิจตามรูปสัญลักษณที่กําหนดให แลวเติมขอความ
ลงในชองวาง (ส ๓.๒ ม.๓/๓)
สัญลักษณ ชื่อกลุม / องคกร บทบาทหนาที่
๑. องค
การการคาโลก …………………………………………………………………………………………………………..
……………………………….. ๑. บริ ห ารข อ ตกลงและบั น ทึ ก ความเข า ใจที่ ป ระเทศสมาชิ ก
(WTO) ทําความตกลงรวมกัน
……………………………….. …………………………………………………………………………………………………………..
……………………………….. ๒. ลดอุปสรรคทางการคา ทัง้ ในรูปภาษีศลุ กากรและมาตรการ
………………………………………………………………………………………………………….
……………………………….. ที่มิใชภาษีศุลกากร
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………….. ๓. แกไขปญหาขอขัดแยงหรือกรณีพิพาททางการคาของสมาชิก
………………………………………………………………………………………………………….
……………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….

๒. กลุ มความรวมมือ …………………………………………………………………………………………………………..


……………………………….. ๑. สงเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-
ทางเศรษฐกิ จ
……………………………….. แปซิฟก
…………………………………………………………………………………………………………..
เอเชี ย-แปซิฟก
……………………………….. ๒. รวมมือกันเพื่อลดอุปสรรคทางการคาและการลงทุนตอกัน
………………………………………………………………………………………………………….
(APEC) ๓. สงเสริมการไหลเวียนสินคาและบริการ ทุน และเทคโนโลยี
……………………………….. …………………………………………………………………………………………………………
……………………………….. ระหวางประเทศสมาชิกโดยเสรี
………………………………………………………………………………………………………….
……………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….
ฉบับ
เฉลย กองทุ น การเงิ น …………………………………………………………………………………………………………..
๑. สนั บ สนุ น ความร ว มมื อ ทางการเงิ น และวิ ช าการระหว า ง
๓. ………………………………..
ระหว างประเทศ …………………………………………………………………………………………………………..
……………………………….. ประเทศ
(IMF) ๒. สนับสนุนการคาระหวางประเทศใหเกิดการขยายตัวอยาง
……………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….
……………………………….. สมดุล
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………….. ๓. ใหความชวยเหลือดานการเงินแกประเทศสมาชิกที่ประสบ
………………………………………………………………………………………………………….
……………………………….. ปญหาดุลการชําระเงิน
………………………………………………………………………………………………………….

๔. ธนาคารโลกหรื
……………………………….. อ …………………………………………………………………………………………………………..
องคกรทางการเงินของโลกเพื่อมุงแกปญหาความยากจน และ
ธนาคารระหว
……………………………….. า ง …………………………………………………………………………………………………………..
ยกระดับมาตรฐานความเปนอยูของประชากรในประเทศกําลัง
ประเทศเพื ่ อ การ ………………………………………………………………………………………………………….
……………………………….. พัฒนา เพือ่ ใหเกิดการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
บู………………………………..
รณะและพัฒนา …………………………………………………………………………………………………………
(IBRD)
……………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….

๕. กลุ มประเทศ
……………………………….. ๑. เปนตลาดการคาที่ใหญ
…………………………………………………………………………………………………………..
ที………………………………..
่มีการพัฒนา ๒. เปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ
…………………………………………………………………………………………………………..
เศรษฐกิ จอยาง
……………………………….. ๓. เปนแหลงผลิตสินคาเกษตรที่ใหญที่สุด
………………………………………………………………………………………………………….
รวดเร็ ว
……………………………….. ๔. มีประชากรจํานวนมาก ทําใหเปนผูบริโภคสินคาและ
…………………………………………………………………………………………………………
(BRICS)
……………………………….. ทรัพยากรรายใหญของโลก
………………………………………………………………………………………………………….

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๖๒
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๕.๖ ใหนักเรียนอานขอความเกี่ยวกับลักษณะสําคัญขององคกร õ
ระหวางประเทศ แลวเติมชื่อองคกรลงในชองวางใหถูกตอง
(ส ๓.๒ ม.๓/๓)

๑. องคกรที่มุงแกปญหาความยากจน และยกระดับมาตรฐานความเปนอยูของประชาชนใน
ประเทศที่กําลังพัฒนา โดยยึดหลักการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
ธนาคารระหวางประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา (IBRD)
……………………………………………………………………………………………………………………………..

๒. องคกรที่พัฒนามาจากการทําขอตกลงทั่วไปวาดวยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการคา
หรือแกตต ทําหนาที่เจรจาไกลเกลี่ยขอพิพาททางการคาระหวางประเทศสมาชิก มีการ
กําหนดขอบเขตและมาตรฐานการคุมครองทรัพยสินทางปญญา ประเทศไทยไดประโยชน
จากการเปดกวางในการสงออกสินคาและบริการไปยังประเทศสมาชิก
องคการการคาโลก (WTO)
……………………………………………………………………………………………………………………………..

๓. องคกรทีท่ าํ หนาทีช่ ว ยเหลือดานเศรษฐกิจ วิชาการ และแกปญ หาดานการเงินใหแกประเทศ


ฉบับ
สมาชิก สนับสนุนความรวมมือทางการเงินระหวางประเทศ โดยมีแหลงเงินทุนมาจากการ เฉลย
ชําระเงินคาโควตาของประเทศสมาชิก ประเทศไทยเคยเขารับความชวยเหลือทางการเงิน
ครั้งสุดทาย เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๐ ชําระคืนหมด ใน พ.ศ. ๒๕๔๖
กองทุนการเงินระหวางประเทศ (IMF)
……………………………………………………………………………………………………………………………..

๔. องคกรสังกัดองคการสหประชาชาติ มีหนาที่หลักในการสรางความเจริญทางการคาและ
การพัฒนา สนับสนุนการดําเนินงานที่เกี่ยวกับการลงทุน การเงิน เทคโนโลยีการพัฒนา
องคกรธุรกิจ ใหความชวยเหลือทางวิชาการกับประเทศกําลังพัฒนา
การประชุมสหประชาชาติวาดวยการคาและการพัฒนา (UNCTAD)
……………………………………………………………………………………………………………………………..

๕. องคกรที่มีหนาที่สําคัญในการหาผลกําไรจากการดําเนินธุรกิจดานธนาคาร ใหเงินกูยืม
กับประเทศในแถบเอเชียแปซิฟก เพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและพลังงาน เพื่อรองรับ
การเติบโตทางเศรษฐกิจ เชน สรางสนามบิน ทาเรือ รถไฟ ประเทศไทยเคยขอรับความ
ชวยเหลือจากองคกรดังกลาว เชน ใน พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๔ พรอมกับเงื่อนไขใหรัฐบาลไทย
ปรับโครงสรางภาคการเงินใหมีการลงทุนจากตางชาติมากขึ้น
ธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB)
……………………………………………………………………………………………………………………………..

๖๓
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
กิจกรรมที่ ๕.๗ ใหนักเรียนสืบคนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจหรือองคกร ñð
ระหวางประเทศ ๑ กลุมเศรษฐกิจ แลวบันทึกลงในชองวาง
(ส ๓.๒ ม.๓/๓)
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ชื่อ ………………………………………………………………………………………………………………………………
๑. ความเปนมา
พัฒนามาจากสมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๐ และพัฒนาตอเนื่อง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
จนนําไปสูก ารจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ มีสมาชิก ๑๐ ประเทศ ไดแก ไทย อินโดนีเซีย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร บรูไน เวียดนาม ลาว เมียนมา กัมพูชา โดยมีกรอบความรวมมือ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๓ เสาหลัก ไดแก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๒. วัตถุประสงคหลักของการกอตั้ง
เพื่อสงเสริมความรวมมือและความชวยเหลือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
การบริหาร สงเสริมสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค สงเสริมความรวมมือระหวางอาเซียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
องคกรระหวางประเทศและระดับภูมิภาค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ฉบับ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เฉลย
๓. นโยบายทางเศรษฐกิจ
อาเซียนไดมีการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ในป ๒๕๕๘ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ๑. การเป น ตลาดและฐานการผลิ ต เดี ย วที่ มี เ สถี ย รภาพ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๒. การเปนภูมิภาคที่มีความสามารถในการแขงขันสูง ๓. การเปนภูมิภาคที่มีการพัฒนาอยาง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
เทาเทียมกัน ๔. การเปนภูมิภาคที่มีการบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๔. ความสําคัญตอเศรษฐกิจโลก
เปนตลาดการคาที่ใหญ มีทรัพยากรสมบูรณ เปนฐานการผลิตที่สําคัญของโลก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

๕. ประโยชนที่ประเทศไทยจะไดรับจากกลุมเศรษฐกิจ
๑. การขยายตัวทางเศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ อัตราการจางงานภายในประเทศเพิม่ ขึน้ ๒. ดึงดูดการลงทุน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
จากตางประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งชวยใหมีการถายทอดเทคโนโลยี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๓. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และความสามารถในการแข ง ขั น ของอุ ต สาหกรรมในประเทศ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๔. เพิ่มอํานาจการตอรองของไทยในเวทีระหวางประเทศ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๖๔
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๕
คําชี้แจง ใหนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
ñð

๑. ขอใดเปนเปาหมายสําคัญของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจระหวางประเทศมากที่สุด
ก. เพื่อรวมมือกันยกเลิกขอจํากัดทางการคาในประเทศกลุมสมาชิก
ข. เพื่อรวมมือกันกําหนดนโยบายการคากับประเทศนอกกลุมสมาชิก
ค. เพื่อรวมมือกันกําหนดมาตรฐานคุณภาพสินคาของประเทศนอกกลุม
ง. เพื่อรวมมือกับกลุมสมาชิกกําหนดภาษีศุลกากรของประเทศนอกกลุม
๒. ขอใดเปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในลักษณะของสหภาพศุลกากร
ก. การยกเลิกอุปสรรคทางการคาระหวางประเทศสมาชิก
ข. การยกเลิกมาตรการจํากัดการนําเขาดานการเก็บภาษีศุลกากร
ค. กําหนดใหปจจัยการผลิตภายในกลุมสามารถเคลื่อนยายไดโดยเสรี
ง. ประเทศสมาชิกกําหนดอัตราภาษีขาเขาจากประเทศนอกกลุมอัตราเดียวกัน
๓. ขอใดเปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในลักษณะของตลาดรวม
ฉบับ
ก. ปจจัยการผลิตภายในกลุมสามารถเคลื่อนยายไดโดยเสรี เฉลย
ข. การยกเลิกมาตรการจํากัดการนําเขาดานการเก็บภาษีศุลกากร
ค. กําหนดใหปจจัยการผลิตภายในกลุมสามารถเคลื่อนยายไดโดยเสรี
ง. ประเทศสมาชิกกําหนดอัตราภาษีขาเขาจากประเทศนอกกลุมอัตราเดียวกัน
๔. ขอใดเปนกลุมทางเศรษฐกิจที่มีบทบาทสําคัญในการสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
และสังคมโลกมากที่สุด
ก. อาเซียน
ข. สหภาพยุโรป
ค. เขตการคาเสรีอเมริกาเหนือ
ง. กลุมประเทศผูสงออกนํ้ามัน
๕. ขอใดเปนบทบาทและหนาที่ที่สําคัญของกองทุนการเงินระหวางประเทศ
ก. สนับสนุนความรวมมือทางดานการเงินระหวางประเทศสมาชิก
ข. เปนศูนยกลางประสานนโยบายการคาและพัฒนาระหวางสมาชิก
ค. แกปญหาความยากจนและยกมาตรฐานความเปนอยูของประชากรโลก
ง. ชวยเหลือกันดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการและสันติภาพ

๖๕
๖. ขอใดเปนกลุมทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลตอการกําหนดราคานํ้ามันในตลาดโลก
ก. EFTA
ข. APEC
ค. OPEC
ง. NAFTA
๗. สมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใตรวมกลุมทางเศรษฐกิจโดยมีวัตถุประสงคสําคัญ
อยางไร
ก. กําจัดอุปสรรคที่กีดกันการคาและบริการ
ข. เปนตัวกลางประสานงานดานนโยบายนํ้ามัน
ค. เพื่อประโยชนดานการคาเสรีระหวางประเทศสมาชิก
ง. ชวยเหลือกันดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการและสันติภาพ
๘. ขอใดไมใชบทบาทสําคัญของการประชุมสหประชาชาติวาดวยการคาและการพัฒนา
ก. เจรจาตอรองปญหาเกี่ยวกับการคาระหวางประเทศ
ข. สนับสนุนความรวมมือทางดานการเงินระหวางประเทศ
ฉบับ ค. สงเสริมการคาระหวางประเทศที่มีระดับการพัฒนาที่แตกตางกัน
เฉลย ง. เปนศูนยกลางประสานนโยบายการคาและพัฒนาระหวางกลุมเศรษฐกิจตางๆ
๙. ประเทศไทยไดรับผลดีจากการเขาเปนสมาชิกขององคการการคาโลกอยางไร
ก. ไดใชสินคาคุณภาพดี
ข. สินคาไทยมีราคาถูกลง
ค. ไมถูกกีดกันทางการคา
ง. มีตลาดการคากวางขึ้น
๑๐. หากประเทศไทยตองการเงินทุนสําหรับการกอสรางสาธารณูปโภคขนาดใหญ รัฐบาลควร
กูยืมเงินทุนองคกรใด
ก. WTO
ข. ADB
ค. UNICEF
ง. UNCTAD

๖๖
แบบบันทึกผลการประเมิน

คะแนน ผลการประเมิน
เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู
เต็ม ได ผาน ไมผาน
● กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ส ๓.๒ ม.๓/๓
กิจกรรมที่ ๕.๑ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๕.๒ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๕.๓ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๕.๔ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๕.๕ ๑๐ …………….

กิจกรรมที่ ๕.๖ ๕ …………….

กิจกรรมที่ ๕.๗ ๑๐ …………….

คะแนนรวมทั้งหมด ๕๐
๑๐ ฉบับ
● แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๕ เฉลย

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๔๓ - ๕๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถงึ ครึง่ ของคะแนนเต็ม ๓๔ - ๔๒ ๓ ดี
๒๕ - ๓๓ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๒๕ ๑ ปรับปรุง

๖๗
แบบทดสอบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจําวิชา
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกคําตอบขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว ôð
ใหนักเรียนอานตัวเลือกตอไปนี้แลวตอบคําถาม ขอ ๑-๒
ก. ตลาด
ข. อุปสงค
ค. อุปทาน
ง. กลไกราคา
๑. ขอใดหมายถึง ปริมาณสินคาและบริการที่ผูผลิตหรือผูขายพรอมที่จะผลิตออกขาย ณ ระดับ
ราคาตางๆ ภายในระยะเวลาที่กําหนด (ตอบ ค.)
๒. ขอใดหมายถึง ปริมาณความตองการสินคาและบริการชนิดใดชนิดหนึง่ ของผูบ ริโภค ณ ระดับ
ราคาตางๆ (ตอบ ข.)
๓. ขอใด หมายถึง ราคาดุลยภาพ
ก. ระดับราคาสินคาที่อยูในระดับทั่ว ๆ ไป
ฉบับ ข. ระดับราคาสินคาที่ปริมาณอุปสงคเทากับปริมาณอุปทาน
เฉลย ค. ระดับราคาสินคาที่ปริมาณอุปสงคนอยกวาปริมาณอุปทาน
ง. ระดับราคาสินคาที่ปริมาณอุปสงคมากกวาปริมาณอุปทาน
๔. ขอใดเกี่ยวของกับอุปสงค
ก. ฟาใส ซื้อกระเปาใบใหมตามเพื่อน
ข. หนูนา ซื้อเสื้อผาเพิ่มขึ้นเพราะแมเพิ่มเงินรายวันให
ค. ปรายดาว เรงผลิตนํ้าหอมกลิ่นใหมออกจําหนายในปลายป
ง. ปรายเดือน ซื้อนํ้าผลไมเพิ่มขึ้นเพราะเจาของรานจัดรายการลดราคา
๕. ขอใดเปนสาเหตุสําคัญของการเกิดอุปสงคสวนเกิน
ก. ราคาสินคามีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นกวาราคาดุลยภาพ
ข. ปริมาณความตองการซื้อสินคาและขายสินคาอยูที่ราคาดุลยภาพ
ค. ปริมาณความตองการขายสินคามากกวาปริมาณความตองการซื้อสินคา
ง. ปริมาณความตองการซื้อสินคามากกวาปริมาณความตองการขายสินคา

๖๘
๖. พอคาขายมะนาวในราคาสูงกวาราคาดุลยภาพ ปจจัยใดสงผลใหราคาซือ้ ขายมะนาวตองลดลง
ก. อุปสงคสวนเกิน
ข. อุปทานสวนเกิน
ค. การขาดแคลนอุปทาน
ง. การขาดแคลนอุปสงค
๗. ขอใดเปนปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการพัฒนาทองถิ่นของไทยมากที่สุด
ก. ปญหาการใชสารเคมีในภาคเกษตรกรรม
ข. ปญหากากของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
ค. ปญหามลภาวะทางเสียงจากโรงงานอุตสาหกรรม
ง. ปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
๘. บุคคลในขอใดดําเนินชีวิตที่แสดงถึงการลดการพึ่งพาจากภายนอก
ก. ปาสมศรี นําผักที่เหลือจากการบริโภคไปขายที่ตลาด
ข. นาสํารวย ซื้อตนพันธุมะมวงเขียวเสวยไปปลูกที่บานสวน
ค. ลุงแดง ซื้อผักคะนาไปใหภรรยาทําราดหนาใหรับประทาน
ง. นองเล็ก ไปซื้อของที่ตลาดนัดเพื่อแชตูเย็นไวทําอาหารประจําวัน ฉบับ
๙. ขอใดไมสอดคลองกับการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชกับสหกรณ เฉลย
ก. จัดตั้งสหกรณชุมชน
ข. ผลิตสินคาโดยใชภูมิปญญาทองถิ่น
ค. รวมกลุมผลิตนํ้าตาลมะพราวในชุมชน
ง. จางบริษัทผลิตนํ้ายาลางจานแลวนํามาจําหนายในชุมชน
๑๐. ขอใดเปนบทบาทของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศดานสังคม
ก. ปรับกลยุทธที่ทันสมัยในการพัฒนาประเทศ
ข. สงเสริมการคาและการลงทุนระหวางประเทศ
ค. พัฒนาคนใหมีคุณภาพ คุณธรรมและความรอบรู
ง. ใหการสงเสริมและควบคุมการดําเนินกิจการของภาคเอกชน
๑๑. สหกรณแหงแรกของโลกเกิดขึ้นที่ประเทศใด
ก. อังกฤษ ข. ฝรั่งเศส
ค. โปแลนด ง. สหรัฐอเมริกา

๖๙
๑๒. ประเทศไทยมีความเหมาะสมในการตั้งสหกรณประเภทใดมากที่สุด
ก. สหกรณบริการ
ข. สหกรณรานคา
ค. สหกรณประมง
ง. สหกรณการเกษตร
๑๓. ขอใดเปนการรวมกลุมในการเปนสมาชิกของสหกรณที่ถูกตองที่สุด
ก. รวมกลุมกันดวยความสมัครใจ
ข. รวมกลุมตามจํานวนหุนที่ตองการลงทุน
ค. รวมกลุมกับผูที่ตองการผลประโยชนประเภทเดียวกัน
ง. รวมกลุมจากผูประกอบอาชีพ ภาษา และศาสนาเดียวกัน
๑๔. กิจการสหกรณในโรงเรียนจัดเปนสหกรณประเภทใด
ก. สหกรณรานคา ข. สหกรณบริการ
ค. สหกรณการเกษตร ง. สหกรณเครดิตยูเนี่ยน
๑๕. ประเภทของสหกรณและการดําเนินกิจการของสหกรณขอใดไมสัมพันธกัน
ฉบับ ก. สหกรณการเกษตร - ใหสินเชื่อดานการเกษตร
เฉลย ข. สหกรณประมง - จําหนายอุปกรณการทําประมง
ค. สหกรณบริการ - จําหนายผลิตภัณฑอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ง. สหกรณรานคา - จัดสรรที่ดินทํากินใหแกเกษตรกรประกอบอาชีพ
ใหนักเรียนอานตัวเลือกตอไปนี้แลวตอบคําถาม ขอ ๑๖-๑๗
ก. เมื่อขาวสารมีราคาสูงขึ้น
ข. เมื่อราคานํ้ามันเชื้อเพลิงมีราคาสูงขึ้น
ค. เมื่อไขไก เนื้อสุกร นํ้าตาล มีราคาสูงขึ้น
ง. เมื่อราคาผลผลิตทางการเกษตรราคาตกตํ่า
๑๖. เมื่อใดรัฐบาลจึงควรมีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจในการ “ประกันราคา” (ตอบ ง.)
๑๗. เมื่อใดรัฐบาลจึงควรมีบทบาทในกิจกรรมทางเศรษฐกิจในการ “แทรกแซงราคา” (ตอบ ค.)
๑๘. ขอใดเปนเปาหมายสําคัญของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศดานการศึกษา
ก. เพื่อใหประชาชนมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
ข. เพื่อใหคนในสังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข
ค. เพื่อใหประชาชนมีความมั่นคงและเสมอภาคกัน
ง. เพื่อสงเสริมดานการคาและการลงทุนระหวางประเทศ
๗๐
๑๙. เมื่อประเทศไทยตองประสบปญหาวิกฤตเศรษฐกิจ มีการลดการจางงาน ราคาสินคาเพิ่ม
สูงขึ้นมาก สงผลตอคาครองชีพของประชาชน รัฐบาลควรแกปญหาอยางไร
ก. ลดอัตราดอกเบี้ย
ข. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
ค. ลงทุนในโครงการขนาดใหญ
ง. เพิ่มภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา
๒๐. รัฐบาลควรใชมาตรการใดเพื่อเปนการกระตุนเศรษฐกิจ
ก. เพิ่มอัตราดอกเบี้ย
ข. เพิ่มการใชจายของรัฐบาล
ค. เพิ่มภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา
ง. เพิ่มอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
๒๑. ในกรณีทปี่ ริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจของประเทศมีมากเกินไป รัฐบาลจะดําเนินการโดยใช
นโยบายขอใด
ก. นโยบายขยายเครดิต
ข. นโยบายแทรกแซงราคา ฉบับ
ค. ขายตั๋วเงินคลังและพันธบัตรใหประชาชน เฉลย
ง. ซื้อตั๋วเงินคลังและพันธบัตรจากประชาชน
๒๒. นโยบายการเงินวาดวย “การควบคุมราคาสินคาและควบคุมตนทุนในการผลิตสินคาและ
บริการ” เกี่ยวของกับการแกปญหาเศรษฐกิจขอใด
ก. ปญหาเงินฝด
ข. ปญหาเงินเฟอ
ค. ปญหาเศรษฐกิจ
ง. ปญหาการวางงาน
๒๓. ขอใดหมายถึง ภาวะการวางงาน
ก. ภาวะบุคคลที่อยูในวัยทํางานมีงานทําตามประสงคของตนเอง
ข. ภาวะบุคคลที่อยูในวัยทํางานประสงคที่จะทํางานแตไมมีงานทํา
ค. ภาวะบุคคลที่อยูในวัยทํางานไดงานทําตามวุฒิการศึกษาที่ตนสําเร็จมา
ง. ภาวะบุคคลที่อยูในวัยแรงงานชวงอายุ ๖๑-๖๕ ป มีงานทําตามประสงคของตนเอง

๗๑
๒๔. ขอใดคือการแกปญหาการวางงานโดยใชนโยบายการคลัง
ก. การซื้อคืนหลักทรัพยรัฐบาลเพื่อเพิ่มปริมาณเงินหมุนเวียน
ข. การลดอัตราเงินสํารองตามกฎหมายเพื่อนําเงินออกมาใหกูยืมไดมากยิ่งขึ้น
ค. การลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากเพื่อใหประชาชนฝากเงินกับธนาคารพาณิชยนอยลง
ง. ลดอัตราภาษีเพื่อทําใหสินคาราคาถูกลงและเปนการกระตุนการบริโภคใหมากยิ่งขึ้น
๒๕. ในกรณีที่เศรษฐกิจของประเทศมีปริมาณเงินมากเกินไปอาจกอใหเกิดภาวะเงินเฟอ
ธนาคารกลางควรดําเนินการโดยใชนโยบายขอใด
ก. นโยบายจํากัดเครดิต
ข. นโยบายขยายเครดิต
ค. นโยบายควบคุมราคา
ง. นโยบายแทรกแซงราคา
๒๖. ในกรณีทตี่ อ งการเพิม่ ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจของประเทศ ธนาคารกลางจะดําเนินการ
โดยใชนโยบายขอใด
ก. นโยบายจํากัดเครดิต
ฉบับ ข. นโยบายขยายเครดิต
เฉลย ค. นโยบายควบคุมราคา
ง. นโยบายแทรกแซงราคา
๒๗. ขอใดไมใชผลกระทบที่ประชาชนไดรับจากปญหาเงินฝด
ก. เศรษฐกิจมีแนวโนมหดตัวลง
ข. ภาวะการวางงานของประชาชนเพิ่มสูงขึ้น
ค. รัฐบาลมีรายไดเพิ่มขึ้นจากการเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม
ง. รายไดของประชาชนและผลกําไรของธุรกิจลดลง
๒๘. ประเทศใดที่เปนตลาดสงออกสินคาสําคัญที่สุดของไทย
ก. จีน - ญี่ปุน ข. ไตหวัน - ฮองกง
ค. มองโกเลีย - มาเกา ง. เกาหลีเหนือ - เกาหลีใต
๒๙. ปจจุบันประเทศตางๆ นิยมใชมาตรการใดในการจํากัดการคาเสรีระหวางประเทศ
ก. ตั้งกําแพงภาษีขาเขา
ข. ใหเงินอุดหนุนผูนําเขา
ค. กําหนดโควตาสงออก
ง. กําหนดมาตรฐานคุณภาพสินคา
๗๒
๓๐. ขอใดหมายถึง ดุลการคาขาดดุล
ก. เมื่อประเทศไทยสงสินคาออกเปนมูลคาเทากับสินคาเขา
ข. เมื่อประเทศไทยสงสินคาออกเปนมูลคาสูงกวามูลคาสินคาเขา
ค. เมื่อประเทศไทยสงสินคาออกเปนมูลคานอยกวามูลคาสินคาเขา
ง. บัญชีที่แสดงถึงมูลคาของสินคาเขากับมูลคาสินคาออกของประเทศ
๓๑. ขอใดหมายถึง ดุลการคาสมดุล
ก. เมื่อมูลคาสินคาออกเปน ๒ เทาของมูลคาสินคาเขา
ข. เมื่อประเทศไทยสงสินคาออกเปนมูลคาเทากับสินคาเขา
ค. เมื่อประเทศไทยสงสินคาออกเปนมูลคาสูงกวามูลคาสินคาเขา
ง. เมื่อประเทศไทยสงสินคาออกเปนมูลคานอยกวามูลคาสินคาเขา
๓๒. หากรัฐบาลมีการตั้งงบประมาณแบบขาดดุล รัฐบาลจะกอหนี้สาธารณะโดยวิธีใด
ก. จําหนายพันธบัตร
ข. กูเงินระยะยาวจากตางประเทศ
ค. กูเงินระยะยาวจากสถาบันการเงินในประเทศ
ง. กูเงินจากกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ ฉบับ
๓๓. ขอใดเปนการลงทุนทางตรงจากตางประเทศในไทย เฉลย
ก. คนอเมริกันซื้อรถยนตกระบะที่ผลิตในไทย
ข. นักธุรกิจชาวฝรั่งเศสซื้อพันธบัตรของรัฐบาลไทย
ค. ชาวสิงคโปรซื้อหุนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ง. บรรษัทขามชาติจากอังกฤษเขามาเปดหางคาปลีกขนาดใหญ
๓๔. ขอใดเปนการรวมกลุมเศรษฐกิจแบบเขตการคาเสรี
ก. ใชสกุลเงินเดียวกัน
ข. กําหนดนโยบายการเงินการคลังรวมกัน
ค. ยกเลิกอุปสรรคทางการคาระหวางประเทศสมาชิก มุงการคาเสรี
ง. รัฐบาลแตละประเทศยอมสละอํานาจอธิปไตยเพื่อรวมกันกําหนดนโยบายเศรษฐกิจ
๓๕. การจัดตัง้ กลุม เศรษฐกิจเอเปก ทําใหประเทศไทยมีความสัมพันธทางเศรษฐกิจกับประเทศใด
เพิ่มขึ้น
ก. อินเดีย ข. จีน
ค. เกาหลีใต ง. ออสเตรเลีย

๗๓
๓๖. ขอใดเปนกลุมทางเศรษฐกิจที่เปนตลาดอัญมณ�และเครือ่ งประดับรายใหญของไทย
ก. EFTA
ข. APEC
ค. USMCA
ง. ASEAN
๓๗. ขอใดเปนกลุมทางเศรษฐกิจที่มีเปาหมายในการสงเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟก
ก. WTO
ข. APEC
ค. OPEC
ง. ASEAN
๓๘. ขอใดเปนองคกรทางเศรษฐกิจระหวางประเทศที่ใหญที่สุดในโลก
ก. IMF
ข. WTO
ฉบับ ค. IBRD
เฉลย ง. UNCTAD
๓๙. ขอใดไมใชสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจเขตการคาเสรีอาเซียน
ก. การแขงขันทางการคาที่ขยายตัวอยางรวดเร็ว
ข. เพื่อสรางอํานาจการตอรองดานการคาระหวางกัน
ค. การใชมาตรการกีดกันทางการคาในรูปแบบตาง ๆ
ง. เพื่อกําหนดอัตราภาษีภายในกลุมใหมีอัตราภาษีสูงสุด
๔๐. ขอใดเปนเปาหมายของอาเซียนที่จะตองปฏิบัติภายในป พ.ศ. ๒๕๕๘
ก. รวมเปนประชาคมอาเซียน
ข. เปลี่ยนสกุลเงินไปใชดอลลาร
ค. รวมมือกับองคการการคาโลก
ง. กําหนดเขตการคาเสรีของภูมิภาค

๗๔
แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้

ใช้เป็นเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียน
ตามตัวชี้วัดเป็นรายบุคคล

ใช้เป็นหลักฐานประกอบ
ครบทุกตัวชี้วัด การรายงานผลสัมฤทธิ์
ตามหลักสูตร ทางการเรียน
ตามมาตรฐานการเรียนรู้
แกนกลาง ’51
1 2 หลักสูตรแกนกลาง ‘51

ใช้เป็นหลักฐาน ใช้เป็นหลักฐานรองรับ
บันทึกผลการเรียนรู้ การประเมินคุณภาพ
เพื่อประกอบการ
ผู้เรียนจาก สมศ.
3
เทียบโอนผลการเรียน
4

ประกอบด้วย 7 กลุ่มสาระ 12 รายวิชา ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ พระพุทธศาสนา


หน้าที่พลเมืองฯ เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์
สุขศึกษา ทัศนศิลป์ ดนตรี-นาฏศิลป์ การงานอาชีพ

บริษท
ั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร. 0 2622 2999 (อัตโนมัติ 20 คูส
่ าย)
www.aksorn.com อักษรเจริญทัศน์ อจท.
ID Line : @aksornkrumattayom

You might also like