You are on page 1of 112

ẺÇÑ´

áÅкѹ·Ö¡¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ
ÀÒÉÒä·Â Á.ó
ตามมาตรฐานตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑

ประนอม พงษเผือก
จินตนา วีรเกียรติสุนทร

คณะบรรณาธิการและผูตรวจ
เกศรินทร หาญดํารงรักษ
พาโชค เสือไหล
อลิตา ดาดวง ฉบับ
สุรีรัตน รุงแกว เฉลย

พิมพครั้งที่ ๕
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
รหัสสินคา ๒๓๓๑๐๙๓
พิมพครั้งที่ ๔
รหัสสินคา ๒๓๔๑๐๑๔

ชื่อ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ชั้น ……………………………………………………………………… เลขที่ ……………………………………………………………..


¤íÒªÕáé ¨§

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดไว


เปนกรอบและทิศทางในการกําหนดเนือ้ หา ทักษะ กระบวนการเรียนรู กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมิน
ผลการเรียนรูของผูเรียนวามีระดับความรู ความสามารถ และมีคุณธรรม จริยธรรม คานิยมตามที่กําหนดไวใน
มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูตางๆ มากนอยเพียงใด รวมถึงพัฒนาการดานสมรรถนะ
สําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคตามเปาหมายที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางฯ ดวย
มาตรฐานการเรียนรูจึงเปนเปาหมายสําคัญในการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถ ครอบคลุม ๘
สาระการเรียนรู สวนตัวชี้วัดจะระบุสิ่งที่ผูเรียนตองรูและปฏิบัติได รวมถึงคุณลักษณะที่ตองเกิดขึ้นกับผูเรียน
ในแตละระดับชัน้ สถานศึกษาและผูสอนจึงตองนําตัวชีว้ ดั ไปจัดทําหนวยการเรียนรู จัดกระบวนการเรียนรู และ
กิจกรรมการเรียนการสอน รวมถึงกําหนดเกณฑสําคัญทีจ่ ะใชสําหรับประเมินผลผูเรียน เพือ่ ตรวจสอบคุณภาพ
ผูเรียนแตละคน พรอมทัง้ จัดทําหลักฐานรายงานผลการเรียน และพัฒนาการดานตางๆ ของผูเรียนเปนรายบุคคล
การจัดทําแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรูของผูเรียนเปนรายบุคคลฉบับนี้ จึงมีวัตถุประสงคสําคัญ
เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูสอน ในการนํากิจกรรมและเครื่องมือที่ออกแบบไวนี้ไปประยุกตใชเปนเครื่องมือ
ฉบับ วัดผลเพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู ที่เกิดขึ้นกับผู เรียน จะไดนําผลการวัดมาปรับปรุงพัฒนาผู เรียนแตละคน
เฉลย จนเต็มศักยภาพตามเปาหมายของหลักสูตร
ทัง้ นีก้ ารวัดผลประเมินผลระดับชัน้ เรียน จัดเปนภาระงานสําคัญทีส่ ดุ ในกระบวนการวัดผลประเมินผล
ของผูสอน เพราะตองการวัดความรู ทักษะ และความสามารถที่เกิดกับผูเรียนทุกคน ผูสอนจะไดนําผลการวัด
เหลานัน้ ไปวางแผนจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความสามารถของผูเรียนเปนรายบุคคล รายกลุม และ
หรือรายหองเรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหไดตามเกณฑประกันคุณภาพการศึกษาทีส่ ถานศึกษา
แตละแหงกําหนดไว
ดังนั้น การประเมินผลผูเรียนจึงจําเปนตองใชเครื่องมือวัดผลที่มีคุณภาพ ซึ่งผูสอนตองสรางหรือ
เลือกใชเครื่องมือวัดผลที่มีคุณภาพสอดคลองกับตัวชี้วัด เพื่อนําผลการวัดมาใชตัดสินผลการเรียนของ
ผูเรียนไดอยางมั่นใจวา ระดับผลการเรียนที่ตัดสินนั้นสอดคลองกับระดับความรูความสามารถที่เกิดขึ้นจริง
ของผูเรียนแตละคน ซึ่งมีคาความเที่ยงตรงและคาความเชื่อมั่นสูง แสดงใหเห็นถึงความสามารถของผูสอน
ในดานการจัดการเรียนรู ที่เนนผู เรียนเปนสําคัญ และดานการจัดระบบประกันคุณภาพผู เรียนที่สามารถ
ตรวจสอบและรายงานผลแกผูปกครองนักเรียนได
แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู ของผู เรียนฉบับนี้ จึงเปนประโยชนตอผู สอนและผู เรียนที่จะใช
วางแผนการประเมิ น ผลการเรี ย นรู รวมกั น เพื่ อ นํ า ไปสู การพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู เรี ย นตามเปาหมายของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ทุกประการ
ผูจัดทํา
ÊÒúÑÞ
µÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ (ñ)
µÍ¹·Õè ñ ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÃÍ‹Ò¹
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ ñ
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ñ
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ñ.ñ Á.ó/ñ, ñð) ò
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ õ
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ö
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ¡ÒÃÍ‹Ò¹¨Ñºã¨¤ÇÒÁ ÷
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ÷
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ñ.ñ Á.ó/ò-ô) ø
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ñò
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ñó
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÇÔ¹Ô¨ÊÒà ñô
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ñô
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ñ.ñ Á.ó/õ-ù) ñõ
ฉบับ
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó òð เฉลย
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ òñ
µÍ¹·Õè ò ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÃà¢Õ¹
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ¡ÒäѴÅÒÂÁ×Í òò
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ òò
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ò.ñ Á.ó/ñ) òó
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ òö
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ò÷
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ¡ÒÃà¢Õ¹à¾×èÍ¡ÒÃÊ×èÍÊÒà ñ òø
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ òø
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ò.ñ Á.ó/ò-õ, ø) òù
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò óù
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ôð
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó ¡ÒÃà¢Õ¹à¾×èÍ¡ÒÃÊ×èÍÊÒà ò ôñ
4 ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ôñ
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ò.ñ Á.ó/ö-÷, ù-ñð) ôò
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó õð
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ õñ
µÍ¹·Õè ó ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÿ˜§ ¡ÒôÙáÅСÒþٴ
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ¡ÒþٴàÃ×èͧ¨Ò¡Ê×èÍ·Õ还§áÅд٠õò
5 ¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ õò
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ó.ñ Á.ó/ñ-ó, ö) õó
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ öð
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ öñ
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ¡Òþٴã¹âÍ¡Òʵ‹Ò§æ öò
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ öò
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ó.ñ Á.ó/ô-ö) öó
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ÷ð
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ÷ñ

µÍ¹·Õè ô ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒä·Â
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ¡ÒÃ㪌¤íÒã¹ÀÒÉÒä·Â ÷ò
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ÷ò
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ô.ñ Á.ó/ñ, ô-õ) ÷ó
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ÷ù
ฉบับ ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ øð
เฉลย
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐˏÀÒÉÒ øñ
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ øñ
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ô.ñ Á.ó/ò-ó) øò
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò øõ
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ øö
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó ¡ÒÃᵋ§º·ÃŒÍ¡Ãͧ»ÃÐàÀ·â¤Å§ÊÕèÊØÀÒ¾ ø÷
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ø÷
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· ô.ñ Á.ó/ö) øø
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ó ùñ
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ùò

µÍ¹·Õè õ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ùó
¡Ô¨¡ÃÃÁ½ƒ¡·Ñ¡ÉÐ ùó
¡Ô¨¡ÃÃÁµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ (· õ.ñ Á.ó/ñ-ô) ùô
Ẻ·´Êͺ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ùù
ẺºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹ ñðð
Ẻ·´Êͺ»ÃÐàÁÔ¹¼ÅÊÑÁÄ·¸Ôì·Ò§¡ÒÃàÃÕ¹»ÃШíÒÇÔªÒ ñðñ
µÒÃÒ§ºÑ¹·Ö¡¼Å¡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕÇé ´
Ñ ªÑ¹
é »‚
ตอนที่/ มาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผล
สรุปผล
หนวย การ การประเมิน
ที่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
ตามตัวชี้วัด
วิธีการ เครื่องมือประเมินผล ชั้นปของ
ประเมิน หนวยการเรียนรู
๑. อานออกเสียงบทรอยแกว ตรวจ ก. ๑.๑ • ก. ๑.๑ อานออกเสียงบทรอยแกวทีก่ าํ หนด
และบทรอยกรองไดถูกตอง ท ๑.๑
๑/๑ ทมฐ.
๑.๑
ตรวจ ก. ๑.๒ • ก. ๑.๒ อานออกเสียงบทรอยกรอง ม.๓/๑, ๑๐

๑๐. มีมารยาทในการอาน
ที่กําหนด
ตรวจ ก. ๑.๓ • ก. ๑.๓ อานขอความแลวตอบคําถาม

๒. ระบุความแตกตางของคํา ตรวจ ก. ๒.๑ • ก. ๒.๑ หาความหมายของคําที่เลือก
ที่มีความหมายนัยตรง จากบทเพลงที่กําหนด
นัยประหวัด
ท ๑.๑
๓. ระบุใจความสําคัญและ ตรวจ ก. ๒.๒ • ก. ๒.๒ อานขอความและระบุใจความสําคัญ
๑/๒ ทมฐ.
๑.๑ รายละเอียดของขอมูลที่ ตรวจ ก. ๒.๓ • ก. ๒.๓ อานขอความที่กําหนด
ม.๓/๒-๔
สนับสนุนจากเรื่องที่อาน
และตอบคําถาม ❏ ฉบับ
เฉลย
๔. อานเรื่องตางๆ แลวเขียน ตรวจ ก. ๒.๔ • ก. ๒.๔ อานขอความที่กําหนดและเขียน
กรอบแนวคิด ผังความคิด ผังความคิดตามความเขาใจ
๕. วิเคราะห วิจารณ ตรวจ ก. ๓.๑ • ก. ๓.๑ อานขอความที่กําหนด
และประเมินเรื่องที่อาน และตอบคําถาม
๖. ประเมินความถูกตอง ตรวจ ก. ๓.๒ • ก. ๓.๒ อานขอความที่กําหนด
ของขอมูลที่ใชสนับสนุน และตอบคําถาม
เรื่องที่อาน
ท ๑.๑
๑/๓ ทมฐ. ๗. วิจารณ ความสมเหตุสมผล ตรวจ ก. ๓.๓ • ก. ๓.๓ อานขอความที่กําหนด
๑.๑ การลําดับความ ความเปน
ม.๓/๕-๙
ไปไดของเรื่อง
และตอบคําถาม

๘. วิเคราะหเพื่อแสดงความ ตรวจ ก. ๓.๔ • ก. ๓.๔ อานบทรอยกรองที่กําหนด
คิดเห็นโตแยงเรื่องที่อาน และแสดงความคิดเห็น
๙. ตีความและประเมินคุณคา ตรวจ ก. ๓.๕ • ก. ๓.๕ อานเรือ่ งทีส่ นใจและนํามาประเมินคา
แนวคิดที่ไดจากงานเขียน ตามรูปแบบที่กําหนด
๑. คัดลายมือตัวบรรจง ตรวจ ก. ๑.๑ • ก. ๑.๑ วิเคราะหแนวทางของการ
ครึ่งบรรทัด คัดลายมือ ท ๒.๑
๒/๑ ทมฐ.
๒.๑
ม.๓/๑
ตรวจ ก. ๑.๒ • ก. ๑.๒ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
ตรวจ ก. ๑.๓ • ก. ๑.๓ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด

(ñ)
ตอนที่/ มาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผล
สรุปผล
หนวย การ การประเมิน
ที่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
ตามตัวชี้วัด
วิธีการ เครื่องมือประเมินผล ชั้นปของ
ประเมิน หนวยการเรียนรู
๒. เขียนขอความโดยใชถอยคํา ตรวจ ก. ๒.๑ • ก. ๒.๑ แกไขประโยคที่กําหนดใหถูกตอง
ไดถูกตอง ตรวจ ก. ๒.๒ • ก. ๒.๒ วิเคราะหประเภทของการเขียน
ตรวจ ก. ๒.๓ • ก. ๒.๓ เขียนขอความในโอกาสตางๆ
ดวยตนเอง
ตรวจ ก. ๒.๔ • ก. ๒.๔ วิเคราะหรูปแบบการนําเสนอของ
คําโฆษณาที่กําหนด
ตรวจ ก. ๒.๕ • ก. ๒.๕ เขียนคําโฆษณาจากสลากสินคา ท ๒.๑
ที่กําหนดให
๒/๒ ทมฐ.
๒.๑ ตรวจ ก. ๒.๖ • ก. ๒.๖ อานสุนทรพจน แลวตอบคําถาม
ม.๓/๒-๕, ๘
๓. เขียนชีวประวัติ
และอัตชีวประวัติ
ตรวจ ก. ๒.๗ • ก. ๒.๗ ตอบคําถามเกี่ยวกับแนวทาง
การเขียนชีวประวัตแิ ละอัตชีวประวัติ

๔. เขียนยอความ ตรวจ ก. ๒.๘ • ก. ๒.๘ ยอความจากเรื่องที่กําหนด
ฉบับ ๕. เขียนจดหมายกิจธุระ ตรวจ ก. ๒.๙ • ก. ๒.๙ เขียนจดหมายเชิญวิทยากร
เฉลย ๘. กรอกแบบสมัครงาน ตรวจ • ก. ๒.๑๐ วิเคราะหแนวทางกรอกแบบ
พรอมเขียนบรรยาย ก. ๒.๑๐ สมัครงานจากขอความที่กําหนด
เกี่ยวกับความรูและทักษะ
ของตนเอง
๖. เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดง ตรวจ ก. ๓.๑ • ก. ๓.๑ พิจารณารูปแบบการเขียน
ความคิดเห็นและโตแยง ตรวจ ก. ๓.๒ • ก. ๓.๒ เขียนอธิบายโดยใชภาษาที่ถูกตอง
อยางมีเหตุผล
ตรวจ ก. ๓.๓ • ก. ๓.๓ ตอบคําถามเกีย่ วกับการเขียนชีแ้ จง
๗. เขียนวิเคราะห วิจารณ และ ตรวจ ก. ๓.๔ • ก. ๓.๔ อานขอความที่กําหนดให
แสดงความรู ความคิดเห็น แลวตอบคําถาม ท ๒.๑
๒/๓ ทมฐ.
๒.๑
หรือโตแยงเรื่องตางๆ ตรวจ ก. ๓.๕ • ก. ๓.๕ เขียนแสดงความคิดเห็นของตนเอง
ม.๒/๖-๗, ๙-๑๐
ตอสถานการณที่กําหนด
๙. เขียนรายงานและโครงงาน ตรวจ ก. ๓.๖ • ก. ๓.๖ อธิบายขั้นตอนการวางโครงเรื่อง

ของรายงานที่กําหนด
ตรวจ ก. ๓.๗ • ก. ๓.๗ ตอบคําถามเกีย่ วกับการทําโครงงาน
๑๐. มีมารยาทในการเขียน ตรวจ ก. ๓.๘ • ก. ๓.๘ วิเคราะหมารยาทการเขียน
๑. แสดงความคิดเห็นและ ตรวจ ก. ๑.๑ • ก. ๑.๑ ฟงเรื่องที่กําหนด แลวตอบคําถาม
ประเมินเรื่องจากการฟง ตรวจ ก. ๑.๒ • ก. ๑.๒ ฟงบทเพลงที่ประทับใจ ท ๓.๑
และดู
๓/๑ ทมฐ.
แลวตอบคําถาม ม.๓/๑-๓, ๖
๓.๑ ๒. วิเคราะหและวิจารณเรื่อง ตรวจ ก. ๑.๓ • ก. ๑.๓ เลือกชมสารคดี แลวตอบคําถาม
ที่ฟง และดูเพือ่ นําขอคิด ตรวจ ก. ๑.๔ • ก. ๑.๔ ฟงบทเพลงที่กําหนด
มาประยุกตใช

แลวตอบคําถาม

(ò)
ตอนที่/ มาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผล
สรุปผล
หนวย การ การประเมิน
ที่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
ตามตัวชี้วัด
วิธีการ เครื่องมือประเมินผล ชั้นปของ
ประเมิน หนวยการเรียนรู
๓. พูดรายงานประเด็นทีศ่ กึ ษา ตรวจ ก. ๑.๕ • ก. ๑.๕ เขียนบทพูดรายงานประเด็น
จากการฟง ดูและการ ที่เลือกศึกษา
สนทนา ท ๓.๑
๓/๑ ทมฐ. ม.๓/๑-๓, ๖ (ตอ)
(ตอ) ๓.๑ ๖. มีมารยาทในการฟง การดู ตรวจ ก. ๑.๖ • ก. ๑.๖ พิจารณามารยาทที่เหมาะสมจาก
(ตอ) และการพูด
ตรวจ ก. ๑.๗ • ก. ๑.๗
ขอความที่กําหนด
พิจารณามารยาทที่เหมาะสม

จากสถานการณสมมติที่กําหนด
๔. พูดในโอกาสตางๆ ไดตรง ตรวจ ก. ๒.๑ • ก. ๒.๑ ตอบคําถามเกี่ยวกับการพูด
ตามวัตถุประสงค
ตรวจ ก. ๒.๒ • ก. ๒.๒ พิจารณาความเหมาะสมของญัตติ
ตรวจ ก. ๒.๓ • ก. ๒.๓ เขียนบทพูดโตวาทีในญัตติที่เลือก
ตรวจ ก. ๒.๔ • ก. ๒.๔ รวมกันอภิปรายในหัวขอทีก่ ลุมสนใจ ท ๓.๑
๓/๒ ทมฐ.
๓.๑ ๕. พูดโนมนาวใจ โดยนําเสนอ ตรวจ ก. ๒.๕ • ก. ๒.๕ ตอบคําถามเกี่ยวกับการพูด
ม.๓/๔-๖
ฉบับ
หลักฐานตามลําดับเนือ้ หา
อยางมีเหตุผลและนา ตรวจ ก. ๒.๖ • ก. ๒.๖
โนมนาวใจ
พิจารณาบทเพลงที่กําหนด แลว
❏ เฉลย
เชื่อถือ ตอบคําถามเกีย่ วกับการโนมนาวใจ
๖. มีมารยาทในการพูด ตรวจ ก. ๒.๗ • ก. ๒.๗ พิจารณาขอความที่กําหนด
แลวตอบคําถาม
๑. จําแนกคําในภาษา ตรวจ ก. ๑.๑ • ก. ๑.๑ พิจารณาที่มาของคําที่กําหนด
ตางประเทศในภาษาไทย
ตรวจ ก. ๑.๒ • ก. ๑.๒ ตอบคําถามเกี่ยวกับคํายืม
ภาษาบาลี สันสกฤต
๔. ใชคําทับศัพท ศัพทบัญญัติ ตรวจ ก. ๑.๓ • ก. ๑.๓ พิจารณาคําทับศัพทที่กําหนด ท ๔.๑
๔/๑ ทมฐ.
๔.๑ ตรวจ ก. ๑.๔ • ก. ๑.๔ อธิบายวิธีการบัญญัติศัพทของคํา
ม.๓/๑, ๔๕

๕. อธิบายความหมายของ ตรวจ ก. ๑.๕ • ก. ๑.๕


ที่กําหนด
หาคําศัพทวิชาการหมวดที่กําหนด

คําศัพททางวิชาการและ ตรวจ ก. ๑.๖ • ก. ๑.๖
วิชาชีพ อธิบายความหมายของศัพท
วิชาการหมวดที่กําหนด
๒. วิเคราะหโครงสรางประโยค ตรวจ ก. ๒.๑ • ก. ๒.๑ วิเคราะหโครงสรางประโยคทีก่ าํ หนด
ท ๔.๑
๔/๒ มฐ. ๓. วิเคราะหระดับภาษา ตรวจ ก. ๒.๒ • ก. ๒.๒ ใชระดับภาษาใหถูกตอง ม.๓/๒-๓
ท ๔.๑
ตรวจ ก. ๒.๓ • ก. ๒.๓ วิเคราะหระดับภาษาจากประโยค
ที่กําหนด และแกไขใหถูกตอง

(ó)
ตอนที่/ มาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้น ม.๓ การวัดและประเมินผล
สรุปผล
หนวย การ การประเมิน
ที่ เรียนรู ระดับคุณภาพ
ตามตัวชี้วัด
วิธีการ เครื่องมือประเมินผล ชั้นปของ
ประเมิน หนวยการเรียนรู
๖. แตงบทรอยกรอง ตรวจ ก. ๓.๑ • ก. ๓.๑ พิจารณาฉันทลักษณของ
โคลงสี่สุภาพที่กําหนด ท ๔.๑
๔/๓ มฐ. ตรวจ ก. ๓.๒ • ก. ๓.๒ พิจารณาวรรณศิลปของ ม.๓/๖
ท ๔.๑ โคลงสี่สุภาพที่กําหนด
ตรวจ ก. ๓.๓ • ก. ๓.๓ แตงโคลงสี่สุภาพถูกตองตาม ❏
ฉันทลักษณ
๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดี ตรวจ ก. ๑.๑ • ก. ๑.๑ สรุปเนื้อหาของบทละครพูด
เรื่องเห็นแกลูก
๒. วิเคราะหวิถไี ทยและคุณคา ตรวจ ก. ๑.๒ • ก. ๑.๒ เลือกสรรขอความที่มีวรรณศิลป
ตามที่กําหนด ท ๕.๑
๕/๑ มฐ. ๓. สรุปความรูและขอคิด ตรวจ ก. ๑.๓ • ก. ๑.๓ พิจารณาขอคิดจากเรือ่ งพระอภัยมณี
ม.๓/๑-๔
ท ๕.๑
ฉบับ
เฉลย
ตรวจ ก. ๑.๔ • ก. ๑.๔ พิจารณาขอคิดจาก
เรื่องอิศรญาณภาษิต

๔. ทองจําและบอกคุณคา ตรวจ ก. ๑.๕ • ก. ๑.๕ ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยาน
อาขยาน เรื่องบทพากยเอราวัณ

หมายเหตุ : ๑. ใหผู สอนประเมิ น ผลระดั บ คุ ณ ภาพตามตั ว ชี้ วั ด ชั้ น ปของหนวยการเรี ย นรู โดยนํ า คะแนน
รวมทั้งหมดของทุกกิจกรรมตามตัวชี้วัดในแบบบันทึกการประเมินของแตละหนวยการเรียนรู
มาเปรียบเทียบกับเกณฑการตัดสินคุณภาพของตัวชี้วัดตามหนวยการเรียนรูแตละหนวย
๒. ใหผู สอนนําผลการประเมินระดับคุณภาพตามตัวชี้วัดชั้นปของแตละหนวยการเรียนรู มาสรุป
ในตาราง โดยใสหมายเลขระดับคะแนน ๑ - ๔ (๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = พอใช ๑ = ปรับปรุง)
ลงในชอง ❏ ตามระดับคุณภาพ
๓. สําหรับตัวชีว้ ดั ชัน้ ปในสาระที่ ๘ ใหผูสอนประเมินควบคูไปกับการทํากิจกรรมในแตละหนวยการเรียนรู
โดยผูสอนอาจสรางแบบบันทึกผลการประเมินขึน้ มาเอง เชน แบบประเมินการสังเกต แบบประเมิน
การทดลอง เปนตน

(ô)
µÍ¹·Õè ๑ ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÃÍ‹Ò¹
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๑ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§

การอานออกเสียงเปนการอานทีผ่ อานเปลงเสี
ู ยงออกมาในขณะทีอ่ าน โดยมีจดุ มุงหมาย
ทีแ่ ตกตางกัน ผูอานตองออกเสียงใหถูกตองตามอักขรวิธี ใชนํา้ เสียงและลีลาในการอานใหสอดคลอง
กับเรื่องและควรตั้งจุดมุงหมายทุกครั้งเพื่อใหการอานเกิดประโยชนสูงสุด ผูที่มีทักษะการอานที่ดี
ยอมมีเครือ่ งมือในการแสวงหาความรู เพือ่ พัฒนาตนเองทัง้ ในดานการเรียน การดํารงชีวติ ประจําวัน
การอานออกเสียงจึงเปนพื้นฐานสําคัญของการอานในระดับที่สูงขึ้น เชน การอานจับใจความ
การอานวิเคราะห วิจารณ เปนตน หากตัง้ ใจ ก นและพัฒนาก็จะเปนผูทีม่ บี คุ ลิกภาพทางภาษาทีด่ ี

กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนอานขอความทีก่ าํ หนด แลวตอบคําถาม ห ด จความถูกตองและสมบูรณ

ใบเตย เปนนักจัดรายการวิทยุที่กําลังไดรับความนิยม ชวงเวลาที่ใบเตยจัดรายการ ฉบับ


จะเปนชวงเวลาทีม่ ผี รอฟงมากที
ู ส่ ดุ ดวยรูปแบบการจัดรายการทีน่ าํ รอยยิม้ สูผูฟงดวยเสียงเพลง เฉลย
และเรือ่ งชวนขําขัน แตในขณะเดียวกันก็นาํ สาระดีๆ ทีเ่ ปนประโยชนมาถายทอด จึงทําใหวงการ
สื่อวิทยุโทรทัศนยกยองใหใบเตยเปนนักจัดรายการวิทยุที่ดีคนหนึ่งของเมืองไทย

๑. นักเรียนคิดวาใบเตยมีคุณสมบัติใดที่ทําใหไดรับความนิยมจากผูฟง
ใบเตยนาจะเปนนักจัดรายการวิทยุที่มีเสียงไพเราะ กังวาน ชวนฟง มีความสามารถ.
ในการถายทอดเนื้อหาสาระของสารแตละประเภท มีความสามารถในการทําความเขาใจ ตีความ.
เรื่องราวตางๆ กอนนํามาถายทอดสูผูฟง .

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. ถานักเรียนใ นจะเปนนักจัดรายการวิทยุที่ดี จะมีวิธีการเตรียมความพรอมอยางไร


ฝกอานออกเสียงเปนประจําทุกวัน โดยฝกจากงานเขียนที่หลากหลาย ดวยการเปลงเสียง.
ใหเปนธรรมชาติ ถูกตองตามเกณฑ เชน ไมอานตกหลน ออกเสียงควบกลํา้ ชัดเจน มีนาํ้ หนักชวนฟง.
แบงวรรคตอนเหมาะสม และควรบันทึกเสียง เปดฟง เพื่อหาขอบกพรองของตนเองและแกไข.
ใหถูกตอง .
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๑ หนั ก เรี ย นแบงจั ง หวะการอานขอความที่ กํ า หนด ñð
แลวอานออกเสียง หถูกตองตามหลักการอานและ
มีมารยาท นการอาน (ท ๑.๑ ม.๓/๑)

ขณะที่พระองคเสด็จมาใกลเบญจคีรีนคร คือราชคฤหเปนเวลาจวนสิ้นทิวาวาร แดด


ในยามเย็น กําลังออนลงสูสมัยใกลวิกาล ทอแสงแผซานไปยังสาลีเกษตร แลละลิ่วเห็นเปนทาง
สวางไปทั่วประเทศสุดสายตา ดูประหนึ่งมีหัตถทิพยมาปกแผอํานวยสวัสดี เบื้องบนมีกลุมเมฆ
เปนคลืน่ ซอนซับสลับกันเปนทิวแถว ตองแสงแดดจับเปนสีระยับวะวับแววประหนึง่ เอาทรายทอง
มาโปรยปรายเลือ่ นลอยลิว่ ๆ เรีย่ ๆ รายลงจรดขอบฟา ชาวนาและโคก็เมือ่ ยลาดวยตรากตรําทํางาน
ตางพากันเดินดุมๆ เดินกลับเคหสถานเห็นไรๆ เงาไมอันโดดเดี่ยวอยูกอเดียวก็ยืดยาวออกมา
ทุกทีๆ มีขอบปริมณฑลเปนรัศมีสีแหงรุ งอันกําแพงเชิงเทินปอมปราการที่ล อมกรุงรวมทั้ง
ทวารบถทางเขานครเลามองดูในขณะนัน้ เห็นรูปเคาไดถนัดชัดแจงดัง่ วานิรมิตไวมีสมุ ทุมพุมไม
ดอกออกดกโอบออมลอมแนนเปนขนัดถัดไปเปนทิวเขาสูงตระหงานมีสีในเวลาตะวันยอแสง
ฉบับ
เฉลย ปานจะฉายเอาไวเพือ่ แขงกับแสงสีมณีวเิ ศษมีบษุ ราคบรรณฑรวรรณแลกองแกวโกเมนแมรวมกัน
ใหพายแพฉะนั้น
(กามนิต ภาคพื้นดิน)

ขณะที่พระองคเสด็จมาใกลเบญจคีรีนคร/คือ/ราชคฤห//เปนเวลาจวนสิ้นทิวาวาร/แดดใน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ยามเย็ นกําลังออนลงสู สมัยใกลวิกาล//ทอแสงแผซานไปยังสาลีเกษตร/แลละลิ่วเห็นเปนทางสวาง/
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ไปทั ่วประเทศสุดสายตา/ดูประหนึ่งมีหัตถทิพยมาปกแผอํานวยสวัสดี//เบื้องบนมีกลุ มเมฆ/เปนคลื่น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ซอนซั บสลับกันเปนทิวแถว/ตองแสงแดดจับเปนสีระยับวะวับแวว/ประหนึ่งเอาทรายทองมาโปรยปราย/
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เลื ่อนลอยลิ่วๆ เรี่ยๆ รายลงจรดขอบฟา//ชาวนาและโคก็เมื่อยลาดวยตรากตรําทํางาน/ตางพากัน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เดิ นดุ มๆ/เดินกลับเคหสถานเห็นไรๆ//เงาไมอันโดดเดี่ยวอยู กอเดียวก็ยืดยาวออกมาทุกทีๆ/มีขอบ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปริ มณฑลเปนรัศมีสีแหงรุ ง/อันกําแพงเชิงเทินปอมปราการที่ล อมกรุง/รวมทั้งทวารบถทางเขานคร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เลา/มองดู ในขณะนั้นเห็นรูปเคาไดถนัดชัดแจงดั่งวานิรมิตไว//มีสุมทุมพุมไมดอกออกดกโอบออมลอม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนนเปนขนั ด/ถัดไปเปนทิวเขาสูงตระหงาน/มีสีในเวลาตะวันยอแสง/ปานจะฉายเอาไวเพื่อแขงกับ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แสงสี มณีวิเศษ//มีบุษราคบรรณฑรวรรณ/แลกองแกวโกเมน/แมรวมกันใหพายแพฉะนั้น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(พิจารณาการอานออกเสียงของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๒ หนักเรียนแบงจังหวะการอานบทรอยกรองที่กําหนด òð
แลวอานออกเสียง หถูกตอง (ท ๑.๑ ม.๓/๑)

ตรงตระพักเพิงผาศิลาเผิน ชะงักเงิ่นเงื้อมงอกชะแงหงาย
ที่หุบหวยเหวหินบิ่นทะลาย เปนวุงโวงโพรงพรายดูลายพรอย
บางเปนยอดกอดกายตะเกะตะกะ ตะขรุตะขระเหี้ยนหักเปนหินหอย
ขยุกขยิกหยดหยอดเปนยอดยอย บางแหลมลอยเลื่อมสลับระยับยิบ
(ขุนชางขุนแผน)

ตรงตระพัก/เพิงผา/ศิลาเผิน ชะงักเงิ่น/เงื้อมงอก/ชะแงหงาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ที่หุบหวย/เหวหิน/บิ่นทะลาย เปนวุงโวง/โพรงพราย/ดูลายพรอย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บางเปนยอด/กอดกาย/ตะเกะตะกะ ตะขรุตะขระ/เหี้ยนหัก/เปนหินหอย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขยุกขยิก/หยดหยอด/เปนยอดยอย บางแหลมลอย/เลื่อมสลับ/ระยับยิบ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

โลกนี้มิอยูดวย มณี เดียวนา ฉบับ


ทรายและสิ่งอื่นมี สวนสราง เฉลย
ปวงธาตุตํ่ากลางดี ดุลยภาพ
ภาคจักรพาลมิราง ดวยนํ้าแรงไหน
ภพนี้มิใชหลา หงสทอง เดียวเลย
กาก็เจาของครอง ชีพดวย
เมาสมมติจองหอง หินชาติ
นํ้ามิตรแลงโลกมวย หมดสิ้นสุขศานต
(อังคาร กัลยาณพงศ)

โลกนี้/มิอยูดวย มณี/เดียวนา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ทรายและ/สิ่งอื่นมี สวนสราง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปวงธาตุ/ตํ่ากลางดี ดุลยภาพ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ภาคจักรพาล/มิราง ดวยนํ้า/แรงไหน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ภพนี้/มิใชหลา หงสทอง/เดียวเลย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กาก็เจาของ/ครอง ชีพดวย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เมาสมมติ/จองหอง หินชาติ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นํ้ามิตรแลง/โลกมวย หมดสิ้น/สุขศานต
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(พิจารณาการอานออกเสียงของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

กิจกรรมที่ ๑.๓ หนักเรียนเติมขอความลง นชองวาง หสมบูรณ (ท ๑.๑ ม.๓/๑๐)
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
ตอนที่ ๑ หนักเรียนเขียนขยายความเกีย่ วกับมารยาท นการอานออกเสียง õ
ที่กําหนด ห ด จความสมบูรณและถูกตอง
๑. การใชนํา้ เสียง ผูอานควร ………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใชนํ้าเสียงใหสอดคลอง เหมาะสมกับเรื่องที่อาน ไมดัดเสียงใหผิดไปจากปกติ
จนไมเปนธรรมชาติ แตควรใชนํา้ เสียงใหมีความเหมาะสมกับเนือ้ หา อารมณ ความรูสึกของเรือ่ งทีอ่ าน ดังนัน้ .
กอนการอานออกเสียง ผูอานที่ดีควรเตรียมตัวศึกษาและอานเรื่องมาลวงหนาเพื่อทําความเขาใจเนื้อหา .
๒. บุคลิกภาพ ผูอานควร ………………………………………………………………………………………………………………………………………
มีบุคลิกภาพที่ดีในขณะที่อ านทุกๆ อิริยาบถ ไมวาจะนั่งหรือยืนอานควรจัด
ระเบียบทาทางใหมีความเหมาะสม ไมหลุกหลิก และไมควรกมหนาอานจนไมสนใจหรือสังเกตปฏิกริ ยิ าของ.
ผูฟง เพราะจะทําใหผูฟงไมสนใจผูอานเชนกัน .
๓. ปฏิกิริยา ผูอานที่ดีควร สังเกตปฏิกิริยาของผูฟงวา สามารถทําความเขาใจเรื่องราวตามผูอานทันหรือไม.
รวมถึงสังเกตวา ผูฟงใหความสนใจมากนอยเพียงไร แลวจึงปรับเพิม่ -ลดความเร็วในการอาน ลีลานํา้ เสียง.
เปนตน เพื่อดึงใหผูฟงกลับมามีสวนรวมกับผูอาน .
๔. ควบคุม ผูอานที่ดีควร ………………………………………………………………………………………………………………………………………
รูจักควบคุมอารมณ ไมแสดงอารมณโมโห หงุดหงิด ฉุนเฉียว หรือใชถอยคํา
ไมสุภาพ วากลาวตักเตือนเมื่อเห็นวาผูฟงไมสนใจ หรือพูดคุยเสียงดัง .
.
ฉบับ
เฉลย ๕. การแตงกาย ผูอานที่ดีควร แตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะสมกับกาลเทศะ เปนการใหเกียรติสถานที.. ่
และผูฟง .
.
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
ตอนที่ ๒ หนักเรียนพิจารณาพ ติกรรมของบุคคลที่กําหนด ห แลว ส õ
เครื่องหมาย หนาขอ ึ่งเปนพ ติกรรมที่เหมาะสมและ ส
เครื่องหมาย หนาขอ ึ่งเปนพ ติกรรมที่ มเหมาะสม
……………… ๑. สมภพไดรับมอบหมายใหอานออกเสียงบทรอยแกวเนื่องในวันภาษาไทย
แหงชาติ เมื่อสมภพเดินขึ้นไปบนเวทีไดถือบทรอยแกวที่รางไวแลว นําไปอาน
บนเวทีโดยที่ไมสนใจหรือสบตากับผูฟง
……………… ๒. สมฤทัยพยายามดัดนํา้ เสียงใหผิดปกติจากธรรมชาติเพือ่ ใหเขากับเนือ้ เรือ่ งทีอ่ าน
และตองการสรางความประทับใจใหแกผูฟง
……………… ๓. สมถวิลเตรียมตัวอานเนือ้ หามาลวงหนาเพือ่ ศึกษาเนือ้ หาและอารมณความรูสึก
ของเรื่อง
……………… ๔. สมพงษแสดงอาการไมพอใจเมื่อเห็นวาผูฟงไมสนใจการอานออกเสียงของตน
……………… ๕. สมใจแตงกายสุภาพเรียบรอยเมื่อไดรับมอบหมายใหทําหนาที่อ านออกเสียง
บทรอยกรองเนื่องในวันสุนทรภู ซึ่งทางโรงเรียนเปนผูจัดขึ้น

คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. ขอใด ม ชจุดประสงคการอานออกเสียง ๘. ขอใด ม ชแนวทางการอานออกเสียงรอยกรอง


ก. ความบันเทิง ก. รูจักผูแตง
ข. แถลงนโยบาย ข. รูจักรวบคํา
ค. ถายทอดขาวสาร
ง. เพื่อขอความคิดเห็น ค. รูจักทํานอง
ง. รูจักใสอารมณ
๒. ขอใดคือการอานออกเสียงที่ถูกตอง
ก. กําหนดทาทาง ๙. ขอใดแบงจังหวะ มถูกตอง
ข. ทดลองออกเสียง ก. นางเงือกนํ้า บอกสําคัญวา นั่นแลวคือ
ค. ทําความเขาใจเรื่อง เกาะ แกวพิสดาร เปนชานเขา
ง. ศึกษาเจตนาของผูแตง ข. แลลิบลิบ หลังคา ศาลาราย
๓. เครื่องหมาย หมายความวาอยางไร มีเสาหงส ธงปลาย ปลิวระยับ
ก. หยุดอาน ค. พี่มนุษย สุดสวาท เปนชาติยักษ
ข. หยุดหายใจ
จงคิดหัก ความสวาท ใหขาดสูญ ฉบับ
ค. เวนวรรคเล็กนอย เฉลย
ง. ใหสังเกตขอความ ง. อยูดีดี หนีเมีย มาเสียได
๔. ทอดหางเสียง ตองใชเครื่องหมายใด เสียนํ้าใจ นองรัก เปนหนักหนา
ก. ข. .. ๑๐. ขอใดแบงจังหวะไดถูกตอง
ค. ------ ง. ก. มีคน จํานวนไมนอย เชื่อวาความตาย
๕. ขอใด ม ชลักษณะของรอยแกว เปนสิ่งที่จัดการได จัดการในที่นี้หมายถึง
ก. บังคับสัมผัส ข. ใชในชีวิตประจําวัน ข. เราเชื่อวา ทุกอยางจัดการได เพราะเรามี
ค. ไพเราะ ง. ใชคําเหมาะสม เทคโนโลยี เรามีเงิน เรามีความรู เราจึง
๖. สิ่งใดสําคัญที่สุดในการอานออกเสียง มั่นใจวา เราสามารถจัดการ สิ่งตางๆ ได
ก. มีสมาธิ ข. อานใหเปนเสียงพูด
ค. เราสามารถจัดการธรรมชาติ เราสามารถ
ค. อานใหดัง ง. อานใหถูกอักขรวิธี
จัดการสังคม และเราเชื่อวา เราสามารถ
๗. การใสอารมณในการอานมีผลดีอยางไร
ก. ผูฟงชื่นชม จัดการรางกายของเราได
ข. ทําใหนาสนใจ ง. โฆษณาทุกวันนี้ บอกเราวาทุกอยาง
ค. ทําใหชวนฟงยิ่งขึ้น จัดการได เราจึงเชื่อจริงๆ วา ไมมีอะไรใน
ง. ทําใหผูอานมีชีวิตชีวา โลกนี้ที่จัดการไมได รวมทั้งความตาย


แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู คะแนน ผลการประเมิน


เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๓/๑
กิจกรรมที่ ๑.๑ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๑.๒ ๒๐ .

รวม ๓๐
ท ๑.๑ ม.๓/๑๐
กิจกรรมที่ ๑.๓ ๑๐ .

รวม ๑๐
คะแนนรวมทั้งหมด ๔๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑ ๑๐
ฉบับ
เฉลย
เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๓๐ - ๔๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๒๕ - ๒๙ ๓ ดี
๒๐ - ๒๔ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๒๐ ๑ ปรับปรุง


µÍ¹·Õè ๑ ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÃÍ‹Ò¹
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๒ ¡ÒÃÍ‹Ò¹¨Ñºã¨¤ÇÒÁ

การอานที่ดีและมีประสิทธิภาพ ผูอานตองสามารถจับใจความ สรุปสาระสําคัญของเรื่อง


ที่อานได แตการสํารวจและประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบวา ปญหาที่สําคัญในการอานคือ
อานแลวจับใจความสําคัญไมได ไมสามารถสรุปประเด็นได ไมสามารถแยกความรู ขอเท็จจริง
ขอคิดเห็น ไมสามารถแยกใจความสําคัญกับใจความรองได เปนตน ทําใหไมไดรับประโยชน
จากการอานเทาที่ควร ดังนั้นจึงควร ก นทักษะการอานจับใจความดวยการอานงานเขียนที่
หลากหลาย โดยตอบคําถามงายๆ วา ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร เมื่อไร ทําไม เพื่อนําไปใช
เปนเครื่องมือสําหรับการแสวงหาความรูในอนาคต

กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนเลือกอานนิทาน เรื่องสั้น บทความ ที่ตนเองสน จ แลวตอบคําถามตอ ปนี้


(ตัวอยาง) ฉบับ
๑. ชื่อเรื่อง กังหันของจอย .. เฉลย
รวมเรื่องสั้นผลงานของ ศุภลักษณ
๒. ทีม่ าของเรื่อง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. โครงเรื่อง จอยเปนเด็กกําพราพอ อาศัยอยูกับแมและพอเลี้ยงซึ่งมีอาชีพขับรถสองแถวรับจาง จอยทํา.
หนาที่เปนเด็กทายรถอยางไมขาดตกบกพรองทามกลางความเกลียดชังของพอเลี้ยง เมื่อแมคลอดนองสาว.
จอยทั้งรักและเอ็นดูนองสาวคนนี้มาก แมวาจะเปนนองสาวคนละพอก็ตาม วันหนึ่งจอยขอเงินพอเลี้ยง.
เพือ่ ซือ้ กังหันใหกับนอง พอเลีย้ งจําใจหยิบเงินใหไปโดยทีไ่ มรูวาจอยจะเอาไปทําอะไร และเย็นวันนัน้ พอเลีย้ ง.
ขับรถสองแถวดวยความเร็วเพือ่ แยงชิงผูโดยสารกับรถคันอืน่ จนเปนสาเหตุใหจอยตกรถเสียชีวติ กอนลมหายใจ.
สุดทายจอยหยิบกังหันลมสีแดงสงใหพอแลวบอกวา “เอาไปใหนองนะ พอนะ” .

๔. ตัวละครที่ประทับใจและลักษณะนิสัย จอย เปนเด็กกําพรา ทีม่ คี วามอดทน เขาไมเคยคิดโทษโชคชะตา..


หรือแมที่ทําใหชีวิตของเขาเปนเชนนี้ ในบางครั้งที่วาเหวก็สูอดทนและตั้งใจทําหนาที่เปนลูกที่ดีเพื่อใหแม.
สบายใจ .

๕. สํานวนภาษาที่ใช สํานวนภาษาที่ใชมีความเรียบงาย ใชระดับภาษาไดเหมาะสมกับลักษณะของตัวละคร..


บทสนทนาที่มีความสมจริงทําใหจินตนาการถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นไดอยางชัดเจน .

๖. ชีวิตมนุษยไมสามารถเลือกเกิดได แตเราเลือก
ขอคิดที่สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน …………………………………………………………………………………
ที่จะเปนได ไมมีใครหรืออะไรมากําหนดชะตาชีวิตของมนุษยได นอกจากการลงมือทําวันนี้ใหดีที่สุด .
(พิจารณาคําตอบของนักเรียนจากเรื่องที่เลือกอานตามความสนใจ)

กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๑ หนักเรียนเลือกคําจากเพลงปนดิน หเปนดาว งึ่ เปนคําทีม่ ี ñð
ความหมายนัยประหวัดหรือความหมายออม มาจํานวน ๕ คํา
เขียนลง นตารางพรอมทัง้ บอกความหมายของคํา (ท ๑.๑ ม.๓/๒)

เพลงปนดิน หเปนดาว
จากดินกอนเดียวฉันเคี่ยวฉันปน เพื่อเธอสุขสันตพบวันสดใส
ปดเหลือบยุงริ้น..มิใหบินตอมไต แมลมหายใจฉันยังกรองใหเธอ
แหวกเมฆใหญนอยที่ลอยขวางหนา หอบเธอขึ้นฟาเปนดาวเลิศเลอ
สาดสองเรืองรุงเหนือดาวกรุงลอยเกรอ ฉันนอนละเมอเพอดวยความดีใจ
ยินดีที่เห็นเธอเปนสุข รื่นเริงสนุกเพลิดเพลินชีวิตใหม
ากดิน ากฟาขอจงปกปองโพยภัย ใหดาวนอยสุขใสไฉไลอยูชั่วนิรันดร
จากใจดวงนี้ที่มีแตให ยากเย็นเพียงไหนทุมเท าฟน
สิ่งหนึ่งขานอยขอคืนเปนรางวัล ขอชอไมจันทนวันฉันนอนกองฟอน
ฉบับ
เฉลย
คํา ความหมาย
ดิน
๑. ………………… นัยประหวัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………
บุคคลธรรมดาทีไ่ มมีชอื่ เสียง โดยอิงจากเคาความหมายนัยตรงของคํา คือ ดิน
เปนสิ่งที่อยูใกลมนุษยมากที่สุดแตมนุษยกลับมองไมเห็นคุณคา
……………………………………………………………………………………………………………………………………

เมฆ
๒. ………………… นัยประหวัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………
อุปสรรคนานัปการทีค่ อยขัดขวางไมใหไปสูความสําเร็จของชีวติ โดยอิงจากเคา
ความหมายนัยตรงของคํา เมือ่ เกิดเมฆบนทองฟายอมเปนอุปสรรคตอการมองเห็น
……………………………………………………………………………………………………………………………………

ดาว
๓. ………………… นัยประหวัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………
บุคคลทีม่ ชี อื่ เสียงไดรับการยอมรับจากสังคม โดยอิงจากเคาความหมายนัยตรง
ของคํา คือ ดาว เปนสิง่ ทีอ่ ยูสูงบนทองฟา เปลงแสงสุกใสเปนประกายในยามคํา่ คืน
……………………………………………………………………………………………………………………………………

ปน
๔. ………………… นัยประหวัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………
สรางหรือสงเสริมใหบุคคลนั้นเดินทางไปสูความสําเร็จในชีวิต โดยอิงจาก
เคาความหมายนัยตรงของคํา คือ ปน การขึ้นรูปตามตองการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………

ฟา
๕. ………………… นัยประหวัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………
วงสังคมที่ดี ความมุงหวังสูงสุดของบุคคลผูนั้นที่ตองการจะไปใหถึง โดยอิง
จากลักษณะทางกายภาพของฟาซึง่ อยูสูง เปนสวนเบือ้ งบนทีค่ รอบแผนดินอยู
……………………………………………………………………………………………………………………………………


คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๒ หนักเรียนอานขอความทีก่ าํ หนด ห พรอมพิจารณาตําแหนง ñð
ของ จความสําคั แลว สเครือ่ งหมาย ลง นวงเลบหนาขอ
ที่เหนวาถูกตองที่สุด (ท ๑.๑ ม.๓/๓)

๑. มีคนเขาหาวาตัวผมนั้นเวลาไมมีเรื่องจะ ( ) ใจความสํ า คั ญ อยู ตนขอความ


เขียนหนังสือเขา ก็หนั ไปเขียนตําราตํานํา้ พริก “ตัวผมนัน้ เวลาไมมีเรือ่ งจะเขียน
ซึ่งขอนี้ขอยอมรับวาเปนความจริง แตจะขอ หนังสือเขา ก็หันไปเขียนตํารา
แกตัวสักนิดหนึง่ วา นํา้ พริกนัน้ นอกจากจะเปน ตํานํ้าพริก”
กับขาวของไทยแลว ยังเปนวัฒนธรรมไทย ( ) ใจความสําคัญอยูกลางขอความ
อีกอยางหนึ่ง คนไทยตองรูจักนํ้าพริก ตอง คือ “นํ้าพริกนั้นนอกจากจะเปน
รับประทานนํ้าพริกใหเปน หมายความวา จะ กั บ ขาวของไทยแลว ยั ง เปน
ตองรูวิธวี า จะเอาอะไรจิม้ กับนํา้ พริก แนมดวย วัฒนธรรมไทยอีกอยางหนึ่ง”
ปลาดุกยาง ปลาทูทอดอยางไร เหลานี้เปน ( ) ใจความสําคัญอยู ทายขอความ
“เปนวัฒนธรรมซึ่งมีมาแตโบรํ่า
วัฒนธรรมซึ่งมีมาแตโบรํ่าโบราณทั้งสิ้น ถา
โบราณทัง้ สิน้ ถาไมมีใครรักษาไว
ไมมีใครรักษาไวก็คงจะหายไป ฉบับ
ก็คงจะหายไป” เฉลย

๒. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล- ( ) ใจความสํ า คั ญ อยู ตนขอความ


อดุลยเดชทรงมุงเนนการอนุรกั ษและฟนฟูปาไม “พระบาทสมเด็จพระปรมินทร-
เปนแนวทางหลักในการจัดการทรัพยากรปาไม มหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงมุงเนน
ดวยทรงตระหนักถึงความสําคัญของปาไม การอนุรักษและฟนฟูปาไมเปน
โดยเฉพาะอยางยิง่ ปญหาภัยแลง นํา้ ทวมอยาง แนวทางหลั ก ในการจั ด การ
ฉับพลัน และการพังทลายของดินอยางรุนแรง ทรัพยากรปาไม”
จึงมีพระราชหฤทัยมุ งมั่นที่จะแกไขปรับปรุง ( ) ใจความสําคัญอยูกลางขอความ
และพัฒนาปาไมใหอยูในสภาพสมบูรณดังเดิม “จึงมีพระราชหฤทัยมุ งมั่นที่จะ
พระองคทรงเล็งเห็นวาการจัดการทรัพยากร แกไขปรับปรุง และพัฒนาปาไม
ปาไม มีความเกีย่ วโยงกับการอนุรกั ษทรัพยากร ใหอยูในสภาพสมบูรณดังเดิม”
( ) ใจความสําคัญอยู ทายขอความ
แหลงนํ้าจึงทรงเนนการอนุรักษและพัฒนา
“จึงทรงเนนการอนุรกั ษและพัฒนา
ปาตนนํ้าเปนพิเศษ ปาตนนํ้าเปนพิเศษ”


คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๓ หนักเรียนระบุ จความสําคั และรายละเอียดของขอมูล ñõ
ที่สนับสนุนเรื่องที่กําหนด หอานตอ ปนี้ (ท ๑.๑ ม.๓/๓)

วรรณกรรมของประภัสสร มิใชเพียงใหความบันเทิงใจแกผูอาน แตในสภาพสมจริง


ของสังคมและชีวิตมนุษย ผลงานที่สรางขึ้นอยางประณีตผสมผสานขอมูลกับจินตนาการอยาง
เหมาะสม นําเสนอดวย มือการประพันธและภาษาที่เลือกสรรแลว พรอมทั้งใหขอคิดและ
คติธรรมแกผูอาน ไดแสดงใหเห็นเปนที่ประจักษวา ประภัสสร เสวิกุล เปนนักเขียนที่มีอุดมคติ
และมีสาํ นึกตอนักอานและสังคม งานประพันธทุกเรือ่ งของประภัสสรจะฉายภาพใหผูอานไดเห็น
คุณคาของความเปนมนุษย คุณธรรม และคานิยมประการตางๆ ไดแก ความเปนผูนํา มิตรภาพ
การพึ่งตนเอง ความขยันหมั่นเพียร ความกลาสูชีวิต ความอดออม ความเมตตา ความกตัญ ู
ความซื่อสัตย ความสามัคคี ความเคารพเชื่อฟงผูอาวุโส ความหมั่นแสวงหาความรู ตลอดจน
การเห็นคุณคาของศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ เพราะประภัสสรเชื่อมั่นวาดานดีของมนุษย
และคุณลักษณะที่ดีของคนไทย จะเปนพลังสําคัญที่จะธํารงรักษาสังคมและมนุษยชาติไว
(คําประกาศเกียรติคุณ นายประภัสสร เสวิกุล ศิลปนแหงชาติสาขาวรรณศิลป พุทธศักราช ๒๕๕๔)
ฉบับ
เฉลย
๑. ใจความสําคัญ คือ ประภัสสร เสวิกุล เปนนักเขียนที่มีอุดมคติและมีสํานึกตอนักอานและสังคม..
โดยการสรางสรรคผลงานทีแ่ สดงใหเห็นคุณคาของความเปนมนุษย โดยมีความเชือ่ วาดานดีของมนุษย.
และคุณลักษณะที่ดีของคนไทยจะเปนพลังสําคัญที่จะธํารงรักษาสังคมและมนุษยชาติไว .

๒. รายละเอียดของขอมูลที่สนับสนุน คือ ………………………………………………………………………………………………………


๑. ผลงานที่ ส รางขึ้ น อยางประณี ต ผสมผสานขอมู ล กั บ จิ น ตนาการอยางเหมาะสม นํ า เสนอ.
ดวยฝมือการประพันธและภาษาที่เลือกสรรแลว พรอมทั้งใหขอคิดและคติธรรมแกผูอาน .
๒. งานประพันธทุกเรื่องของประภัสสรจะฉายภาพใหผู อานไดเห็นคุณคาของความเปนมนุษย.
คุณธรรมและคานิยมประการตางๆ .
๓. ประภัสสรเชื่อมั่นวาดานดีของมนุษยและคุณลักษณะที่ดีของคนไทย จะเปนพลังสําคัญที่จะธํารง.
รักษาสังคมและมนุษยชาติไว .
อีกวันหนึง่ ของตรัน คนบนยอดตึก ซิม้ ใบ เวลาในขวดแกว
๓. ยกตัวอยางผลงานของประภัสสร เสวิกลุ ……………………………………………………………………………………………………
ขอหมอนใบนั้นที่เธอฝนยามหนุน ชี้ค ลอดลายมังกร เด็กชายมะลิวัลย .

.
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๑๐
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๔ หนักเรียนอานบทความแลวนํามาเขียนแผนผังความคิด ñõ
หถูกตองสมบูรณและมีความสวยงามลง นกรอบที่
กําหนด ห (ท ๑.๑ ม.๓/๔)

หากจําแนกประเภทของกลวยอาจแบงไดเปน ๒ กลุม คือกลวยกินสดและกลวยที่ตองทําใหสุก


ดวยความรอนกอน กลุ มแรกเปนกลวยที่เมื่อผลสุกและรับประทานไดทันที เมื่อสุกแลวเนื้อจะนิ่ม
มีรสหวาน เชน กลวยไข กลวยหอมทอง กลวยนํ้าวา เปนตน สวนอีกกลุมหนึ่งเปนกลวยที่มีแปงมาก
เนื้อคอนขางแข็งกวากลุมแรก เมื่อสุกแลวเนื้อไมนิ่ม รสไมหวาน ตองนํามาผานความรอนดวยการตม ปง
หรือเชื่อมจึงจะทําใหเนื้อนุมและมีรสชาติดีขึ้น เชน กลวยกลาย กลวยหักมุก กลวยเล็บชางกุด เปนตน
กลวยเปนผลไมที่มีไขมันและคอเลสเตอรอลตํ่า แตมีวิตามินซี โพแทสเซียม แมกนีเซียม และ
แคลเซียมสูง สามารถนํามาใชบริโภคไดหลายวิธี อาจจะรับประทานสดก็ได หากเปนกลวยสุกก็ขูดเอา
เนื้อมาบดใหละเอียดเพื่อปอนใหทารกรับประทาน หรืออาจนํามาตมใหสุกแลวโรยมะพราวขูดกับนํ้าตาล
เพื่อเพิ่มความหวานมัน บางก็นิยมนํามาปงรับประทาน นอกจากนั้นยังสามารถนํากลวยไปแปรรูปไดอีก
หลายอยาง เชน กวน ฉาบ หรืออบแหง เปนตน นอกจากผลกลวยแลวสวนตางๆ ของตนกลวยก็นํามา
ใชงานไดดวย เชน ใบตองสดนํามาหออาหารหรือผักสด ใชหออาหารกอนนําไปตม นึ่ง หรือปงก็ได หรือ
นํามาเย็บทําเปนกระทงเพื่อลอยในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง หากเปนใบตองแหงก็นํามาทําเปนกระทง
ใสอาหารหรือหอขนมอยางกะละแม หรือใชมวนบุหรี่ก็ได สวนกาบกลวยนํามาใชในงานเครื่องสดฉลุลาย ฉบับ
เรียกวา “การแทงหยวก” เพื่อใชในงานพิธีการตางๆ นํามาหั่นเปนชิ้นเล็กๆ ตากแดดจนแหงดี ก็จะได เฉลย
เชือกกลวยที่มีความเหนียวใชผูกขาวของไดดี สวนกานกลวยเมื่อเลาะเอาใบตองออกแลวสามารถนํามา
ทําเปนของเลนเด็กไดทั้งมากานกลวย ปนกานกลวย เปนตน ดวยประโยชนตางๆ เหลานี้ ทําใหกลวยเปน
พันธุ ไมสารพัดประโยชนที่อยูคูคนไทยมานานแสนนานตราบจนทุกวันนี้

อง
อมท
ล วยห กลวยไข

วา
กลวยน้าํ
กลวย ลาย

น กลวยหักมุก
กินสด

วามรอ
านค

กลวยเล็บชางกุด
กวน
ซี
ฉาบ
เอ
เภ

ประ รูป อบ
บี 6 วิตา
มิ แปร นิ สกุ ทอด

บี 12

คณุ คาทางโภชนาการ ขดู ใหท ตม


โพแทสเซียม แรธาตุ
ลวย ารก
ชน

พันธุไมสารพดั ประโย ประโยชน


ผล

ีเซยี ม หออาหาร
แม ก น ใบ ก
กาบ มวนรบะทง
ซยี ม หุ รี่
แคลเ ฉลุลาย
เชือ
ของเลน
กก
ลวย

มา
ปน

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๑๑
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. ขอใดคือหลักการอานจับใจความสําคัญ ๗. คําในขอใดมีความหมายออม
ก. คนหาสาระ ก. นํ้ามาปลากินมด นํ้าลดมดกินปลา
ข. คนหาขอคิดเห็น ข. อันออยตาลหวานลิ้นแลวสิ้นซาก
ค. คนหาขอเท็จจริง แตลมปากหวานหูไมรูหาย
ง. คนหาความสําคัญ ค. โบราณวาถาเหลือกําลังลาก
๒. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับใจความสําคัญ ใหออกปากบอกแขกชวยแบกหาม
ก. ครอบคลุมขอความอื่นๆ ง. ถึงเถาวัลยพันเกี่ยวที่เลี้ยวลด
ข. ทําใหเกิดเรื่อง ก็ไมคดเหมือนหนึ่งในนํ้าใจคน
ค. เดนเฉพาะตัว
๘. คําวาฆองในขอใดมีความหมายออม
ง. ถูกทุกขอ
ก. ถึงยามคํ่ายํ่าฆองจะรองไห
๓. ใจความสําคัญมีลักษณะอยางไร
ฉบับ
ข. ในสมัยโบราณใชฆองตีบอกเวลา
เฉลย ก. เปนคํา ข. เปนวลี
ค. วาทีหนีจากบานมีฆองกระแตไปดวย
ค. เปนอนุเฉท ง. เปนประโยค
ง. นายมีชอบทําตัวเปนพวกฆองปากแตก
๔. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับใจความสําคัญ
ก. เขาใจประเภท ๙. ขอใดสําคัญที่สุดในการเขียนกรอบความคิด
ข. ตั้งจุดมุงหมาย ก. การจับใจความสําคัญ
ค. ใชพจนานุกรม ข. การลากเสนโยงนําความคิด
ง. สํารวจสวนประกอบ ค. การกําหนดรูปแบบในการนําเสนอ
๕. ขอใด ม ชขั้นตอนอานจับใจความ ง. การใชภาพหรือสัญลักษณที่เกี่ยวของ
ก. อานผานๆ ข. อานใหละเอียด ๑๐. ขอใด ม ชวิธีการศึกษาขอมูลเพื่อเขียนกรอบ
ค. อานซํ้า ง. คัดลอก ความคิด
๖. ขอใด ม ชการพิจารณาความหมายคํา ก. วิเคราะหเนื้อหาและแตกประเด็น
ก. บริบท ข. ศึกษาเรื่องที่ตองการเขียนกรอบแนวคิด
ข. สํานวน ค. สังเคราะหเรื่องเขาเปนประเด็นเดียวกัน
ค. นํ้าเสียง ง. เรียบเรียงและจัดหมวดหมูความคิด
ง. การเปลี่ยนแปลง ตัดประเด็นที่ไมจําเปนออก

๑๒
แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู คะแนน ผลการประเมิน


เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๓/๒
กิจกรรมที่ ๒.๑ ๑๐ .

รวม ๑๐
ท ๑.๑ ม.๓/๓
กิจกรรมที่ ๒.๒ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๒.๓ ๑๕ .

รวม ๒๕
ท ๑.๑ ม.๓/๔
กิจกรรมที่ ๒.๔ ๑๕ .
ฉบับ
รวม ๑๕ เฉลย
คะแนนรวมทั้งหมด ๕๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๔๕ - ๕๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๓๕ - ๔๔ ๓ ดี
๒๕ - ๓๔ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๒๕ ๑ ปรับปรุง

๑๓
µÍ¹·Õè ๑ ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÃÍ‹Ò¹
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๓ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÇÔ¹¨Ô ÊÒÃ

การอานวินิจสารเปนการอานในระดับสูง ซึ่งผูอานจะตองคิด วิเคราะห ใครครวญ เพื่อ


แสดงความคิดเห็นโตแยงตอเรือ่ งทีอ่ าน วิจารณความสมเหตุสมผล การลําดับความ ความเปนไปได
และประเมินความถูกตองของขอมูลที่ใชสนับสนุนเรื่องที่อาน ตีความและประเมินคุณคาแนวคิด
ที่ไดจากการอานงานเขียน เพื่อนําแนวคิดที่มีคุณคามาปรับใชในชีวิตประจําวัน ผูอานจึงตองใช
วิจารณญาณตัดสินโดยปราศจากอคติ ซึง่ คุณคาของการอานทีแ่ ทจริง คือผูอานสามารถสังเคราะห
นําสิ่งอันเปนประโยชนที่แ งอยูภายในเนื้อหามาปรับใชไดจริงในชีวิตประจําวัน

กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนอานบทประพันธที่กําหนดแลวถอดความเปนรอยแกวที่ ด จความสมบูรณ พรอมทั้ง


บอกขอคิดที่ ดรับจากบทประพันธ
ฉบับ
เฉลย
นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เลื้อยบทําเดโช แชมชา
พิษนอยหยิ่งโยโส แมลงปอง
ชูแตหางเองอา อวดอางฤทธี
(โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร)

งูมพี ษิ รอนแรงเทียบไดดวยรังสีรอนของพระอาทิตย ยังมิไดแสดงอํานาจยกตนอวดผูอืน่ ผิดกับแมงปอง


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ที……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
่มีพิษนอยกวางูกลับชูหางอวดอางฤทธิ์ของตนดวยความหยิ่งยโส
ขอคิดที่ไดรับจากบทประพันธคือ ผูรูยอมรูจักถอมตน ไมอวดอาง หากแตผูไมรูยอมอวดอางตนเอง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หรื ออีกนัยหนึง่ คือ ตองรูจักออนนอมถอมตน ไมอวดอางตนเอง ไมยกตนขมผูอืน่ ทัง้ ๆ ทีต่ นก็ไมไดรูแจง


……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เห็ นจริงในสิ่งนั้นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๑๔
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๑ หนักเรียนอานเรือ่ ง “ทุกลมหายใจ” จากนัน้ หวิเคราะห ñõ
วิจารณ และประเมินคาเรื่องที่อานตามแนวทางที่ถูกตอง
(ท ๑.๑ ม.๓/๕)

ทุกลมหาย จ
เมื่อป พ.ศ. ๒๕๒๖ พระทนตพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว* หักเฉียดพระประสาท พระองคทาน
ทรงเสียวพระทนตมาก ทรงนัดใหทันตแพทยไปถวายการรักษาเวลา ๕ โมงเย็น เมื่อถึงเวลาที่ทรงนัด
พระองคทานเสด็จมาพบและรับสั่งถามวา จะตองทํานานหรือไม เมื่ออาจารยทรงทราบพระอาการจึง
ทูลตอบวาไมตํ่ากวา ๑ ชั่วโมง พระองคทานทรงรับสั่งวาถาเชนนั้นเอาไวกอน เพราะขณะนั้นนํ้ากําลังทวม
กรุงเทพซึ่งสําคัญกวา ราษ รกําลังเดือดรอนและถานํ้าทวมลดลงเพียง ๑ เซนติเมตร เขาจะสบายใจ
ขึ้นมาก อาจารยพยายามทูลทัดทานขอใหทําพระทนตกอน มิฉะนั้นอาจจะตองถึงพระประสาท และ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยู หัวจะทรงเจ็บมากขึ้น พระองคทานก็ยังทรงรับสั่งวาไมเปนไร เราทนได
ราษ รสําคัญกวา เมื่อทานเสด็จไปแลว ดิฉันรูสึกซาบซึ้งใจจนนํ้าตาไหล เปนความจริงที่เขาพูดกันวา
สําหรับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวแลว ทุกขของราษ รนัน้ ยิง่ ใหญกวาทุกขของพระองค ทายสุดพระทนต
องคนั้นตองรักษาครองรากฟนและทําครอบฟนในที่สุด
ฉบับ
(ศาสตราจารยพิเศษ ทันตแพทยหญิง ทานผูหญิงเพ็ชรา เตชะกัมพุช) เฉลย

๑. สาระสําคัญของเรื่อง คือ กลาวถึงนํา้ พระทัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทีท่ รง.


มีตอราษฎรของพระองค ทุกขของราษฎรก็คือทุกขของพระองค .
๒. จุดมุงหมายของเรื่อง คือ …………………………………………………………………………………………………………………………………
ผูเขียนเลาประสบการณของตนเองในการปฏิบัติหนาที่เปนทันตแพทยประจํา
พระองคในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช โดยถายทอดความรูสึกที่มีตอพระองค อันมี.
จุดมุงหมายเพื่อใหผูอานซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ .
๓. บริบททีเ่ กีย่ วของกับเรือ่ งทีอ่ าน ผูเขียนเปนทันตแพทยประจําพระองคไดเขาเฝาเพื่อถวายการรักษา.
อยางใกลชิด ทําใหทราบถึงพระราชจริยวัตรของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในสวนที. ่
ประชาชนโดยทั่วไปไมมีโอกาสทราบ .
๔. วิเคราะหเนือ้ เรือ่ ง “ทุกลมหายใจ” คือการเลาประสบการณของผูเขียนโดยใชภาษาอยางตรงไปตรงมา..
บรรยายสิ่งที่พบเห็นและความรูสึกที่มีตอพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทําใหผูอานเกิด..
อารมณความรูสึกรวมและซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค .
๕. ประเมินคุณคา “ทุกลมหายใจ” เปนเรือ่ งทีม่ คี ณุ คา ทําใหผูอานไดรับรูถึงนํา้ พระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จ-..
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กอใหเกิดความสํานึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ และภาคภูมใิ จทีไ่ ดเกิดภายใต.
รมพระบรมโพธิสมภารของพระองค โดยผูเขียนใชกลวิธกี ารถายทอดเรือ่ งราวตามสภาพทีเ่ ปนจริง .

* พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในที่นี้หมายถึง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช


๑๕
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๒ หนักเรียนประเมินความถูกตองของขอมูลที่ ชสนับสนุน ñð
เรื่องที่กําหนด หอานตอ ปนี้ (ท ๑.๑ ม.๓/๖)

กินเปน กินเกง
ยังจําไดวา วันหนึ่งเมื่อหลายปมาแลว ทานอาจารยสมศรี สุกุมลนันท กลาวกับผู เขียนวา
“คนกินเกงกับคนกินเปนนั้นไมเหมือนกัน” ผูเขียนถามทานวา แลวอยางผมนี่นะทานอาจารยวากินเกง
หรือกินเปนละครับ
ทานตอบทันทีวา “เธอนะตองถือวาเปนคนกินเกง แตไมใชกินเปน”
“ทานอาจารยเอาอะไรมาวาครับ ผมวาผมกินเปนนะครับ เพราะผมรูวาจะกินอะไรดีอะไรอรอย
และที่อรอยนะเขาทํากันอยางไร” ผูเขียนติง
“ฉันจะอธิบายใหเธอฟงวา คนกินเกงกับคนกินเปนนั้นไมเหมือนกัน ที่ฉันวาเธอเปนคนกินเกง
ก็เพราะรางกายของเธอบอกอยางนัน้ ถากินเปนคงไมจํา้ มํา่ อยางนี้ ฉันหมายถึงวา เธอคงไมลงพุงถึงขนาดนี”้
อาจารยสมศรีทานอธิบายขยายความจี้ลงไปที่จุดออนของผูเขียน คือ ลักษณะลงพุงที่เห็นไดชัดเจน
ทานอาจารยอธิบายตอวา การกินอาหารนั้นถาไมรูจักกิน หมายความวา กินไมเปนและคําวากิน
ไมเปนไมไดหมายความวากินเกง ก็เพราะคนกินเกง กินแตรสชาติและปริมาณ ตรงนี้ต องถือวาเปน
ประเด็นสําคัญมาก คนกินเปนคือคนที่รู จักกิน เลือกกินอาหารใหถูกตองตามฤดูกาล เลือกอาหารให
ฉบับ มีคุณลักษณะเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของรางกาย มีความสมดุลกับภาวะของอวัยวะ
เฉลย
ตางๆ ในรางกาย
อาหารทุกชนิดมีคุณสมบัติในตัวของมันเอง คุณสมบัติที่วานั้นมีทั้งดีและเลว ที่เลวยอมใหโทษ
ทีด่ ยี อมใหคุณประโยชน ถาอยางใดอยางหนึง่ มีมากเกินความตองการของรางกาย อันตรายก็จะเกิดตามมา
(ขางครัวสุขภาพ : พิชัย วาสนาสง)

๑. ชื่อเรื่องของบทความ คือ ขางครัวสุขภาพ ..

๒. ชือ่ ผูแตง คือ พิชัย วาสนาสง ..


คนกิ น เปน คื อ คนที่ รู จั ก เลื อ กกิ น อาหารใหถู ก ตองตามฤดู ก าล
๓. สาระสําคัญของเรื่องนี้ คือ ………………………………………………………………………………………………………………………………
เลือกอาหารใหมีคุณลักษณะเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของรางกาย .
การเลือกกินอาหารใหถูกตองตามฤดูกาล เลือก
๔. รายละเอียดของขอมูลที่ใชสนับสนุนเรื่องนี้ คือ ………………………………………………………………………………………
อาหารใหมีคุณลักษณะเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของรางกาย คนที่กินเกงจะกินแต.
รสชาติและปริมาณ ทําใหรางกายอวนจํ้ามํ่า เปนตน .

๕. ขอมูลที่ใชสนับสนุนเรื่องนี้ถูกตองหรือไม เพราะเหตุใด ถูกตองตามหลักโภชนาการทีเ่ นนใหเลือก..


กินอาหารที่มีประโยชนและใหกินแตพอดี ไมกินมากเกินความตองการของรางกายเพราะจะทําให.
เปนโรคอวนไดหากไมมีการแบงเวลาสําหรับการออกกําลังกาย .

๑๖
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๓ หนักเรียนอานบทความ “ไมมากไมนอย” แลววิจารณความ ñõ
สมเหตุสมผล การลําดับความ และความเปน ป ดของเรือ่ ง
(ท ๑.๑ ม.๓/๗)

มมาก มนอย
“อยารีบรอนดวนสรุปใคร ดวยเหตุผลทีเ่ บาบางเกินไป วันหนึง่ ถาพบความจริงวาเขาไมไดเปนอยาง
ที่เราคิด เราจะเสียใจ” อคติเปนสิ่งที่ทุกคนมีอยูในใจและสวนใหญมันมักไมคอยมีเหตุผล แตเต็มไปดวย
อารมณความรูสึก ซึ่งเจาอารมณความรูสึกนี่แหละคือสิ่งที่เอนไหวงายที่สุด เคยไหมครับ บางทีเราก็เกิด
รูสึกไมชอบหนาคนนั้นคนนี้ขึ้นมา เพราะไดยินเรื่องราวทางลบเกี่ยวกับเขา เมื่อผสมกับความหมั่นไส
ที่หมักหมมอยู ในใจกอนหนา เราจึงไมรอชาที่จะปกใจวาคนนี้คนนั้นเปนคนไมดี ใชไมได รายกวานั้น
เราถึงกับพยายามโนมนาวใหคนอืน่ ๆ มาเขาขางอคติของเราดวย ประสบการณสอนใหเราเขาใจสัจธรรมวา
การคาดหวังใหคนทั้งหมดรูสึกดีกับเราเปนเรื่องที่เปนไปไมได จะวาไปการรีบรอนดวนสรุปคนดวยเหตุผล
ที่บางเบา เปนสิ่งที่ผมเคยทําแลวรู สึกเสียใจ ครั้งหนึ่งผมเคยไปทํากิจกรรมที่โรงเรียนสอนคนตาบอด
ที่พัทยา เด็กนักเรียนหญิงตาบอดคนหนึ่งเลาใหผมฟงวา พี่ดาราคนหนึ่งชอบมาที่นี่บอยๆ มานั่งคุยเลน
กับพวกหนู มาชวนเลนเกมสนุกๆ มารองเพลงใหฟง เอาอาหารกลางวันมาเลี้ยง เอาของขวัญมาให พี่เขา ฉบับ
มาทุกเดือนเลยนะ พวกเราทีน่ รี่ กั เขาทุกคน ผมฟงเด็กคนนีเ้ ลาแลวรูสึกเหมือนโดนทุบ เพราะนักแสดงหนุม เฉลย
คนนั้นเปนดาราที่ผมไมชอบหนาเอาเสียเลย แตในนาทีหลังจากที่เด็กหญิงตาบอดเลาเรื่องนี้ใหผมฟง
เขากลายเปนดาราคนโปรดของผมขึ้นมาทันทีและตลอดไป
(วงศทนง ชัยณรงคสิงห)

การตัดสินคนสักคนหนึ่ง จะใชการมองเพียงผิวเผิน ตัดสินใจจาก


๑. เรื่องนี้มีสาระสําคัญอยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………
รูปกายภายนอก การฟงจากคําพูดของผูอื่น และรวมถึงตัดสินภายใตอคติของตนเองไมได เพราะ.
สิ่งเหลานี้เปนเหตุผลที่ไมเพียงพอ .

๒. บทความนี้มีลักษณะการลําดับความอยางไร มี ลั ก ษณะการลํ า ดั บ ความอย างตรงไปตรงมา.


โดยยกขอสรุปขึ้นมาไวในชวงแรก จากนั้นจึงเขียนขยายความเรื่องราวโดยการยกตัวอยางเหตุการณ.
ในชีวิตจริงของผูเขียนเพื่อสนับสนุนทัศนคติหรือขอสรุปที่นําเสนอไวในตอนตนของบทความ .

๓. นักเรียนไดรับขอคิดใดทีส่ ามารถนําไปปรับใชในชีวติ ประจําวัน ไมควรตัดสินใครโดยปราศจาก.


การไตรตรอง หรือเหตุผลที่หนักแนนเพียงพอ เพราะในบางครั้งถาบุคคลนั้นมีลักษณะตรงขาม.
กับที่เราไดตัดสินไปแลว เราอาจจะเสียใจที่เขาใจเชนนั้น .

๑๗
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๔ หนักเรียนอานรอยกรองทีก่ าํ หนด ห แลวแสดงความคิดเหน ñõ
จากการอาน พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ หเหนจริง
(ท ๑.๑ ม.๓/๘)

๑. หากสยามยังอยูยั้ง ยืนยง
เราก็เหมือนอยูคง ชีพดวย
หากสยามพินาศลง ไทยอยู ไดฤ ๅ
เราก็เหมือนมอดมวย หมดสิ้นสกุลไทย
จากรอยกรองขางตน เตือนใหตระหนักถึงความสําคัญของประเทศชาติบ านเมือง ประชาชนจะอยู ได
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อยางปกติสุขก็ด วยชาติบ านเมืองมีความมั่นคงถาวร หากประเทศถูกทําลายทั้งจากศัตรูภายนอกและภายใน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ยอมทําใหประชาชนไมเปนปกติสุข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. ความรักเหมือนโรคา บันดาลตาใหมืดมน
ไมยินและไมยล อุปสรรคใดใด
ความรักเหมือนโคถึก กําลังคึกผิขังไว
ฉบับ
เฉลย ก็โลดจากคอกไป บ ยอมอยู ณ ที่ขัง
ถึงหากจะผูกไว ก็ดึงไปดวยกําลัง
ยิ่งหามก็ยิ่งคลั่ง บ หวลคิดถึงเจ็บกาย ฯ
จากรอยกรองขางตน สามารถแสดงความคิดเห็นไดสองประเด็น คือ ทั้งเห็นดวยและไมเห็นดวย กลาวคือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ถาบุคคลผูนั้นในขณะที่มีความรัก ไมมีสติในการกําหนดรูพฤติกรรมของตนเองก็จะเปนดังเชนเนื้อความ แตถา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บุคคลผูนัน้ มีสติในขณะทีก่ าํ ลังมีความรัก รูเทาทันความรูสึกนึกคิดและพฤติกรรมของตนเอง ไมปลอยใหความรัก
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลายเปนความลุมหลงก็จะไมเปนดังเชนบทรอยกรอง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง
โททนตเสนงคง สําคัญหมายในกายมี
นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย
สถิตทั่วแตชั่วดี ประดับไวในโลกา ฯ
จากรอยกรองขางตน ไดแสดงสามัญและสัจธรรมของโลก ดวยธรรมดาของมนุษยไมเที่ยงแท สังขาร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ยอมเนาเปอยไปตามกาลเวลา สิง่ ทีจ่ ะคงเหลือเมือ่ หมดลมหายใจ คือ คุณงามความดีและความชัว่ ตางๆ ทีไ่ ดกระทําไว
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขณะที่ยังมีชีวิตอยู ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับมนุษยผูนั้นวา จะเลือกทําสิ่งใดเพื่อใหอนุชนรุนหลังไดจดจําชื่อของตนเองไว
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ถาหากทุกคนในสังคมคิดเชนนี้ก็จะทําใหสังคม และประเทศชาติมีแตความสงบสุข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๑๘
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๕ หนักเรียนเลือกอานหนังสือนอกเวลาตามความสน จ ñõ
กลุมละ ๑ เรื่อง แลวพิจารณาเรื่องที่อานตามหลักการ
ตีความและประเมินคา จากนัน้ หเขียนแนะนําหนังสือ ดังนี้
(ท ๑.๑ ม.๓/๙)
(ตัวอยาง)
ชือ่ หนังสือ ทุงมหาราช .. ชือ
่ ผูแตง มาลัย ชูพินิจ ..
เรือ่ งยอ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กลาวถึงการกอรางสรางตัวของรื่นและสุดใจ รวมถึงชาวบานตําบลคลองสวนหมาก ที่ยังชีพ
ดวยการหาของปาจนเริ ม่ ทําธุรกิจคาไม ซึง่ ตองเผชิญกับอุปสรรคนานาประการ ทัง้ จากผูถือสัมปทานรายใหญ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ค่ อยเลนงาน สุดทายรืน่ และชาวคลองสวนหมากจึงสามารถตัง้ ตัวได จนกระทัง่ ยกระดับขึน้ เปนอําเภอนครชุม
ที………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
มี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขุนนิคมบริบาลหรือรื่นเปนนายอําเภอ
ลักษณะการใชถอยคํา สํานวนภาษาในเรื่อง การใชถอยคําแตงเปนรอยแกว มีลักษณะเปนความเรียง..
เลาผานความคิ ดของสุดใจในวัยชราที่ย อนรําลึกถึงการตอสู ชีวิตที่ผ านมา การใชภาษามีความเรียบงาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สื………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
่อความหมายชัดเจน มีการสอดแทรกบทสนทนาที่มีความสอดคลองเหมาะสมกับบริบททางสังคมและ
สถานภาพของตั วละครภายในเรื่อง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นํา้ เสียงของผูเขียน นํ้าเสียงของผู เขียนที่สอดแทรกในบทบรรยาย บทสนทนาของตัวละครปรากฏ.
ลักษณะของการยกยอง เคารพผูที่ดิ้นรน ตอสูหรือกอรางสรางตัวขึ้นมาจากความลําบาก โดยที่ไมยอทอ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ฉบับ
หรือทอถอยตออุปสรรคที่ต องพบเจอหรืออิทธิพลใดๆ นอกจากนี้ยังยกยองผู นําที่ไมทอดทิ้งประชาชน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลย
ในปกครองเมื่อถึงยามคับขัน หากแตใหความชวยเหลือ ประคับประคองกันขึ้นมาจนกระทั่งไดรับความสุข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จากการตอสูดิ้นรนดวยกัน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สาระสําคัญของเรื่อง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………
คนที่ไมยอทอตออุปสรรคและอิทธิพลอํานาจมืด ประพฤติตนถูกตองตามหลัก
ศี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลธรรมจรรยายอมประสบความสําเร็จในที่สุด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จุดเดน จุดดอยของเรื่อง ทุงมหาราชเปนเรื่องที่มีจุดเดนคือ สามารถอานไดทุกเพศ ทุกวัย เนื้อเรื่อง.
ชวนใหติ ดตาม สะทอนใหเห็นสภาพความเปนจริงของชีวิต ซึ่งเปนเรื่องราวที่ผูอานจะสามารถทําความเขาใจ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ไดโดยงาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คุณคาดานวรรณศิลปและสังคม ………………………………………………………………………………………………………………………
ในดานสังคม สะทอนใหเห็นการดํารงชีพของผูคนในภาคเหนือของไทย
ที………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ม่ กี ารเปดสัมปทานปาไม รวมถึงสะทอนใหเห็นพัฒนาการเกีย่ วกับการตัง้ ถิน่ ฐานบานเมืองของชุมชนในแถบ
จั………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
งหวัดนครปฐม กําแพงเพชร
ขอคิดจากเรื่องที่นําไปใชในชีวิตประจําวันได ………………………………………………………………………………………………
จากเรื่องทุงมหาราช สะทอนใหเห็นคุณคาของความ
เพี ยรพยายามของมนุษยเพื่อที่จะตอสูกับอุปสรรคตางๆ ที่ปรากฏทั้งในลักษณะของโชคชะตา อํานาจมืด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อิ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ทธิพล ทําใหเห็นวาไมวาอุปสรรคจะผานเขามาในรูปแบบใดก็ตาม หากมีความเพียรพยายามไมยอทอ
ยอมผานพนอุ ปสรรคไปได
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๑๙
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๓
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. ขอใด มเกี่ยวของกับการอานตีความ ๖. ขอใดเรียงลําดับถูกตอง


ก. ศึกษานํ้าเสียงของผูเขียน ก. เลาเรื่อง วิเคราะหเรื่อง กลาวถึงบริบท
ข. ทําความเขาใจความหมาย บอกจุดมุงหมาย ประเมินคา
ค. ศึกษาหลักการและกลวิธีเขียน ข. เลาเรื่อง บอกจุดมุงหมาย วิเคราะหเรื่อง
กลาวถึงบริบท ประเมินคา
ง. ศึกษาจุดประสงคของการเขียน
ค. เลาเรื่อง กลาวถึงบริบท บอกจุดมุงหมาย
๒. ขอใดจัดอยูในประเภทรอยกรอง วิเคราะหเรื่อง ประเมินคา
ก. สารคดี ง. เลาเรื่อง วิเคราะหเรื่อง กลาวถึงบริบท
ข. นวนิยาย บอกจุดมุงหมาย ประเมินคา
ค. บทความ ๗. บริบทที่เกี่ยวของกับเรื่องที่อานคือขอใด
ง. กวีนิพนธ ก. ความหมายคําศัพท
๓. ขอใดเปนวิธีการอานตีความรอยกรอง ข. ความรูสึกตอเรื่อง
ค. ประวัติการแตง
ฉบับ ก. ตีความจากสาระสําคัญของเรื่อง
เฉลย ง. ขอคิดที่แ งอยู
ข. ตีความถอยคําโดยพิจารณาจากบริบท
๘. ขอใดเปนคุณคาดานวรรณศิลป
ค. ตีความขอความโดยเปรียบเทียบสํานวน ก. ความงามทางภาษา
โวหารที่ใช ข. ความเปนไปได
ง. ตีความโดยทําความเขาใจเรื่องภาษา ค. ความถูกตอง
ภาพพจนที่ใชในงานเขียน ง. ความคิด
๔. การวิเคราะหสารหมายความวาอยางไร ๙. ขอใดที่ทําใหการอานวินิจสารมีความลึกซึ้ง
ก. การแยกแยะสวนประกอบตางๆ แตกตางจากการอานจับใจความสําคัญ
ข. การอธิบายลักษณะของงานเขียน ก. การสรุปเนื้อหา
ค. การสรุปองคความรูเกี่ยวกับการเขียน ข. การบอกประเภท
ค. การประเมินคุณคา
ง. การแสดงความคิดเห็นทั้งบวกและลบ
ง. การบอกองคประกอบ
๕. การวิจารณหมายความวาอยางไร ๑๐. ขอใดคือขั้นตอนกอนการวิเคราะห วิจารณ
ก. แสดงความคิดเห็น ก. ศึกษาบริบท
ข. การแยกแยะ ข. อานเรื่องคราวๆ
ค. การอธิบาย ค. อานเรื่องละเอียด
ง. การสรุป ง. คนสิ่งที่เกี่ยวของ

๒๐
แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู คะแนน ผลการประเมิน


เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๓/๕
กิจกรรมที่ ๓.๑ ๑๕ .

รวม ๑๕
ท ๑.๑ ม.๓/๖
กิจกรรมที่ ๓.๒ ๑๐ .

รวม ๑๐
ท ๑.๑ ม.๓/๗
กิจกรรมที่ ๓.๓ ๑๕ .

รวม ๑๕
ท ๑.๑ ม.๓/๘ ฉบับ
กิจกรรมที่ ๓.๔ ๑๕ . เฉลย
รวม ๑๕
ท ๑.๑ ม.๓/๙
กิจกรรมที่ ๓.๕ ๑๕ .

รวม ๑๕
คะแนนรวมทั้งหมด ๗๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๓ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๕๕ - ๗๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๔๕ - ๕๔ ๓ ดี
๓๕ - ๔๔ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๓๕ ๑ ปรับปรุง

๒๑
µÍ¹·Õè ๒ ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÃà¢Õ¹
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๑ ¡ÒäѴÅÒÂÁ×Í

ลายมือเปนเครื่องมือสําหรับการสื่อสารของมนุษย หากเขียนไมถูกตองชัดเจน ก็ไม


สามารถสื่อสารกันไดผลตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ดังนั้นจึงควร กหัดคัดลายมือใหถูกตองตาม
รูปแบบ มีความสวยงาม เพือ่ พัฒนาทักษะของตนเองและรวมถึงรวมธํารงเอกลักษณทางภาษาไทย
ใหยั่งยืน

กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนเติมขอความลง นชองวาง หถูกตองและ ด จความสมบูรณ

๑. วรรณคดีเรือ่ งใดทีก่ ลาวถึงความสําคัญของการคัดลายมือ ขุนชาง ขุนแผน .

ฉบับ
๒. ประโยชนของการคัดลายมือ คือ เปนพื้นฐานของความมีระเบียบวินัยในตนเอง .

เฉลย ๓. รูปแบบตัวอักษรของกระทรวงศึกษาธิการ คือ ตัวอักษรหัวกลม ..

๔. รูปแบบตัวอักษรแบบอาลักษณ คือ ตัวอักษรหัวเหลี่ยม .

๕. ตัวอักษรเหลี่ยมหัวกลม
รูปแบบตัวอักษรของคณะครุศาสตร จุ าฯ คือ ……………………………………………………………………………………
๖. เอกสารที่เขียนดวยตัวอักษรอาลักษณ เชน ใบประกาศเกียรติคุณ .

๗. ความละเอียดรอบคอบ ความสุขุม
ผูที่มีลายมือสวยงามสะทอนใหเห็นลักษณะนิสัยใด ……………………………………………………………………………
๘. ผลเสียของการมีลายมือที่ไมสวยงาม คือ ทําใหผูรับสารเขาใจเนือ้ หาสาระของสารคลาดเคลือ่ น..
๙. ผลเสียที่มีผลกระทบตอนักเรียนโดยตรงจากการมีลายมือที่อานยาก ไมสะอาดเรียบรอย คือ
การเขียนขอสอบอัตนัยทีต่ องแสดงความรู ความคิดเห็น ถาครูผสอนไมสามารถอาน
ู ทําความเขาใจได..
ก็จะทําใหไมไดรับคะแนน ทําใหเสียผลประโยชนจากการสอบ ..

..

๑๐. แมวาเทคโนโลยีจะพัฒนาใหมีระบบการพิมพแทนการเขียนในชีวติ ประจําวัน แตเพราะเหตุใด


นักเรียนจึงยังตองเรียนรูเกี่ยวกับการคัดลายมือ เพราะการเขียนเปนรากฐานของการสือ่ สาร.
และการเขียนสื่อสารดวยลายมือ จะเปนการฝกสมาธิ บมเพาะใหผูฝกเปนผูมีความสุขุม รอบคอบ..
มีระเบียบวินยั ในตนเอง ซึง่ เปนคุณสมบัตพิ นื้ ฐานของทรัพยากรมนุษยทีด่ ใี นการพัฒนาประเทศชาติ.

๒๒

กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๑ หนักเรียน สเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง ñð
และเครือ่ งหมาย หนาขอความที่ มถูกตอง (ท ๒.๑ ม.๓/๑)

……………… ๑. ลายมือที่ถูกตองสวยงามควรเขียนเลนหาง
……………… ๒. ตัวอักษรแบบอาลักษณใชในการเขียนเอกสารที่เกี่ยวของกับพระมหากษัตริย

……………… ๓. การคัดลายมือ ผู เขียนตองนั่งหันหนาเขาหาโตะและวางกระดาษที่ด านหนา

ของตนเอง
……………… ๔. การจับดินสอหรือปากกาใหถูกวิธีเปนหนึ่งในแนวทางปฏิบัติการคัดลายมือที่มี

ความสําคัญ
……………… ๕. การคัดลายมือ จะทําใหผูที่ ก นอยางสมํ่าเสมอ มีความสุขุม รอบคอบ ใจเย็น

และมีระเบียบวินัยในการทํางาน
……………… ๖. การเวนชองไฟในการคัดลายมือตองมีขนาดที่แนนอน คือ วรรคขนาด ๒ ชอง ฉบับ
ตัวอักษร หรือ ๔ ชองตัวอักษร เฉลย
……………… ๗. การเขียนตัวอักษร ผูเขียนสามารถเริ่มตนเขียนที่สวนใดของตัวอักษรกอนก็ได

ตามความถนัด โดยไมจําเปนตองเริ่มที่หัวตัวอักษรกอน
……………… ๘. ผูเขียนควรเขียนตัวอักษรใหมีขนาดเดียวกัน โดยใหตัวอักษรสัมผัสเสนบรรทัด

ทั้งบนและลาง และหางของตัวอักษรควรมีขนาดที่ยาวพองาม
……………… ๙. ตั ว อั ก ษรแบบอาลั ก ษณ คื อ ตั ว อั ก ษรที่ นิ ย มใชในเอกสารที่ เ กี่ ย วของกั บ

พระมหากษัตริย ราชการในโอกาสพิเศษ ใชเขียนประกาศเกียรติคณุ ปริญญาบัตร


ใบประกาศนียบัตร
……………… ๑๐. ลายมือเปนสิง ่ ทีม่ คี วามสําคัญอยางยิง่ เพราะลายมือทีส่ วยงามและเปนระเบียบ
เรียบรอยจะทําใหงานเขียนนาอาน สะอาดตา นอกจากนี้ลายมือที่มีความ
เรียบรอย งดงาม ยอมแสดงใหเห็นถึงอุปนิสัยของผูเขียน เชน ถาบุคคลนั้น
เปนผูทีม่ ลี ายมืองดงามยอมแสดงใหเห็นวาเปนบุคคลทีม่ รี ะเบียบวินยั ในตนเอง
ใจเย็น สุขุม รอบคอบ

๒๓
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๒ หนักเรียนคัดขอความตอ ปนีด้ วยลายมือตัวบรรจงครึง่ บรรทัด òð
ดย ชรูปแบบตัวอักษรแบบอาลักษณ (ท ๒.๑ ม.๓/๑)

เ ลย
นางกอดจูบลูบหลังแลวสั่งสอน อํานวยพรพลายนอยละหอยไห
พอไปดีศรีสวัสดิ์กําจัดภัย จนเติบใหญยิ่งยวดไดบวชเรียน
ลูกผูชายลายมือนั้นคือยศ เจาจงอตสาหทําสมํ่าเสมียน
แลวพาลูกออกมาขางทาเกวียน จะจากเจียนใจขาดอนาถใจ

ขุนชาง ขุนแผน ตอนกําเนิดพลายงาม


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ฉบับ
เฉลย นางกอดจูบลูบหลังแลวสั่งสอน อํานวยพรพลายนอยละหอยไห
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

พอไปดีศรีสวัสดิ์กําจัดภัย จนเติบใหญยิง่ ยวดไดบวชเรียน


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ลูกผูชายลายมือนั้นคือยศ เจาจงอตสาหทําสมํ่าเสมียน
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แลวพาลูกออกมาขางทาเกวียน จะจากเจียนใจขาดอนาถใจ
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(พิจารณาการคัดลายมือของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๒๔
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๓ หนักเรียนเลือกคัดลายมือพระบรมรา ชวาท นพระบาท- òð
สมเดจพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ดย ชรูปแบบ
ตัวอักษรทีน่ กั เรียนสน จ ตัวบรรจงเตมบรรทัด (ท ๒.๑ ม.๓/๑)

หนาที่สําคัญของนักเรียนอยูที่เรียนใหเต็มกําลัง และ
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ใหสําเร็จ การจะเรียนใหไดอยางนั้น จะทําอยางไร ก็ตอง


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เขาใจวา เราจะตองมีวิชาสําหรับสรางตัวใหมีความสุข
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ความเจริญตอไปขางหนา ถาไมขวนขวายศึกษาเสียแตตน
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

จะไมมีโอกาส จะทําใหชีวติ อับเฉาเปนคนไรประโยชน เพราะ


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ไมมีความรู ติดตัว เมื่อเขาใจอยางนี้แลว จะไดรักเรียน


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ฉบับ
เฉลย
ขยันเรียนดวยความบากบั่นอดทน เพราะรูซึ้งถึงประโยชน
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

และคุณคาของวิชาความรู เรียนสําเร็จผลไดเต็มเปยม
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

จึงขอใหจําไวและพยายามปฏิบัติใหไดทุกคน
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

พระบรมราโชวาท
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

พระราชทานแกคณะครู นักเรียน โรงเรียนวังไกลกังวล


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ในโอกาสเขาเฝาฯ รับพระราชทานรางวัล
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

วันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๒๑


-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

(พิจารณาการคัดลายมือของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๒๕
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. ลายมือที่ มชัดเจนเปนผลเสียอยางไร ๖. อวัยวะใด มเกี่ยวกับการคัดลายมือ


ก. ทําใหงานเขียนไมนาสนใจ ก. มือ ข. แขน
ข. ทําใหวิเคราะหผลงานไมได ค. นิ้วมือ ง. ขอศอก
ค. ทําใหเกิดอุปสรรคในการสื่อสาร ๗. เอกสารที่เกี่ยวของกับพระมหากษัตริยจะใชตัว
ง. ทําใหสื่อสารไมตรงวัตถุประสงค อักษรแบบใด
๒. ขอใดเปนวิธีนั่งเขียนที่ถูกตองที่สุด ก. แบบหัวบัว
ก. นั่งหันหนาเขาหาโตะ ข. แบบหัวกลม
ค. แบบตัวกลม
ข. นั่งตามถนัด
ง. แบบตัวเหลี่ยม
ค. นั่งไขวหาง
ง. นั่งตัวตรง ๘. อักษรแบบคณะครุศาสตร จุ าฯ
ก. อักษรแบบหัวบัว
๓. ขอใดสําคัญที่สุดในการคัดลายมือ ข. อักษรแบบหัวกลม
ฉบับ
เฉลย ก. ศึกษารูปแบบ ค. อักษรแบบหัวเหลี่ยมตัวกลม
ข. ศึกษาขอความ ง. อักษรแบบตัวเหลี่ยมหัวกลม
ค. เลือกอุปกรณ ๙. ขอใด ม ชการคัดลายมือตัวบรรจง
ง. การจัดทานั่ง ก. เสนแนวตั้งควรขนานกัน
๔. ชองไฟ หมายความวาอยางไร ข. หัวตัวอักษรตองไมบอด
ก. การเวนวรรค ค. ตัวอักษรสัมผัสเสนบรรทัดบน-ลาง
ข. แบบตัวอักษร ง. ตัวอักษรที่มีหางควรคัดแบบเลนหาง
ค. ชองวางบรรทัด ๑๐. ขอใดกลาวถูกตองที่สุด
ง. ระยะหางตัวอักษร ก. ลายมือเปนสิ่งที่พัฒนาไดตามอายุ
๕. การเขียนตัวอักษรตองเริ่มตนที่จุดใด ข. ลายมือพัฒนาไดถาผูคัดมีระดับการศึกษา
ก. เริ่มที่หัว สูงขึ้น
ข. เริ่มที่หาง ค. ลายมือพัฒนาได ถาผูคัด ก น
อยางสมํ่าเสมอ
ค. ไมกําหนด
ง. ลายมือพัฒนาไดถาผูคัดมีประสบการณ
ง. เริ่มที่สวนกลาง
ในชีวิตมากขึ้น

๒๖
แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู คะแนน ผลการประเมิน


เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ม.๓/๑
กิจกรรมที่ ๑.๑ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๑.๒ ๒๐ .
กิจกรรมที่ ๑.๓ ๒๐ .

คะแนนรวมทั้งหมด ๕๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ ฉบับ
คะแนนเต็ม ๔๑ - ๕๐ ๔ ดีมาก เฉลย
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๓๓ - ๔๐ ๓ ดี
๒๕ - ๓๒ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๒๕ ๑ ปรับปรุง

๒๗
µÍ¹·Õè ๒ ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÃà¢Õ¹
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๒ ¡ÒÃà¢Õ¹à¾×Íè ¡ÒÃÊ×Íè ÊÒà ñ
การเขียนเพื่อการสื่อสารระหวางบุคคลมีความสําคัญและมีความจําเปนอยางยิ่ง ผูเขียน
ทีด่ คี วรมีความรูความเขาใจเกีย่ วกับระดับภาษา ใชถอยคําใหเหมาะสม ซึง่ การ ก นอยางสมํา่ เสมอ
จะเกิดเปนทักษะที่สามารถนําไปใชประโยชนไดในชีวิตประจําวัน

กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนพิจารณาขอความที่กําหนดวา ช วหารการเขียนประเภท ดและเพราะเหตุ ด

๑. ขณะนี้ขบวนเกวียนกําลังจะพนชายปาออกไปทุ งนาขางหนา อีกาขี้ขโมยรองอยู บน


ตนไมเสียงกาๆ แลวบินไป แมบอกวาอีกา ูงนี้มันคงมาจากที่อื่น เพราะกอนไปหาปลาไมได
ยินเสียงมันบอยนัก คูนคลานออกมาทีช่ านเกวียนใกลแม ขยีต้ าใหดีแลวมอง าความสลัวออกไป
ฉบับ
เฉลย
บรรยายโวหาร เพราะผูเขียนใชภาษาที่เขาใจงาย เรียบเรียงความคิดเปนระเบียบตอเนื่องสัมพันธกัน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. ขณะพระองคเสด็จมาใกลเบญจคีรีนคร คือ ราชคฤห เปนเวลาจวนสิ้นทิวาวาร แดดใน


ยามเย็นกําลังออนลงสูสมัยใกลวิกาล ทอแสงแผซานไปยังสาลีเกษตร แลละลิ่วเห็นเปนทาง
สวางไปทั่วประเทศ สุดสายตา ดูประหนึ่งมีหัตถทิพยมาปกแผอํานวยสวัสดี เบื้องบนมีกลุมเมฆ
เปนคลื่นซอนซับสลับกันเปนทิวแถว

พรรณนาโวหาร เพราะผูเขียนเลือกใชถอยคําเพือ่ สือ่ ความหมายและอารมณความรูสึกทีช่ ดั เจนกอใหเกิดภาพพจน


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. อันวาแกวกระจกรวมอยูกับสุวรรณ ยอมไดแสงจับเปนเลื่อมพรายคลายมรกต ผูที่โงเขลา


แมไดอยูใกลนักปราชญก็อาจเปนคนเฉลียวฉลาดไดฉันเดียวกัน

อุปมาโวหาร เพราะผูเขียนไดเปรียบเทียบสิ่งของที่เหมือนกันโดยการโยงความคิดไปสูอีกสิ่งหนึ่ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒๘
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๑ หนักเรียนอานขอความทีก่ าํ หนด แลวพิจารณาวามีขอบกพรอง ñð
ทางการเขียนอยาง ร และแก ขสวนทีบ่ กพรองนัน้ หถูกตอง
(ท ๒.๑ ม.๓/๒)

๑. ผูใหญใจดีใหทุนการศึกษาชวยเหลือนักเรียนโรงเรียนตางๆ ที่ยากจน
ขอบกพรอง การวางสวนขยายผิดตําแหนง “ที่ยากจน” เปนสวนขยายของ “นักเรียน” ..
เมื่อนําไปวางไวหลัง “โรงเรียน” จึงทําใหอานไดความวา โรงเรียนยากจน .
แกไข ผูใหญใจดีใหทุนการศึกษาชวยเหลือนักเรียนที่ยากจนในโรงเรียนตางๆ .
.
๒. ขาพเจามาไมทันเพราะการจราจรเกิดการสับสน
ขอบกพรอง การใชคําผิดความหมาย คําวา สับสน ใชกับกิริยาอาการของมนุษย ซึ่งไมควร..
นํามาใชในประโยคดังกลาว .
แกไข ขาพเจามาไมทันเพราะการจราจรติดขัด .
. ฉบับ
๓. สมใจไมตั้งใจฟงอาจารยอธิบายเนื้อหาของวิชาภาษาไทย เลยถูกอาจารยแกดุ เฉลย
ขอบกพรอง การใชภาษาผิดระดับ ประโยคนีผ้ พูู ดมีอายุนอยกวาผูทีถ่ กู กลาวถึง ดังนัน้ คําพูด..
ที่ใชจึงควรแสดงความเคารพทั้งตอหนาและลับหลัง .
แกไข สมใจไมตั้งใจฟงอาจารยอธิบายเนื้อหาวิชาภาษาไทย เลยถูกอาจารยตําหนิ .
.
๔. เมื่อถึงเวลาพักกลางวัน เด็กๆ ในแตละชวงวัย ตางก็เลนกันบาง
ขอบกพรอง ใชภาษาในการสื่อความไมชัดเจน จึงตองมีการเพิ่มเติมบริบทของประโยค..
เพื่อใหใจความของประโยคมีความสมบูรณ .
แกไข เมื่อถึงเวลาพักกลางวัน เด็กๆ ในแตละชวงวัย ตางก็เลนกันบาง คุยกันบาง .
.
๕. เมื่อลูกสอบไดคะแนนดี พอแมยอมปลื้มปติยินดีปรีดาเปนลนพน
ขอบกพรอง การใชคําทีไ่ มจําเปนหรือการใชคําฟุมเฟอย การเขียนประโยคแตละประโยค อาจตัดคํา..
บางคําทิง้ เพือ่ จะทําใหประโยคนัน้ มีความกระชับ ชัดเจนยิง่ ขึน้ โดยทีย่ งั มีใจความสําคัญเชนเดิม .
แกไข เมื่อลูกสอบไดคะแนนดี พอแมยอมมีความยินดี .
.

๒๙
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๒ หนักเรียนพิจารณาขอความที่กําหนด ห วาเปนการเขียน ñõ
ประเภท ด ถาเปนคําอวยพร หเขียนหมายเลข ๑ คําขวั
เขียนหมายเลข ๒ และคําคมเขียนหมายเลข ๓ หนาขอความ
นแตละขอ (ท ๒.๑ ม.๓/๒)

๓ ๑. รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคือการศึกษา
………………
๑ ๒. ขอใหมีความเจริญกาวหนาในหนาทีก่ ารงาน รํา่ รวยความสุข เงินทอง และสุขภาพ
………………

รางกายแข็งแรงสมบูรณ หมดทุกขหมดโศก
๒ ๓.
……………… ครูคือพลังสรางแผนดิน ไทยทุกถิ่นนอมบูชาพระคุณครู
๒ ๔.
……………… แสดงพลังประชาธิปไตย ดวยการพรอมใจไปใชสิทธิ์เลือกตั้ง
๒ ๕.
……………… วังนารายณคูบาน ศาลพระกา คูเมือง ปรางคสามยอดลือเลือ่ ง เมืองแหงดินสอพอง
เขื่อนปาสักชลสิทธิ์เกริกกอง แผนดินทองสมเด็จพระนารายณ
๒ ๖.
……………… นํ้ามันแพงนัก รวมใจพรอมพรัก ประหยัดเชื้อเพลิง
๑ ๗.
……………… ขอใหครองรักกันยั่งยืนนาน เปนรมโพธิ์ทอง ไทรเงิน ใหแกลูกหลานสืบไป
ฉบับ ๓ ๘.
……………… อยูคนเดียวจงระวังความคิด อยูกับมิตรจงระวังวาจา อยูกับมารดาบิดาจงระวัง
เฉลย
การปฏิบตั ติ น ถาคิดไมระวังจะกลายเปนคิดฟุงซาน ถาพูดไมระวังมิตรจะเขาใจผิด
ถาปฏิบัติไมดีตอมารดาบิดาจะเปนการสรางบาปใหตนเอง
๑ ๙.
……………… ขอใหอายุมั่นขวัญยืน รางกายสมบูรณแข็งแรง โตวันโตคืนนะจะ
๓ ๑๐.
……………… ใหเกียรติคนที่อยูตรงหนา มีคาเทากับใหเกียรติตนเอง
๒ ๑๑.
……………… มรดกโลกลํ้าเลิศ กําเนิดลายสือไทย เลนไฟลอยกระทง ดํารงพระพุทธศาสนา
งามตาผาตีนจก สังคโลกทองโบราณ สักการะแมยาพอขุน รุงอรุณแหงความสุข
๓ ๑๒.
……………… จงเติบโตจากความผิดพลาด จงเฉลียวฉลาดจากความผิดหวัง
๒ ๑๓.
……………… รักไทยนิยมไทย รวมแรง รวมใจกันใชของไทย
๓ ๑๔.
……………… นัยอันลึกลํ้าของคําวาขอบคุณ
ขอบคุณความไมมี ที่ทําใหรูวิธีลุกขึ้นสู
ขอบคุณความยากจน ที่ทําใหเปนคนมุมานะ
ขอบคุณความลมเหลว ที่ทําใหเกิดความเชี่ยวชาญ
๒ ๑๕.
……………… ภูทอกแหลงพระธรรม คาลํ้ายางพารา งามตาแกงอา ง บึงโขงหลงเพลินใจ
นํ้าตกใสเจ็ดสี ประเพณีแขงเรือ เหนือสุดแดนอีสาน นมัสการองคพระใหญ

๓๐
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๓ หนักเรียนเขียนเรียบเรียงคําอวยพร คําขวั คําคม õ
ดย ชถอยคําสํานวนภาษาของตนเอง (ท ๒.๑ ม.๓/๒)
๑. คําอวยพรเนื่องในวันปใหม
เนื่องในศุภวารดิถีขึ้นปใหม ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในสากลพิภพ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จงอภิบาลบันดาลดลใหคุณถนอม และครอบครัวมีแตความสุข สุขภาพรางกายแข็งแรง ครอบครัว
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
รมเย็นเปนสุขตลอดป ๒๕๕๕
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒. คําอวยพรเนื่องในวันรับตําแหนงใหม
ขอแสดงความยินดีกบั คุณสมใจทีไ่ ดดํารงตําแหนงผูจัดการฝายผลิต โอกาสทีค่ ณ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ุ สมใจไดรับ
ในวันนี้เปนผลมาจากความเพียรพยายาม ความซื่อสัตยสุจริต ขอใหคุณสมใจรักษาคุณงามความดีนี้ไว
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
และมีความเจริญรุงเรืองในหนาที่การงานตอไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. คําอวยพรเนื่องในวันเกิด ฉบับ
เฉลย
เนื่องในวันเกิดของจริยาเพื่อนรัก ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย จงอภิบาลบันดาลดล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใหจริยามีแตความสุข สุขภาพรางกายแข็งแรงสมบูรณ สุขภาพจิตแจมใส ปราศจากความเศราหมอง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ทั้งปวง มีวันและคืนที่มีความสุขตลอดไป
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔. คําขวัญ (จํานวน ๓ คําขวัญ)


สามัคคีคือพลัง ไทยทั้งชาติจะรมเย็น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ครูคือพลังสรางแผนดิน ไทยทุกถิ่นรูคาบูชาครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
หนังสือคือมิตร เตือนสติเมื่อขลาดเขลา สื่อความคิดใหกาวไกล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๕. คําคม
ความเงียบทําใหเราใครครวญพิจารณาความเปนไปของชีวติ และการหมุนเวียนแหงโลกไดถีถ่ วน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จนบรรลุความเขาใจ ทวาความเงียบยอมเกิดโทษแกผูแสวงหาความเงียบที่ใจอุดมดวยมิจฉาทิฐิ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๓๑
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๔ หนักเรียนพิจารณาคํา ษณาที่กําหนด หวา ชรูปแบบ ñð
การนําเสนออยาง ร ดยเขียนหมายเลขลง นชองวาง
หนาขอ (ท ๒.๑ ม.๓/๒)

๑. นําเสนอความดีพิเศษของสินคา ๒. กระตุนใหเกิดความตองการ อยากรู อยากเห็น


๓. เขาถึงกลุมเปาหมาย ๔. อางอิงบุคคลหรือสถาบันเพื่อความนาเชื่อถือ


……………… ๑. แปงเพอรคัชชัน่ หอมสะอาดสดชืน่ ผสมสารสกัดจากสมุนไพร ปกปองแบคทีเรีย
ยาวนาน ๘ ชั่วโมง
๒ ๒. บนถนนแหงความสําเร็จวันนี้ คุณยังตองการจะไดอะไรอีกบาง และอะไรที่เปน
………………

เปาหมายในชีวิตของคุณ
๑ ๓. ยาสีฟนไวท ผสมสารสกัดจากสมุนไพรธรรมชาติ ๑๐ ชนิด ปองกันฟนผุ ยับยั้ง
………………

แบคทีเรียและคราบพลัค ฟนดูขาวเปนธรรมชาติ
ฉบับ
เฉลย
๔ ๔. ไทนี่ เครือ่ งใชไฟฟาที่ไดรับการรับรองมาตรฐานการผลิตจากสํานักงานมาตรฐาน
………………

ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมรายแรกของไทย
๓ ๕. สําหรับผูหญิงสมัยใหมที่ตองการความกระจางใสบนใบหนา จีจี้บีบีครีมให
………………

สิ่งที่คุณตองการได
๓ ๖. สําหรับผูทีม่ ผี วิ มัน ลืมไปเลยวาเคยเปนสิว เคลียรสกิน หยดเดียว หยุดความมัน
………………

บนใบหนา
๑ ๗. เรื่องรีดผาจะไมใชเรื่องยากอีกตอไป เอสซี่ยนํ้ายารีดผาเรียบ พรอมกลิ่นหอม
………………

สดชื่น ปกปองรังสียูวีตลอดทั้งวัน
๑ ๘.
……………… ใหม เมือ่ เปดใชภายใน ๓๑ ส.ค. นี้ โทรศัพทเติมเงินจาก ไฉไล
โทรฟรี ๓๐๐ บาท
๒ ๙. เราเชื่อวา เราจะมอบประสบการณที่ดีและคุมคาที่สุด ซึ่งคุณไมเคยไดรับ
………………

จากที่ไหนมากอน
๒ ๑๐. มาเธอร วิลเลจ รีสอรท ทามกลางสายลมหนาว แสงแดดยามเชา เคลาแสงดาว
………………

ยามราตรี

๓๒
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๕ หนักเรียนพิจารณา ลากสินคาทีก่ าํ หนด ห จากนัน้ หเขียน õ
บท ษณา ดย ชภาษาทีถ่ กู ตอง นมนาว จผูบริ ภคจํานวน
๕ ประ ยค (ท ๒.๑ ม.๓/๒)

วิงค ไวท ๑๕๐ นํ้าองุนขาว ๑๒ ผสมแอลกลูตาไธโอน


- อุดมดวยวิตามินซี และวิตามินอี
มีสวนชวยในกระบวนการตอตานอนุมูลอิสระ

สวนประกอบสําคั
มะเขือเทศสกัด ( ) ๐.๐๓
ใยอาหารชนิดละลายนํ้า ( ) ๑.๐๔
แอลกลูตาไธโอน ( - ) ๐.๓๐
วิตามินซี ( ) ๐.๐๔
วิตามินอี ( ) ๐.๐๒
วิตามินบีสอง ( ) ๐.๐๐๐๘ ฉบับ
ปริมาตรสุทธิ ๕๐ มล. เฉลย
เจือสีธรรมชาติ ใชวัตถุกันเสีย ผูที่แพสวนประกอบใดๆ ในผลิตภัณฑไมควรดื่ม
วิธีเกบรักษา ควรเก็บไวในที่เย็น หางจากแสงแดด เมื่อเปดแลวควรดื่มใหหมดทันที
ผลิต ดย บริษัท กรีนลีฟ จํากัด เลขที่ ๑๓ ถ.ลาดพราว แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๗

๑. Wing White ที่สุดของผิวขาว กระจางใส หวงใยสุขภาพ .


.
๒. ผิวขาวหนาใส อุนใจเรื่องสุขภาพ ดวย Wing White .
.
๓. ที่สุดของผิวขาว กระจางใส ไรปญหาสุขภาพ Wing White .
.
๔. เผยโฉมสุขภาพดี ดื่มความขาว ดื่ม Wing White .
.
๕. ที่สุดของการดูแลผิว เพื่อความขาว กระจางใส ไรปญหาสุขภาพ ดื่ม Wing White .
พรอมสําหรับโอกาสดีๆ ทุกวัน .

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

๓๓
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๖ หนักเรียนอานสุนทรพจนที่กําหนด ห แลวตอบคําถาม ñõ
ตอ ปนี้ หถูกตองและสมบูรณ (ท ๒.๑ ม.๓/๒)

ผมรูสึกเปนเกียรติอยางยิ่งที่ไดมาคุยกับนองๆ ทั้งหลายในวันจบการศึกษาจากหนึ่งใน
มหาวิทยาลัยทีด่ ที สี่ ดุ ในโลก ผมเองไมเคยเรียนจบปริญญา ตรงนีเ้ ปนกาวที่ใกลทีส่ ดุ แลวของผม
ผมลาออกจากมหาวิทยาลัยรีดหลังจากเรียนได ๖ เดือน การที่ผมปลอยชีวิตไปตามความ
อยากรู อยากเห็นและสัญชาตญาณ ทําใหผมไดเจอหลายสิ่งโดยบังเอิญ ผมจะยกตัวอยาง
ซักเรือ่ งนะครับ มหาวิทยาลัยรีดสมัยนัน้ มีคอรสสอนการคัดลายมือ ผมไมตองไปเรียนวิชาบังคับ
หลังจากลาออกแลว ผมเลยตัดสินใจไปเรียนคอรสนี้ ผมเรียนวิธีเขียนตัวอักษรแบบเซรีฟ
แบบซานเซรีฟ เรียนวิธีเวนชองไฟระหวางตัวอักษร เรียนรู เทคนิคการเรียงพิมพ วิชานี้
ดูเหมือนไมมีอะไรที่จะเอามาใชในชีวิตจริงของผมไดเลย แตอีก ๑๐ ป ตอมา ตอนที่เรากําลัง
ออกแบบคอมพิวเตอรแมคอินทอชรุ นแรกความรูเหลานี้ก็ยอนกลับมาใหม เราใสมันลงไป
ในเจาแมคนี้หมดเลยครับ ทําใหแมคเปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกในโลกที่มีตัวพิมพ
ที่สวยงาม ถาผมไมไดไปเรียนวิชานั้น ปานนี้แมคก็คงไมมีตัวพิมพหลากหลายรูปแบบ
หรือตัวพิมพที่เวนชองไฟในสัดสวนที่เหมาะสม แนนอนครับ มันเปนไปไมไดที่จะเชื่อมโยง
ฉบับ เหตุการณตางๆ เหลานี้ ตอนผมเปนนักเรียนแตการเชื่อมจุดเปนเรื่องงายดายในอีกสิบป
เฉลย ใหหลัง เมื่อผมมองยอนกลับไปในอดีต ไมมีใครสามารถเชื่อมจุดจากปจจุบันไปยังอนาคตได
เราทําไดเพียงเชื่อมจากปจจุบันไปหาอดีตเทานั้น เพราะฉะนั้นนองๆ ตองมั่นใจวาอะไรที่
ทําอยูตอนนี้จะเชื่อมไปเองในอนาคต นองๆ ตองเชื่อมั่นในอะไรซักอยางนะครับ ไมวาจะเปน
สัญชาตญาณ โชคชะตาชีวิต ก แหงกรรม หรืออะไรก็แลวแต ความเชื่อมั่นแบบนี้ไมเคยทําให
ผมผิดหวัง และมันทําใหชีวิตผมเปลี่ยนไปมาก
(ตัดตอนจากสุนทรพจนของสตีฟ จ็อบส มหาวิทยาลัยสแตนฟอรด ๑๒ มิถุนายน ๒๕๔๘)

๑. สุนทรพจน หมายถึง คํากลาวทีด่ งี าม ไพเราะ มีแนวคิดทีค่ มคาย ลึกซึง้ ทําใหผูอานหรือผูฟงประทับใจ.


โดยเปนคําที่ผูพูดเรียบเรียงขึ้นเองดวยสํานวนภาษาที่สละสลวย ถูกตอง เหมาะสมกับโอกาสและ.
กาลเทศะ กระตุนเตือน หรือมีพลังที่ดีงามนําไปสูการเปลี่ยนแปลงที่ดี .

๒. สุนทรพจนทีน่ าํ มาเปนตัวอยางมีกลวิธกี ารดําเนินเรือ่ งอยางไร ปลุกเราใหผูฟงติดตาม ดวยการเลา.


ยอนไปถึงอดีตอันมีคณ ุ คาทีย่ งั คงอยูในความทรงจําของผูกลาว ทําใหเกิดความสอดคลองกับสวนสรุป.
ของสุนทรพจนที่ตองการเนนยํ้าใหผูฟงเชื่อมั่นในปจจุบันขณะ .

๓. นักเรียนคิดวาสุนทรพจนที่นํามาเปนตัวอยางใหสิ่งใดแกนักเรียน ทําใหเกิดความเชื่อมั่น .
สรางแรงบันดาลใจที่ดีสําหรับการดําเนินชีวิตในปจจุบัน ไมยอทอตอปญหาที่เกิดและทําปจจุบัน.
ใหดีที่สุด เพราะปจจุบันที่ดีจะสงผลถึงอนาคตที่ดี .

๓๔
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๗ หนักเรียนเติมคําลง นชองวาง หถูกตองและ ด จความ ñð
สมบูรณ (ท ๒.๑ ม.๓/๓)

การเขี ย นประวั ติ แ บบถายภาพเจาของประวั ติ


๑. วิธีเขียนชีวประวัติแบบจําลองลักษณ คือ …………………………………………………………………………………………
เนนการอธิบายรูปรางความคิด รสนิยม บอกนิสัยอยางตรงไปตรงมา .

๒. วิธีเขียนชีวประวัติแบบสดุดี คือ มุงสรรเสริญเจาของประวัติ กลาวถึงเฉพาะดานที่ดีที่ควร..


ยกยองเพียงดานเดียว .

๓. การเขี ย นชี ว ประวั ติ ที่ มุ งใหเห็ น ความสํ า คั ญ ดานใด


วิธีเขียนชีวประวัติแบบรอบวง คือ ………………………………………………………………………………………………………
ดานหนึ่งแตเสนอขอเท็จจริงมากกวาการสรรเสริญเยินยอ .

๔. เขี ย นถึ ง บุ ค คลที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู โดยเนนที่ ผ ลงาน


วิธีเขียนชีวประวัติแบบประเมินคา คือ ………………………………………………………………………………………………
เปนสําคัญวา มีความสําเร็จทางดานใด มีแนวโนมอยางไรในอนาคต .

๕. วิธีเขียนอัตชีวประวัติ คือ ผูเขียนเลาประวัตขิ องตนเอง อาจเลาตรงๆ หรือเลาในเชิงบันทึก..


และแสดงประวัติของตนเองลงไป .

๖. นักเรียนมีแนวทางการเลือกเขียนชีวประวัติของบุคคลอยางไร ควรเลือกเขียนชีวประวัต..ิ ฉบับ


ของบุคคลที่นาสนใจ จะมีตัวตนอยูจริงหรือเสียชีวิตไปแลวก็ได เฉลย
.

๗. ควรนําเสนอรูปแบบการดําเนินชีวิตทั้งดาน
การนําเสนอชีวประวัตคิ วรนําเสนออยางไร ………………………………………………………………………………………
ที่ประสบความสําเร็จ และความลมเหลวเพื่อเปนขอเตือนใจใหแกผูอาน .

๘. การเขียนโดยปราศจากอคติ คือ ผูเขียนจะตองมีใจเปนกลางหรือมีวจิ ารณญาณในการเขียน .


เพื่อใหผูอานมองเห็นขอคิดตางๆ ที่สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวัน .

๙. ผูเขียนชีวประวัติที่ดีควรมีคุณสมบัติอยางไร ควรศึกษาคนควาขอมูล ขอเท็จจริงเกี่ยวกับ..


ประวัตขิ องบุคคลนัน้ ในทุกๆ ดาน เพือ่ จะไดนําเสนอเรือ่ งราวไดครบถวนและมีวจิ ารณญาณทีด่ ี .
๑๐. นักเรียนคิดวาอัตชีวประวัติ ชีวประวัติที่ดีควรมีลักษณะอยางไร ………………………………………………อัตชีวประวัตแิ ละชีวประวัติ
ที่ดี ผูเขียนควรเขียนดวยใจที่เปนกลาง ปราศจากอคติ นําเสนอเนื้อหาสาระชีวิตของเจาของ .
ประวัติครบทุกแงมุม ทั้งในดานของความสําเร็จและความลมเหลว โดยผูเขียนใชภาษาถายทอด .
เรื่องราวอยางตรงไปตรงมา มีเอกภาพ สัมพันธภาพ และสารัตถภาพ สอดคลองกัน ใชภาษา .
ถูกตองเหมาะสม อัตชีวประวัติและชีวประวัติที่ดี มีคุณคา ควรสะทอนใหเห็นแนวคิด ขอคิด .
คติเตือนใจในการดํารงชีวติ เพือ่ ใหผูอานนําไปปรับใชใหเกิดประโยชนในชีวติ ประจําวันของตนเอง .

๓๕
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๘ หนักเรียนอานเรื่องที่กําหนด แลวนํา ปเขียนยอความ õ
ห ดสาระสําคั ครบถวน ดย ชรูปแบบ ครงสรางยอความ
ที่ถูกตอง (ท ๒.๑ ม.๓/๔)

วาท ิลปแหงป าของ นหลวง*


พระบาทสมเด็จพระเจาอยู หัว*มีพระบรมราโชวาทยํ้าถึงเรื่องคุณธรรมอยู เสมอดวย
พิจารณาอยางลึกซึ้งแลววาคุณธรรมจักเปนที่ตั้งของความสามัคคี ทําใหคนไทยเราสามารถ
รวมมือรวมใจรักษาและพัฒนาชาติใหเจริญรุ งเรืองสืบตอไปไดตลอดรอด ง แนวคิดที่น า
ประทับใจมากอีกประการหนึ่ง คือ ความกตัญ ูรูคุณตอชาติบานเมืองและผูที่อุปการะตัวมา
สอดคลองกับแนวคิดประการหนึง่ ในทางพระพุทธศาสนาซึง่ มักจะชีน้ าํ ใหตระหนักรูวา เมือ่ คนเรา
เกิดมายอมตกเปนหนีบ้ ญุ คุณของสรรพสิง่ ไมวาจะเปนบุคคลทีร่ ายรอบ มีบดิ ามารดา ครูอาจารย
เปนอาทิ หรืออากาศ นํ้า และแผนดิน ตลอดจนทรัพยากรทั้งสิ้นทั้งปวงอันอุปการะใหเราดํารง
ตนอยูได เมื่อเรามีสํานึกที่จะกตัญ ูรูคุณ เราก็จะไมเห็นแกตัว ไมเอารัดเอาเปรียบผูอื่น และมี
ความจริงใจ มีความปรารถนาดีตอกัน เอือ้ เฟอกันตามฐานะและหนาทีข่ องแตละคนได ในยามที่
ฉบับ บานเมืองเผชิญหนากับความเปลี่ยนแปลงของโลก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีกระแส
เฉลย
พระราชดํารัสใหทุกคนควบคุมสติใหมั่นไมหวั่นไหวไปกับวิกฤต
(วาทศิลปแหงปญญาของในหลวง โดยธเนศ เวศรภาดา จากหนังสือรีดเดอรไดเจสท สรรสาระ
ฉบับเดือนธันวาคม ๒๕๕๔ หนา ๔๐ - ๔๒)

บทความเรื่อง วาทศิลปแหงปญญาของในหลวง ของธเนศ เวศรภาดา จากหนังสือ


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
รี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ดเดอรไดเจสท สรรสาระ ฉบับเดือนธันวาคม ๒๕๕๔ หนา ๔๐ - ๔๒ ความวา
พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มีความสอดคลองกับ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวคิ ดในพระพุทธศาสนา ทรงเนนเรื่องคุณธรรม โดยเฉพาะคุณธรรมเรื่องความสามัคคี และความ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กตั ญ ูรูคุณตอชาติบานเมืองและผูที่อุปการะตนมา ใหรูจักควบคุมตนเองไมหวั่นไหวไปตามกระแส
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การเปลี ่ยนแปลงของโลก ใหรูเทาทันอยางมีสติ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

* ในหลวง และ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในที่นี้หมายถึง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช


๓๖
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๙ หนักเรียนเขียนจดหมายกิจธุระเชิ วิทยากรมาบรรยาย ñð
ความรูเนือ่ ง นงานสัปดาหรักษ ลกของ รงเรียน ดย ช
รูปแบบการเขียนจดหมายที่ถูกตอง (ท ๒.๑ ม.๓/๕)

ที่ ๑๑/๒๕๕๕ ชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอม


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
โรงเรียนอุดมศิษย ๑๙
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ถนนรามอินทรา เขตบางเขน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กรุงเทพฯ ๑๐๒๒๐
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เรื่อง ขอความอนุเคราะหเชิญเปนวิทยากร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เรียน คุณภาคภูมิ แสงทองสุข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สิ่งที่สงมาดวย กําหนดการจัดงาน “สัปดาหรักษโลก”
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เนื่องดวยชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอมจะจัดงาน “สัปดาหรักษโลก” ขึ้นในวันจันทรที่ ๒๑
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
พฤษภาคม ๒๕๕๕ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหนักเรียนตระหนักในคุณคาของสิง่ แวดลอม ทางโรงเรียน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
พิจารณาเห็นวาทานเปนผู มีความรอบรู ในเรื่องสิ่งแวดลอม จึงขอเรียนเชิญเปนวิทยากรบรรยาย ฉบับ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เฉลย
ในหัวขอ “รักษโลก โลกก็จะรักเรา” ใหนักเรียนจํานวน ๓๐๐ คนฟง ในวันจันทรที่ ๒๑ พฤษภาคม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. ณ หอประชุมโรงเรียนอุดมศิษย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จึงเรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะหเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอดังกลาว ตามวัน เวลา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
และสถานที่ขางตน และขอขอบพระคุณอยางสูงมา ณ โอกาสนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ขอแสดงความนับถือ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อมรเทพ รุงรัตนตรัย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(นายอมรเทพ รุงรัตนตรัย)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประธานชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นายธรณินทร กองขจร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อาจารยที่ปรึกษาชมรมฯ โทร.๐๒-๒๘๘-๙๑๓๗
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
โทรสาร ๐๒-๒๘๙-๑๑๒๔
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
E-mail: conserve_en@hotmail.com
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๓๗
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๑๐ หนักเรียน สเครื่องหมาย หนาขอความที่ถูกตอง ñõ
และเครื่องหมาย หนาขอความที่ผิด (ท ๒.๑ ม.๓/๘)

……………… ๑. ใบสมัครงานเปนแบบรายการที่ใชเปนหลักฐาน
……………… ๒. ในกรณีที่ผูกรอกลายมืออานยาก ควรใหผูที่ลายมือสวยเปนผูกรอกแทน
……………… ๓. ความสะอาดในการกรอกแบบสมัครงานสะทอนใหเห็นนิสัยของผูกรอก
……………… ๔. การแจงที่อยูไมควรใหขอมูลหลายชองทางเพราะอาจทําใหเกิดความสับสน
……………… ๕. การตรวจทานขอความในแบบสมัครงานเปนหนาที่ของเจาหนาที่ผูรับสมัคร
……………… ๖. การกรอกแบบสมัครงานควรกรอกความสามารถพิเศษใหผูรับสมัครพิจารณา
……………… ๗. แบบกรอกรายการยืม-คืน เปนแบบกรอกรายการที่ใชเปนหลักฐาน
……………… ๘. ผูกรอกแบบสมัครงานควรศึกษาและทําความเขาใจกอนกรอกเอกสาร
……………… ๙. แบบสอบถามความพึงพอใจในการใชผลิตภัณฑ สินคา หรือบริการตางๆ
เปนแบบรายการแบบประเมินผล
ฉบับ
เฉลย ……………… ๑๐. แบบกรอกรายการที่ใชเปนหลักฐานมีรูปแบบเฉพาะที่เปนมาตรฐาน
อาจมีรายละเอียดแตกตางกันบางแตมีใจความสําคัญเชนเดียวกัน
……………… ๑๑. ขณะกรอกแบบสมัครงานเมื่อมีขอสงสัยใหทําความเขาใจดวยตนเอง ไมควร
สอบถามเจาหนาที่ผูเกี่ยวของ เพราะอาจแสดงใหเห็นถึงความไมมั่นใจของ
ผูสมัคร
……………… ๑๒. ผูกรอกแบบสมัครงานควรใหรายละเอียดเกีย่ วกับประสบการณการทํางานทีผ่ านมา
ของตนเองใหบริษัททราบ เพื่อใชเปนหลักฐานประกอบการพิจารณา
……………… ๑๓. การอางอิงบุคคลเพือ่ ใชเปนหลักฐานประกอบการพิจารณา ผูสมัครงานควรอางอิง
บุคคลที่เปนเพื่อนสนิทหรือนายจางเดิม และควรแจงผูนั้นใหทราบกอน
……………… ๑๔. รายละเอียดที่จําเปนในการกรอกแบบสมัครงาน ไดแก ชื่อ นามสกุล เพศ อายุ
การศึกษา ประสบการณการทํางาน ความสามารถพิเศษที่เปนคุณสมบัติที่ทาง
บริษัทตองการ
……………… ๑๕. ไปรษณียอิเล็กทรอนิกสเปนสถานทีส่ าํ หรับติดตอทีผ่ สมั
ู ครงานควรใหไวกับบริษทั

๓๘
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. ขอใดเปนคุณสมบัติของผูเขียนที่ดี ๖. สุนทรพจนหมายความวาอยางไร
ก. ฟงมาก ก. คํากลาวที่ดีงาม ไพเราะ มีแนวคิด
ข. มีคลังคํา ข. คํากลาวที่ถูกตองตามหลักความจริง
ค. อานมาก ค. คํากลาวที่สัมผัสคลองจอง ไพเราะ
ง. ถูกทุกขอ ง. คํากลาวที่กลาวในที่ประชุมชน
๗. ชีวประวัติเปนงานเขียนประเภทใด
๒. ขอใดเปนการเขียนอวยพร
ก. บทความ ข. สารคดี
ก. จงเชื่อในความดี
ค. เรื่องสั้น ง. บันเทิงคดี
ข. ขอใหมีความสุข
๘. ชีวประวัติที่กลาวถึงดานดีเพียงดานเดียว
ค. ซาโดนใจ
เปนชีวประวัติประเภทใด
ง. จงทําดี ก. แบบสดุดี
๓. คําขวัญมีลักษณะอยางไร ข. แบบรอบวง ฉบับ
ก. ขอความสั้นๆ ไพเราะ ค. แบบประเมินคา เฉลย
ข. ขอความที่เปนคําแนะนํา ง. แบบจําลองลักษณ
ค. ขอความที่สงเสริมใหทําความดี ๙. ขอใดคือหลักสําคัญที่ชวยในการเขียนยอความ
ง. ขอความสั้นๆ ที่มีพลังในการโนมนาวใจ ก. รูปแบบการยอ
๔. ขอใด ม ชลักษณะของคําคม ข. การรูจักการสังเกต
ก. ชวนเชื่อ ค. การถอดคําประพันธ
ง. การจับใจความสําคัญ
ข. แหลมคม
๑๐. ถานักเรียนตองการเขียนจดหมายเรียนเชิญ
ค. ชวนใหคิด
วิทยากรมาบรรยายในหัวขอที่กําหนด ภาษา
ง. เปนความจริง
ที่ใชในการเขียน ควรมีลักษณะอยางไร
๕. “ชุมคอโดนใจ” เปนงานเขียนประเภทใด ก. ขอความสั้นกะทัดรัด ไมเยิ่นเยอ
ก. คําคม ข. ใชภาษาฟุมเฟอย แตอานเขาใจงาย
ข. คําขวัญ ค. ภาษาแบบแผน ใชศัพทวิชาการสูงๆ
ค. โฆษณา ง. ภาษากึ่งแบบแผนหรือแบบแผน สรางความ
ง. คําแนะนํา ประทับใจใหผูรับเชิญยินดีทําตามคําขอ

๓๙
แบบบันทึกผลการประเมิน

คะแนน ผลการประเมิน
เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู
เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ม.๓/๒
กิจกรรมที่ ๒.๑ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๒.๒ ๑๕ .
กิจกรรมที่ ๒.๓ ๕ .
กิจกรรมที่ ๒.๔ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๒.๕ ๕ .
กิจกรรมที่ ๒.๖ ๑๕
รวม ๖๐
ท ๒.๑ ม.๓/๓
กิจกรรมที่ ๒.๗ ๑๐ .

รวม ๑๐
ฉบับ
ท ๒.๑ ม.๓/๔
เฉลย กิจกรรมที่ ๒.๘ ๕ .

รวม ๕
ท ๒.๑ ม.๓/๕
กิจกรรมที่ ๒.๙ ๑๐ .

รวม ๑๐
ท ๒.๑ ม.๓/๘
กิจกรรมที่ ๒.๑๐ ๑๕ .

รวม ๑๕
คะแนนรวมทั้งหมด ๑๐๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒ ๑๐
เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๘๐ - ๑๐๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๖๕ - ๗๙ ๓ ดี
๕๐ - ๖๔ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๕๐ ๑ ปรับปรุง
๔๐
µÍ¹·Õè ๒ ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÃà¢Õ¹
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๓ ¡ÒÃà¢Õ¹à¾×Íè ¡ÒÃÊ×Íè ÊÒà ò
การเขียนเปนกระบวนการถายทอดความรู ความคิด อารมณ ความรูสึกของผูสงสาร
ออกมาเปนลายลักษณอักษร ซึ่งการสื่อสารดวยวิธีนี้ผู สงสารตองอาศัยความรู ความเขาใจ
ในขั้นตอนและวิธีการเชนเดียวกับทักษะทางภาษาประเภทอื่นๆ เชน ตองรูจักประเภทของงาน
เขียน เขาใจจุดมุงหมายในการเขียน เปนตน การที่จะประสบความสําเร็จในการเขียนผูสงสาร
ควร ก นอยางสมํ่าเสมอ รู จักเลือกใชถอยคํามาเรียบเรียงใหไดใจความถูกตองเหมาะสม
ตามไวยากรณ รวมถึงมีความไพเราะงดงามทางภาษา จึงจะเรียกไดวาประสบความสําเร็จใน
การเขียนและเปนงานเขียนที่มีประสิทธิภาพ
กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนนําตัวอักษรหนาขอความดานขวา มา สลง นชองวางหนาขอความดาน าย หถูกตอง


สัมพันธกัน ฉบับ
เฉลย
ก . ๑. กําแพงมีหูประตูมีชอง ก. การจะพูดหรือทําอะไรใหระมัดระวัง
ข . ๒. ขาวเหลือเกลืออิ่ม ข. บานเมืองที่อุดมสมบูรณ
ญ . ๓. ขี่ชางจับตักแตน ค. บานเมืองยอมมีก หมาย
ฌ . ๔. มือถือสาก ปากถือศีล ง. เรื่องงายๆ แตคิดไมออก
ง . ๕. เสนผมบังภูเขา จ. ผูที่วางตนใหญโต ยอมมีอุปสรรค
ฉ . ๖. ไมดูตามาตาเรือ ในการดํารงตนในสังคม
ฎ . ๗. ยุใหรําตําใหรั่ว ฉ. ไมพิจารณาใหรอบคอบ
จ . ๘. จระเขคับคลอง ช. กระเสือกกระสน ดิ้นรน
ค . ๙. บานเมืองมีขื่อมีแป . แสดงตนวามีศีลธรรม
ช . ๑๐. ปลาหมอแถกเหงือก แตกลับประพฤติชั่ว
ญ. ลงทุนมากแตไดผลนอย
. ยุใหผิดใจกัน

๔๑
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๑ หนักเรียนพิจารณาขอความที่กําหนด จากนั้นระบุ ñõ
วัตถุประสงคของขอความ พรอมทั้งแสดงเหตุผลของ
คําตอบลง นชองวาง หถูกตองสมบูรณ (ท ๒.๑ ม.๓/๖)

๑. ทานเหลี่ยว านไดสอนวิธีแกไขความผิดในชีวิตปจจุบัน แตการที่ ไมทําผิดในชาตินี้


ยังไมสามารถที่จะทําใหชีวิตเสวยผลดีมีสุขไดตลอดไป เพราะเหตุวาแมชาตินี้จะมิไดกอกรรม
ทําเข็ญเพิม่ ขึน้ แตเราจะรูไดอยางไรวาชาติกอนๆ นัน้ เราทําความไมดีอะไรไวบาง ซึง่ จะตองมีแนๆ
เพียงแตมากหรือนอยเทานั้น ฉะนั้นไมเพียงแตเราจะตองละการทําชั่วแลว เรายังตอง
สรางกรรมดีใหเพิ่มพูนยิ่งๆ ขึ้น

การเขียนแสดงความคิดเห็น เพราะผูเขียนไดแสดงเหตุผลเพื่อสนับสนุนความคิดเห็นของตนเอง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ฉบับ ๒. นํา้ เตาหูจัดเปนอาหารบํารุงรางกายทีม่ คี ณ


ุ คาทางอาหารสูง เปนเครือ่ งดืม่ ทีน่ กั โภชนาการ
เฉลย ใหความสนใจอยางมาก บางคนเห็นวาอาจใชดื่มแทนนมวัวไดสําหรับผูใหญ วิธีทํานํ้าเตาหู คือ
เอาถั่วเหลืองแชนํ้าไวประมาณ ๑ วัน หลังจากนั้นจึงนําไปบดหรือโมจนละเอียด กรองถั่วเหลือง
ที่บด เก็บนํ้าไวสวนหนึ่ง นํานํ้าที่ไดไปตมจนเดือดก็ไดนํ้าเตาหูที่ตองการ

การเขียนอธิบาย เพราะผูเขียนใชภาษาเพือ่ ใหผูอานเกิดความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการทํานํา้ เตาหูอยางเปนขัน้ ตอน


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๓. การใชบริการยืมและสงหนังสือคืน ผูใชบริการสามารถเขามาคนควาความรูจากเอกสาร
ตางๆ ของหองสมุดไดในเวลาที่เปดทําการ สําหรับหนังสือทั่วไปใหยืมออกจากหองสมุดได
คนละไมเกิน ๓ เลม และยืมไดไมเกิน ๗ วัน ถาหากสงหนังสือชากวาเวลาที่กําหนดจะถูกปรับ
เลมละ ๕ บาทตอวัน การยืมและคืนหนังสือตองใชบัตรสมาชิกของหองสมุดเทานั้น อนึ่ง
หากผูใดขโมยหนังสือของหองสมุดซึง่ เปนสมบัตขิ องสวนรวมไปและถูกจับไดผูนัน้ จะถูกพิจารณา
โทษอยางหนัก

การเขียนชีแ้ จง เพราะผูเขียนใชภาษาเพือ่ สรางความเขาใจทีถ่ กู ตองแกผูอานเกีย่ วกับการใชบริการยืม-คืนหนังสือ


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔๒
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๒ หนักเรียน ึกษาวิธีทําอาหารจาน ปรดของครอบครัว ñõ
แลวนํามาเขียนอธิบายวิธีทํา ดย ชแนวทางการเขียน
ที่ถูกตอง (ท ๒.๑ ม.๓/๖)
อาหารจานโปรดของครอบครัวขาพเจา คือ แกงเขียวหวานไก ..
ซึ่งมี คุณยาย .. ของขาพเจาเปนเจาของตํารับ มีสวนผสม ดังนี้
นํ้าพริกแกงเขียวหวาน ๑/๔ ถวยตวง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เนื้อไกบริเวณอก ๑/๒ กิโลกรัม (หั่นเปนชิ้นเล็ก พอดีคํา)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กะทิ ๑/๔ ถวยตวง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบโหระพา ๑/๔ ถวยตวง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
มะเขือเปราะ ๒ ลูก (หั่นเปนชิ้นเล็กๆ)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นํ้าซุปไก ๑/๒ ถวยตวง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นํ้าตาลมะพราว ๒ ชอนโตะ (หรือนํ้าตาลทราย)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นํ้าปลา ๓ ชอนโตะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
พริกชี้ฟาแดง ๓ เม็ด (หั่นเฉียง)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใบมะกรูด ๔ ใบ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ฉบับ
ผั ก ควรเลื อ กซื้ อ ผั ก สดที่ มี รู พ รุ น เฉลย
เจาของตํารับแนะนําวิธีการเลือกซื้อวัตถุดิบแตละชนิด คือ ……………………………………………………………………
เปนรอยกัดแทะของหนอนแมลงเพราะถาหากหนอนกัดหรือเจาะผักได แสดงวามีสารกําจัดศัตรูพืช
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ในปริมาณที่ไมเปนอันตรายมาก สวนเนื้อไกควรเลือกเนื้อที่ใสสีเหลืองอมชมพูออน เนื้อหนามีมัน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เล็กนอยและตองไมมีกลิ่น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เมื่อไดสวนผสมครบแลว ขั้นตอนตอไปเปนวิธีการทํา เปนเทคนิคเฉพาะทําใหอาหารงายๆ จานนี้ .
เปนจานโปรดของครอบครัวมีขั้นตอน ดังนี้ ตั้งกะทิ ๑/๒ ถวยตวง (กะทิสวนที่เหลือไวคอยใช
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ในขั้นตอนตอไป) บนกระทะจนรอน (ใชไฟปานกลาง) คนจนกะทิเดือดประมาณ ๓ - ๕ นาที
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จากนั้นใสเครื่องแกงเขียวหวานลงไปผัดกับกะทิจนงวดลง เทสวนผสมทั้งหมดลงในหมอใหญ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นําไปตั้งไฟปานกลาง ใสเนื้อไกและคนประมาณ ๒ นาที จากนั้นใสนํ้าปลา นํ้าตาล คนตอไปอีก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑ นาที ใสมะเขือเปราะที่หั่นไวแลว ใสนํ้ากะทิที่เหลือและใสนํ้าซุปไก ตมตอไปสักพักจนเนื้อไก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เริ่มสุกและมะเขือเปราะนิ่ม จึงใสใบมะกรูดและใบโหระพารอจนเดือด จากนั้นจึงปดไฟ ตักใสถวย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เสิรฟพรอมกับขาวสวยรอนๆ และพริกนํ้าปลา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สูตรนี้สําหรับรับประทาน ………………… ๕ คน คุณคาอาหารที่ไดจากจานโปรดของครอบครัวขาพเจา
คือ โปรตีนจากเนื้อไก ไขมันจากกะทิในปริมาณพอสมควร ใยอาหารสูง โดยไดจากมะเขือเปราะ .
และสวนผสมในเครื่องแกง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๔๓
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๓ หนักเรียนเติมขอความลง นชองวาง หถูกตองและ ด จ ñð
ความ สมบูรณ (ท ๒.๑ ม.๓/๖)

การเขียนขยายความโดยการใหเหตุผล เพื่อใหผูอานเขาใจและ
๑. การเขียนชี้แจง หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………
มีความเชือ่ ถือในเรือ่ งนัน้ อยางชัดเจน โดยใชถอยคํา สํานวนภาษาทีก่ ระชับ เพือ่ สรางความเขาใจ .
ทีถ่ กู ตองตรงกัน เพือ่ ใหผูรับสารปฏิบตั ใิ นเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ เปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยเขาใจ .
ในเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงชัดเจน .

๒. การเขียนชีแ้ จงเพือ่ ปองกันและแกไขความเขาใจผิดทีเ่ กิดขึน้ มีลกั ษณะการใชภาษาอยางไร


พรอมยกตัวอยางประกอบ มีลักษณะของการใชภาษาเพื่อเรียบเรียงชี้แจงขอเท็จจริงวาเปน .
อยางไร และความเขาใจทีค่ ลาดเคลือ่ นนัน้ เกิดขึน้ มาจากสาเหตุใด เชน การเขียนชีแ้ จงเรือ่ งการ .
เก็บเงินสนับสนุนบํารุงหองสมุดของโรงเรียน การเขียนชีแ้ จงเรือ่ งการปรับขึน้ ราคาแกสหุงตม .
การเขียนชี้แจงเรื่องการปรับขึ้นราคาคาโดยสารรถรวมบริการ .

๓. การเขียนชี้แจงเพื่ออธิบายขั้นตอนการปฏิบัติในเรื่องใดเรื่องหนึ่งมีลักษณะการใชภาษา
อยางไร พรอมยกตัวอยางประกอบ มีลกั ษณะของการใชภาษาเรียบเรียงขัน้ ตอนในการปฏิบตั ..ิ
ฉบับ ในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึง่ เรียงไปตามลําดับตัง้ แตตนจนกระทัง่ จบกระบวนการ เชน การเขียนชีแ้ จง .
เฉลย
เรื่องการเลือกชุมนุมของนักเรียน การเขียนชี้แจงเรื่องการเลือกวิชาเลือกเสรีของนักเรียน .
.

๔. การเขียนชี้แจงเพื่อใหทราบเหตุผล ขอเท็จจริง หรือความจําเปนมีลักษณะการใชภาษา


มีลักษณะของการใชภาษาเรียบเรียงเพื่อใหผูอานเขาใจ
อยางไร พรอมยกตัวอยางประกอบ ……………………………………………………………………………………………………
ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือสถานการณใดสถานการณหนึ่งโดยอางเหตุผลและความจําเปน .
ทีม่ นี าํ้ หนักนาเชือ่ ถือ เชน การเขียนชีแ้ จงเลือ่ นกําหนดสอบกลางภาคของโรงเรียนอันเนือ่ งมาจาก .
สาเหตุที่โรงเรียนไดรับผลกระทบจากเหตุการณนํ้าทวม .

.
การเขียนชี้แจงที่ดีผู เขียนควรมีข อเท็จจริงที่
๕. การเขียนชี้แจงมีแนวทางการเขียนอยางไร………………………………………………………………………………………
ถูกตองเหมาะสม เพื่อสนับสนุนอยางหนักแนน โดยในยอหนาแรกผูเขียนจะตองหาเหตุผล .
ขอเท็จจริงมาสนับสนุนเรื่องที่จะชี้แจง จะตองปรากฏคําวา “เพราะวา...” “เพราะฉะนั้น...” .
“โดยที่...” “ฉะนั้น...” ปรากฏอยูเสมอ สําหรับการเขียนชี้แจงที่มีเนื้อหามาก ใหลําดับความ .
เปนหัวขอ เพื่อปองกันมิใหผูอานเกิดความสับสนและเขาใจคลาดเคลื่อนไปจากความเปนจริง .

๔๔
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๔ หนักเรียนอานบทความ “นํ้าทวม…เปนเรื่องของความ ñõ
เห็นแกตัว” จากนัน้ หตอบคําถามลง นชองวาง หถูกตอง
และ ด จความสมบูรณ (ท ๒.๑ ม.๓/๗)

นํ้าทวม เปนเรื่องความเหนแกตัว
ใครวาคนไทยเปนคนใจกวาง มีความโอบออมอารี เอื้อเฟอเผื่อแผ แบงปน ผมวา
พูดผิดพูดใหมไดนะครับ ตัวอยางปญหานํา้ ทวมทีก่ าํ ลังเกิดขึน้ แสดงใหเห็นวาสังคมไทยไดเปลีย่ น
จากสังคมของการเฉลี่ยทุกขเฉลี่ยสุขไปเปนสังคมของความเห็นแกตัวอยางสมบูรณ นํ้าเปน
ทรัพยากรที่ไมสามารถบริหารจัดการอยางงายๆ ไมงัน้ คนเขาไมเสียเวลาหาปแปดปเพือ่ รํา่ เรียน
วิชาชลศาสตรหรือวิศวกรนํ้าหรอกครับ แตการแกปญหานํ้าทวมในปจจุบันกลับอาศัยความ
มักงายโดยการมอบใหผูวาราชการจังหวัดตางๆ รับผิดชอบการแกปญหานํ้าทวมในจังหวัด
ของตน เชน การสรางทํานบกัน้ นํา้ ไมใหเขาทวมพืน้ ที่ในจังหวัดของตนเอง แตเคยคิดหรือไมวา
นํ้าจํานวนนั้นจะถูกผลักออกไปทวมจังหวัดอื่นๆ ถัดไปอยางไรบาง ดังนั้นการปองกันปญหา
นํา้ ทวมทีด่ าํ เนินกันมา แบบวาพืน้ ที่ใดมีเงินมากก็สรางเขือ่ นใหสูงกวาเพือ่ ผลักนํา้ ใหไปทวมพืน้ ที่
ฉบับ
อืน่ หรือจังหวัดอืน่ แทน ถาคนไทยยังแกปญหากันแบบนีผ้ มก็คดิ วาเปนการทํางานทีเ่ ห็นแกตัวสิน้ ดี เฉลย
และเปนการแกปญหาแบบมักงาย
(รศ. ดร.อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา adis@nida.ac.th)

๑. เรื่องที่อานนี้เปนเรื่องของใคร ทําอะไร ที่ไหน มีผลอยางไร เรื่องนี้เปนเรื่องของนํ้าทวม .


ซึง่ เกิดจากกลุมคนจํานวนหนึง่ ทีม่ คี วามมักงาย เห็นแกตัว แกปญหาแบบพอใหพนตัว แลวผลัก .
ภาระความทุกขยากลําบากไปใหผูอื่น ทําใหผูอื่นไดรับความเดือดรอนจากการกระทําของตน .
๒. การใชภาษาในการเขียนเรื่องนี้มีลักษณะอยางไร ผูเขียนใชวิธกี ารเขียนแบบพูดคุย ลักษณะ .
เปนภาษากึง่ แบบแผนทีเ่ ขาใจงาย มีความชัดเจน ไมมีศพั ทยากทีต่ องแปลความ ใชภาษาสือ่ ความ .
ไดตรงกับอารมณความรูสึกของกลุมบุคคลที่มีอารมณความรูสึกเดียวกัน .
ผูเขียนแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับสถานการณ
๓. ผูเขียนเรื่องนี้มีเจตนาในการเขียนอยางไร ………………………………………………………………………………………
ปจจุบันของสังคมไทย ที่มีกระบวนการแกไขปญหาที่เปลี่ยนแปลงไป การรวมแบงปนทั้งทุกข .
และสุขเริม่ เหือดหายไป โดยการยกตัวอยางเหตุการณนํา้ ทวมเพือ่ ประกอบการแสดงความคิดเห็น .
ของตนเอง .

๔๕
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๕ หนักเรียน ึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับสื่อสังคมออน ลน ñð
นปจจุบัน เชน จากนั้น หนําขอมูลมาเขียน
แสดงความคิดเหนเกี่ยวกับการ ชสื่อสังคมออน ลนของ
วัยรุน ทย นปจจุบัน (ท ๒.๑ ม.๓/๗)

สังคมปจจุบันสามารถติดตอสื่อสารถึงกันไดโดยสะดวก รวดเร็ว ผานสื่อสังคมออนไลน


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ประเภทตางๆ เชน เฟซบุก เปนตน ซึง่ อาจพิจารณาขอดี ขอเสียใหเห็นไดอยางชัดเจน กลาวคือ เฟซบุก


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ทําใหมนุษยติดตอสือ่ สารกันไดงายขึน้ สามารถแลกเปลีย่ นขอมูล ตลอดจนเผยแพรผลงานสูสาธารณะ


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สามารถคนหาชือ่ ทีอ่ ยู สถานทีต่ ดิ ตอบุคคลไดงาย แตในขณะเดียวกันหากมนุษยใชเฟซบุกโดยขาดสติ


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

และวิจารณญาณในการไตรตรอง ก็อาจกอใหเกิดผลเสียตามมาในลักษณะที่ผู ใชงานก็คาดไมถึง


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ซึง่ ผลเสียทีเ่ กิดขึน้ อาจเกิดทัง้ ในลักษณะทีเ่ ราเปนผูถูกกระทํา เชน ขอมูลบางอยางอาจถูกผูอืน่ คัดลอก


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

นําไปใช หรือในอีกลักษณะหนึ่ง เราเปนผูสรางปญหาดวยตนเอง เชน การตั้งสถานะของตนเอง


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หรือการเขียนขอความเพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานะของผูอื่น บางครั้งผูเขียนตองการสื่อสาร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ฉบับ อยางหนึ่งแตผูรับอาจเขาใจไปอีกอยางหนึ่ง จนหลายครั้งเกิดปญหาทะเลาะวิวาทหรือการเขาใจผิด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลย
การใชสื่อสังคมออนไลนประเภทนี้ ผูสงสารควรระลึกไวเสมอวาเมื่อใดก็ตามที่ตนเองเคาะปุม Enter
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอมูลนั้นจะเผยแพรสูสายตาของสาธารณชน และแมวาจะแกไขดวยการลบออกหรืออยางไรก็ตาม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การสื่อสารที่ผิดพลาด การกระทบกระเทียบ การหมิ่นประมาท เหลานี้ก็ไดทําลายความรูสึกของ


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ผูรับสารที่มีตอผูสงสารแลวเชนกัน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การใชสื่อสังคมออนไลนของวัยรุ นไทยในปจจุบัน สิ่งที่ต องระมัดระวังมากเปนพิเศษ


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

อาจอยูที่ประเด็นของการแบงเวลาใหชัดเจน การมีสติ และวิจารณญาณในการไตรตรองเกี่ยวกับ


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

บุคคลที่สื่อสารดวย ไมควรหลงเชื่อหรือไวใจใครเพราะอาจถูกลอลวงไปในทางเสียหาย ดังปรากฏ


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เปนขาวตามหนาหนังสือพิมพปจจุบันก็มีสาเหตุมาจากสื่อสังคมออนไลนประเภทนี้ รวมไปถึงประเด็น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ของการใชภาษาในการสื่อสาร และควรใชวิจารณญาณไตรตรองใหรอบคอบ หากวัยรุ นไทยใช


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สื่อสังคมออนไลนประเภทนี้อยางรู เทาทัน เฟซบุ กก็จะเปนชองทางหนึ่งที่ทําใหมนุษยสื่อสารกัน


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

มีปฏิสัมพันธขามวัฒนธรรมไดทั่วทุกมุมโลก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๔๖
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๖ หนักเรียนเขียนอธิบายลําดับขั้นของรายงานที่กําหนด õ
หถูกตองและสมบูรณ (ท ๒.๑ ม.๓/๙)
สารเสพติด ลําดับขั้นตอนของรายงาน
๑. ความหมาย การรวบรวมและเรียบเรียงหมวดหมู..
๒. ผลกระทบ ความคิด เปนขัน้ ตอนทีผ่ ทํู ารายงานจะ..
๓. การปองกัน ตองพิจารณาวาจะนําเสนอเนือ้ หาใดบาง..

๑. ความหมาย การจัดลําดับความคิด เปนขัน้ ตอนตอ..


๒. ผลกระทบ จากการรวบรวมความคิด ในขัน้ ตอนนี..้
๒.๑ ตนเองและครอบครัว ผู ทํ า รายงานจะตั้ ง ประเด็ น ความคิ ด..
๒.๒ สังคม โดยยึดหัวขอใหญเปนหลัก แลวแตก..
๓. การปองกัน ประเด็ น รองที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ..
๓.๑ ครอบครัว หัวขอใหญ เพือ่ การนําเสนอทีม่ ที ศิ ทาง..
๓.๒ สังคม เดียวกัน ..

ฉบับ
๑. ความหมาย การเขียนขยายแนวคิด เปนขั้นตอน.. เฉลย
สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ที่นําเขาสูรางกาย ตอจากการจัดลําดับความคิด ในขัน้ ตอนนี..้
ดวยวิธีการตางๆ กอใหเกิดผลเสียตอรางกายและจิตใจ ผู ทํารายงาน ควรเขียนรายละเอียด..
๒. ผลกระทบ เพิ่ ม เติ ม ในโครงเรื่ อ งแตละประเด็ น..
๒.๑ ตนเองและครอบครัว เพื่อขยายแนวคิดใหสามารถเขียนได..
มีสุขภาพรางกายทรุดโทรม ทําลายความสุข ชัดเจนขึ้น ซึ่งผู ทํารายงานอาจเขียน..
สงผลกระทบตอจิตใจของคนในครอบครัว เปนวลีหรือประโยคสั้นๆ สําหรับการ..
๒.๒ สังคม เขียนขยายแนวคิดนัน้ เปนเสมือนกรอบ..
ทําใหเกิดปญหาอาชญากรรมตางๆ ที่ใชสําหรับกําหนดประเด็นการเขียน..
การลักเล็กขโมยนอย การลวงละเมิดทางเพศ อยางกวางๆ ทําใหมองเห็นแนวทางใน..
๓. การปองกัน การเขียนหรือการนําเสนอแตละหัวขอ..
๓.๑ ครอบครัว รวมถึงทําใหผู เขียนรายงานทราบวา..
สรางความรักความผูกพันในครอบครัว ตองคนควาหนังสือและเอกสารใดบาง..
สอนใหรูจักการปฏิเสธ เพื่ อ ใหสามารถครอบคลุ ม เนื้ อ หาที..่
๓.๒ สังคม ตองการนําเสนอ สวนใดที่ตองการ..
รณรงคใหความรู ความเขาใจ โทษที่จะไดรับ สถิติหรือขอมูลประกอบ เปนตน ..
จากการเกี่ยวของกับสารเสพติด ..

๔๗
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๗ หนักเรียนเติมขอความลง นชองวาง หถูกตองและ ด ñð
จความสมบูรณ (ท ๒.๑ ม.๓/๙)

ควรเขียนใหมีความกระชับ ชัดเจน
๑. การเขียนชื่อโครงงานควรเขียนอยางไรจึงจะเหมาะสม ………………………………………………………………
ใชภาษาอยางตรงไปตรงมา เพื่อทําใหผูอานทราบไดทันทีวาเปนโครงงานเกี่ยวกับอะไร ..

๒. ผูทีม่ หี นาทีร่ บั ผิดชอบในการปฏิบตั โิ ครงงาน โดยอาจปฏิบตั ิ


ผูรับผิดชอบโครงงาน หมายถึง ……………………………………………………………………………………………………………
เดี่ยวหรือกลุมก็ได ในกรณีที่เปนกลุมควรระบุชื่อของหัวหนาโครงงานไวลําดับแรก ..

๓. ที่มาของโครงงาน หมายถึง สาเหตุที่ทําใหคณะผูรับผิดชอบจัดทําโครงงานนี้ เหตุจูงใจ .


ในการทําโครงงาน และถาไดรับการสนับสนุนจากบุคคลใดก็ควรกลาวถึงเชนกัน ..

๔. จุดประสงคของโครงงาน หมายถึง จุดมุงหมายของโครงงานเมื่อสิ้นสุดโครงงาน ซึ่งควร .


เขียนใหมีความกระชับ ชัดเจนและเขาใจงาย ..

๕. ขอคิดเห็นจากการคาดคะเนทีใ่ ชมูลฐานในการหาเหตุผล
สมมติฐานของโครงงาน หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………
หรือคําตอบของโครงงาน ซึ่งควรเขียนใหมีความสอดคลองกับจุดประสงค ..

๖. ขอบเขตเนื้อหาและระยะเวลาในการทําโครงงานมีความสําคัญอยางไร ชวยกําหนดขอบเขต..
ฉบับ ของเนือ้ หาในการปฏิบตั โิ ครงงานและระยะเวลาในการศึกษาเพือ่ ใหเกิดประโยชนสูงสุด หากไมมี..
เฉลย
การกําหนดขอบเขตและระยะเวลาของโครงงาน ผู ทําโครงงานก็จะปฏิบัติโครงงานอยาง..
ไรจุดหมาย ไรประโยชน สิ้นเปลืองเวลา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๗. หลักวิชาที่นํามาใชในโครงงานมีความสําคัญอยางไร เพื่อทําใหโครงงานมีความนาเชื่อถือ..
มีหลักเกณฑในการดําเนินงาน และเพื่อใชเปนมาตรฐานในการอางอิงวาโครงงานที่ปฏิบัติ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ไดบรรลุตามจุดประสงคที่ตั้งไว
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๘. วิธีปฏิบัติในการทําโครงงานควรเขียนใหมีลักษณะอยางไร ควรเขียนเปนขัน้ ตอนใหชัดเจน..
โดยลําดับเปนขัน้ ๆ และแตละขัน้ ตอนใชเวลาเทาใด หากในภายหลังมีผสนใจในโครงงานหรื
ู อจะนํา..
ขอมูลไปถายทอดคนควาเพิม่ เติมจะไดเขาใจในขอมูลเดิมหรือวิธปี ฏิบตั โิ ครงงานไมคลาดเคลือ่ น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๙. ผลการศึกษาของโครงงานสามารถนําเสนอในรูปแบบใดไดบาง ……………………………………………… สามารถนําเสนอไดทัง้ ใน
ลักษณะของความเรียง หรือตารางสําหรับการแสดงแผนภูมิ จํานวน อยางไรก็ตามผูจัดทํา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
โครงงาน ควรเปรียบเทียบวาขอมูลที่ตนมีนั้นเหมาะสมที่จะนําเสนอในรูปแบบใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๐. ขอเสนอแนะเปนคําแนะนําเพิ่มเติม
ขอเสนอแนะในการทําโครงงานมีความสําคัญอยางไร …………………………………………………………………
ของคณะผูรับผิดชอบโครงงาน ซึง่ อาจเปนลักษณะของการแนะนําวิธกี ารใชขอมูล แนะนําแหลง..
คนควาเพิ่มเติมหรือการตอยอดนําขอมูลไปทําเปนโครงงานในหัวขออื่นๆ .

๔๘
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๘ หนักเรียน สเครื่องหมาย ลง นชองวางหนาขอความ ñð
ที่ถูกตอง และเครื่องหมาย ลง นชองวางหนาขอความ
ที่ มถูกตอง (ท ๒.๑ ม.๓/๑๐)

……………… ๑. การเขียนจดหมายควรเขียนดวยภาษาที่สุภาพ ถูกตองตามหลักภาษาไทย


ใชภาษาเขียน ไมใชภาษาพูด และควรใชภาษาใหเหมาะสมกับสถานะของบุคคล
เพราะถือเปนการแสดงมารยาทที่ดีตอผูรับจดหมาย
……………… ๒. ไมควรใชอารมณหรืออคติในการเขียน ไมเขียนเพือ ่ มุงทําลายชือ่ เสียง เกียรติยศ
ของผูอื่น
……………… ๓. ผูเขียนไมจําเปนตองยึดรูปแบบที่เครงครัดในการเขียนประเภทตางๆ สามารถ

เลือกรูปแบบในการเขียนไดตามความถนัด เพราะเปนการสะทอนใหเห็นความ
สามารถที่หลากหลายของผูเขียน
……………… ๔. ควรเขี ย นดวยลายมื อ ตั ว บรรจงหรื อ พิ ม พใหเรี ย บรอย มี ความเปนระเบี ย บ

เพราะการเขียนยอมเปนเสมือนกระจกสะทอนใหเห็นลักษณะนิสัยของผูเขียน ฉบับ
ไดเปนอยางดี เฉลย
……………… ๕. ควรเขียนใหเปนระเบียบ คือเวนสวนหนาและสวนหลังของกระดาษใหเสมอ

เปนแนวเดียวกัน เวนบรรทัดใหเทากัน และยอหนาใหอยูในระดับเดียวกัน


……………… ๖. เมื่อเขียนผิดควรแกไขดวยการใชยางลบหรือนํ้ายาลบคําผิดลบใหสะอาด

……………… ๗. ไมควรเขียนโดยปราศจากความรูเกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน หากจําเปนตองเขียน

ควรศึกษาคนควาใหละเอียดจากแหลงขอมูลตางๆ
……………… ๘. ไมควรเขียนเรือ ่ งทีก่ ระทบตอความมัน่ คงของชาติ รวมทัง้ ไมเขียนเพือ่ มุงทําลาย
ผูอื่น ทําใหไดรับความเสียหายหรือเพื่อสรางประโยชนใหแกตนเอง
……………… ๙. ไมควรคัดลอกบทความหรือเนื้อหาตอนหนึ่งตอนใดของผูอื่นมาใสในงานเขียน

ของตนเอง หากจําเปนจะตองเขียนใหอางอิงแหลงที่มาของขอมูลเดิมเสมอ
ในรูปแบบของบรรณานุกรมหรือเชิงอรรถ เพื่อใหเกียรติเจาของผลงานนั้นๆ
……………… ๑๐. การเขียนจดหมายกิจธุระที่ โรงเรียนติดตอกับบุคคลภายนอกหรือหนวยงาน

ราชการเพือ่ ขอความอนุเคราะหหรือแสดงความขอบคุณ ควรใชภาษาแบบแผน


ในการสื่อสาร เพื่อเปนการใหเกียรติผูรับ

๔๙
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๓
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. ขอใด ม ชการเขียนอธิบาย ๖. การเขียนรายงานควรเลือกเรื่องอยางไร


ก. ใชภาษากระชับ ก. มีประโยชน
ข. ใชภาษาที่เขาใจงาย ข. ผูเขียนตองการรู
ค. ใชภาษาที่สวยงามไพเราะ ค. เขียนเรื่องในกระแส
ง. ใชภาษาเขียนตามลําดับขั้นตอน ง. เหมาะสมกับวัยของผูอาน
๒. ขอใดที่ตองเขียนใหสอดคลองกับจุดประสงค ๗. สาเหตุในการศึกษาโครงงานอยูในสวนใด
ของโครงงาน ก. คํานํา
ก. ขอเสนอแนะ ข. บทนํา
ข. ที่มาของโครงงาน ค. เนื้อหา
ค. สรุปและอภิปรายผล ง. บทสรุป
ง. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ๘. หากมีขอมูลเกี่ยวกับอาชีพของคนในทองถิ่น
ฉบับ ควรทําเปนโครงงานประเภทใด
เฉลย ๓. ขอใด ม ชการแสดงความคิดเห็น
ก. ทฤษ ี
ก. ผูเขียนตองไมมีอคติ
ข. สํารวจ
ข. ขอมูลที่นําเสนอตองถูกตอง
ค. ทดลอง
ค. ชี้แจงเหตุผลขอดีขอบกพรอง ง. ประดิษฐ
ง. ผูเขียนตองกลาเขียนในทุกๆ เรื่อง
๙. วิธกี ารเขียนโครงงานขอใดที่ใชหลักการเดียวกับ
๔. ขอใดสําคัญที่สุดในการเขียนโตแยง การเขียนบรรณานุกรม
ก. การจับใจความสําคัญ ก. สมมติฐาน
ข. การใชภาษาในการถายทอด ข. ผลการศึกษา
ค. การกําหนดขอบเขตประเด็น ค. หนังสืออางอิง
ง. แสดงขอบกพรองทรรศนะของอีก าย ง. หลักวิชาที่นํามาใช
๕. สวนประกอบใดอยูในตอนตนของรายงาน ๑๐. การเขียนขอใดแตกตางจากขออื่น
ก. เชิงอรรถ ก. เขียนชี้แจง
ข. ภาคผนวก ข. เขียนโตแยง
ค. บัญชีตาราง ค. เขียนอธิบาย
ง. บรรณานุกรม ง. เขียนบรรยาย

๕๐
แบบบันทึกผลการประเมิน

คะแนน ผลการประเมิน
เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู
เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๒.๑ ม.๓/๖
กิจกรรมที่ ๓.๑ ๑๕ .
กิจกรรมที่ ๓.๒ ๑๕ .
กิจกรรมที่ ๓.๓ ๑๐ .

รวม ๔๐
ท ๒.๑ ม.๓/๗
กิจกรรมที่ ๓.๔ ๑๕ .
กิจกรรมที่ ๓.๕ ๑๐ .

รวม ๒๕
ท ๒.๑ ม.๓/๙
กิจกรรมที่ ๓.๖ ๕ . ฉบับ
กิจกรรมที่ ๓.๗ ๑๐ .
เฉลย
รวม ๑๕
ท ๒.๑ ม.๓/๑๐
กิจกรรมที่ ๓.๘ ๑๐ .

รวม ๑๐
คะแนนรวมทั้งหมด ๙๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๓ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๗๕ - ๙๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๖๐ - ๗๔ ๓ ดี
๔๕ - ๕๙ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๔๕ ๑ ปรับปรุง

๕๑
µÍ¹·Õè ๓ ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÿ˜§ ¡ÒôÙáÅСÒþٴ
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๑ ¡ÒþٴàÃ×Íè §¨Ò¡Ê×Íè ·Õ¿è §˜ áÅдÙ

ปจจุบันเปนยุคแหงการสื่อสารไรพรมแดน การรับรูขอมูล ขาวสารตางๆ เกิดขึ้นได


ทุกเวลาและสถานที่ การฟงและดูสื่อจึงตองมีวิจารณญาณในการคิดพิจารณาไตรตรอง เมื่อฟง
และดูแลวสามารถแสดงความคิดเห็นประเมินเรื่อง วิเคราะห วิจารณ เพื่อนําขอคิดมาประยุกตใช
ใหเกิดประโยชนในการดําเนินชีวติ ประจําวัน มีมารยาทในการฟง การดู และการพูดจึงจะเรียกไดวา
เปนผูฟงที่มีประสิทธิภาพ

กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนอธิบายความหมายของคําตอ ปนี้พอสังเขป

ฉบับ ๑. เปลือกไมที่ลอกนํามาทําเปนเชือก, แมลงชนิดหนึ่ง ลําตัวยาว มีปก


ปอ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลย ๒. กระจัง ชื่อลวดลายที่ประดับบนสิ่งของ, ชื่อปลามีรูปรางคลายปลาตีน ..

๓. กระมัง คําแสดงความไมแนใจ, ชื่อปลานํ้าจืดชนิดหนึ่ง .

๔. คาถา คําประพันธภาษาบาลี, เวทมนตรที่ถือวาศักดิ์สิทธิ์ .

๕. หนาที่ กิจการงานที่ตองปฏิบัติ, มาตราวัดพื้นที่


งาน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๖. ขันเล็กๆ สําหรับตักนํ้าในขันใหญ, นกกระจอก
จอก ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๗. ชื่อแมลงประเภทหนึ่ง เวลารองจะมีเสียง, ชื่อตนไมประเภทหนึ่ง
จักจัน่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๘. เจียน ตัด เฉือนใหเปนรูปตามตองการ, เกือบ จวน .

๙. ชื่อเครื่องทอผา, หนุม รุน


ตะกอ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๐. ไส เสือกไป ดันไปขางหนา, คําโบราณใชเรียกลูกคนที่ ๗ .

๑๑. ใหของแกกันดวยความนับถือ, นางอยูงาน นางกํานัล


กํานัล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๒. แรง สิ่งที่ทําใหเกิดอํานาจ เขมแข็ง, เลขชี้กําลังที่เขียนบนจํานวนจริง
กําลัง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๓. เคีย้ ว บดใหแหลกดวยฟน, คด มักใชคูกัน เปนคดเคี้ยว ..

๑๔. คาง ตกลงมาหรือขึ้นไปติดอยูกับสิ่งหนึ่ง , ชื่อของถั่วฝกยาว เรียก ถั่วคาง .

๑๕. ขุน ผูเปนใหญ หัวหนา, ใหอาหารแกสัตวเลี้ยง ..

๕๒
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๑ หนักเรียน งการบรรยายธรรมของพระมหาวุ ชิ ยั วชิรเมธี ñõ
(ว. วชิรเมธี) ที่ครูอาน ห งแลวตอบคําถามตอ ปนี้
(ท ๓.๑ ม.๓/๑)

ความรักจะเปนสิ่งที่ลํ้าเลิศหรือความทุกขตรมขึ้นอยูกับวารักดวยสมองหรือรักแบบ
ขึน้ สมอง และตองไมยึดติดวาความรักมีเพียงมิตเิ ดียว คือ ความรักเชิงชูสาวเทานัน้ แตความรัก
มีหลายมิติ เปรียบเสมือนบันไดตองเดินขึ้นไปทีละขั้น จนถึงความหมายของความรัก นั่นคือ
ความสุข ถารักแลวมีความทุกข พัฒนาการของความรักยังไมสมบูรณ
สําหรับความรักมี ๔ แบบ คือ
๑. รักตัวกลัวตาย รักชนิดนี้ถามีมากๆ จะทําใหเกิดความเห็นแกตัว
๒. รักใครปรารถนา อิงกับสัญชาตญาณการสืบพันธุ ความรักชนิดนี้จะทําใหเกิดความ
ลุมหลง หนุมสาวจะยึดความรักชนิดนี้เปนที่พึ่งของชีวิต คือ อยากจะครอบครองใครสักคน
พอควบคุมไมไดความรักก็กลายเปนความราย เปนโศกนาฏกรรม
๓. รักเมตตาอารี เห็นคนทั้งโลกวาเปนมิตรแกเรา ฉบับ
๔. รักมีแตให คือ เปนผูให รักปญญาชนไมคิดจะทํารายใคร ไมหวังผล และพัฒนา เฉลย
จนถึงปลายทางของความรักแท ทั้งนี้เนื่องในวันวาเลนไทนขอใหเยาวชนคนไทยทั้งหลาย
ยึดความรักที่ถูกที่ควรเปนแนวทางปฏิบัติ ไมใชไปจมติดกับความรัก

๑. เหตุใดพระมหาวุฒิชัยจึงพูดเรื่องความรักในวันนี้ เพราะตองการใหเปนขอคิดแกเยาวชน .
ในวันวาเลนไทน .
ความรักที่ไมสมบูรณ คือรักแลวมีแตความทุกข
๒. ความรักที่ไมสมบูรณหมายความวาอยางไร ………………………………………………………………………………………
กอใหเกิดความเดือดรอนทั้งตอตนเองและผูอื่น .
รักตัวกลัวตาย เพราะความรักประเภทนี้ คือ
๓. ความรักประเภทใดทีท่ าํ ใหเกิดความเห็นแกตัว …………………………………………………………………………………
ความรักตัวเอง เมื่อรักมากก็จะเกิดความเห็นแกตัว .
รักเมตตาอารีและรัก
๔. ความรักทั้ง ๔ แบบ นักเรียนคิดวาแบบใดมีประโยชน เพราะเหตุใด ………………………………………
มีแตให เพราะเปนความรักที่ไมทํารายทั้งตนเองและผูอื่น .

๕. เรื่องนี้เหมาะสมสําหรับเยาวชนหรือไม เพราะเหตุใด เหมาะสม เพราะทําใหรูจักวาลักษณะใด .


ที่เรียกวาความรักที่แทจริง ไมงมงายกับสิ่งที่ไมเปนสาระ ..

๕๓
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๒ หนักเรียนเลือก งบทเพลงที่ตนเองชื่นชอบหรือประทับ จ ñõ
แลวนํามาเขียนแสดงความคิดเหนที่มีตอบทเพลง ดย ช
ภาษา นการแสดงความคิดเหนที่ถูกตองและเหมาะสม
(ท ๓.๑ ม.๓/๑)
(ตัวอยาง)
แมชีวิตไดผานเลยวัยแหงความฝน วันที่ผานมาไรจุดหมาย ..
ฉันเรียนรูเพื่ออยูเพียงตัวและจิตใจ เปนมิตรแทที่ดีตอกัน ..
เหมือนชีวิตผันผานคืนวันอันเปลี่ยวเหงา ตัวเปนของเราใจของใคร ..
มีชีวิตเพื่อสูคืนวันอันโหดราย คืนที่ตัวกับใจไมตรงกัน ..
คืนนั้นคืนไหน ใจแพตัว คืนและวันอันนากลัวตัวแพใจ ..
ทามกลางแสงสีศิวิไลซ อาจหลงทางไปไมยากเย็น ..
คืนนั้นคืนไหน ใจเพอฝน คืนและวันฝนไปไกลลิบโลก ..
ดั่งนกนอยลิ่วลองลอยแรงลมโบก พออับโชคตกลงกลางทะเลใจ ..
ทุกชีวิตดิ้นรนคนหาแตจุดหมาย ใจในรางกายกลับไมเจอ ..
ฉบับ ทุกขที่เกิดซํ้า เพราะใจนําพรํ่าเพอ หาหัวใจใหเจอก็เปนสุข ..
เฉลย แมชีวิตไดผานเลยวัยแหงความฝน วันที่ผานมาไรจุดหมาย ..
ฉันเรียนรูเพื่ออยูเพียงตัวและจิตใจ เปนมิตรแทที่ดีตอกัน ..
ฉันเรียนรูเพื่ออยูเพียงตัวและจิตใจ เปนมิตรแทที่ดีตลอดกาล ..

เพลงทะเลใจ เปนผลงานของ
๑. เพลงที่นักเรียนชื่นชอบคือเพลงใด และเปนผลงานของใคร ………………………………………………………
ศิลปนวงคาราบาว .
เนื้อหาของบทเพลงบอกเลาเรื่องราวของคนคนหนึ่ง
๒. เนื้อหาสาระของเพลงกลาวถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………
ซึ่งไดเรียนรูความจริงของชีวิตจากชวงเวลาที่ผานพนมา ไมวาจะสุขหรือทุกขก็อยูที่ใจของตนเอง .

๓. นักเรียนมีความคิดเห็นอยางไรเกีย่ วกับเพลงทีช่ นื่ ชอบ ขาพเจาคิดวาเพลงทะเลใจเปนเพลง .


ที่สื่อความหมายในมุมที่ดีงาม กลาวคือ ตองการสื่อสารใหผู ฟงทราบวาสิ่งที่สําคัญที่สุดคือ .
ใจของเรา ในขณะทีเ่ ราไขวควา คนหาความเขาใจจากผูอืน่ หลงละเมอไปกับสิง่ ทีไ่ มจีรงั มิตรทีด่ ี .
ที่สุดของเราไมใชใครอื่น แตคือรางกายและจิตใจของเรา .

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๕๔
กิจกรรมที่ ๑.๓ หนักเรียนเติมขอความ นชองวาง หสมบูรณ (ท ๓.๑ ม.๓/๒)
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
ตอนที่ ๑ หนักเรียนเลือกชมสารคดี คนละ ๑ เรื่อง จากนั้น หทําบันทึก
จากการ ง ดย ชรูปแบบที่ถูกตอง (ตัวอยาง) ñð
พิธกี รดําเนินรายการ ภัทราพร สังขพวงทอง และสุดารัตน เกิดสวาง .
รายการทีเ่ ลือกชม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กบนอกกะลา
ตอน กลองยาวครื้นเครง บรรเลงเถิดเทิง .
ออกอากาศทาง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สถานีวิทยุโทรทัศนโมเดิรนไนนทีวี (ชอง ๙)
เมือ่ วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๓ .
ผูจดบันทึก สุชาวดี พฤกษมงคล .
รายการสารคดีกบนอกกะลา ตอนกลองยาวครื้นเครง บรรเลงเถิดเทิง นําเสนอเนื้อหา..
เกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทยประเภทหนึ่ง ซึ่งเปนที่รูจักเปนอยางดีสําหรับชาวไทย ทุกๆ งานบุญหรืองานที..่
ตองการความครื้นเครงจะมีเครื่องดนตรีชนิดนี้ปรากฏอยูเสมอ นั่นคือ กลองยาว สันนิษฐานวาคนไทย..
นาจะรูจักกลองยาวในสมัยธนบุรีหรือตนรัตนโกสินทร โดยปกติแลวกลองยาวจะเลนกันเปนวง จึงตอง..
ประกอบดวยเครือ่ งดนตรีประเภทอืน่ ไดแก โหมง ฉาบใหญ ฉาบเล็ก กรับ และฉงิ่ ซึง่ กวาจะมาเปนกลองยาว..
ฉบับ
อยางที่เห็นนั้น ตองผานกรรมวิธีหลายขั้นตอนโดยเริ่มจากคัดเลือกไม กลึงหุนกลอง ควานหุนกลอง.. เฉลย
ตัดหนังกลอง ซึ่งโดยมากจะใชหนังวัว การเผาไลความชื้นจากหุนกลอง การประกอบหุนกลองเขากับ..
หนังกลองดวยวิธีการขึงใหตึงก็จะไดกลองยาวที่มีคุณภาพนําไปใชไดจริง ..

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
ตอนที่ ๒ หนักเรียนเติมขอความ นชองวาง หสมบูรณ ñð
๑. รายการสารคดีที่เลือกชมมีลักษณะการดําเนินรายการอยางไร …………………………………………………
สารคดีกบนอกกะลามีลกั ษณะ
การนํ าเสนอที่เปนความโดดเดนของรายการ คือ จะนําพาผูชมไปเรียนรูในสิ่งตางๆ จากแหลงกําเนิด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
หรือตนตอของสิ่งนั้น ซึ่งเปนวิธีการนําเสนอที่ดี และยังเปนการปลูกฝงทัศนคติในการแสวงหาความ..
รูดวยตนเอง จากแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือใหแกเยาวชน ..
๒. สารคดีตอนที่เลือกชมใหแงคิดใด สิ่งของทุกประเภทลวนมีประวัติความเปนมาที่แตกตางกัน.
และในความแตกตางนั น้ มีคณ
ุ คา ดังนัน้ เราจึงควรเห็นคุณคาของทุกสรรพสิง่ เห็นคุณคาของการมีอยู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
โดยเฉพาะอยางยิ่งสิ่งที่แสดงถึงความเปนไทย ภูมิปญญาในการสั่งสม ถายทอด และสืบทอดจาก..
รุนสูรุน รวมเปนหนึ่งของการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ .

๕๕
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๔ หนักเรียน งเพลงภัยธรรมชาติแลวตอบคําถามตอ ปนี้ ñð
(ท ๓.๑ ม.๓/๒)

เพลงภัยธรรมชาติ : อ็อบบลิเวียส
ขอความจากฟาถึงเรารับรูเมื่อภัยผานพน มิใชสั่งคนใหยอมพายแพทุกอยาง
ถาคิดวาฟาแครังแกเราใหสิ้นความหวัง ก็ไมมีทางพิสูจนแรงใจ
ลมพายุรุนแรงครั้งกอน ากคําสอนใหเรียนรูไว กอนพายุที่เราตองเจอในครั้งใหม
เราตองพรอมที่จะรับมัน ชีวิตคนบางทีมันก็โหดราย
ไมจําเปนที่ใจตองหมดกําลัง เคยหกลมเทาไรเคยผิดพลาดยังไง
จําเอาไวและเรียนรูใหม กาวเดินใหม ดวยใจเขมแข็ง
ความพายแพที่เจอครั้งกอน ากคําสอนใหเรียนรูไว
ความผิดหวังอาจมีครั้งใหม เราตองพรอมที่จะรับมัน
เพราะไมอาจสั่งฟาใหมันสวยงาม ไดแคสั่งใหใจเขมแข็ง
ความพายแพที่เจอครั้งกอน ากคําสอนใหเรียนรูไว
ความผิดหวังอาจมีครั้งใหม เราตองพรอมที่จะรับมัน
ฉบับ (พายุรายสลาย ความพายแพตองเรียนรูไว)
เฉลย ความผิดหวังอาจมีครั้งใหม เราตองพรอมที่จะรับมัน

การไมยอมแพตอโชคชะตาภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้น รวมถึง
๑. บทเพลงนีม้ เี นือ้ หาสาระเกีย่ วกับอะไร ………………………………………………………………………………………………………
การเตรียมกายและใจใหเขมแข็งเพื่อพรอมเผชิญกับความผิดหวังที่อาจเกิดขึ้นไดอีกในอนาคต .
๒. บทเพลงนี้สอนใหทําอยางไรเมื่อตองประสบกับสิ่งเลวรายในชีวิต ใหมีจิตใจเขมแข็ง จดจํา..
ความผิดพลาด ความผิดหวัง และเรียนรูใหม กาวเดินใหมอีกครั้งดวยพลังใจที่เขมแข็ง .

๓. หลังจากทีม่ ปี ระสบการณเกีย่ วกับภัยธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ แลว บทเพลงแนะนําใหทําอยางไร


ใหจําเหตุการณนั้นไวเปนบทเรียน แลวเตรียมพรอมที่จะรับมือกับเหตุการณใหมที่อาจจะเกิดขึ้น .
๔. บทเพลงนี้ใหขอคิดอะไรแกผูฟง ใหรูจักเตรียมพรอมรับสถานการณเลวรายที่อาจจะเกิดขึ้น.
ไดตลอดเวลา และเมือ่ เกิดขึน้ แลวก็ใหจดจํา เรียนรู เพือ่ พรอมสําหรับการกาวเดินไปขางหนาอีกครัง้ .
๕. ถาเยาวชนไทยปฏิบตั ติ ามบทเพลงนีแ้ ลว อนาคตของชาติจะเปนอยางไร ประเทศไทยจะเจริญ..
รุงเรืองเพราะคนในชาติมจี ติ ใจทีเ่ ขมแข็ง ลุกขึน้ สู ไมยอมแพตออุปสรรคทัง้ ปวงทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต.

๕๖
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๕ หนักเรียนเลือก ึกษาขอมูลเกี่ยวกับผู ทรงภูมิป า ñð
นทองถิ่นที่นักเรียนสน จ ๑ ทาน แลวนํามาเขียนบทพูด
รายงาน (ท ๓.๑ ม.๓/๓)
(ตัวอยาง)
ผม ดิฉนั ไดไปศึกษาคนควาขอมูลเกีย่ วกับผูทรงภูมปิ ญญาไทยในทองถิน่ ของผม ดิฉนั
ผม ดิฉนั ไดมีโอกาสสนทนากับ ครูทองใส ทับถนน .
หนองกินเพล
ทานอยูบาน ………………………………………………………………………… ตําบล หนองกินเพล .
อําเภอ วารินชําราบ .. จังหวัด อุบลราชธานี ..
พอปนและแมหนู ทับถนน
ทานไดกรุณาเลาประวัติของทานใหฟงวาเปนบุตรของ ……………………………………………………………………………
ซึ่งมีอาชีพ ทํานาและอาชีพเสริมเปนวงดนตรีพื้นบานอีสาน .
ดนตรีพื้นเมือง (พิณอีสาน)
ทานมีความรูความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับภูมิปญญาไทยในเรื่อง …………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กอนที่จะมาเปนผูเชี่ยวชาญทางดานนี้ ทานไดศึกษาหาความรูจากครูหลายทาน โดย ..


ครูคนแรก คือ พอหนู ซึง่ มีความสามารถดานการแสดงหมอลํา การเลนหนังบักตือ้ รวมไปถึงครูบญุ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผูสอนการดีดพิณลําเพลิน ครูบุญชู ผูสอนการดีดพิณแบบโบราณ ครูยงยุทธ ผูสอนวิธีการทําพิณ ฉบับ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลย
และครูนภดล เจาของและหัวหนาวงดนตรีเพชรพิณทอง ผู ซึ่งสอนเทคนิควิธีการแสดงหนาเวที
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การวางตัว การสังเกตผูฟงใหแกครูทองใส
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ทานไดเลาถึงปญหาและอุปสรรคในการนําภูมปิ ญญาไทยดานนี้ไปใชวา พิณอีสานเปนพิณโปรง..


เมื่อนําไปแสดงบนเวทีจึงมีเสียงเบา ทําใหผูฟงไมไดรับอรรถรสทางดนตรีเทาที่ควร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ครูนภดล นําคอนแทคของกีตารไฟฟามาใสกับพิณเพื่อใหมีเสียงดังขึ้น
ทานไดแกปญหาโดย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………
และมอบหมายใหครูทองใสทําใหเสียงพิณดังขึ้นเหมือนกีตารไฟฟา ครูทองใสใชความพยายาม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
พัฒนาฝมือการดีดพิณจากพิณโปรงมาเปนพิณไฟฟาไดจนเปนที่พอใจของครูนภดลและไดกลายเปน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ครูทองใสอยางทุกวันนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ทานไดใหปรัชญาในการดําเนินชีวติ ทีผ่ ม ดิฉนั คิดวาเปนประโยชนอยางยิง่ ทีพ่ วกเราจะนําไปปรับใช
ในชีวิตประจําวัน คือ ความเพียร ความอดทน ความมีนาํ้ ใจ และความซือ่ สัตยสุจริต ผม / ดิฉนั คิดวา .
สาเหตุที่ทําใหครูทองใสไดรับการยกยองใหเปนครูภูมิปญญาทองถิ่นประจําป พ.ศ. ๒๕๔๕ นั้น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
นอกจากทักษะความสามารถทีโ่ ดดเดนเฉพาะตัวแลว ปรัชญาการดําเนินชีวติ ทีท่ านยึดถือก็ลวนมีสวน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลักดันดวยเชนกัน จึงทําใหทานเปนที่เคารพนับถือของคนในทองถิ่นตราบจนทุกวันนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

๕๗
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๖ หนักเรียน สเครื่องหมาย ลง นชองวางที่กําหนด ñð
หสัมพันธกับมารยาท นการพูด (ท ๓.๑ ม.๓/๖)
มารยาท นการพูด
พ ติกรรมการพูด การ กิริยา การ การควบคุม
เตรียมตัว ทาทาง ชคําพูด อารมณ

๑. อยูในอาการสงบ สํารวมไมปลอยตัวตามสบาย …………………… …………………… …………………… ……………………

๒. ระงับความโกรธเมือ่ มีปญหาเกิดขึน้ ในขณะทีพ่ ดู


เชน มีผูพูดแทรกขึ้นกลางคัน หรือมีผูแสดง …………………… …………………… …………………… ……………………
ความคิดเห็นที่ไมเห็นดวยกับผูพูด

๓. หาขอมูลมาประกอบการพูด โดยอาจสืบคน
…………………… …………………… …………………… ……………………
ไดจากการอาน การฟงจากสื่อตางๆ
ฉบับ
เฉลย ๔. ไมนําเรื่องสวนตัวของผูอื่นมาเปดเผยตอหนา
…………………… …………………… …………………… ……………………
สาธารณชน

๕. แตงกายสุภาพเรียบรอย เหมาะสมแกกาลเทศะ …………………… …………………… …………………… ……………………

๖. ขณะที่พูดควรสบตากับผูฟงเปนระยะๆ เพื่อ
…………………… …………………… …………………… ……………………
แสดงใหเห็นวา ผูพูดใหความสําคัญกับผูฟง

๗. ไมพูดกระทบกระเทียบ เสียดสีผูอื่น …………………… …………………… …………………… ……………………

๘. ไมแสดงตนโออวด หรือกาวราว …………………… …………………… …………………… ……………………

๙. ไมแสดงอาการที่ไมเหมาะสม …………………… …………………… …………………… ……………………

๑๐. ถาไมปฏิบัติจะทําใหพูดซํ้าซาก วกวน


…………………… …………………… …………………… ……………………
ผูฟงเบื่อหนาย ไมสนใจฟง

๕๘
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๗ หนักเรียน สเครื่องหมาย ลง นชองวางหนาขอความ ñð
งึ่ เปนพ ติกรรมทีเ่ หมาะสมของผู งทีด่ ี และ สเครือ่ งหมาย
ลง นชองวางหนาขอความ งึ่ เปนพ ติกรรมที่ มเหมาะสม
(ท ๓.๑ ม.๓/๖)

……………… ๑. มงคลมีสมาธิในการฟงเรื่องตางๆ โดยไมสนใจเรื่องอื่นใดที่ไมเกี่ยวของ


……………… ๒. ใยไหมแสดงอาการตอบสนองผูพูดดวยการพยักหนาเล็กนอย เพือ ่ ใหผูพูดทราบ
วากําลังสนใจเรื่องที่ผูพูดกําลังพูดอยู
……………… ๓. ในขณะที่ฟงแกวกัลยาสงสัยในสิ่งที่ผูพูดกําลังพูดอยู จึงไดยกมือขึ้นถามทันที

……………… ๔. วันทนีเขารับฟงการพูดอภิปรายทีบ ่ ริษทั จัดขึน้ เมือ่ ผูดําเนินรายการกลาวแนะนํา


ผู รวมอภิปรายวันทนีก็ปรบมือหลังจากผู ดําเนินรายการกลาวชื่อผู อภิปราย
แตละคน
……………… ๕. ทศพลแสดงอาการเบื่อหนายในขณะที่ฟงการบรรยายความรูเกี่ยวกับแนวทาง
ฉบับ
การรวมมือลดภาวะโลกรอน เฉลย
……………… ๖. ผกากรองไดรับเชิญใหเขารับฟงการบรรยายความรู เกี่ยวกับผาไหมไทย ซึ่ง

กระทรวงพาณิชยเปนผูจัดขึน้ เนือ่ งจากไมมีเวลาเตรียมตัวเธอจึงสวมกางเกงยีน


และเสื้อยืดเขารวมงาน
……………… ๗. ในขณะที่สมถวิลฟงการบรรยายความรู มีความจําเปนตองลุกจากที่นั่งกอน

การพูดจบ สมถวิลจึงลุกขึ้นยืนและทําความเคารพผู พูดดวยการคอมศีรษะ


ลงเล็กนอยและเดินออกไป
……………… ๘. พรรณลดามีขอสงสัยเปนจํานวนมากขณะที่ฟงการบรรยาย จึงไดจดบันทึกไว

และรอใหผูพูดเปดโอกาสใหซักถาม
……………… ๙. ในขณะที่ผูพูดเกิดการพูดผิดพลาด สมชายแสดงอาการโห า หัวเราะเสียงดัง

และชี้ชวนใหผูอื่นมองเห็นความผิดพลาดของผูพูด
……………… ๑๐. ปรีชาไปถึงสถานที่ฟงกอนเวลาและหาที่นั่งบริเวณดานหนา เพื่อผูที่มาทีหลัง

จะไดนั่งตอกันไปโดยไมตองเดินหาที่นั่งใหเกิดความวุนวาย

๕๙
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. บุคคลใดมีวิจารณญาณในการฟงและดู ๖. บุคคลในขอใดมีความสามารถในการควบคุม
ก. เอฟงและดูสื่อแลวนําไปปฏิบัติตาม อารมณของตนในขณะที่พูด
ข. บีฟงและดูสื่อแลวศึกษาจุดมุงหมาย ก. โดมไมเสียดสีผูอื่น
ค. ซีฟงและดูสื่อแลวพูดวิพากษวิจารณ ข. ดอนยิ้มแยมแจมใสทักทายผูฟง
ง. ดีฟงและดูสื่อแลววิเคราะหจุดมุงหมาย ค. โดงไมนําเรื่องของผูอื่นมาเปดเผย
ความนาเชื่อถือ แลวประเมินคา ง. ดอมไมโตตอบเมื่อมีผูทักทวงในขณะที่พูด
๒. ขอใด ม ชภาษาในการพูดแสดงความคิดเห็น ๗. ขอใด ม ชมารยาทในการพูด
ก. ดิฉันคิดวา ก. ไมพูดเกินเวลาที่กําหนด
ข. ดิฉันเห็นวา ข. หาขอมูลมาประกอบการพูด
ค. ดิฉันเห็นควรวา ค. สวมเสื้อผาเครื่องนุงหมเหมาะสม
ง. ดิฉันตองการทราบวา ง. มีอารมณขันสรางความบันเทิงแกผูฟง
ฉบับ ๓. นายเดชฟงเรือ่ งราวแลวแยกแยะออกเปนสวนๆ ๘. ขอใดสําคัญที่สุดในการ ก นการเปนนักพูด
เฉลย แสดงวาใชวิธีใดในการฟง ก. หาสื่อที่สวยงามมาประกอบ
ก. วิจารณ ข. หาความรูมาประกอบการพูด
ข. วิเคราะห ค. หาตัวอยางที่นาสนใจมาประกอบ
ค. สรุปความ ง. หามุกตลกเรื่องขบขันมาประกอบ
ง. ประเมินคา ๙. หัวใจของการพูดรายงานคือขอใด
๔. ขอใด ม ชการพูดวิเคราะหวิจารณ ก. การสืบคนขอมูล
ก. พูดแสดงความคิดเห็น ข. การเรียบเรียง
ข. พูดโตตอบ ค. การใชภาษา
ค. พูดอธิบาย ง. การใชสื่อ
ง. พูดเหตุผล ๑๐. ภาษาที่ใชในการพูดรายงานการศึกษาคนควา
๕. มารยาทการพูดเปนผลดีตอผูพูดอยางไร ควรเปนภาษาที่มีลักษณะอยางไร
ก. ทําใหมีบุคลิกดี ก. ใชศัพทเฉพาะเรือ่ ง
ข. เปนที่เคารพนับถือของผูฟง ข. ภาษาที่ฟงเขาใจงาย
ค. สรางความศรัทธาใหแกผูฟง ค. ภาษาเหมาะสมกับระดับของผูฟง
ง. ทําใหไมมีขอขัดแยงกับผูอื่น ง. ภาษาที่เปนแบบแผนเหมาะกับเรื่องที่พูด

๖๐
แบบบันทึกผลการประเมิน

คะแนน ผลการประเมิน
เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู
เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๓.๑ ม.๓/๑
กิจกรรมที่ ๑.๑ ๑๕ .
กิจกรรมที่ ๑.๒ ๑๕ .

รวม ๓๐
ท ๓.๑ ม.๓/๒
กิจกรรมที่ ๑.๓ ๒๐ .
กิจกรรมที่ ๑.๔ ๑๐ .

รวม ๓๐
ท ๓.๑ ม.๓/๓
กิจกรรมที่ ๑.๕ ๑๐ .
ฉบับ
รวม ๑๐ เฉลย
ท ๓.๑ ม.๓/๖
กิจกรรมที่ ๑.๖ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๑.๗ ๑๐ .

รวม ๒๐
คะแนนรวมทั้งหมด ๙๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๗๕ - ๙๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๖๐ - ๗๔ ๓ ดี
๔๕ - ๕๙ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๔๕ ๑ ปรับปรุง

๖๑
µÍ¹·Õè ๓ ¡ÒþѲ¹Ò·Ñ¡ÉСÒÿ˜§ ¡ÒôÙáÅСÒþٴ
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๒ ¡Òþٴã¹âÍ¡Òʵ‹Ò§æ

การอยูรวมกันในสังคมกอใหเกิดการสื่อสารเพื่อถายทอดความรู ความคิด และอารมณ


ความรูสึกนึกคิดตางๆ จากผูสงสารไปยังผูรับสาร การพูดเปนวิธกี ารสือ่ สารประเภทหนึง่ ซึง่ มีรปู แบบ
ที่หลากหลาย ขึ้นอยูกับโอกาสและจุดประสงค ผูพูดตองมีความสามารถในการนําเสนอหลักฐาน
ตามลําดับเนื้อหาอยางมีเหตุผล นาเชื่อถือและมีมารยาทในการพูด จึงจะเปนการพูดที่ประสบ
ผลสําเร็จตามที่ตั้งไว
กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียน ึกษากรณีตัวอยางที่กําหนด แลว สเครื่องหมาย ลง นวงเลบ เลือกประเภทของ


การพูด จากนั้นตอบคําถามตามที่กําหนด หถูกตองและสมบูรณ
ฉบับ
เฉลย นางสาวดารารัตนเปนคนพูดจามีเหตุผล ใชถอยคําสํานวนโวหารในการพูด และชอบ
ศึกษาคนควาอานเรื่องตางๆ เก็บรวบรวมไวเปนคลังขอมูลของตนเอง ดารารัตนสนใจที่จะ ก
เปนนักพูด นักเรียนคิดวาลักษณะของดารารัตนควรไดรับการสนับสนุนใหเปนนักพูดประเภทใด
เพราะเหตุใด

( ) นักพูดโตวาที ( ) นักพูดอภิปราย ( ) นักพูดโนมนาวใจ

โตวาที
ดารารัตนควร กเปนนักพูด ………………………………………………………………………………………………………………
เนื่องจาก นักพูดโตวาทีตองพูดมีเหตุผลเพื่อหักลางขอมูลของฝายตรงขาม รูจักใชถอยคําสํานวน.
โวหารในการพูด และการพูดโตวาทีนั้นตองมีเรื่องราวที่นาสนใจมาประกอบการพูดเพื่อเราอารมณ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ความรู สึกสนใจของผู ฟง ซึ่งคุณสมบัติที่ดารารัตนมีตรงกับคุณสมบัติของนักโตวาทีที่ดี เพราะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การโตวาทีที่ดีควรยึดหลักความจริงและยกเหตุผลที่ถูกตองมาหักลางกัน โดยไมทําลายความจริง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
อันเปนธรรม โดยใชวาทศิลปอันคมคาย มีขอคิดที่ลึกซึ้ง เพื่อทําใหผูฟงเกิดความคิดเห็นคลอยตาม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๖๒
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๑ หนักเรียนเติมขอความลง นชองวาง หถูกตองและ ด ñð
จความสมบูรณ (ท ๓.๑ ม.๓/๔)
การถายทอดความรู ความคิด หรือความตองการของผูพูดเพื่อสื่อความหมาย
๑. การพูด หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………………………
ไปยังผูฟง โดยใชถอยคํา นํ้าเสียง รวมถึงกิริยาอาการตางๆ ประกอบกัน .
๒. ผูพูดมีความสําคัญตอองคประกอบของการพูดอยางไร ผูพูดเปนผูสงสาร ถายทอดความรูสึก .
ขอคิดเห็น ขอเท็จจริงไปยังผูฟง โดยใชภาษา เสียง กิริยาอาการเปนสื่อ .
๓. องคประกอบของการพูดประกอบไปดวยอะไรบาง ผูพูด เนือ้ หาสาระ ผูฟง สือ่ หรือเครือ่ งมือทีใ่ ช..
ในการถายทอด ความมุงหมาย และผลของการพูด .
๔. ผูพูดที่ดีจะตองเปนผูใฝรูอยูเสมอ เพราะความรูเหลานี้จะเปน
ผูพูดที่ดีควรมีคุณลักษณะอยางไร ………………………………………………………………………………………………………
คลังความรูถายทอดไปยังผูฟง และควรมีทักษะทางภาษาในการนําเสนอที่เขาใจงาย .
๕. ผูพูดควรมีหลักในการเลือกสาระหรือเนือ้ หาทีจ่ ะพูดอยางไร ผูพูดควรเลือกพูดในเรือ่ งทีต่ นเอง..
มีความสามารถ รูแจง เห็นจริง มีขอมูลทีเ่ พียงพอ นาเชือ่ ถือ เปนทีย่ อมรับนับถือ หากจะตองพูดในเรือ่ ง .
ทีต่ นไมมีความรู ควรศึกษาคนควาขอมูลอยางละเอียด แลวจึงนํามาเรียบเรียงโดยใชภาษาทีส่ อื่ ความงาย .
กระชับ ชัดเจน . ฉบับ
๖. ผูพูดที่ดีควรศึกษาผูฟงกอนการพูดทุกครั้ง ซึ่งการศึกษาผูฟงควรศึกษาในดานใด เฉลย
ผูพูดทีด่ คี วรศึกษาวาผูฟงเปนใคร มีความสนใจในเรือ่ งใด อยูในชวงวัยใด เพศใด เพราะความแตกตาง .
ในดานทีก่ ลาวขางตน ยอมทําใหผูฟงสนใจในเรือ่ งทีต่ างกัน การพูดทีด่ ผี พูู ดจะตองพูดเรือ่ งทีน่ าสนใจ .
และพูดในเรื่องที่ผูฟงตองการฟง .
๗. ยกตัวอยางเครื่องมือหรือสื่อที่ใชในการถายทอดเนื้อหาสาระตางๆ จากผูพูดไปยังผูฟง
การพูดสือ่ สารทีป่ ระสบความสําเร็จนัน้ ผูพูดอาจใชสือ่ หรือเครือ่ งมือทีห่ ลากหลายในการถายทอดความรู .
ความคิด อารมณ ความรูสึกไปยังผูรับสาร เชน เสียง สีหนา ทาทาง อากัปกิรยิ า โสตทัศนูปกรณตางๆ .
๘. การแตงกายของผูพูดทีด่ คี วรแตงกายอยางไร ผูพูดควรแตงกายใหสะอาด เรียบรอย เหมาะกับ .
สมัยนิยม คํานึงถึงโอกาสและกาลเทศะ เพราะเปนการใหเกียรติสถานที่และใหเกียรติผูฟง .
.
๙. ความมุงหมายหรือวัตถุประสงคในการพูด คือ เพือ่ ถายทอดขอมูล ขาวสาร หรือบอกเลาเรือ่ งราว.
ตางๆ เพื่อสรางความบันเทิง เพื่อโนมนาวจิตใจ เพื่อแกไขความเขาใจที่ผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อน .
ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือสถานการณใดสถานการณหนึ่ง .
๑๐. ผลของการพู ด จะแสดงผานปฏิ กิ ริ ย าตอบสนองของผู ฟง
ผลของการพูดจะแสดงผานสิง่ ใด …………………………………………………………………………………………………………
ไดแก การผงกศีรษะ การหัวเราะ การยิ้ม การปรบมือ การกมหนา การขมวดคิ้ว .
.

๖๓
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๒ หนักเรียนพิจารณาขอความทีก่ าํ หนดวาขอ ดควรเปน ตั ติ òð
การ ตวาทีหรือ ม ถาควรเปน ห สเครื่องหมาย แตถา
มควรเปน ห สเครือ่ งหมาย ลง นชองวางหนาขอความ
(ท ๓.๑ ม.๓/๔)

……………… ๑. เปนครูดีกวาเปนวิศวกร
……………… ๒. ใชสมุนไพรรักษาโรคดีกวาใชยาแผนปจจุบัน
……………… ๓. ทําดีไดดีมีที่ไหน ทําชั่วไดดีมีถมไป
……………… ๔. เดินทางโดยรถไฟปลอดภัยกวารถยนต
……………… ๕. ไกเกิดกอนไขหรือไขเกิดกอนไก
……………… ๖. อยูชนบทดีกวาอยูในเมือง
……………… ๗. สังคมตะวันออกดีกวาสังคมตะวันตก
……………… ๘. ไฟฟาสําคัญกวาประปา
ฉบับ
เฉลย ……………… ๙. เปนโรคอวนดีกวาเปนโรคอื่น
……………… ๑๐. ถุงพลาสติกมีความจําเปนในชีวิตประจําวันหรือไม
……………… ๑๑. ของเทียมดีแนแตของแทดีกวา
……………… ๑๒. อานหนังสือดีกวาดูโทรทัศน
……………… ๑๓. มีปญญาดีกวามีทรัพย
……………… ๑๔. ฟงดนตรีไทยสบายใจกวาดนตรีสากล
……………… ๑๕. เปนพอคาดีกวาเปนขาราชการ
……………… ๑๖. เกิดเปนชายสบายกวาหญิง
……………… ๑๗. เที่ยวเมืองไทยดีกวาไปตางแดน
……………… ๑๘. สตรีมีความอดทนกวาบุรุษ
……………… ๑๙. สวยเพราะปญญามีคากวาสวยดวยศัลยกรรม
……………… ๒๐. ผูชายมีความรอบคอบกวาผูหญิง

๖๔
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๓ สมมติวานักเรียนเปนหัวหนา ายเสนอ ึ่งขึ้นพูดคนแรก ñð
หนักเรียนเขียนคําพูดที่จะพูด นการ ตวาทีตาม ัตติที่
กําหนด ดยเลือกตามความสน จ (ท ๓.๑ ม.๓/๔)

เที่ยวเมือง ทยดีกวา ปตางแดน เดินทาง ดยรถ ปลอดภัยกวารถยนต

ญัตติ “เที่ยวเมืองไทยดีกวาไปตางแดน” ..
รักเมืองไทย ชูชาติไทย ทํานุบาํ รุงใหรุงเรืองสมเปนเมืองของไทย ผูฟงทีเ่ คารพ ผม / ดิฉนั เชือ่ วา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เกือบทุกทานคงเคยไดยินบทเพลงนี้ผานหูกันมาบาง โดยปกติแลวมนุษยฟงเพลงเพื่อจรรโลงจิตใจ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
โดยผานทางหู ถาเราลองมาฟงเพลงผานใจกันสักครัง้ ผม / ดิฉนั เชือ่ วาทัศนคติ อารมณความรูสึกรวม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ไปกับบทเพลงของทุกทานจะเปลี่ยนไป เหมือนเชนเพลงนี้มีเนื้อหากระตุ นเตือนใหเรามีความรัก
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตอเมืองไทย ใหชวยกันทํานุบาํ รุงใหสมกับทีบ่ รรพบุรษุ ของเราไดสละเลือดเนือ้ แมกระทัง่ ชีวติ รักษาไว
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใหลูกหลาน แตเราเคยกระทําตามวัตถุประสงคของเพลงหรือไม หนทางใดบางที่เราจะชวยทํานุบํารุง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ฉบับ
บานเมืองของเรา การที่เราชื่นชมดอกซากุระจนมองไมเห็นความงามของดอกพญาเสือโครง การที่
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เฉลย
เรามองเห็นความสงางามของหอไอเฟลจนมองไมเห็นความศรัทธาที่ยอดพระปรางควัดอรุณฯ การที่
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เราหลงใหลวัฒนธรรมทางดนตรี K-pop J-pop จนไมอินกับเพลงคางคาวกินกลวย และการที่
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เราใฝหาสายลม แสงแดดจากทะเลที่มัลดีฟส จนไมไดยินเสียงกระซิบของคลื่นทะเลในเมืองไทย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แบบนี้เรียกวารักเมืองไทยแลวหรือยัง คุณคาของการทองเที่ยวอยูที่การไดไปกับคนที่เรารัก ไปกับ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ครอบครัว ไดมีประสบการณที่ดีๆ รวมกัน เคยตั้งคําถามกับตัวเองบางหรือไมวา ทําไมเราไมเก็บ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ประสบการณดีๆ ที่เมืองไทยของเรา การเดินทางที่สะดวก ปลอดภัย ประหยัด อาหารถูกปาก การ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สื่อสารที่เขาใจกันได ความสวยงามของธรรมชาติและวัฒนธรรมที่ผสานกันอยางลงตัว ทําไมตอง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เมืองนอก คาใชจายราคาแพง ความไมคุนเคย และอีกหลายประการ ทําไมเราไมทําความรูจักตนเอง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
กอนทีจ่ ะรูจักผูอืน่ ทําไมเราไมเชือ่ มัน่ ในเหตุผลดีๆ ทีท่ าํ ใหเมืองไทยนาเทีย่ วกวาตางแดน อยางไรก็ตาม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เที่ยวเมืองไทยตองดีกวาไปตางแดนอยางแนนอน เพราะเมืองไทยเปนบานของเรา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๖๕
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๔ สมมติบทบาทนักเรียนเปนคณะผูรวมอภิปราย รวมกันอภิปราย ñõ
นหัวขอทีส่ น จ จากนัน้ หบันทึกผลการอภิปรายกลุมลง น
แบบบันทึก (ท ๓.๑ ม.๓/๔)

ชื่อกลุม พอเพียง . ชั้น ม.๓/๗ .. วัน เดือน ป ๑๑ มิถุนายน ๒๕๕๕ .


พอฤทัย เย็นปน (ประธาน)
ชื่อสมาชิก ๑. ………………………………………………………… ๒. อมรชัย พุมโกศล .
ปฐมพร แกวจงกล
๓. ………………………………………………………… ๔. ปานบัว แสงทองสุข (เลขานุการ) .
ประเด็นการอภิปราย การรักษาความสะอาดของหองเรียน จากปญหาที่เราประสบรวมกัน คือ.
ขณะนี้ห องเรียนของพวกเราสกปรก ขยะเริ่มสงกลิ่นเหม็นเพราะมีขยะประเภทที่ไมเหมาะสมมาทิ้ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ในหองเรียน ดังนั้นเราจึงตองรวมกันอภิปรายเพื่อหาแนวทางการแกไข ดังนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แนวทางป ิบัติ ป หาและอุปสรรค

ฉบับ ๑. หามนําอาหาร ขนม เครื่องดื่มตางๆ เขามา . ๑. นักเรียนบางรายอาจไมใหความรวมมือ ..


เฉลย รับประทานภายในหองเรียน . เนื่องจากเห็นวาเปนเรื่องเล็กนอย ..
๒. หามนักเรียนที่นําอาหารกลางวันจากที่บาน . ๒. นักเรียนบางรายอาจใหเหตุผลวาสะดวก ....
รวมกลุมกันรับประทานอาหารในหองเรียน . และทีน่ ั่งในโรงอาหารมีไมเพียงพอ ..
๓. จัดเวรทําความสะอาดหองเรียนหลังเลิกเรียน . ๓. นักเรียนบางรายอาจไมใหความรวมมือ ..
วันละ ๓ คน และจัดทําแบบบันทึกการทํา . ละเลยตอหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย หรือ ..
ความสะอาดบริเวณตางๆ เชน กระดานดํา . อางวาไมสะดวกตอการเดินทางกลับบาน ..
ถังขยะหลังหอง ทีเ่ ก็บอุปกรณทําความสะอาด . …………………………………………………………………………………………

สรุปผลการอภิปราย นักเรียนทุกคนในหองจะเปลีย่ นแปลงทัศนคติตอหองเรียนใหเปนไปในทิศทาง.


เดียวกัน คือรวมกันรักษาความสะอาดหองเรียนใหเหมือนกับเปนบานของตนเอง ใหความรวมมือ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตอแนวทางปฏิบตั ทิ งั้ ๓ ขอ หากผูใดละเลย ยินดีใหครูประจําชัน้ วากลาวตักเตือนและพรอมทีจ่ ะปรับปรุง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตนเอง สําหรับเรือ่ งเวรทําความสะอาดหากนักเรียนผูใดทีไ่ มสะดวกตอการเดินทางกลับบานใหยกเวน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
การปฏิบัติหนาที่ในตอนเย็น แตใหปฏิบัติหนาที่ชดเชยในชวงพักกลางวันแทน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๖๖
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๕ หนักเรียนตอบคําถามเกีย่ วกับการพูด นมนาว จ หถูกตอง ñð
และ ด จความสมบูรณ (ท ๓.๑ ม.๓/๕)

๑. การพูดโนมนาวใจมีลักษณะอยางไร การพูดโนมนาวใจเปนการพูดเพื่อเปลี่ยนความเชื่อ..
ทัศนคติ คานิยม และการกระทําของบุคคลอื่น ใหมีความคิดคลอยตามผูโนมนาวใจ .

การทําใหผูอื่นเชื่อวาถาเชื่อหรือทําตามที่ผูโนมนาวใจ
๒. การพูดโนมนาวใจมีหลักการอยางไร …………………………………………………………………………………………………
ชักนําแลวจะไดรับผลตอบสนองตรงกับความตองการพื้นฐานของตนเอง .

๓. บุคคลที่ไดรับความเชื่อถือจากผูอื่นตองมีคุณลักษณะอยางไร มีคุณลักษณะ ๓ ประการ .


คือ ๑. มีความรู ๒. มีคุณธรรม ๓. มีความปรารถนาดีตอผูอื่น .

๔. “สันตะปาปาจอหน ปอล ที่ ๒ กลาววาขออางนั้นเลวรายยิ่งกวาการโกหก ขออางนั้นคือ


การปกปองตัวเองที่โปปด การที่ตองรับฟงขออางของใครบางคนทําใหเราตองเสียความ
รูสึกดีดีที่มีตอกัน ดิฉันวาเสียความรูสึกไป ๑ วินาที ใชเวลาเปนป ก็ไมรูสึกดีเหมือนเดิม
เราจึงมีวิธีการที่จะกําจัดขออางนั้นออกไป หนังสือเลมนี้จะบอกคุณอยางเต็มใจ และ
การเรียกรองและ
ตรงไปตรงมา” การพูดตามที่ยกตัวอยางมานี้เปนการพูดในลักษณะใด ………………………………… ฉบับ
เฉลย
ดึงดูดความสนใจ .

๕. เรื่องที่ควรนํามาพูดโนมนาวใจควรมีลักษณะอยางไร เกี่ยวของหรือเปนประโยชนตอผูฟง.
ถาเปนเรื่องที่กําลังเปนปญหารวมกันของคนในสังคม จะกระตุนและโนมนาวผูฟงไดมาก .
๖. เริ่มจากการสรางความสนใจ ทําใหเห็นวาเปน
การพูดโนมนาวใจนั้นควรเริ่มตนโดยวิธีใด ………………………………………………………………………………………
ความจําเปนแลวใหขอแนะนําที่มองเห็นไดชัดเจน สามารถปฏิบัติตามได .

๗. การพูดโนมนาวใจควรจบลงอยางไร การขอรองวิงวอนหรือเชิญชวนใหกระทําตามจุดมุงหมาย.
ของผูโนมนาวใจหรือผูสงสาร .

๘. การพูดบทสรุปควรพูดอยางไร พูดยํา้ ใหผูฟงเปลีย่ นความเชือ่ เปลีย่ นทัศนคติ อาจจะจบดวย.


คําประพันธหรือวาทะคําคมที่กินใจ ตราตรึงในใจของผูฟง .

๙. การพูดโนมนาวใจควรใชภาษาอยางไร ผูพูดควรใชทัง้ วัจนภาษาและอวัจนภาษา แสดงนํา้ เสียง..


และทาทางใหสอดคลองสัมพันธกับเนื้อหาสาระของเรื่องที่ตองการโนมนาวใจ .

๑๐. ยกตัวอยางการพูดโนมนาวใจทีพ่ บเห็นในชีวติ ประจําวัน การโฆษณาสินคา การรณรงค .


หาเสียง เปนตน .

๖๗
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๖ หนักเรียนอานคําประพันธที่กําหนด แลวตอบคําถาม ห ñð
ด จความสมบูรณ (ท ๓.๑ ม.๓/๕)
ธงชาติไทยไกวกวัดสะบัดพลิ้ว แลริ้วริ้วสลับงามเปนสามสี
ผาผืนนอยบางเบาเพียงเทานี้ แตเปนที่รวมชีวิตและจิตใจ
ชนรุนเยาวยืนเรียบระเบียบแถว ดวงตาแนวนิ่งตรงธงไสว
“ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย” ฟงคราวใดเลือดซานพลานทั้งทรวง
ผืนแผนดินถิ่นนี้ที่พํานัก เราแสนรักและแสนจะแหนหวง
แผนดินไทยไทยตองครองทั้งปวง ชีพไมลวงใครอยาลํ้ามายํ่ายี
เธอรองเพลงชาติไทยมั่นใจเหลือ พลีชีพเพื่อชาติที่รักทรงศักดิ์ศรี
เพลงกระหึ่มกองฟากองธาตรี แมไพรีไดฟงยังถอนใจ
แตสิ่งหนึ่งซึ่งไทยราวใจเหลือ คือเลือดเนื้อเปนหนอนคอยบอนไส
บางหากินบนนํ้าตาประชาไทย บาง กใ ลัทธิชั่วนากลัวเกรง
ทุกวันนี้ศึกไกลยังไมหวง แตหวั่นทรวงศึกใกลไลขมเหง
ฉบับ
ถาคนไทยหันมาฆากันเอง จะรองเพลงชาติไทยใหใครฟง
เฉลย (นภาลัย (ฤกษชนะ) สุวรรณธาดา, ๒๕๑๐)

๑. การพูดโนมนาวใจ หมายถึง การใชคําพูดเพื่อเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติ คานิยมของผูฟงโดย .


ใชทัง้ วัจนภาษาและอวัจนภาษา จนเกิดการยอมรับคลอยตามและเปลีย่ นแปลงตามทีผ่ โนมนาวใจ
ู .
ประสงค .

๒. จากคํานิยาม นักเรียนคิดวาคําประพันธดังกลาวเปนสารโนมนาวใจหรือไม เพราะเหตุใด


ขาพเจาคิดวาคําประพันธดังกลาวเปนสารโนมนาวใจ เพราะผูประพันธไดคัดสรรถอยคําทีไ่ พเราะ .
ทั้งเสียงและความหมายเพื่อสื่อความกับผู รับสารอยางตรงไปตรงมา มีกลวิธีการโนมนาวใจ .
เปนลําดับขั้น เนื้อหาชวงตนสรางอารมณความรู สึกรวมใหเกิดแกผู ฟง โดยใชทอนหนึ่ง .
ของเพลงชาติไทย จากนั้นจึงกลาวถึงขอเท็จจริง คือ แผนดินไทยเปนของคนไทย แตกลับมีคน .
บางกลุ มที่เห็นแกประโยชนสวนตนมากกวาสวนรวม แลวจึงสรุปเพื่อนําเขาสู จุดมุ งหมาย .
ของการโนมนาวใจคือ กระตุนเตือนใหคนไทยรักและสามัคคีกนั ดวยการสรางความรูสึกรักชาติ .
ซึง่ เปนเหตุผลหรือขอเท็จจริงทีไ่ มสามารถปฏิเสธไดและเปนทีป่ ระจักษวา “ถาคนไทยหันมาฆากันเอง .
จะรองเพลงชาติไทยใหใครฟง” ซึ่งเปนกลวิธีที่จะทําใหผูฟงคลอยตามไดเปนอยางดี .

๖๘
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๗ หนักเรียนนําตัวอักษรที่กําหนด ห ปเขียนลง นชองวาง ñõ
หนาขอ ดย หมีความถูกตองและสัมพันธกัน (ท ๓.๑ ม.๓/๖)

ก. มารยาทในการพูดโตวาที ข. มารยาทในการพูดอภิปราย
ค. มารยาทในการพูดโนมนาวใจ


……………… ๑. รักษาเวลาในขณะทีพ่ ดู พยายามพูดใหครบถวนตรงประเด็นและสนับสนุนความ
คิดเห็นของผูรวมกลุม
ข ๒. ไมผูกขาดการพูดคนเดียว ควรเปดโอกาสใหผูอื่นไดพูดบาง
………………
ก ๓. ไมมุงแตเอาชนะจนละเลยความจริงอันเปนธรรม
………………
ข ๔. ยกยองความคิดเห็นของผูพูดคนอื่นๆ
………………
ค ๕. แสดงความเปนมิตรเพื่อเปนการสรางความประทับใจใหแกทุกคนเมื่อแรกพบ
………………
ข ๖. ถาขอคิดเห็นของผูอื่นมีเหตุผลกวา จะตองแสดงความยินดีตอขอคิดเห็นนั้นๆ
………………
ฉบับ
เฉลย
ไมแสดงความไมพอใจ วูวาม ทั้งคําพูดและการกระทํา
ค ๗. กอนพูดตองเก็บขอมูลเกี่ยวกับตัวผูฟงใหมากที่สุด
………………
ข ๘. ไมถือเปนเรื่องบาดหมางกันเมื่อ ายใด ายหนึ่งเปนผูชนะในการพูด
………………
ค ๙. ทําใหผูฟงรูสึกวาตนเปนคนสําคัญ ยกยองดวยความจริงใจ
………………
ข ๑๐. ไมพูดทับถมหรือแสดงภูมิรู ยกตนขมทาน หักลางคําพูดของผูอื่น
………………
ก ๑๑. ควรยึดหลักความจริงและยกเหตุผลที่ถูกตองเหมาะสมมาหักลางกัน
………………

โดยใชวาทศิลปที่คมคายมีขอคิดที่ลึกซึ้งโนมนาวใจผูฟง
ข ๑๒. ปฏิบัติตนใหมีความเปนกันเองกับผูพูดทานอื่นๆ
………………
ค ๑๓. นําเรื่องที่ผูฟงสนใจ คับแคนใจ หรือที่กําลังดีใจ ไดรับความตื่นเตนของผูฟง
………………

มาประกอบการพูด
ข ๑๔. เคารพความคิดเห็นของผูอื่น ถาจะพูดในเชิงขัดแยง ควรพูดอยางมีมารยาท
………………
ก ๑๕. ไมควรเรียกชื่อ ายตรงขาม แตใหเรียกตําแหนงแทน
………………

๖๙
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. ใครเปนผูตัดสินการพูดไดดีที่สุด ๖. ขอใด ม ชหนาที่ของผูดําเนินการอภิปราย


ก. ผูฟง ก. สรุปผล
ข. ประธาน ข. ควบคุม
ค. กรรมการ ค. เสนอแนะ
ง. ผูดําเนินการ ง. จํากัดวงอภิปราย
๒. “ญัตติ” ในการโตวาทีหมายถึงขอใด ๗. ขอใด ม ชมารยาทในการอภิปราย
ก. หัวขอ ก. ตั้งใจฟง
ข. เหตุผล ข. ยอมรับผูอื่น
ค. พูดเปนกันเอง
ค. การขัดแยง
ง. ผูกขาดการพูด
ง. ความคิดเห็น
๘. การศึกษาผูฟงเปนประโยชนอยางไร
ฉบับ
๓. ผูดําเนินการโตวาทีสําคัญอยางไร
ก. เลือกใชถอยคําไดเหมาะสม
เฉลย ก. กําหนดญัตติ
ข. เลือกใชสื่อไดอยางเหมาะสม
ข. กําหนดตัวบุคคล
ค. เลือกเครื่องแตงกายไดเหมาะสม
ค. กําหนดรายละเอียด
ง. เลือกเวลาและสถานที่ไดเหมาะสม
ง. กําหนดใหการโตวาทีเปนไปตามขั้นตอน
๙. ขอใดเปนลําดับขั้นของการพูดโนมนาว
๔. ขอใดเปนลักษณะของการโตวาทีที่ดี ก. ฟง เชื่อ เห็นคุณคา ทําตาม
ก. ใหความรู ข. เชื่อ ฟง เห็นคุณคา ทําตาม
ข. ใหความเพลิดเพลิน ค. ฟง เชื่อ ทําตาม เห็นคุณคา
ค. ใหความรูและความบันเทิง ง. เชื่อ ฟง ทําตาม เห็นคุณคา
ง. ใหความสามารถในการคิดวิเคราะห
๑๐. ขอใด ม ชลักษณะการใชภาษาในการพูด
๕. การอภิปรายมีลักษณะอยางไร โนมนาว
ก. การพูดแสดงความคิดเห็น ก. ขอรอง
ข. การพูดเพื่อวางแผนปฏิบัติงาน ข. สั่งสอน
ค. การพูดเพื่อเผยแพรความคิดเห็น ค. เสนอแนะ
ง. การพูดแลกเปลี่ยนความรูความคิด ง. วิงวอนหรือเราใจ

๗๐
แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู คะแนน ผลการประเมิน


เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๓.๑ ม.๓/๔
กิจกรรมที่ ๒.๑ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๒.๒ ๒๐ .
กิจกรรมที่ ๒.๓ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๒.๔ ๑๕ .

รวม ๕๕
ท ๓.๑ ม.๓/๕
กิจกรรมที่ ๒.๕ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๒.๖ ๑๐ .

รวม ๒๐
ท ๓.๑ ม.๓/๖ ฉบับ
กิจกรรมที่ ๒.๗ ๑๕ . เฉลย
รวม ๑๕
คะแนนรวมทั้งหมด ๙๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๗๕ - ๙๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๖๐ - ๗๔ ๓ ดี
๔๕ - ๕๙ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๔๕ ๑ ปรับปรุง

๗๑
µÍ¹·Õè ๔ ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒä·Â
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๑ ¡ÒÃ㪌¤Òí ã¹ÀÒÉÒä·Â
ประเทศไทยมีสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศทุกภูมิภาคทั่วโลก ในดานตางๆ เชน
การคาขาย ศาสนา ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี เปนตน จนกระทั่งเกิดการรับวัฒนธรรม
ระหวางกันคําที่มีอยูในภาษาไทยจึงไมเพียงพอ จําเปนตองรับคําจากภาษาอื่นเขามาดวย ดังนั้น
คําที่ใชในภาษาไทยจึงมีทั้งคําที่เปนคําไทยแท คําที่มาจากภาษาอื่น และการบัญญัติศัพทขึ้นมาใช
เพื่อใหจํานวนคําเพียงพอตอความตองการและเทคโนโลยีที่พัฒนาเปนลําดับขั้น

กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนหาคําทีม่ าจากภาษาอืน่ นภาษา ทยอยางละ ๑๐ คํา สลง นชองวาง ตามหมวดทีก่ าํ หนด

คําที่ยืมมาจากภาษา หมวด คํา ัพท


ฉบับ
เฉลย
จีน โภชนาการ กุนเชียง กุยชาย เกี้ยมอี๋ โจก จันอับ เย็นตาโฟ
………………………………………………………………………………………………………
โอเลี้ยง แฮกึ๊น ตังโอ ตือฮวน
………………………………………………………………………………………………………

เขมร ศาสนา จังหัน ถวาย บวช สบง อังคาส สรง เปรียญ


………………………………………………………………………………………………………
ระฆัง แพนงเชิง พํานัก
………………………………………………………………………………………………………

อังกฤษ กี า ฟุตบอล รูเล็ตต เนตบอล สกี แร็กเกต สโตรค


………………………………………………………………………………………………………
สไลด ออฟไซด ฮาลฟ โฮลอินวัน
………………………………………………………………………………………………………

บาลี การศึกษา วิชา สิกขา พหูสูต ครู อัจฉริยะ ปฐม วิญ ู


………………………………………………………………………………………………………
ปุจฉา ปจจัย สัพพัญ ู
………………………………………………………………………………………………………

สันสกฤต เบ็ดเตล็ด จันทร พฤหัสบดี ศุกร อาทิตย เมษ พฤษภ


………………………………………………………………………………………………………
กรรณิการ อากาศ ฤดู สวรรค
………………………………………………………………………………………………………

๗๒
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๑ หนักเรียนนําคําภาษาตางประเท ตอ ปนี้เขียนลง นตาราง ñõ
หตรงกับที่มาของคํา (ท ๔.๑ ม.๓/๑)

ทรัพย บุปผา งิ้ว ชอลก ขจร


มฤตยู สมเด็จ อินทรีย ดําริ เตาหู
เซ็น สมาธิ เกง โลมา อังกะลุง
เปยโน แผนก ตะเบะ อิจฉา เทนนิส
หาง กังขา สมัคร กา สกรู
พฤกษา เสวย บุหลัน กํายาน เขง
กุนเชียง เนตบอล ปุจฉา พฤหัสบดี แ กึน
เปรียญ อาทิตย อัยยิกา จํานอง สโตรค
บําเหน็จ อัจฉริยะ กรรณิการ ตือ วน สไลด
บัญชี สกี เมษ เกี้ยมอี วิญ ู
ฉบับ
เฉลย
ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา ภาษา
บาลี สันสก ต เขมร ชวา-มลายู จีน อังก ษ
บุปผา . มฤตยู . สมเด็จ . โลมา . เตาหู . เปยโน .

สมาธิ . สมัคร . ดําริ . อังกะลุง . งิ้ว . เทนนิส .

อิจฉา . ทรัพย . ขจร . กํายาน . หาง . สกรู .

กังขา . อินทรีย . แผนก . บุหลัน . เกง . ชอลก .

กาฬ . พฤกษา . เสวย . ตะเบะ . เขง . เซ็น .

ปุจฉา . พฤหัสบดี . เปรียญ . - . กุนเชียง . เนตบอล .

อัยยิกา . อาทิตย . จํานอง . - . แฮกึ๊น . สโตรค .

อัจฉริยะ . กรรณิการ . บําเหน็จ . - . ตือฮวน . สไลด .

วิญ ู . เมษ . บัญชี . - . เกี้ยมอี๋ . สกี .

๗๓
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๒ หนักเรียนเติมคําลง นชองวาง หถูกตอง (ท ๔.๑ ม.๓/๑) ñð

๑. สระบาลีมี ๘ . ตัว ไดแก …………………………………………………………………………………………………


อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
๑๔ ตัว ไดแก …………………………………………………………………………………………………
๒. สระสันสกฤตมี ………………… อะ อา อิ อี อุ อู ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ เอ ไอ โอ เอา
..

๓. พิจารณาคําที่กําหนดตอไปนี้ คําใดเปนคําที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
อม ต ปุจ า ป า กรี า วิชชา ป ิบัติ ษี บุษบา
อมฤต กรีฑา ฤษี บุษบา ..

๔. พยัญชนะบาลีมี ๓๓ . ตัว พยัญชนะสันสกฤตมี ๓๕ . ตัว โดยเพิม่ ศ .

และ ษ ..

..

ฉบับ ๕. พิจารณาคําที่กําหนดตอไปนี้ คําใดเปนคําที่ยืมมาจากภาษาบาลี


เฉลย
กี า ปุจ า ป า มัธยม วิชชา ป ิบัติ จักขุ บุษบา
กีฬา ปุจฉา ปญญา วิชชา ปฏิบัติ จักขุ ..

๖. พยัญชนะแถวที่ ๑ สะกด พยัญชนะแถว …………………… ๑ ๒


หรือ …………………… วรรค
ใน ………………………
มุตตา อิจฉา
เดียวกันตาม เชน ……………………………………………………………………………………………………………………………………
๗. พยัญชนะแถวที่ ๓ สะกด พยัญชนะแถว ๓ .. หรือ …………………… ๔ วรรค
ใน ………………………
อัคคี มัชฌิม
เดียวกันตาม เชน ……………………………………………………………………………………………………………………………………
๘. พยัญชนะแถวที่ ๕ สะกด พยัญชนะแถว ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ . ใน วรรค .. เดียวกันตาม
กังขา ปญญา
เชน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๙. คําที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต ที่นิยมใชรูป รร เชน ครรภ ดรรชนี บรรพต พรรณนา.
ภรรยา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๑๐. เหตุใดคําเหลานี้ ฤกษ ฤทธิ์ หฤทัย จึงเปนคําที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต เพราะคําทีย่ มื มา..


จากภาษาสันสกฤตที่ใชในภาษาไทยจะใชรูป ฤ ..

๗๔
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๓ หนักเรียนพิจารณาคํา ัพทที่กําหนดวา สามารถ ชคํา ñð
นภาษา ทยแทนวาอยาง ร ดยแตงประ ยคประกอบ
หชัดเจน (ท ๔.๑ ม.๓/๔)

๑.
เขียนทับศัพทวา แฮนดเมด .. ใชคําในภาษาไทยแทนไดวา ทําดวยมือ .

ประโยค ปจจุบนั ผูอุปโภคใหคุณคากับสินคาทีท่ าํ ดวยมือมากกวาสินคาทีผ่ ลิตดวยเครือ่ งจักร ..

๒.
เขียนทับศัพทวา เกสตเฮาส .. ใชคําในภาษาไทยแทนไดวา บานพัก .

ประโยค นักทองเทีย่ วชาวตางชาติเมือ่ มาเมืองไทยมักจะเลือกบานพักในยานบางลําพู ..

ฉบับ
๓. เฉลย
เขียนทับศัพทวา แกง .. ใชคําในภาษาไทยแทนไดวา กลุม .

ประโยค กลุมวัยรุนนัดแขงรถจักรยานยนตในเวลากลางคืน สงเสียงรบกวนชาวบาน ..

๔.
เขียนทับศัพทวา ดิลิเวอรี่ .. ใชคําในภาษาไทยแทนไดวา บริการสง .

ประโยค รานอรชรฟลอเรนสบริการสงดอกไมทั่วประเทศไทย ..

๕.
เขียนทับศัพทวา คอนเฟรม .. ใชคําในภาษาไทยแทนไดวา ยืนยัน .

ประโยค นิพนธยืนยันแลววาโครงการทีเ่ สนอไปนัน้ ไดรับทุนสนับสนุนจากองคกรเอกชนแหงหนึง่ ..

๗๕
กิจกรรมที่ ๑.๔ หนักเรียนเติมคําลง นชองวาง หถูกตองและ ด จความสมบูรณ (ท ๔.๑ ม.๓/๔)

ตอนที่ ๑ หนักเรียนเขียนคําทับ ัพทตอ ปนี้ดวยอักษร ทย พรอมทั้งบอก คะแนนเตม คะแนนที่ ด

ความหมายของคํา õ
๑. ยิปซัม หมายถึง แรชนิดหนึง่ ชือ่ ไฮเดรเตดแคลเซียมซัลเฟต เมือ่ นํามาเผาใหรอนดวยอุณหภูมิ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๑๒๐ C ํ - ๑๓๐ C ํ จะไดผงสีขาว เรียกวา ปูนปลาสเตอร หินฟองเตาหู .
๒. เต็นท หมายถึง ที่พักหรือที่อาศัย ทําดวยผาใบขึงกับเสาหรือหลัก สามารถเคลื่อนยายไปมาได .
.
๓. ฟอสฟอรัส หมายถึง ธาตุชนิดหนึ่งเปนโลหะ ลักษณะเปนของแข็ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
..
๔. ฟอรมาลิน หมายถึง สารละลายซึ่งมีแกสฟอรมัลดีไฮดละลายอยูรอยละ ๔๐ ใชประโยชน.
เปนยาลางเชื้อโรคและดองซากศพ .
๕. พีระมิด หมายถึง สิ่งกอสรางที่มีฐานเปนรูปเหลี่ยมตางๆ ดานขางทั้ง ๔ ขาง เปนรูป..
สามเหลี่ยม มีปลายสุดไปบรรจบกันที่ยอด .

ฉบับ
น เฉลย
พ คะแนนเตม คะแนนที่ ด
ตอนที่ ๒ หนักเรียนพิจารณาคําที่กําหนด หวาบั ัติขึ้นดวยวิธีการ ด ñõ

ล ๑. จิตรกรรม ใชคําศัพทในภาษาสันสกฤตทีม่ คี วามหมายตรงกับคําทีต่ องการบัญญัตมิ าเปนศัพทบัญญัต.ิ


ม โดยใช จิตรฺ กรฺมนฺ ซึง่ เปนศัพทในภาษาสันสกฤต หมายถึง การวาดภาพ ภาพวาด ใชเปนศัพทบัญญัต.ิ
ร แทนภาษาอังกฤษวา painting หมายถึง ภาพวาด การวาดภาพศิลปะ การวาดภาพ .
ม ๒. โทรคมนาคม …………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ใชคํายืมภาษาบาลีและสันสกฤตมาสรางเปนศัพทบัญญัติ โดยใหคําแปลตามรูปศัพท
น ของศัพทบัญญัติที่สรางขึ้น สื่อความหมายสอดคลองกับความหมายโดยรวมของศัพทที่ตองการบัญญัต.ิ
โทรคมนาคม หมายถึง การไปมาในระยะทางที่ไกลๆ เกิดจากการนําคํายืมภาษาบาลี สันสกฤต คือ.
ติ ทูร ซึง่ หมายถึง ไกล, ทางไกล มาผนวกกับ คมนาคม คํายืมในภาษาบาลี สันสกฤต ซึง่ มีความหมายวา.
น การไปมา เพื่อใชเปนศัพทบัญญัติแทนภาษาอังกฤษวา telecommunication ..
ก ๓. อุกกาบาต ใชคําศัพทในภาษาบาลีที่มีความหมายตรงกับคําที่ต องการบัญญัติมาเปนศัพทบัญญัต.ิ
โดยใช อุกกฺ าปาต ซึง่ เปนศัพทในภาษาบาลี หมายถึง การตกลงของลูกไฟ ดาวตก ใชเปนศัพทบัญญัต.ิ
แทนภาษาอังกฤษวา meteorite หมายถึง ดาวตกที่เผาไหมกับบรรยากาศของโลกไมหมด เหลือเปน.
ชิ้นสวนตกถึงโลก ..

๗๖
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๕ หนักเรียนคนหาคํา พั ทของวิชาชีพหรือคํา พั ทวิชาการ ñð
นหมวดตามที่กําหนด (ท ๔.๑ ม.๓/๕)

หมวด คํา ัพท


คณิตศาสตร อนุกรม คะแนนมาตรฐาน ภาวะเทากัน การแปลงผัน ระนาบแกน ..
..

ทันตแพทย สารขัด สะพานฟน จุดแยกสองราก เหงือกรน ฟนปลอมติดแนน ..


..

ประกันภัย คาบําเหน็จ เบี้ยประกันแทจริง กรมธรรมผูขับขี่ ชวงชั้นปกติ การเปนตัวแทน ..


..

ปรัชญา อัตตานิยม อุปนัย มนุษยนิยม เจตจํานงเสรี จริยศาสตร ..


..
ฉบับ
นักปกครอง การผูกขาด เขตเมือง องคประชุม นิรโทษกรรม สมัยประชุมวิสามัญ .. เฉลย
..

เศรษฐศาสตร กลไกราคา การกระจายรายได การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ภาวะเงินเฟอ ..


อุปสงค ..

ประชากรศาสตร ทะเบียนเกิด การวางแผนครอบครัว ประเทศที่กําลังพัฒนา ความทุพพลภาพ..


ทางจิต ครอบครัวมูลฐาน ..

สังคมวิทยา บรรทัดฐาน คานิยม กลุมชาติพันธุ การครอบงําทางชนชั้น การแพรกระจาย..


ทางวัฒนธรรม ..

รัฐศาสตร กิจกรรมบอนทําลาย ความเปนเอกฉันท ศาลแหงอาณาเขต การถอดถอนผูไดรับ..


เลือกตั้ง การออกเสียงประชามติ ..

คอมพิวเตอร การประชุมทางโทรศัพท การประมวลผลออนไลน การศึกษาออนไลน จอสัมผัส..


และเทคโนโลยี ชองรับสงผานสัญญาณ ..

๗๗
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๖ หนักเรียนอธิบายความหมายของคํา ัพททางวิชาการ น ñõ
สาขาทีก่ าํ หนด ห ดยนักเรียนอาจอางอิง ดจากพจนานุกรม
รวบรวมคํา ัพทหมวดวิชาตาง บับราชบัณ ิตยสถาน
(ท ๔.๑ ม.๓/๕)

๑. สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
สาขาหนึ่งของสังคมวิทยาที่นําแนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาและระเบียบวิธีวิจัย.
มาอธิบายและวิเคราะหสภาพการณของอุตสาหกรรม รวมถึงศึกษาความสัมพันธระหวางองคกร.
ตางๆ ซึ่งนําไปสูความเชื่อมโยงของปรากฏการณทางอุตสาหกรรมและสถาบันทางสังคมอื่นๆ.
การวิจัยอยางเปนระบบของสาขานี้ไดเริ่มจากการศึกษาของกรณีโรงงานที่เมืองฮอวทอรน.
ในสหรัฐอเมริกา เมื่อ ค.ศ. ๑๙๓๐ และตอมาในยุโรปหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ .

ฉบับ ๒. ครอบครัวเดี่ยว
เฉลย ครอบครัวที่ประกอบดวยชายและหญิงที่มีความสัมพันธทางเพศโดยสังคมยอมรับ.
และบุตรที่ยังไมไดแตงงานหรืออาจเปนบุตรบุญธรรมก็ได ครอบครัวเดี่ยวเปนหนวยพื้นฐาน.
ทางสังคมซึง่ เปนหนวยยอยทีส่ ดุ เล็กทีส่ ดุ มีสมาชิกนอยทีส่ ดุ เปนรากฐานของหนวยทางสังคม.
ขนาดใหญขึ้นไปทั้งในดานจํานวนประชากร ดานเศรษฐกิจ และในการสืบทอดวัฒนธรรม .
.

๓. ตลาดแรงงาน
กลไกทีท่ าํ ใหมีการตกลงซือ้ ขายปจจัยแรงงานระหวางเจาของปจจัยคือ แรงงานกับผูทีม่ .ี
ความตองการปจจัยแรงงานคือ หนวยผลิตหรือนายจาง โดยมีการกําหนดอัตราคาจางและเงือ่ นไข.
ตางๆ ในการทํางาน ซึง่ การตกลงวาจางอาจทําสัญญาเปนลายลักษณอักษรหรือไมก็ได ขึน้ อยูกับ.
กฎหมายที่ใชบังคับอยูในขณะนั้น และความพอใจของทั้งสองฝาย ซึ่งในที่นี้หมายถึง ผูวาจาง.
และผูถูกวาจาง .

๗๘
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. คํายืมภาษาใดเกี่ยวของกับการกิน ๖. คํายืมภาษาชวาเขามาพรอมวรรณคดีใด
ก. ภาษาจีน ก. รามเกียรติ์
ข. ภาษาเขมร ข. ระเดนลันได
ค. ภาษาอังกฤษ ค. ลิลิตเพชรมงกุ
ล. ภาษาชวา-มลายู ง. ดาหลังและอิเหนา
๒. วิญญาณ ยืมมาจากภาษาใด ๗. ขอใดคือลักษณะของภาษาชวา-มลายู
ก. สันสกฤต ก. เปนคําโดด
ข. เขมร ข. ใชรูปวรรณยุกตเอก โท
ค. ไมมีเสียงพยัญชนะควบกลํ้า
ค. บาลี
ง. เปนคําที่แสดงถึงวัฒนธรรมประเพณี
ง. ชวา
๘. คํายืมทีม่ าจากภาษาอังกฤษเริม่ เขามาในสมัยใด
๓. ขอใดยืมมาจากภาษาสันสกฤต ฉบับ
ก. รัชกาลที่ ๒-๓
ก. อัช าสัย เฉลย
ข. รัชกาลที่ ๓-๔
ข. พฤกษา
ค. รัชกาลที่ ๔-๕
ค. บรรทัด
ง. รัชกาลที่ ๕-๖
ง. อิจฉา
๙. คําทับศัพทมีลักษณะอยางไร
๔. คําในขอใดเปนคํายืมมาจากภาษาเขมร ก. ยืมมาใชโดยไมมีการปรับปรุงแกไข
ก. บูรณะ ข. ยืมมาปรับเปลี่ยนโครงสรางของคํา
ข. มรกต ค. ยืมมาปรับเปลี่ยนวิธีการออกเสียง
ค. เพชร ง. ยืมมาปรับเปลี่ยนความหมาย
ง. เพลิง
๑๐. ศัพทบัญญัติใชคําในภาษาใดมาประกอบขึ้น
๕. ขอใดเปนคํายืมมาจากภาษาจีน เปนคําใหม
ก. เกะ ก. ภาษาอังกฤษ
ข. ตะเบะ ข. ภาษาชวา-มลายู
ค. บรรจง ค. ภาษาบาลี สันสกฤต
ง. เพนียง ง. ภาษาจีนและอังกฤษ

๗๙
แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู คะแนน ผลการประเมิน


เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๔.๑ ม.๓/๑
กิจกรรมที่ ๑.๑ ๑๕ .
กิจกรรมที่ ๑.๒ ๑๐ .

รวม ๒๕
ท ๔.๑ ม.๓/๔
กิจกรรมที่ ๑.๓ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๑.๔ ๒๐ .

รวม ๓๐
ท ๔.๑ ม.๓/๕
กิจกรรมที่ ๑.๕ ๑๐ .
ฉบับ กิจกรรมที่ ๑.๖ ๑๕ .
เฉลย รวม ๒๕
คะแนนรวมทั้งหมด ๘๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๗๐ - ๘๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๕๕ - ๖๙ ๓ ดี
๔๐ - ๕๔ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๔๐ ๑ ปรับปรุง

๘๐
µÍ¹·Õè ๔ ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒä·Â
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๒ ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐˏÀÒÉÒ

การศึกษาภาษาไทยเพื่อสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูเรียนตองมีความรู ความเขาใจ


ในเรื่องของประโยคและระดับภาษา สามารถวิเคราะหแยกแยะเพื่อทําความเขาใจในเนื้อหาสาระ
และรวมถึงเลือกใชไดอยางถูกตอง ชวยทําใหการสื่อสารสัมฤทธิผล เสริมสรางความเขาใจอันดี
ระหวางผูสงสารและผูรับสาร

กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนอานขอความทีก่ าํ หนด จากนัน้ วิเคราะห ครงสรางประ ยคและระดับภาษา

๑. ผูแทนเยาวชนไทยเดินทางไปกลุมประเทศสมาชิกอาเซียน
ขอความนี้เปนประโยคชนิด ประโยคสามัญมีกริยาวลีเดียว ..
ฉบับ
ขอความนี้ใชภาษาระดับ ทางการ .. เฉลย
๒. เขาตะคอกคนใชใหชวยเก็บเสื้อผายัดใสกระเปา
ขอความนี้เปนประโยคชนิด ประโยคซอนที่มีอนุประโยคทําหนาที่เปนกรรม ..

ขอความนี้ใชภาษาระดับ ไมเปนทางการ ..

๓. ปดภาคเรียนแลวเธอจะไปเที่ยวหรือไปเรียนกวดวิชา
ขอความนี้เปนประโยคชนิด ประโยครวม ..

ขอความนี้ใชภาษาระดับ กึ่งทางการ ..

๔. คุณยาของผมปลูกพืชและเลี้ยงสัตวปกไวเก็บไขเปนอาหาร
ขอความนี้เปนประโยคชนิด ประโยครวม ..

ขอความนี้ใชภาษาระดับ ทางการ ..

๕. อาหารที่รับประทานวันนี้มีรสชาติดีมาก
ขอความนี้เปนประโยคชนิด ประโยคซอนที่มีคุณานุประโยค ..

ขอความนี้ใชภาษาระดับ ทางการ ..

๘๑
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๑ หนักเรียนวิเคราะห ครงสรางของประ ยคที่กําหนด ñõ
หถูกตอง (ท ๔.๑ ม.๓/๒)

๑. มนุษยและสัตวเปนสิ่งมีชีวิตอยูกันเปนหมูคณะจําเปนตองมีผูนําเกิดขึ้นตามธรรมชาติ
ภาคประธาน ภาคแสดง
มนุษยและสัตวเปนสิ่งมีชีวิตอยูกันเปนหมูคณะ จําเปนตองมีผูนําเกิดขึ้นตามธรรมชาติ
…………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………

๒. การทองเที่ยวมิใชใหประโยชนแคเพียงความสนุกเพลิดเพลินเทานั้นแตยังใหความรูเกี่ยวกับ
วัฒนธรรมทองถิ่นอีกดวย
ประ ยคสามั คําเชื่อม ประ ยคสามั
การทองเที่ยวมิใชใหประโยชนแคเพียง แต
.. ………………… การทองเที่ยวยังใหความรูเกี่ยวกับ ..

ฉบับ ความสนุกเพลิดเพลินเทานั้น .. ………………… วัฒนธรรมทองถิ่นอีกดวย ..


เฉลย
ภาคประธาน ภาคแสดง คําเชื่อม ภาคประธาน ภาคแสดง

การทองเที่ยว .. มิใชใหประโยชนแค .. แต
………………… การทองเที่ยว .. ยังใหความรูเกี่ยวกับ..
.. เพียงความสนุก .. ………………… .. วัฒนธรรมทองถิ่น ..
.. เพลิดเพลินเทานั้น .. ………………… .. อีกดวย ..

๓. ผูวาราชการจังหวัดกําลังตรวจถนนในหมูบานที่สรางใหมหลังนํ้าทวม
ประ ยคหลัก คําเชื่อม ประ ยคยอย
ผูวาราชการจังหวัดกําลังตรวจถนน ที่
.. ………………… ถนนในหมูบานสรางใหมหลังนํ้าทวม ..
ในหมูบาน .. ………………… ..

ภาคประธาน ภาคแสดง คําเชื่อม ภาคประธาน ภาคแสดง

ผูวาราชการจังหวัด .. กําลังตรวจถนน ที่


.. ………………… ถนนในหมูบาน .. สรางใหมหลังนํ้าทวม..
.. ในหมูบาน .. ………………… .. ..

๘๒
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๒ หนักเรียนเปลี่ยนประ ยคตอ ปนี้ หถูกตองตามระดับภาษา ñõ
(ท ๔.๑ ม.๓/๓)
ภาษา มเปนทางการ ภาษากึ่งทางการ ภาษาทางการ

ใหตังคมาแคน้ไมพอยาไสหรอก ใหเงินมานิดเดียวซื้ออะไรไมได .. ใหเงินมานอยใชจายไมพอ ..

เรือดิ่งเจาพระยานักเรียนดับ .. เรือคว่ํากลางแมน้ําเจาพระยา เรือลมกลางแมนํ้าเจาพระยา ..


๓ ศพ .. นักเรียนตาย ๓ ศพ นักเรียนเสียชีวิต ๓ ศพ ..

ระนองเปดศึก อบจ. คัพ .. ระนองเปดแขงขันฟุตบอล .... จังหวัดระนองจัดการแขงขัน


.. อบจ. คัพ .. ฟุตบอลชิงถวยองคการบริหาร
.. ………………………………………………………… สวนจังหวัด

พายุซัดถลมพินาศ ๓ จว. อวม พายุพัดถลม ๓ จังหวัด .... ลมพายุพัดกระหนํ่า ๓ จังหวัด..


หลายรอยหลังพัง เดือดรอนหนัก บานเรือน
………………………………………………………… เสียหายหนัก บานเรือน .. ฉบับ
เฉลย
เสียหายกวารอยหลัง .. ประชาชนพังเสียหาย ..

………………………………………………………… หลายรอยหลังคาเรือน ..

ลือกันวาปหนานํ้าจะมาอีกแลว .. เลากันวาปหนาน้ําจะทวมอีก มีขาววาในปหนาจะมีอุทกภัย ..


ชาวบานยังไมรู .. แตยังไมมีใครบอกให เกิดขึน้ อีก แตยังไมมีใครแจงให..
.. ประชาชนเตรียมตัว ประชาชนเตรียมรับสถานการณ..

เอ็งทํางานพรรคน้ไดยังไง เอ็งทํางานแบบนี้ไดยังไง
………………………………………………………… คุณทํางานประเภทนี้ ..

………………………………………………………… ไดอยางไร ..

เสื้อเนี่ย สวยมาก แตราคาแพงจัง.. เสื้อตัวน้ สวยมาก แตราคา เสื้อตัวนี้ สวยมาก แตราคาสูง..


.. สูงจัง เกินไป ..

ไปกินขาวกันมั้ย ไปกินอาหารกัน ไปรับประทานอาหารกัน ..

๘๓
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๒.๓ ประ ยคที่กําหนด หตอ ปนี้ ชระดับภาษาถูกตองหรือ ม ñð
เพราะเหตุ ดและแก ข หถูกตอง (ท ๔.๑ ม.๓/๓)

๑. “ผมใครเรียนใหทุกทานทราบวา ผมไมมีกะตังคเลยสักแดงเดียว หนีท้ ตี่ ดิ ขอผัดผอนไปกอน


ใชภาษาไมถูกระดับ เพราะภายในประโยคปรากฏทั้งคํา
นะโวย” (พูดกับเพื่อนรวมงาน) ……………………………………………………………………………………………………………
ในระดับทีเ่ ปนทางการ คือ ผม ใครเรียน ทุกทาน ทราบวา และภาษาในระดับทีไ่ มเปนทางการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เชน กะตังค แดงเดียว โวย ควรแกไขเปน “ผมขอแจงใหทุกคนทราบวา ตอนนี้ผมไมมีเงินเลย..
หนี้สินที่คางชําระขอเลื่อนไปกอนนะครับ” ..

๒. “จาคอยคุณปูอยูเปนนมเปนนาน ไมเห็นออกมาซักที จาเลยไปเลนกับนองหนึง่ ทีอ่ ยูขางบาน


ใชภาษาไมถูกระดับ เพราะผู พูด
คุณปูอยาหงุดหงิดไปเลยนะ” (หลานสาวพูดกับคุณปู) ………………………………………………………………
มีอาวุโสนอยกวาผูฟง ดังนั้นถอยคําที่ใชจึงควรสุภาพและแสดงความเคารพ คําที่ไมควรใช..
เชน เปนนมเปนนาน หงุดหงิด ควรแกไขเปน “จาคอยคุณปูอยูสกั ครูหนึง่ แตไมเห็นคุณปูออกมา..
จาจึงไปเลนกับนองหนึ่งที่อยูขางบาน คุณปูอยาโกรธนะคะ”
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ฉบับ ๓. “ในวาระวันขึ้นปใหม อิ๋งขออวยพรใหคุณพอมีสุขภาพแข็งแรง มีความสุขมากๆ อายุมั่น


เฉลย ใชภาษาไมถูกระดับ เพราะผูพูด
ขวัญยืน อยาเจ็บ อยาจนนะคะ” (ลูกสาวพูดกับคุณพอ) ……………………………………………………………
มีอาวุโสนอยกวาผูฟง การอวยพรใหแกผูมีอาวุโสสูงกวา ควรกลาวอางใหสิ่งศักดิ์สิทธิ์เปน.
ผูประสาทพรแทน ควรแกไขเปน “ในวาระขึน้ ปใหม อิง๋ ขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัยอภิบาล..
บันดาลดลใหคุณพอมีสุขภาพรางกายและจิตใจที่แข็งแรงสมบูรณนะคะ”
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๔. “พร รายงานการประชุมทีเ่ ธอตองการ เราวางไวใหบนโตะแลวนะจะ” (ลูกนองคุยกับหัวหนางาน


ซึ่งเปนเพื่อนสมัยเรียนมหาวิทยาลัย ในสถานการณนี้มีผูรวมงานคนอื่นรวมอยูดวย)
ใชภาษาไมถูกระดับ เพราะถึงแมจะเปนเพือ่ นกัน แตสถานทีไ่ มใชทีส่ วนตัวและมีผอืู น่ รวมอยูดวย..
จึงควรใชภาษาใหถูกระดับ ใหเกียรติความอาวุโสในตําแหนงหนาที่ ควรแกไขเปน “คุณพรคะ..
รายงานการประชุมที่ตองการเสร็จเรียบรอยแลว ดิฉันวางไวใหบนโตะทํางานคะ”
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๕. “ไมเห็นจะยากเลย สมัยนี้ใครๆ เคาก็เลน Facebook กันเปนหมดแลวจารย เดี๋ยวหนู


สอนใหก็ได” (ครู กสอนพูดกับอาจารย) ใชภาษาไมถูกระดับ เพราะผูพูดมีความอาวุโสนอยกวา..
ผูฟง ทั้งวัยวุฒิและคุณวุฒิ คําพูดแสดงความกาวราวและไมเคารพ ควรแกไขเปน “ไมยากหรอก..
คะอาจารย การเลน Facebook ถาอาจารยตองการสมัคร เดี๋ยวหนูชวยแนะนําใหไดคะ” ..
..

๘๔
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. ประโยคหมายความวาอยางไร ๖. “คุณพอบอกลูกๆ วาทุกคนตองเขมแข็งอดทน


ก. กลุมคําที่มีความหมาย รวมมือรวมใจกันฝาฟนกับภัยธรรมชาติที่เกิด
ขึน้ จนยากทีจ่ ะแกไขได” ขอความนีเ้ ปนประโยค
ข. กลุมคําที่มีใจความสมบูรณ
ชนิดใด
ค. กลุมคําที่แสดงความคิดและอารมณ ก. ประโยคซอน
ง. กลุมคําที่แสดงความคิดเห็นที่สมบูรณ ค. ประโยครวมที่ซับซอน
๒. ขอใดคือสวนประกอบประโยคสามัญ ค. ประโยคซอนที่ซับซอน
ก. ประธาน คําเชื่อม ง. ประโยคสามัญที่ซับซอน
ข. ประธาน กริยา ๗. การเขียนขอใด ม ชภาษากึ่งแบบแผน
ค. ประธาน ก. เขียนขาว
ข. เขียนบันทึก
ง. กริยา
ค. เขียนจดหมาย
๓. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับประโยคซอน ง. หนังสือราชการ ฉบับ
ก. มุขยประโยคและอนุประโยค ๘. ขอใดเปนภาษาแบบแผน เฉลย
ข. นามานุประโยคและคุณานุประโยค ก. มอเตอรไซค
ค. นามานุประโยคและวิเศษณานุประโยค ข. โรงหนัง
ง. วิเศษณานุประโยคและนามานุประโยค ค. ตัวหนัง
ง. อัคคีภัย
๔. ขอใดคือจุดเดนของประโยครวม
๙. ขอใดเปนสรรพนามบุรุษที่ ๒ ในการพูด
ก. มีสองประโยค กับสมเด็จพระราชาคณะ
ข. มีสันธานเชื่อม ก. พระคุณเจา
ค. แยกประโยคได ข. ทานพระเดช
ง. มีความเปนอิสระ ค. ทานเจาประคุณ
ง. พระเดชพระคุณ
๕. ประโยคใดใหเลือกอยางใดอยางหนึ่ง
ก. แมวจะไปตางจังหวัดหรืออยูบาน ๑๐. ขอใดคือคําสุภาพของ “ปลาสลิด”
ก. ปลาหาง
ข. ภาครัฐและภาคเอกชนตางรวมมือกัน
ข. ปลายาว
ค. กวางชอบเลนกี าแตปูชอบเลนดนตรี ค. ปลาใบไม
ง. แพรและแพรวอพยพไปอยูตางจังหวัด ง. ปลามัจฉะ

๘๕
แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู คะแนน ผลการประเมิน


เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๔.๑ ม.๓/๒
กิจกรรมที่ ๒.๑ ๑๕ .

รวม ๑๕
ท ๔.๑ ม.๓/๓
กิจกรรมที่ ๒.๒ ๑๕ .
กิจกรรมที่ ๒.๓ ๑๐ .

รวม ๒๕
คะแนนรวมทั้งหมด ๔๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๒ ๑๐
ฉบับ
เฉลย
เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๓๒ - ๔๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๒๖ - ๓๑ ๓ ดี
๒๐ - ๒๕ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๒๐ ๑ ปรับปรุง

๘๖
µÍ¹·Õè ๔ ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒ
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๓ »ÃÐàÀ·â¤Å§ÊÕ
¡ÒÃᵋ§º·ÃŒÍ¡Ãͧ
Êè ÀØ Ò¾
โคลงเปนบทรอยกรองเกาแกของไทย ซึ่งมีประวัติมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา การแตง
บทรอยกรองไมวาประเภทใดก็ตาม ฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละประเภทและความแตกฉาน
เรื่องการใชคําในภาษาไทยเปนเรื่องที่ผู แตงควรใหความสําคัญและเรียนรู อยางลึกซึ้ง เพื่อให
บทรอยกรองที่แตงมีความถูกตองตามฉันทลักษณและมีคุณคาทางวรรณศิลป

กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนเติมคําลง นชองวาง ห ด จความถูกตองและสมบูรณ

๑. โคลงสี่สุภาพ ๑ บท มี ๔ . บาท ๑ บาท มี ๒ .. วรรค


วรรคหนา ๕ คํา
มี ………………… วรรคหลัง มี ๒ .. คํา ฉบับ
เฉลย
วรรคสุดทายมี ๔ คํา โดยที่ทายบาทที่ ๑ และ ๓ มีคําสรอยได บาทละ ๒ คํา
๗ ของบาทที่ …………………
๒. สัมผัสคูที่ ๑ ของโคลงสี่สุภาพคําที่ ………………… ๑
สัมผัสกับคําที่ ๕ ของบาทที่ …………………
………………… ๒
สัมผัสคูที่ ๒ คือคําที่ ๗ ของบาทที่ …………………
………………… ๑
สัมผัสกับคําที่ ๕ ของบาทที่ …………………
………………… ๓
สัมผัสคูที่ ๓ คือคําที่ ๗ ของบาทที่ …………………
………………… ๒
สัมผัสกับคําที่ ๕ ของบาทที่ …………………
………………… ๔
๓. คําสรอยเติมไดในบาทที่ ๑ และบาทที่ …………………
………………… ๓
๔. โคลงสี่สุภาพมีจํานวนคําเอก ๗ แหง คําโท …………………
………………… ๔ แหง
โคลงนิราศหริภุญไชย ลิลิตพระลอ
๕. วรรณคดีที่แตงดวยโคลงสี่สุภาพ เชน ………………………………………………………………………………………………
โคลงนิราศนรินทร กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง .

๘๗
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๑ หนักเรียนอาน คลงสี่สุภาพที่กําหนด จากนั้น หอธิบาย ñð
ลักษณะเ พาะทาง นั ทลักษณของคําประพันธ (ท ๔.๑ ม.๓/๖)

๑. เสียสินสงวนศักดิ์ไว วงศหงส
เสียศักดิ์สูประสงค สิ่งรู
เสียรูเรงดํารง ความสัตย ไวนา
เสียสัตยอยาเสียสู ชีพมวยมรณา
(โคลงโลกนิติ : สมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร)

ใชคําตายแทนคําเอก คือ วรรคหนาคําที่ ๔ บาทที่ ๑ คือ “ศักดิ์” วรรคหนาคําที่ ๒ .


บาทที่ ๒ คือ “ศักดิ”์ วรรคหลังคําที่ ๒ บาทที่ ๓ คือ “สัตย” และวรรคหนาคําที่ ๒ วรรคหลังคําที่ ๑ .
ในบาทที่ ๔ คือ “สัตย” และ “ชีพ” .
ฉบับ
เฉลย .

๒. เชิญดูตูคาเหลน โคลงโลด โผนเทอญ


ยกคอยอประโยชน เคาเหยี้ยง
เอกโทษทอยโทโทษ เทียบใฮ
แปรแซรงแปลงถูกเถี้ยง ทวนถี้ดีแสดง
(สามกรุง : น.ม.ส.)

บาทที่ ๑ มีคําเอกโทษ คือ คา (ขา) มีคําโทโทษ คือ เหลน (เลน) .

บาทที่ ๒ มีคําเอกโทษ คือ คอ (ขอ) เคา (เขา) มีคําโทโทษ คือ เหยี้ยง (เยี่ยง) .

บาทที่ ๓ มีคําเอกโทษ คือ ทอย (ถอย) และใฮ (ให) .

บาทที่ ๔ มีคําเอกโทษ คือ แซรง (แสรง) และทวน (ถวน) มีคําโทโทษคือ เถี้ยง (เที่ยง) และถี้ (ที่) .

๘๘
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๒ หนักเรียนอาน คลงสี่สุภาพที่กําหนด จากนั้น หอธิบาย ñõ
ลักษณะเ พาะทางวรรณ ิลปและรวมถึงประ ยชนของ
การเลือก ชวรรณ ิลปลักษณะดังกลาว (ท ๔.๑ ม.๓/๖)

๑. กลองทองตีครุมครึ้ม เดินเรียง
ทาตะเติงเติงเสียง ครุมครื้น
เสียงปรี่เรื่อยเพียง การเวก
แตรนแตรแตรฝรั่งขึ้น หวูหวูเสียงสังข

ลักษณะทางวรรณศิลปที่โดดเดน คือการใชคําเลียนเสียงธรรมชาติหรือ สัทพจน ในที่นี้ .


คือ การเลียนเสียงเครื่องดนตรี ไดแก กลอง แตร และสังข ซึ่งการใชคําเลียนเสียงธรรมชาติทําให .
คําประพันธมีความไพเราะและชวยสรางจินตภาพใหแกผูอานและผูฟง .

๒. เสียงสรวลระรี่นี้ เสียงใด
เสียงนุชพี่ฤๅใคร ใครรู ฉบับ
เสียงสรวลเสียงทรามวัย นุชพี่ เพียงแม เฉลย
เสียงบังอรสมรผู อื่นนั้นฤๅมี

ลักษณะทางวรรณศิลปที่โดดเดน คือการใชคําไวพจนหรือคําที่มีรูปลักษณตางกัน แตมี.


ความหมายเดียวกัน ไดแก นุช ทรามวัย บังอร สมร ซึ่งทั้งหมดมีความหมายถึง ผูหญิง ซึ่งการใช .
คําไวพจนจะทําใหผูประพันธมีคําใชมากพอสําหรับการประพันธ .

๓. หลายครามาสูสู ศึกหลวง
ไปบไหวหวั่นทรวง เชนนี้
ยิ่งนึกยิ่งหนักดวง แดพรั่น อยูนา
แหนงประหลาดแลวกี้ กอนไซรไปเคย

ลักษณะทางวรรณศิลปที่โดดเดน คือการเลนเสียงวรรณยุกตมีโครงสรางคําเหมือนกัน.
แตมีสวนตาง คือ รูปวรรณยุกต เอก โท ในคําวา “สู” “สู” ซึ่งลักษณะดังกลาวจะทําใหคําประพันธ .
มีความไพเราะ และมีลักษณะบังคับตรงตามฉันทลักษณ .

๘๙
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๓.๓ หนักเรียนสังเกตพ ติกรรมของมนุษย สิ่งแวดลอมที่อยู ñõ
รอบตัว นําขอมูลที่ ดจากการสังเกตมาบันทึกเปนรอยแกว
จากนั้ น หนํ า ขอมู ล มาแตงดวยคํ า ประพั น ธประเภท
คลงสี่สุภาพ คัดดวยลายมือตัวบรรจงเตมบรรทัด ดย ช
รูปแบบตัวอักษรแบบอาลักษณ (ท ๔.๑ ม.๓/๖)

ในยามเย็นขณะที่ข าพเจา นั่งอยู ที่บริเวณทานํ้าของบานคุณปู ที่จังหวัดลพบุรี นั่งมอง .


สายนํ้ า ของแมนํ้ า ลพบุ รี ไ หลผานเอื่ อ ยๆ เมื่ อ นั่ ง ทบทวนเกี่ ย วกั บ การเดิ น ทางของชี วิ ต กั บ การ .
เดินทางของแมนํ้า การขึ้นลงของพระอาทิตยกับจิตใจของมนุษย ทําใหขาพเจาไดพบสัจธรรม .
ของชี วิ ต มนุ ษ ย ซึ่ ง ไมตางอะไรจากธรรมชาติ กลาวคื อ ในยามที่ พ ระอาทิ ต ยใหแสงสวาง .
สองทางแกสรรพชีวิตในโลก ก็เหมือนกับสัจธรรมขององคพระสัมมาสัมพุทธเจาที่สองทางมนุษย .
ใหหลุ ด พนวั ฏ สงสาร คื อ การเวี ย นวายตายเกิ ด แตเมื่ อ ใดที่ พ ระอาทิ ต ยตกลงจากฟากฟา.
กลายเปนราตรี กาล ความมื ด ดํ าเขาครอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ก็ ค งไมตางอะไรกั บ จิ ต ใจของมนุ ษ ย .
ที่ถูกกิเลสเขาครอบงํา ละทิ้งกุศลมูล คือ การประพฤติธรรมทําใหชีวิตมืดมนสิ้นหนทาง .
ฉบับ
เฉลย

สุริยาเพ็ญภาคยเพี้ยง สัจธรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สองวัฏสงสารนํา หลุดพน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลินลาศสุธาดํา- เนินลัย โลกเฮย


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

หนึ่งทุรชนนิราศรน เริศรางกุศลมูล
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
๙๐
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๓
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. วรรณคดีไทยเลมแรกที่ปรากฏบทรอยกรอง ๖. โคลงสี่สุภาพบทหนึ่งใชคําไมเกินกี่คํา
ประเภทโคลง คือเรื่องใด ก. ๓๐ คํา
ก. ลิลิตพระลอ ข. ๓๒ คํา
ข. พระนลคําหลวง ค. ๓๔ คํา
ค. มหาชาติคําหลวง ง. ๓๖ คํา
ง. ลิลิตโองการแชงนํ้า ๗. โคลงสี่สุภาพบทหนึ่งบังคับคําเอก คําโทกี่แหง
ก. เอก ๔ โท ๗
๒. ลักษณะบังคับใดปรากฏในโคลง
ข. เอก ๗ โท ๔
ก. เอก โท ค. เอก ๔ โท ๕
ข. ครุ ลหุ ง. เอก ๕ โท ๔
ค. สัมผัสใน
๘. วรรณคดีเรื่องใดถือเปนโคลงครู
ง. เสียงทายวรรค ก. พระอภัยมณี
๓. ขอใด มจัดอยูในประเภทโคลงดั้น ฉบับ
ข. ลิลิตพระลอ เฉลย
ก. โคลงวิวิธมาลี ค. อิเหนา
ข. โคลงสินธุมาลี ง. ดาหลัง
ค. โคลงบาทกุญชร ๙. ตําแหนงคําเอกใชคําชนิดใดแทนได
ง. โคลงตรีพิพิธพรรณ ก. ครุ
๔. โคลงกระทูมีลักษณะอยางไร ข. ลหุ
ก. โคลงสองสุภาพ ค. คําเปน
ข. โคลงสามสุภาพ ง. คําตาย
ค. โคลงจัตวาทัณฑี ๑๐. “กลุมคําที่จัดใหมีลักษณะตรงตามรูปแบบ
ง. โคลงสี่สุภาพที่มีเนื้อหาตามหัวขอที่ตั้งไว ฉันทลักษณของรอยกรองแตละประเภท”
ขอความนี้กลาวถึงลักษณะบังคับของ
๕. โคลงกลบทมีลักษณะอยางไร
โคลงสี่สุภาพในขอใด
ก. โคลงที่เพิ่มบังคับคําที่มีความหมาย
ก. สัมผัส
ข. โคลงที่เพิ่มบังคับคําพิเศษตางๆ ข. คําเอก
ค. โคลงที่เพิ่มบังคับสัมผัสพิเศษ ค. คําโท
ง. โคลงที่เพิ่มบังคับคณะพิเศษ ง. คณะ

๙๑
แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู คะแนน ผลการประเมิน


เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๔.๑ ม.๓/๖
กิจกรรมที่ ๓.๑ ๑๐ .
กิจกรรมที่ ๓.๒ ๑๕ .
กิจกรรมที่ ๓.๓ ๑๕ .

คะแนนรวมทั้งหมด ๔๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๓ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
ฉบับ คะแนนเต็ม ๓๐ - ๔๐ ๔ ดีมาก
เฉลย ๒๕ - ๒๙ ๓ ดี
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม
๒๐ - ๒๔ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๒๐ ๑ ปรับปรุง

๙๒
µÍ¹·Õè ๕ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ๑ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ
วรรณคดีเปนผลงานที่สรางสรรคขึ้นอยางมีศิลปะและสืบทอดตอๆ กันมา ทั้งในลักษณะ
ของวรรณกรรมมุขปาฐะและลายลักษณอักษร จนกระทั่งกลายเปนมรดกทางวัฒนธรรมอันทรง
คุณคา เมื่ออานแลวทําใหไดรับความเพลิดเพลิน จรรโลงและยกระดับจิตใจใหหลุดพนจากอวิชชา
และความเศราหมองทัง้ ปวง ควรทีอ่ นุชนรุนหลังจะศึกษาอยางลึกซึง้ และนําขอคิดที่ไดรับไปปรับใช
ใหเกิดประโยชนในชีวิตประจําวัน
กิจกรรมฝกทักษะ

หนักเรียนอานคํา บที่กําหนด หตอ ปนี้ จากนั้น หเขียนชื่อเรื่องของวรรณคดีที่มีลักษณะตรงกับ


คํา บ หถูกตอง
๑. บทพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุ เกลาเจาอยูหัว เปนวรรณกรรมที่แสดง
บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก
ใหเห็นความรักอันยิ่งใหญของพอ ……………………………………………………………………………………………………… ฉบับ
เฉลย
.

๒. ผลงานของสุนทรภู เปนกลอนนิทานที่มีความโดดเดนทางดานวรรณศิลป แสดงใหเห็น


ถึงความรักที่ขาดสติ ตองการครอบครอง พระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสือ้ สมุทร..
.

๓. พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เนื้อหาแสดงถึงความรัก
พระบรมราโชวาท
และความผูกพันระหวางพอกับลูก ซึง่ ผูอานสามารถนํามาประยุกตใชได ………………………………
.

๔. บทนิพนธในหมอมเจาอิศรญาณ เปนวรรณคดีเกีย่ วกับสุภาษิตคําสอน ผูนิพนธไดสะทอน


ความคิดเห็นที่มีตอสังคมในสมัยรัชกาลที่ ๔ อิศรญาณภาษิต .

๕. พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เปนวรรณคดีเกีย่ วกับบันเทิงคดี


ใชสําหรับเลนโขน มีคณ
ุ คาดานวรรณศิลป กวีสามารถใชภาษาในการสรางจินตภาพใหแก
ผูอาน ทั้งใหความรูและขอคิดที่นําไปประยุกตใชในชีวิตจริงได บทพากยเอราวัณ .

๙๓
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๑ หนักเรียนอานบทละครพูดเรื่องเหนแกลูกแลวทํากิจกรรม ñõ
สรุปเนือ้ หาของเรือ่ ง ดยการตอบคําถามตอ ปนี้ (ท ๕.๑ ม.๓/๑)

พระบาทสมเด็ จ พระ-
๑. ผูแตงบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกคือใคร อธิบายประวัติพอสังเขป …………………………………………
มงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระมหากษัตริยรัชกาลที่ ๖ แหงพระบรมราชจักรีวงศ เสด็จพระราชสมภพ.
เมื่อวันเสาร เดือนยี่ ขึ้น ๒ คํ่า ปมะโรง ตรงกับวันที่ ๑ มกราคม ๒๔๒๓ พระราชโอรสใน.
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว .

๒. ผูแตงบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ใชนามแ งอะไร พระขรรคเพชร ซึ่งเปนพระนามแฝงที..่


พระองคทรงใชสําหรับพระราชนิพนธบทละคร ซึ่งพระนามแฝงที่ทรงใชในการพระราชนิพนธ.
บทละคร ไดแก ศรีอยุธยา นายแกวนายขวัญ พระขรรคเพชร .
รัชกาลที่ ๖ ทรงผูกเรือ่ งอยางรัดกุม
๓. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะการแตงอยางไร …………………………………………………………………
และดําเนินเรื่องโดยใชบทสนทนาของตัวละครไดครบถวน ทําใหเรื่องดําเนินไปอยางรวดเร็ว.
ฉบับ
ทัง้ ในการบรรยายกิรยิ าทาทางของตัวละครไวในวงเล็บ เพือ่ ใหผูแสดงสามารถแสดงตามบทบาท.
เฉลย ไดงายขึ้น .

๔. บอกใจความสําคัญที่ผูเขียนตองการสื่อถึงผูอาน ผูที่เปนพอยอมมีความรัก ความผูกพัน..


ตอลูกและยอมเสียสละเพือ่ ลูกได แมวาในบางครัง้ อาจจะมีความจําเปนในชีวติ ทีท่ าํ ใหไมสามารถ.
ดูแลได แตในทุกๆ ลมหายใจ พอก็ยงั รักและปรารถนาดีตอผูเปนลูกตลอดเวลา ผูแตงตองการ.
สะทอนใหเห็นวาความรักที่ยิ่งใหญและมีคาก็คือความรักของพอ .

๕. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกเปนเรื่องของใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร ดวยวิธีใด ผลเปน


เรือ่ งเห็นแกลูกเปนเรือ่ งของนายลํา้ ซึง่ อดีตเปนขาราชการทีท่ จุ ริตตอหนาทีถ่ กู ลงโทษ
อยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
จําคุก ๑๐ ป เมื่อภรรยาของนายลํ้าตาย พระยาภักดีนฤนาถรับบุตรสาวของนายลํ้าชื่อแมลออ.
ไปเลี้ยงเปนบุตรบุญธรรม นายลํ้าออกจากคุกไปคาฝนอยู ที่เมืองพิษณุโลก ฐานะยากจน.
เมื่อทราบวาแมลออจะแตงงานก็คิดจะมาอาศัยลูก พระยาภักดีนฤนาถพยายามกีดกันไมให.
นายลํา้ มายุงเกีย่ วกับลูกเพราะเกรงแมลออจะถูกคนอืน่ เหยียดหยาม เมือ่ นายลํา้ ไดพบกับแมลออ.
รูวาเธอมีภาพในจินตนาการวาบิดาเปนสุภาพบุรุษที่แสนดี ความเห็นแกตัวที่หวังจะมาเกาะกิน.
อยูกับลูกสาวก็เปลี่ยนไป นายลํ้าไมแสดงตัววาเปนบิดาของแมลออดวยความเห็นแกลูก .

๙๔
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๒ หนักเรียนหาขอความ นเรื่องพระบรมรา ชวาทเขียน ñõ
ลง นชองวาง ดย หมีลักษณะทางวรรณ ิลปตรงตาม
ที่กําหนด (ท ๕.๑ ม.๓/๒)

ลักษณะทางวรรณ ิลป ขอความ นเรื่องพระบรมรา ชวาท

การใชภาษาแสดงความ ถาเปนเจานายแลว ตองรักษายศศักดิใ์ นกิจการทัง้ ปวงทีจ่ ะทําทุกอยาง.


เปนเหตุเปนผล เปนเครื่องลอตาลอหูคนทั้งปวงที่จะใหพอใจดูพอใจฟง จะทําอันใด.
ก็ตองระวังตัวไปทุกอยางที่สุดจนจะซื้อจายอันใดก็แพงกวาคนสามัญ.
เพราะเขาถือวามั่งมี .
ถาถือวาเปนเจานายแลวนิ่งๆ อยูตลอดจนชีวิตก็สบายดังนั้นจะไมผิด.
อันใดกับสัตวดิรจั ฉานอยางเลวนัก สัตวดิรจั ฉานมันเกิดมากินๆ นอนๆ.
แลวก็ตาย .

การใชภาษาเพื่อสื่อความ เงินทองที่จะใชสอยในคากินอยู นุงหมหรือใชสอยเบ็ดเตล็ดทั้งปวง. ฉบับ


อยางตรงไปตรงมา จงเขม็ดแขมใชแตเพียงพอที่อนุญาตใหใช อยาทําใจโตมือโตสุรุยสุราย. เฉลย
โดยถือตัววาเปนเจานายมั่งมีมาก .
เกิดมาเปนเจานายมียศบรรดาศักดิม์ ากอยูจริง แตไมเปนการจําเปนเลย.
ที่ผูใดเปนเจาแผนดินขึ้น จะตองใชราชการเปนชองที่จะหาเกียรติยศ.
ชื่อเสียงและทรัพยสมบัติ .

การใชภาษาเพื่อสื่อ พอรักลูกจริง แตไมรักลูกอยางชนิดนั้นเลย เพราะรูเปนแนวาถาจะ.


อารมณ ความรูสึก รักอยางนั้นตามใจอยางนั้นจะไมเปนการมีคุณอันใดแกตัวลูกผูไดรับ.
ความรักนั้นเลย .
จงอุตสาหพากเพียรเรียนวิชาใหรูมา ไดชวยกําลังพอเปนที่ชื่นชมยินดี.
สมกับที่มีความรักนั้นเถิด .

๙๕
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๓ หนักเรียนอานบทรอยกรองที่กําหนด ห แลวสรุปขอคิด ñõ
จากการอานวาเปนขอคิดประเภท ด ดย สเครือ่ งหมาย
ลง นวงเลบหนาขอคิดนั้น (ท ๔.๑ ม.๓/๓)

๑. ทานสงเราเขาที่เกาะละเมาะนี้ แลวรีบหนีไปในนํ้าแตลําพัง
แลววาแกสินสมุทรสุดที่รัก แมนนางยักษจะมารับจงกลับหลัง
อันตัวพอขอตายวายชีวัง กันแสงสั่งลูกยาดวยอาลัย

( ) ความมีนํ้าใจ การเสียสละ ( ) ความรัก ความผูกพัน


( ) การรับฟงความเห็นของผูอื่น ( ) การอบรมสั่งสอนบุตร

ฉบับ ๒. เห็นละเมาะเกาะใหญที่ไหนกวาง หยุดเสียบางใหสบายจึงผายผัน


เฉลย เราหนีนางมาไดก็ไกลครัน ตอกลางวันจึงคอยไปใหสําราญ
ตาเงือกนํ้าซํ้าสอนพระทรงศักดิ์ ยังใกลนักอยาประมาททําอาจหาญ
นางรูความตามมาไมชานาน จะพบพานพากันตายวายชีวัน

( ) ความมีนํ้าใจ การเสียสละ ( ) ความรัก ความผูกพัน


( ) การรับฟงความเห็นของผูอื่น ( ) การอบรมสั่งสอน

๓. วางลูกไมในหอใหลูกผัว ทองของตัวเต็มทองไมตองประสงค
พระทรงเลือกลูกมะซางปรางมะยง ประทานองคโอรสสูอดออม

( ) ความมีนํ้าใจ การเสียสละ ( ) ความรัก ความผูกพัน


( ) การรับฟงความเห็นของผูอื่น ( ) การอบรมสั่งสอน

๙๖
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๔ หนักเรียน สเครื่องหมาย ลง นชองที่สัมพันธกับ ñð
ขอคิด นเรือ่ งอิ ร าณภาษิตทีส่ ามารถนํา ปประยุกต ช
นชีวิตประจําวัน ด (ท ๔.๑ ม.๓/๓)
ขอคิดที่นํา ปประยุกต ช นชีวิตประจําวัน ด
คําสอน นเรื่องอิ ร าณภาษิต การ การรับ การนับถือ การ การรูจัก
พึ่งพากัน ราชการ ผู ห คบมิตร ตนเอง
คบนักปราชญนั่นแหละดีมีกําไร . . . . .

ใจของเราไมสอนใจใครจะสอน . . . . .

ผูใดดีดีตออยากอกิจ . . . . .
ผูใดผิดผอนพักอยาหักหาญ
อยานอนเปลาเอากระจกยกออกมา . . . . .
สองดูหนาเสียทีหนึ่งแลวจึงนอน
มิควรทูลก็อยาทูลประมูลขอ ฉบับ
. . . . .
จะเกิดกอลุกลามความแสลง เฉลย
คนสามขามีปญญาหาไวทัก . . . . .
ที่ไหนหลักแหลมคําจงจําเอา
เราก็จิตคิดดูเลาเขาก็ใจ . . . . .
รักกันไวดีกวาชังระวังการ
คอยดําเนินตามไตผูไปหนา . . . . .
ใจความวาผูมีคุณอยาหุนหวน
เปนขาเ าเหลาเสวกามาตย
ยิ่งกวาทาสทาสาคาสินไถ . . . . .
อยาใชชิดอยาใหหางเปนกลางไว
ายขางในอยานําออกนอกอยาแจง
อยาโอกโขยกอยูในโลกสันนิวาส
แตนักปราชญยังรูพึ่งผูเขลา . . . . .
เหมือนเรือชวงพวงลําในสําเภา
เรือใหญเขาไมไดใชเรือเล็ก

๙๗
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
กิจกรรมที่ ๑.๕ หนักเรียน กึ ษาบทอาขยานเรือ่ งบทพากยเอราวัณ สลับกัน ñõ
อานออกเสียง หเพื่อน ง จากนั้น หตอบคําถามตอ ปนี้
หถูกตองและสมบูรณ (ท ๔.๑ ม.๓/๔)

บ บ ยเ ั

อินทรชิตบิดเบือนกายิน เหมือนองคอมรินทร
ทรงคชเอราวัณ
ชางนิรมิตฤทธิแรงแข็งขัน เผือกผองผิวพรรณ
สีสังขสะอาดโอฬาร
สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหนึ่งเจ็ดงา
ดังเพชรรัตนรูจี
งาหนึ่งเจ็ดโบกขรณี สระหนึ่งยอมมี
เจ็ดกออุบลบันดาล
กอหนึ่งเจ็ดดอกดวงมาลย ดอกหนึ่งแบงบาน
ฉบับ มีกลีบไดเจ็ดกลีบผกา
เฉลย
กลีบหนึ่งมีเทพธิดา เจ็ดองคโสภา
แนงนอยลําเพานงพาล
นางหนึ่งยอมมีบริวาร อีกเจ็ดเยาวมาลย
ลวนรูปนิรมิตมารยา
จับระบํารํารายสายหา ชําเลืองหางตา
ทําทีดังเทพอัปสร
มีวิมารแกวงามบวร ทุกเกศกุญชร
ดังเวไชยันตอมรินทร

ขอความในบทอาขยานมีคุณคาดานวรรณศิลปอยางไร มีการใชคําเพือ่ สรางจินตภาพเพือ่ พรรณนา..


ลักษณะของชางเอราวัณ ใชศัพทเฉพาะเกี่ยวกับชาง เชน ซองหาง กระวิน ชนัก ตระพอง การใช .
เสียงสัมผัสใน ในวรรคแรกของเกือบทุกบทชวยใหมีความไพเราะยิ่งขึ้น ใชคํากระชับและมีความหมาย .
ชัดเจน ทําใหการดําเนินเรื่องเปนไปอยางรวดเร็ว .

๙๘
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑
ñð
คําชี้แจง หนักเรียนวงกลมเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

๑. เรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะเดนอยางไร ๖. ปญหาที่เกิดในวงราชการปจจุบันเปนเพราะ
ก. ใหความเพลิดเพลิน ไมปฏิบัติตามพระราชดําริในขอใด
ข. ใหความรู ก. การวางตน
ค. ใหขอคิด ข. การตอบแทน
ง. ใหรักพอ ค. การใชอํานาจ
๒. จากคําพูดของนายลํ้า เหตุใดขาราชการ ง. การประหยัด
จึงทุจริตคิดมิชอบในการปฏิบัติหนาที่ ๗. อิศรญาณภาษิตใชวิธีการสอนอยางไร
ก. เพราะมีโอกาสใหทํา ก. ยกตัวอยาง
ข. เพราะมีบุคคลใหการสนับสนุน
ข. บอกตรงๆ
ค. เพราะเปนวิธีที่จะหาเงินมาใชไดงายๆ
ง. เพราะสังคมไทยไมสนใจตอคนทําผิด ค. บอกเปนนัย
ง. ประชดประชัน
๓. เรือ่ งพระอภัยมณีตอนทีเ่ รียนแสดงใหเห็นความ
๘. คําสอนขอใดใชกับนักเรียนไดดีที่สุด ฉบับ
รักระหวางใครกับใครมากที่สุด เฉลย
ก. แมกับลูก ก. เดินตามรอยผูใหญหมาไมกัด
ข. สัตวกับมนุษย ข. อยาคบมิตรจิตพาลสันดานชั่ว
ค. ภรรยากับสามี ค. เรียนวิชาไมแมนยําคะนํ้าคะเน
ง. นักบวชกับสาวก ง. คบนักปราชญนั่นแหละดีมีกําไร
๔. ความเชื่อขอใดมีอิทธิพลตอนางผีเสื้อ ๙. บทพากยเอราวัณ ใหความรูสึกอยางไร
ก. ความ น ก. ความรูสึกโออา
ข. เวทมนตร ข. ความรูสึกพอใจ
ค. ลางสังหรณ ค. ความรูสึกมั่นคง
ง. ก แหงกรรม
ง. ความรูสึกยิ่งใหญ
๕. ในพระบรมราโชวาท “สามภาษา”
๑๐. บทพากยเอราวัณโดดเดนอยางไร
หมายถึงภาษาใด
ก. อังกฤษ เยอรมัน อิตาลี ก. การใชภาษาที่สวยงาม
ข. อังกฤษ รั่งเศส รัสเซีย ข. การใชภาษาถายทอดความรูสึก
ค. อังกฤษ รัสเซีย เยอรมัน ค. การใชภาษาที่มีความหมายลึกซึ้ง
ง. อังกฤษ รั่งเศส เยอรมัน ง. การใชภาษาแสดงใหเห็นลีลาการเคลือ่ นไหว

๙๙
แบบบันทึกผลการประเมิน

เครื่องมือวัดและแสดงผลการเรียนรู คะแนน ผลการประเมิน


เตม ด ผาน มผาน
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
ท ๕.๑ ม.๓/๑
กิจกรรมที่ ๑.๑ ๑๕ .

รวม ๑๕
ท ๕.๑ ม.๓/๒
กิจกรรมที่ ๑.๒ ๑๕ .

รวม ๑๕
ท ๕.๑ ม.๓/๓
กิจกรรมที่ ๑.๓ ๑๕ .
กิจกรรมที่ ๑.๔ ๑๐ .
ฉบับ
เฉลย รวม ๒๕
ท ๕.๑ ม.๓/๔
กิจกรรมที่ ๑.๕ ๑๕ .

รวม ๑๕
คะแนนรวมทั้งหมด ๗๐
แบบทดสอบประจําหนวยการเรียนรูที่ ๑ ๑๐

เกณฑการประเมินตัวชี้วัดและแบบทดสอบ เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพของตัวชี้วัด
ชวงคะแนน ระดับคะแนน ระดับคุณภาพ
ผาน = ไดคะแนนตั้งแตครึ่งหนึ่งของ
คะแนนเต็ม ๕๕ - ๗๐ ๔ ดีมาก
ไมผาน = ไดคะแนนไมถึงครึง่ ของคะแนนเต็ม ๔๕ - ๕๔ ๓ ดี
๓๕ - ๔๔ ๒ พอใช
ตํ่ากวา ๓๕ ๑ ปรับปรุง

๑๐๐
แบบทดสอบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจําวิชา
คะแนนเตม คะแนนที่ ด
คําชี้แจง หนักเรียนเลือกคําตอบขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว ôð
๑. ขอใดสําคัญที่สุดในการอานออกเสียง ๔. ขอใด ม ชแนวทางการพิจารณาความหมายของ
ก. นํ้าเสียง คําที่มีความหมายออม
ข. บุคลิกภาพ ก. นํ้าเสียงของผูเขียน
ค. การสังเกตผูฟง ข. บริบทของคํา
ง. ควบคุมอารมณ ค. พจนานุกรม
ง. สีหนาผูพูด
๒. “ภูกระดึงเปนภูเขาหินทรายทีเ่ กิดขึน้ จากตะกอน
ดินทีท่ บั ถมกันมาเปนเวลาหลายลานป จนกลาย ๕. สุรศักดิอ์ านนวนิยายแลวแยกแยะสวนประกอบของ
เปนหินซอนกันอยูเปนชัน้ ๆ แตละชัน้ มีอายุการ เรื่องออกเปนแกนเรื่อง โครงเรื่อง ตัวละคร
เกิดตางกัน ชัน้ ทีอ่ ยูขางลางจะเกาแกกวาชัน้ บน และฉาก เปนพฤติกรรมการอานในระดับใด
ก. ตีความ
เมื่อถูกพลังใตพื้นโลกดันสูงขึ้นเมื่อราว ๒๓๐
ข. วิจารณ
ลานปกอน บริเวณขอบของชั้นหินที่ยกตัวขึน้
ค. ประเมินคา
ก็ถกู แสงแดด ลม และฝนกัดเซาะจนพังทลาย” ฉบับ
ง. วิเคราะหสาร
ใจความสําคัญคืออะไร เฉลย
๖. ขอใดใชภาษาเพื่อกระตุนความตองการ
ก. ภูกระดึงเปนภูเขาหินทรายที่เกิดขึ้นจาก ก. โฆษณา ข. คําขวัญ
ตะกอนดินที่ทับถมกันมาเปนเวลาหลาย ค. คําอวยพร ง. คําคม
ลานป
๗. ขอใดเปนขอคิดเห็น
ข. บริเวณขอบของชั้นหินที่ยกตัวขึ้นก็ถูก
ก. เขาเปนครู
แสงแดด ลม และ นกัดเซาะจนพังทลาย ข. วินัยเปนหมอ
ค. เปนหินซอนกันอยูเปนชั้นๆ แตละชั้น ค. นุชเปนคนสวย
มีอายุการเกิดตางกัน ง. เขาเปนนักเรียน
ง. ชั้นที่อยูขางลางจะเกาแกกวาชั้นบน
๘. …ลูกแมอยาเอาแตสนุกสนาน ตองคํานึงถึง
๓. ขอใดสําคัญที่สุดในการอานเพื่อเขียนกรอบ อนาคตกาล แมอยูไมนานตองจากไป
ความคิด
กวีแสดงนํ้าเสียงอยางไร
ก. ศึกษาวิเคราะหเนื้อหา ก. หวงหา
ข. เรียบเรียงจัดหมวดหมูความคิด ข. เศราสลด
ค. ศึกษาเอกสารขอมูลที่เกี่ยวของ ค. เชิงสั่งสอน
ง. ศึกษาเนื้อหาเรื่องที่ตองการนําเสนอ ง. โศกเศรา หวงใย

๑๐๑
๙. การคัดลายมือมีความสําคัญอยางไร ๑๕. ขอใด ม ชที่มาของขอมูลภาคสนาม
ก. การทํางานตางๆ มีระเบียบ ก. สังเกต
ข. ทําใหคนในชาติเกิดความภูมิใจ ข. สัมภาษณ
ค. สื่อสารไดผลตรงตามวัตถุประสงค ค. การทดลอง
ง. สามารถปลูก งความมีวินัยในตนเอง ง. เอกสารตางๆ
๑๐. ปริญญาบัตร นิยมเขียนดวยอักษรใด ๑๖. ขอใดเปนสวนของการอางอิง
ข. หัวเหลี่ยม ก. บรรณานุกรม
ก. หัวกลมมน ข. บัญชีรายชื่อ
ค. ตัวอาลักษณ ค. บทสรุป
ง. หัวกลมตัวเหลี่ยม ง. บทนํา
๑๑. “บิดามารดาเปนผูปกครองของบุตร” ๑๗. ขอใดถูกตอง
ใชภาษาในระดับใด ก. ๒๘ ๐๔ ๕๕
ก. แบบแผน ข. ๒๘ มิ.ย. ๒๕๕๕
ข. ภาษาปาก ค. ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๕
ฉบับ ค. กึ่งแบบแผน ง. วันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕
เฉลย
ง. แบบแผน กึ่งแบบแผน ๑๘. “ทานสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
๑๒. ขอใด ม ชลักษณะของคําคม เกี่ยวกับดิฉันไดจาก…”
ก. มีความหมายคมคาย ก. อารัมภบท ข. แจงรายละเอียด
ข. มีความหมายลึกซึ้งกินใจ ค. ผูรับรอง ง. การลงทาย
ค. กระทบใจ ทําใหสนใจจดจําทันที ๑๙. ขอใด ม ชสํานวนเกี่ยวกับการพูด
ง. มุงใหเกิดความคิดดี ชวนปฏิบัติตาม ก. ปากหวานกนเปรี้ยว
๑๓. ผูเขียนเลาประวัติของตนเอง ข. ปากคนยาวกวาปากกา
ก. อัตชีวประวัติ ค. ปากยังไมสิ้นกลิ่นนํ้านม
ข. นวนิยาย ง. ปากเปนเอก เลขเปนโท
ค. ปาฐกถา ๒๐. ขอใดเปนภาษาโฆษณา
ง. เรื่องสั้น ก. หัวเราะวันละนิดจิตแจมใส
๑๔. การเขียนชี้แจงคลายการเขียนใด ข. สวรรคอยูในอก นรกอยูในใจ
ก. โตแยง ข. อธิบาย ค. ดื่มนํ้าวันละ ๘ แกว ดีตอสุขภาพ
ค. พรรณนา ง. แสดงความคิดเห็น ง. รถยนตรุนใหม หรูหราทุกมุมมอง

๑๐๒
๒๑. ขอใดเปนคุณสมบัติที่สําคัญของผู ดําเนินการ ๒๗. ญัตติในการโตวาทีที่ดีตรงกับขอใด
อภิปราย ก. ตลกขบขัน
ก. มีบุคลิกภาพที่ดี ข. ตื่นเตนเราใจ
ข. มีไหวพริบปฏิภาณ ค. เสริมสรางสติปญญา
ค. เคารพความคิดเห็นของผูอื่น ง. เปนเรื่องละเอียดออน
ง. รูจักกระตุนใหผูรวมอภิปรายคิด ๒๘. ขอใดเปนการฟงที่ดี
๒๒. ขอใดสําคัญที่สุดในการโตวาที ก. ฟงหูไวหู
ก. เปนประเด็นรอนในขณะนั้น ข. ฟงความขางเดียว
ข. ไมทําลายศีลธรรมและสัจธรรม ค. ฟงเสียงนกเสียงกา
ค. ไมเปนเรื่องที่หาขอพิสูจนไมได ง. ฟงไมไดศัพทจับไปกระเดียด
ง. เปนเรื่องในชีวิตประจําวันของทุกคน ๒๙. ขอใด ม ชการพูดโนมนาวใจ
๒๓. ขอใด มเกี่ยวของกับบรรณานุกรม ก. พูดเพื่อใหผูฟงสนใจและคลอยตาม
ก. ชื่อผูแตง ข. พูดเพื่อกระตุนความสนใจ
ข. ปที่พิมพ ค. พูดเพื่อเปลี่ยนคานิยม
ค. ชื่อหนังสือ ง. พูดเพื่อเสนอแนะ ฉบับ
ง. จํานวนหนา ๓๐. ขอใดเปนภาษาสันสกฤต เฉลย
๒๔. ขอใด มเขาพวก ก. จักขุ
ก. บทนํา ข. เนื้อหา ข. อิจฉา
ค. สรุป ง. บรรณานุกรม ค. พฤกษา
๒๕. ขอใดเปนแนวทางการฟงและดูอยางมี ง. วิญญาณ
วิจารณญาณ ๓๑. ขอใดสัมพันธกับ “ตือฮวน”
ก. ตั้งคําถาม ก. โกโก
ข. คนคําตอบ ข. ตะเบะ
ค. หาจุดบกพรอง ค. กุนเชียง
ง. วินิจฉัย ประเมินคา ง. กรรเจียก
๒๖. ขอใดสําคัญที่สุดในการพูดรายงาน ๓๒. “จนเงินแตอยาจนนํ้าใจ” สัมพันธกับขอใด
ก. ขอมูล ก. คําคม
ข. ถอยคํา ข. โฆษณา
ค. ตัวอยาง ค. คําขวัญ
ง. ดําเนินเรื่อง ง. สุนทรพจน

๑๐๓
๓๓. ขอใดกลาวถึงศัพทบัญญัติไดถูกตอง ๓๗. “อายุถึงพันเศษถือเพทไสย”
ก. คําศัพทไทยใชแทนศัพทอังกฤษโดยประกอบ ขอความนี้กลาวถึงใคร
ขึ้นจากศัพทบาลี สันสกฤต ก. โยคี
ข. คําศัพทอังกฤษที่ใชในภาษาไทย ข. เงือก
ค. คําศัพทบาลีใชแทนศัพทอังกฤษ ค. ปศาจราชทูต
ง. นางผีเสือ้ สมุทร
ง. ศัพทเทคนิคที่ใชในภาษาไทย
๓๘. เรื่องพระบรมราโชวาท รัชกาลที่ ๕ ทรงเนน
๓๔. ขอใด มเกี่ยวของกับการเลือกใชระดับภาษา เรื่องใดมากที่สุด
เพื่อการสื่อสาร ก. การศึกษา
ก. สื่อที่ใช ข. การประหยัด
ข. กาลเทศะ ค. ความกตัญ ู
ค. เนื้อหาสาระ ง. การปฏิบัติพระองค
ง. สัมพันธภาพ ๓๙. “เพชรอยางดีมีคาราคายิ่ง สงใหลิงจะรูคาราคา
๓๕. อนุประโยคใดทําหนาที่ขยายนาม หรือ”
ฉบับ ก. คนที่ไมสูงานหนักจะไมเจริญกาวหนา ขอความนี้ตรงกับสํานวนไทยขอใด
เฉลย ข. พี่เสียใจที่ไมไดไปดูนักรองคนโปรด ก. ไกไดพลอย
ง. เขานัดกับเธอวาพรุงนี้จะไปทํางาน ข. ตีปลาหนาไซ
ค. ฆองปากแตก
ค. สิ่งที่เธอทําเปนสิ่งที่ดีงามทั้งหมด
ง. เสนผมบังภูเขา
๓๖. พระนามแ งในเรื่องเห็นแกลูกคือขอใด
๔๐. บทพากยเอราวัณแตงดวยคําประพันธชนิดใด
ก. รามจิตติ ก. กาพยฉบัง ๑๖
ข. อัศวพาหุ ข. กาพยยานี ๑๑
ค. พระขรรคเพชร ค. โคลงสี่สุภาพ
ง. นายแกวนายขวัญ ง. กลอนสุภาพ

๑๐๔

You might also like