You are on page 1of 29

3/10/2562 สภาวิศวกร

สาขา : โยธา
วิชา : Surveying
เนือหาวิชา : 822 : Introduction to surveying work, basic field works, leveling

ข ้อที 1 :
งานสํารวจการวัดระยะด ้วยการนับก ้าว (Pacing) ความคลาดเคลือนทีคาดหวังได ้คือ

1 : 1: 100
2 : 1: 500
3 : 1: 1000
4 : 1: 2000
5 : 1: 5000
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 2 :
คีตภัทรเข ้าร่วมการแข่งขันเดินมินม
ิ าราธอนระยะทาง 10 กิโลเมตร ถ ้าคีตภัทรเดินด ้วยอัตราความเร็ว 4 กิโลเมตร/ชัวโมง อยากทราบว่าถ ้าเริมการแข่งขันเวลา 7.00
น. เวลา 8.25 น คีตภัทรจะเดินทางได ้ระยะทางเท่าไร

1 : 5.25 กิโลเมตร
2 : 5.67 กิโลเมตร
3 : 6.00 กิโลเมตร
4 : 6.30 กิโลเมตร
5:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 3 :
นายหมูน ้อยออกเดินทางจากตําบลบ ้านค่ายไปยังตําบลบ ้านเขว ้าด ้วยอัตราเร็ว 5 กิโลเมตร/ชัวโมง เขาใช ้เวลาเดิน 3 ชัวโมง 15 นาที อยากทราบว่าทัง 2 ตําบลมี
ระยะทางห่างกันเท่าไร

1 : 15.00 กิโลเมตร
2 : 16.25 กิโลเมตร
3 : 17.08 กิโลเมตร
4 : 17.25 กิโลเมตร
5:
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 4 :
การวัดระยะทางตรงขึนเนินสูงชันด ้วยโซ่หรือเทป ข ้อใดเป็ นวิธป
ี ฎิบต
ั ท ี ยมใช ้มากทีสุด
ิ นิ

1 : วัดไปตามความเอียงลาดของเนิน
2 : ใช ้เทปยาวมากๆ ดึงวัดระยะทางตามแนวระดับทีเดียว
3 : วัดเป็ นช่วงๆแบบขันบันไดดึงเทปให ้ได ้ระดับ
4 : วัดโดยใช ้หลักสามเหลียมคล ้าย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 5 :
ในงานรังวัดทําแผนทีทีใช ้วิธก
ี ารวัดระยะทาง เส ้น Offset คือ

1 : แนวเส ้นทีลากไปตามขอบเขตของทีดินทีเป็ นเส ้นคดโค ้ง


2 : แนวเส ้นทีวัดจากขอบเขตของทีดินตังฉากกับแนวโซ่
3 : แนวเส ้นตรงทีวัดข ้ามบึงใหญ่
4 : แนวเส ้นตรงทีสร ้างขึนรอบๆ บึงใหญ่
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 6 :
Collimation Line หมายถึงข ้อความใด

1 : แนวทีเล็งผ่านศูนย์กลางของเลนส์ eyepiece และ objective


2 : แนวทีเล็งผ่านจุดตัดสายใยและเลนส์ eyepiece
3 : แนวทีเล็งผ่าน stadia และเลนส์ eyepiece
4 : แนวทีเล็งผ่าน stadia และ เลนส์ objective
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 7 :
ความหมายของ HI. ( Height of Instrument ) ในงานระดับทัวๆไปคือข ้อใด

1 : ระยะดิงทีวัดจากพืนดินกับแนวเล็ง
2 : ความสูงของหลอดระดับจากพืนดิน
3 : ความสูงของหลอดระดับจากระดับอ ้างอิง
4 : ระยะดิงทีวัดจากระดับอ ้างอิงกับแนวเล็ง
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 8 :

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 1/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
จากรูปเป็ นการหาความสูงของอาคารโดยการเล็งแนวด ้วยตาเปล่า จงหาว่าอาคารมีความสูงเท่าไร

1 : 5.8 เมตร
2 : 6.0 เมตร
3 : 6.8 เมตร
4 : 68.0 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 9 :
จากรูปให ้หาความลาดชันเฉลีย ( average slope )(Slope) จากจุด B ไป A โดยแสดงในหน่วยเปอร์เซ็นต์โดยมาตราส่วน 1: 50,000 สมมุตวิ า่ วัดระยะจาก A ไป B
บนแผนทีได ้เท่ากับ 3 เซนติเมตร

1:3%
2:7%
3:5%
4:6%
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 10 :
พืนหลักฐาน ( datum )ใช ้สําหรับอ ้างอิงค่าพิกด
ั ทางราบของประเทศไทยเป็ นรูปทรงรีในข ้อใด

1 : Airy 1830
2 : Everest 1830
3 : Bessel 1841
4 : Clarke 1866
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 11 :
ค่าพืนฐานทีรังวัดในงานสํารวจประกอบด ้วยข ้อมูลในข ้อใด

1 : ระยะ ทิศทาง และค่าต่างระดับ


2 : ตําแหน่ง ขอบเขต และรูปร่าง
3 : ขนาด รูปร่าง และพืนที
4 : จุด เส ้น และรูปปิ ด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 12 :
เมืองกรีนช ่ นเส ้นลองจิจด
ิ เป็ นเวลา 06.10 น. ตําบล ก. ตังอยูบ ู ที 78 องศาตะวันออก ควรจะเป็ นเวลามาตรฐานของท ้องถินเท่าใด

1 : 13.10 น.
2 : 10.10 น.
3 : 11.10 น.
4 : 12.10 น.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 13 :
แผนทีมีมาตราส่วน 1 : 4000 เมือวัดระยะในแผนทีได ้ 10.82 เซนติเมตร ระยะจริงในภูมป
ิ ระเทศเป็ นเท่าใด

1 : 270.50 เมตร
2 : 432.80 เมตร
3 : 4328.00 เมตร
4 : 2705.00 เมตร

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 2/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 14 :
วัดระยะในแผนทีได ้ 16 นิว เท่ากับระยะจริงในภูมป
ิ ระเทศ 1.2 ไมล์ แผนทีมีมาตราส่วนเท่าใด

1 : 1 : 4509
2 : 1 : 4752
3 : 1 : 4942
4 : 1 : 1584
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 15 :
ความคลาดเคลือนบรรจบของงานทําระดับชันที 3 ในระยะทาง 1 กิโลเมตร ให ้ผิดได ้ไม่เกินเท่าใด

1 : +/- 4 มิลลิเมตร
2 : +/- 8 มิลลิเมตร
3 : +/- 12 มิลลิเมตร
4 : +/- 25 มิลลิเมตร
5 : +/- 50 มิลลิเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 16 :
จงหาค่าระดับของจุด C จากตารางข ้างล่างนี

1 : 100.220 เมตร
2 : 100.240 เมตร
3 : 100.260 เมตร
4 : 100.280 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 17 :
ถ่ายระดับจากหมุด A ไป B พบว่า ระดับของหมุด A อยูส่ งู กว่าแนวเล็งของกล ้องระดับ 1.86 เมตร และระดับของหมุด B อยูต
่ ํากว่าแนวเล็งของกล ้องระดับ 1.32
เมตร หมุด A มีกําหนดสูงเท่ากับ 92.441 เมตร กําหนดสูงของหมุด B เป็ นเท่าใด

1 : 89.261 เมตร
2 : 90.581 เมตร
3 : 91.121 เมตร
4 : 91.901 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 18 :
โลกหมุนรอบตัวเอง 1 องศา เป็ นเวลาเท่าใด

1 : 1 นาที
2 : 2 นาที
3 : 3 นาที
4 : 4 นาที
5 : 5 นาที
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 19 :
จงคํานวณหาคําตอบทีถูกต ้องตามหลักเลขนัยสําคัญ

1 : 202.452
2 : 202
3 : 202.4
4 : 202.45
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 20 :
จุด A และ B อยูบ
่ นพืนราบ รังวัดระยะทางระหว่าง 2จุด โดยแถบวัดระยะได ้ความยาว 80 เมตร นาย ก มีความยาวก ้าวเท่ากับ 0.72 เมตรเดินทางจาก A มา B และ
จาก B มา A รวมทังหมด 6 เทียว มีความยาวก ้าวเท่ากับ 110,110.5,111,109.5,110,109 จงคํานวณหาความละเอียดถูกต ้อง(Relative Accuracy) ในการหาระยะทาง
โดยการเดินนับก ้าวตามหลักเลขนัยสําคัญ

1 : 1/100
2 : 1/79
3 : 1/99
4 : 1/80
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 21 :
รังวัดระยะทาง ABCD ด ้วยเครืองมือทีมีความละเอียดต่างกันดังรูป
AB = 75.74 ม.
BC = 122 ม.
www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 3/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
CD = 68.962 ม.
จงคํานวณหาผลรวมระยะทางตามหลักเลขนัยสําคัญ

1 : 266.702
2 : 266.70
3 : 266.7
4 : 267
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 22 :

1 : 82.921 เมตร
2 : 82.934 เมตร
3 : 84.329 เมตร
4 : 118.583 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 23 :
จากระยะทางระหว่าง 2 จุด บันทึกค่า(หน่วยเป็ นเมตร)ได ้ดังนี :-(รูป)
ให ้หาค่าเฉลียระยะทางระหว่าง 2 จุด

1 : 451.74
2 : 451.75
3 : 451.82
4 : 451.83
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 24 :
ในการอ่านค่าไม ้ระดับให ้ได ้ละเอียด 3 มม. ระยะทางไกลสุดกีเมตร ทีไม่มผ
ี ลกระทบต่อความโค ้งของโลกและการหักเหของแสงในบรรยากาศ

1 : 195 ม.
2 : 200 ม.
3 : 210 ม.
4 : 220 ม.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 25 :
หน่วยในการวัดทีเป็ นสากลมีสองระบบ คือ ระบบอังกฤษและระบบเมตริก
ข ้อใดเป็ นหน่วยในระบบอังกฤษ

1 : นํ าหนักเป็ นปอนด์ ระยะทางเป็ นฟุต เนือทีเป็ นเฮกแตร์


2 : นํ าหนักเป็ นปอนด์ ระยะทางเป็ นฟุต เนือทีเป็ นเอเคอร์
3 : นํ าหนักเป็ นกิโลกรัม ระยะทางเป็ นฟุต เนือทีเป็ นเฮกแตร์
4 : นํ าหนักเป็ นกิโลกรัม ระยะทางเป็ นฟุต เนือทีเป็ นเอเคอร์
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 26 :
วัดทีดินสีเหลียมผืนผ ้าได ้ความกว ้าง 20 เมตร ยาว 30 เมตรเนือทีของแปลงทีดินเท่ากับกี
ตารางวา

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 4/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

1 : 150 ตารางวา
2 : 300 ตารางวา
3 : 600ตารางวา
4 : 2400 ตารางวา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 27 :
หลักการของงานรังวัดเพือกําหนดตําแหน่งทางราบของจุดใหม่โดยใช ้จุดอ ้างอิงสองจุดทีทราบ
ค่าพิกด
ั สามารถทําได ้โดยวิธใี ดบ ้าง

1 : วัดระยะทางจากจุดอ ้างอิงทังสอง
2 : วัดมุมราบทีจุดอ ้างอิงทังสอง
3 : วัดทังระยะทางและมุมราบทีจุดอ ้างอิงจุดหนึง
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 28 :
อ่านค่าบนไม ้ระดับได ้ 3.658 เมตร ถ ้าไม ้ระดับเอียงออกจากแนวดิงเป็ นระยะ 0.15 เมตร จงหาค่าคลาดเคลือนของการอ่านค่าบนไม ้ระดับ

1 : 0.003 เมตร
2 : 0.03 เมตร
3 : 0.3 เมตร
4 : 0.0003 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 29 :
ตังกล ้องระดับอยูร่ ะหว่างจุด A และ B อ่านค่าบนไม ้ระดับที A ได ้ 1.620 เมตร และอ่านค่าบนไม ้ระดับที B ได ้ 1.565 เมตร จากนันย ้ายกล ้องระดับไปข ้างหน ้าและ
ตังอยูร่ ะหว่าง จุด B และ C อ่านค่าบนไม ้ระดับที B ได ้ 1.420 เมตร และอ่านค่าบนไม ้ระดับที C ได ้ 1.684 เมตร ข ้อความใดต่อไปนีถูกต ้อง

1 : ค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ Bเท่ากับ 0.055 เมตรและจุด A อยูส ่ งู กว่า B


2 : ค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ Bเท่ากับ 0.055 เมตรและจุด B อยูส
่ งู กว่า A
3 : ค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ Cเท่ากับ 0.319 เมตรและจุด A อยูส ่ งู กว่า C
4 : ค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ Cเท่ากับ 0.319 เมตรและจุด C อยูส่ งู กว่า A
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 30 :
การเทียบหน่วยวัดระยะ ข ้อใดถูกต ้อง

1 : 1 วา = 2 เมตร
2 : 1 วา = 4 เมตร
3 : 2 วา = 1 เมตร
4 : 4 วา = 1 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 31 :
การเทียบหน่วยวัดพืนที ข ้อใดถูกต ้อง

1 : 1 ไร่ = 4 งาน , 400 ตารางวา = 1600 ตารางเมตร


2 : 1 ไร่ = 3 งาน , 400 ตารางวา = 160 ตารางเมตร
3 : 1 ไร่ = 2 งาน , 200 ตารางวา = 16 ตารางเมตร
4 : 1 ไร่ = 4 งาน , 100 ตารางวา = 1600 ตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 32 :
ในการถมดิน และทราย วัดปริมาตรเป็ นคิว

1 : 1 คิว = 1 ลูกบาศก์เมตร
2 : 1 คิว = 1 ลูกบาศก์ฟตุ
3 : 1 คิว = 100 ลูกบาศก์เมตร
4 : 1 คิว = 100 ลูกบาศก์ฟตุ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 33 :
การเทียบหน่วยการวัดมุม ข ้อใดถูกต ้อง

1 : 360 องศา = 2pi = 24 ชัวโมง, 400 gon = 6400 mils


2 : 360 องศา = pi = 12 ชัวโมง, 400 gon = 6400 mils
3 : 360 องศา = 2pi = 24 ชัวโมง, 6400 gon = 400 mils
4 : 360 องศา = pi/4 = 12 ชัวโมง , 6400 gon = 400 mils
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 34 :
ข ้อใดไม่ใช่ความคลาดเคลือนมีระบบ(Systematic Error)

1 : ธรรมชาติ(Natural Error)
2 : เครืองมือ(Instrumental Error)
3 : ผู ้ทําการรังวัด(Personal Error)
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 35 :
ความถูกต ้องในการวัดระยะด ้วยเครืองวัดระยะอิเล็กทรอนิกส์ มีมาตรฐาน อยูท
่ ี ±(2 mm + 3 ppm*D) ถ ้านํ าไปวัดระยะทาง 500 เมตร การวัดระยะในครังนีมีความถูก
ต ้องเท่าไร

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 5/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

1 : ± 2 mm
2 : ± 2.5 mm
3 : ± 3 mm
4 : ± 3.5 mm
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 36 :
ค่าแก ้ความโค ้งของผิวโลกและการหักเหของแสง มีคา่ เท่าไร

1 : -0.0675*K2 , K เป็ นกิโลเมตร


2 : -0.0785*K2, K เป็ นกิโลเมตร
3 : -0.0785*K2, K เป็ นเมตร
4 : -0.0675*K2, K เป็ นเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 37 :
การคํานวณค่าต่างระดับของจุดสองจุด ข ้อใดถูกต ้อง

1 : ค่าต่างระดับ(Diff) = ไม ้หลัง(BS)-ไม ้หน ้า(FS) ค่าต่างระดับ(Diff) = ค่าระดับตําแหน่งข ้างหน ้า(Elevfront)-ค่าระดับตําแหน่งข ้างหลัง(Elevback)


2 : ค่าต่างระดับ(Diff) = ไม ้หน ้า(FS)-ไม ้หลัง(BS) ค่าต่างระดับ(Diff) = ค่าระดับตําแหน่งข ้างหน ้า(Elevfront)-ค่าระดับตําแหน่งข ้างหลัง(Elevback)
3 : ค่าต่างระดับ(Diff) = ไม ้หลัง(BS)-ไม ้หน ้า(FS) ค่าต่างระดับ(Diff) = ค่าระดับตําแหน่งข ้างหลัง(Elevback)-ค่าระดับตําแหน่งข ้างหน ้า(Elevfront)
4 : ค่าต่างระดับ(Diff) = ไม ้หน ้า(FS)-ไม ้หลัง(BS) ค่าต่างระดับ(Diff) = ค่าระดับตําแหน่งข ้างหลัง(Elevback)-ค่าระดับตําแหน่งข ้างหน ้า(Elevfront)
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 38 :
ตังกล ้องระดับอยูร่ ะหว่างจุด A และ B อ่านค่าบนไม ้ระดับที A ได ้ 1.620 เมตร และอ่านค่าบนไม ้ระดับที B ได ้ 1.565 เมตร จากนันย ้ายกล ้องระดับไปข ้างหน ้าและตังอยูร่ ะหว่าง จุด B และ C อ่าน
ค่าบนไม ้ระดับที B ได ้ 1.684 เมตร และอ่านค่าบนไม ้ระดับที C ได ้ 1.420 เมตร ข ้อความใดต่อไปนีถูกต ้อง

1 : ค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ Bเท่ากับ 0.055 เมตรและจุด A อยูส


่ งู กว่า B

2 : ค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ Bเท่ากับ 0.055 เมตรและจุด B อยูส


่ งู กว่า A

3 : ค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ Cเท่ากับ 0.319 เมตรและจุด A อยูส


่ งู กว่า C

4 : ค่าต่างระดับระหว่างจุด A และ Cเท่ากับ 0.319 เมตรและจุด C อยูส


่ งู กว่า A
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 39 :
ถ่ายระดับจากหมุด A ไป B พบว่า ระดับของหมุด A อยูต
่ ํากว่าแนวเล็งของกล ้องระดับ 1.86 เมตร และระดับของหมุด B อยูต
่ ํากว่าแนวเล็งของกล ้องระดับ 1.32 เมตร หมุด A มีกําหนดสูงเท่ากับ
92.441 เมตร กําหนดสูงของหมุด B เป็ นเท่าใด

1 : 89.261 เมตร

2 : 90.581 เมตร

3 : 91.121 เมตร

4 : 92.981 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 40 :
คีตภัทรเข ้าร่วมการแข่งขันเดินมินม
ิ าราธอนระยะทาง 10 กิโลเมตร ถ ้าคีตภัทรเดินด ้วยอัตราความเร็ว 4 กิโลเมตร/ชัวโมง อยากทราบว่าถ ้าเริมการแข่งขันเวลา 7.00 น. เวลา 8.30 น คีตภัทรจะเดิน
ทางได ้ระยะทางเท่าไร

1 : 5.25 กิโลเมตร

2 : 5.67 กิโลเมตร

3 : 6.00 กิโลเมตร

4 : 6.30 กิโลเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 41 :
นายหมูน ้อยออกเดินทางจากตําบลบ ้านค่ายไปยังตําบลบ ้านเขว ้าด ้วยอัตราเร็ว 5 กิโลเมตร/ชัวโมง เขาใช ้เวลาเดิน 3 ชัวโมง 25 นาที อยากทราบว่าทัง 2 ตําบลมีระยะทางห่างกันเท่าไร

1 : 15.00 กิโลเมตร

2 : 16.25 กิโลเมตร

3 : 17.08 กิโลเมตร

4 : 17.25 กิโลเมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 42 :
วัดทีดินสีเหลียมผืนผ ้าได ้ความกว ้าง 30 เมตร ยาว 40 เมตรเนือทีของแปลงทีดินเท่ากับกี
ตารางวา

1 : 150 ตารางวา

2 : 300 ตารางวา

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 6/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
3 : 600ตารางวา

4 : 2400 ตารางวา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 823 : Principles and applications of theodolites, distance and direction measurements

ข ้อที 43 :
จากการวัดค่ามุมดิงด ้วยกล ้องทีโอโดไลท์ ได ้ค่ากล ้องหน ้าซ ้ายเท่ากับ 7 องศา 49 ลิปดา 56 ฟิ ลป
ิ ดา กล ้องหน ้าขวาเท่ากับ 172 องศา 9 ลิปดา 56 ฟิ ลป
ิ ดา จง
คํานวณหาค่ามุมดิง

1 : 7 องศา 49 ลิปดา 56 ฟิ ลปิ ดา


2 : 7 องศา 50 ลิปดา 0 ฟิ ลป
ิ ดา
3 : 172 องศา 10 ลิปดา 0 ฟิ ลป ิ ดา
4 : 172 องศา 9 ลิปดา 56 ฟิ ลป ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 44 :
ในการวัดมุมมุมหนึงทําการวัด 3 ชุด แต่ละชุดได ้ค่าเฉลียและนํ าหนักดังนี ชุดที 1 วัด 1 ครัง ค่ามุมเท่ากับ 47 องศา 37 ลิปดา 40 ฟิ ลป
ิ ดา ชุดที 2 วัด 4 ครัง ค่ามุม
เท่ากับ 47 องศา 37 ลิปดา 22 ฟิ ลป
ิ ดา ชุดที 3 วัด 9 ครัง ค่ามุมเท่ากับ 47 องศา 37 ลิปดา 30 ฟิ ลปิ ดา จงหาค่าความน่าจะเป็ นของมุม

1 : 47 องศา 37 ลิปดา 28 ฟิ ลปิ ดา


2 : 47 องศา 37 ลิปดา 30 ฟิ ลป ิ ดา
3 : 47 องศา 37 ลิปดา 22 ฟิ ลป ิ ดา
4 : 47 องศา 37 ลิปดา 31ฟิ ลปิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 45 :
การอ่านค่ามุมในทางดิง (มุมก ้ม,มุมเงย) จากกล ้อง Theodolite อาศัยมุมตามข ้อใดเป็ นแนวราบ

1 : 90 , 270 องศา
2 : 0 , 180 องศา
3 : 0, 360 องศา
4 : 90 , 180 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 46 :
จากรูปค่าทิศทางราบทีอ่านจากกล ้องมีคา่ เท่าไร

1 : 97 องศา 12ลิปดา 20 ฟิ ลบ
ิ ดา
2 : 98 องศา 12ลิปดา 20 ฟิ ลบิ ดา
3 : 198 องศา 12ลิปดา 20 ฟิ ลบ ิ ดา
4 : 198 องศา 30 ลิบดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 47 :
ค่าคลาดเคลือนชนิดใดทีถูกขจัดไปโดยการอ่านจานองศาทังกล ้องหน ้าซ ้ายและหน ้าขวา

1 : ค่าคลาดเคลือนการแบ่งขีดจานองศาดิง
2 : ค่าคลาดเคลือนการแบ่งขีดจานองศาราบ
3 : ค่าคลาดเคลือนดัชนีจานองศาดิง
4 : ค่าคลาดเคลือนของการอ่านจานองศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 48 :
Odometer เป็ นเครืองมือสํารวจประเภทใด

1 : เครืองมือวัดระยะ
2 : เครืองมือวัดพืนที
3 : เครืองมือวัดทิศทาง
4 : เครืองมือวัดระดับ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 49 :
ผลรวมของมุมราบภายในรูป 5 เหลียมปิ ด มีคา่ เท่าใด

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 7/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

1 : 360 องศา
2 : 600 องศา
3 : 540 องศา
4 : 560 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 50 :
ผลรวมของมุมราบภายนอกรูป 6 เหลียมปิ ด มีคา่ เท่าใด

1 : 1440 องศา
2 : 720 องศา
3 : 1620 องศา
4 : 1080 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 51 :
แบริงของแนว AB คือปริมาณใด

1 : S 30 องศา E
2 : E 30 องศา S
3 : S 60 องศา E
4 : N 120 องศา E
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 52 :
แอซิมท
ั ของแนว AB คือปริมาณใด

1 : 135องศา
2 : 45องศา
3 : 205องศา
4 : 225องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 53 :
ระยะ Latitude และ Departure ของแนว AB เรียงตามลําดับ คือข ้อใด

1 : Scos40องศา, Ssin40องศา
2 : Scos50องศา, Ssin50องศา
3 : Scos40องศา, Ssin50องศา
4 : Ssin50องศา, Scos40องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 54 :
วัดระยะราบจากจุดตังกล ้องระดับ A ไปยังจุด B ทีอยูข
่ ้างหน ้าด ้วยวิธส
ี เตเดีย อ่านไม ้เล็งระดับ ณ จุด B
ได ้ค่าสายใยบน สายใยกลาง และสายใยล่าง เท่ากับ 1.850 , 1.290 , 0.73 เมตร ตามลําดับ
กําหนดค่าคงทีตัวคูณของกล ้องเท่ากับ 100 และค่าคงทีตัวบวกเท่ากับ 0
ระยะราบจากจุด A ถึง B เป็ นเท่าใด

1 : 110 เมตร
2 : 111 เมตร
3 : 112 เมตร
4 : 113 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 55 :
วัดความสูงของผนังอาคารจากพืนระดับราบด ้วยกล ้องวัดมุม อ่านค่ามุมสูงทียอดของผนังได ้ 45องศา
ความสูงของกล ้องวัดจากแนวเล็งถึงพืนระดับได ้ 1.65 เมตร และระยะห่างจากจุดตังกล ้องถึงผนังอาคาร
เท่ากับ 22.35 เมตร ผนังอาคารมีความสูงเท่าใดจากพืนระดับ

1 : 24.00 เมตร

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 8/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
2 : 17.45 เมตร
3 : 20.70 เมตร
4 : 22.40 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 56 :

1 : 100 องศา
2 : 85 องศา
3 : 90 องศา
4 : 95 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 57 :
วัดระยะผ่านสิงกีดขวางด ้วยวิธส
ี ามเหลียมหน ้าจัว มีด ้าน AB = BC = 28 เมตร และมุม a เท่ากับ 60 องศา ระยะ AC ยาวเท่าใด

1 : 28 เมตร
2 : 29 เมตร
3 : 30 เมตร
4 : 31 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 58 :

1 : 134 องศา 14 ลิปดา 25 พิลป


ิ ดา
2 : 134 องศา 15 ลิปดา 27 พิลปิ ดา
3 : 134 องศา 15 ลิปดา 25 พิลป ิ ดา
4 : 134 องศา 15 ลิปดา 26 พิลป ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 59 :
การวัดระยะด ้วยวิธใี ด ให ้ความถูกต ้องในเกณฑ์ตําทีสุด

1 : Stadia
2 : Subtense bar
3 : Taping
4 : Electronic Distance Measurement
5:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 60 :
วัดระยะลาดแนวหนึงได ้เท่ากับ 125.450 เมตร มีมม
ุ ลาดเอียง 2 องศา 50 ลิปดา
จงคํานวณหาระยะราบ

1 : 6.201 เมตร
2 : 125.450 เมตร
3 : 125.604 เมตร
4 : 125.297 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 61 :
ระยะ AB ยาว 210.450 เมตร วัดด ้วยเทปเหล็กยาว 30 เมตร ซึงเมือนํ าไปวัดสอบมาตรฐาน พบว่าเทปยาวจริง 30.005 เมตร
จงคํานวณหาระยะทีถูกต ้องของ AB

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 9/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

1 : 210.415 เมตร
2 : 210.445 เมตร
3 : 210.455 เมตร
4 : 210.485 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 62 :
ตังกล ้องทีโอโดไลท์เหนือจุด A วางท่อนไม ้กลมตรงยาว 10 เมตรในแนวดิงทีจุด B เล็งกล ้องทีปลายไม ้วัดมุมดิงได ้ 5 องศา02 ลิปดา และเมือเล็งกล ้องตําลงมา
1.50 เมตรวัดมุมดิงได ้ 4 องศา13 ลิบดาให ้คํานวณหาระยะราบ AB

1 : 102.7 ม.
2 : 104.6 ม.
3 : 111.3 ม.
4 : 113.5 ม.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 63 :
แถบเหล็กวัดระยะยาว 30 ม. วัดระยะทางบนพืนผิวเรียบ ด ้วยแรงดึง 5 กก. อุณหภูม ิ 20ºC ได ้ระยะทางเท่ากับ 29.9855 ม. แถบวัดระยะหนัก 1.05 กก. มีเนือทีหน ้า
ตัด 0.030 ซม.2 มีสมั ประสิทธิการยืดหด 0.0000116 ต่อเมตร ต่อ ºC และค่า E = 2,000,000 กก./ซม. 2 เมือวัดระยะทาง โดยมีจด
ุ รองรับหัวท ้ายด ้วยแรงดึง 6 กก.
อุณหภูมเิ ฉลีย 32ºC บันทึกค่าระยะทางได ้ 21.950 ม. ระยะทางถูกต ้องมีคา่ แก ้อย่างไร

1 : ค่าแก ้แรงดึงเป็ น + ค่าแก ้อุณหภูมเิ ป็ น +


2 : ค่าแก ้แรงดึงเป็ น - ค่าแก ้อุณหภูมเิ ป็ น -
3 : ค่าแก ้แรงดึงเป็ น - ค่าแก ้อุณหภูมเิ ป็ น +
4 : ค่าแก ้แรงดึงเป็ น + ค่าแก ้อุณหภูมเิ ป็ น -
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 64 :
ในงานก่อสร ้างคันหินคอนกรีต (Curb) ยินยอมให ้มีคา่ คลาดเคลือนทางราบ ในการก่อสร ้างเท่ากับ + 10 mm. เมือใช ้กล ้องรังวัดแบบเบ็ดเสร็จ (Total Station) ลง
ตําแหน่งคันหินมีระยะทางจากจุดตังกล ้องไกลสุด 200 ม. ค่าคลาดเคลือนทางมุมสูงมากทีสุดเป็ นเท่าใด เมือมีความเชือมันในการรังวัด 90%

1 : 3″
2 : 4″
3 : 5″
4 : 6″
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 65 :

1 : 50 องศา 15 ลิปดา 12 ฟิ ลป
ิ ดา
2 : 50 องศา 15 ลิปดา 14 ฟิ ลปิ ดา
3 : 50 องศา 15 ลิปดา 16 ฟิ ลป ิ ดา
4 : 50 องศา 15 ลิปดา 34 ฟิ ลป ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 66 :
ตังกล ้องทีโอโดไลท์ระหว่างจุด A และ B และอ่านค่าไม ้ระดับทีจุด A และ B ดังตาราง :

1 : -12.17 ม.
2 : -12.28 ม.
3 : +12.28 ม.
4 : +12.17 ม.
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 10/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

ข ้อที 67 :

1 : -9.345 ม.
2 : +9.345 ม.
3 : -9.350 ม.
4 : +9.350 ม.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 68 :
ตังกล ้องทีโอโดไลท์แบบรังวัดทิศทางเหนือหมุด C โดยมีเครืองหมายกากบาทบนหัวหมุด แนวเส ้นดิงของกล ้องอยูท ่ จุ
ี ด C′ซึงห่างจากหัวหมุดเท่ากับ 0.015 ม.
เป้ า A และ B อยูห
่ า่ งจากหมุด C 150 ม. เท่ากัน รังวัดมุม AC′B เท่ากับ 52º15′10″ โดยการขจัดค่าคลาดเคลือนอย่างเป็ นระบบออกแล ้ว และสมมติไม่มค ี า่ คลาด
เคลือนเนืองจากการเล็งเป้ าและค่าอ่านไมโครมิเตอร์

1 : 13″
2 : 16″
3 : 18″
4 : 21″
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 69 :

1 : 110º42.3′
2 : 110º42.4′
3 : 110º42.5′
4 : 110º42.6′
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 70 :

1 : 134 องศา 14 ลิปดา 25 พิลปิ ดา


2 : 134 องศา 14 ลิปดา 26 พิลป
ิ ดา
3 : 134 องศา 15 ลิปดา 25 พิลป ิ ดา
4 : 134 องศา 15 ลิปดา 26 พิลป ิ ดา
5 : 134 องศา 15 ลิปดา 26 พิลป ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 71 :
ข ้อใดต่อไปนีเป็ นการวัดระยะในแนวราบด ้วยการวัดวิธต
ี รง (Direct measurement)

1 : สายใยสเตเดีย
2 : ค่าบนไม ้ระดับและมุมดิงของแนวเล็ง
3 : มุมราบโดย subtense bar
4 : เครืองวัดระยะอิเลกทรอนิกส์
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 72 :
ี ารวัดระยะในแนวราบทีนิยมใช ้กันทัวไป 4 วิธค
วิธก ื การนับก ้าว การใช ้แถบวัดระยะ ใช ้เครืองวัดระยะอิเลกทรอนิกส์ และใช ้สายใยสเตเดีย ให ้เรียงลําดับวิธก
ี อ ี ารที
ให ้ค่าความถูกต ้องสูงสุดไปตําสุด

1 : การใช ้แถบวัดระยะ ใช ้เครืองวัดระยะอิเลกทรอนิกส์ การนับก ้าวและใช ้สายใยสเตเดีย


2 : การใช ้แถบวัดระยะ ใช ้เครืองวัดระยะอิเลกทรอนิกส์ ใช ้สายใยสเตเดีย และการนับก ้าว
3 : ใช ้เครืองวัดระยะอิเลกทรอนิกส์ การใช ้แถบวัดระยะ ใช ้สายใยสเตเดีย และการนับก ้าว
4 : ใช ้เครืองวัดระยะอิเลกทรอนิกส์ การใช ้แถบวัดระยะ การนับก ้าวและใช ้สายใยสเตเดีย
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 11/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

ข ้อที 73 :
ระยะทางราบมีคา่ เท่ากับ 815.00 เมตร จะมีระยะตามแนวเอียงเท่าใดหากพืนดินมีความลาดเอียงเท่ากับ 4 องศา

1 : 816.99
2 : 813.01
3 : 815.12
4 : 810.25
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 74 :
สภาวะชัวขณะ (Temporary adjustment) ของกล ้องวัดมุมเป็ นสภาวะทีต ้องทําทุกครังทีใช ้กล ้องวัดมุม ข ้อใดต่อไปนีไม่ใช่สภาวะชัวขณะ

1 : ปรับสายใยดิงให ้อยูใ่ นแนวดิงจริง


2 : ตังกล ้องให ้ตรงจุด
3 : ตังกล ้องให ้ได ้ระดับ
4 : การขจัดภาพเหลือม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 75 :
ค่าคลาดเคลือนตัวใดทีไม่สามารถขจัดออกไปได ้ด ้วยการหาค่าเฉลียของมุมทีวัดได ้จากกล ้องหน ้าซ ้ายและหน ้าขวา

1 : แนวเล็งไม่ตงฉากกั
ั บแกนราบ (Horizontal Collimation error)
2 : ดัชนีจานองศาดิง (Vertical circle index error)
3 : แกนราบไม่ตงฉากกั
ั บแกนดิง (Trunnion axis tilt error)
4 : การแบ่งขีดบนจานองศาไม่เท่ากัน (Graduation error)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 76 :
ข ้อใดต่อไปนีเป็ นสาเหตุของค่าผิดพลาด (Blunder or mistake) ทีเกิดกับการรังวัดมุม

1 : เล็งไม่ตรงเป้ า
2 : อ่านค่ามุมไม่ถก ู
3 : การจดค่ามุมไม่ถก ู
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 77 :
ถ ้าความถูกต ้องของการวัดระยะเท่ากับ 1:5000 ค่าคลาดเคลือนของมุมราบจะต ้องไม่เกินเท่าไร จึงจะได ้ค่ามุมราบทีมีความถูกต ้องในระดับเดียวกับความถูกต ้อง
ของการวัดระยะทาง

1 : 40 ฟิ ลป
ิ ดา
2 : 50 ฟิ ลปิ ดา
3 : 80 ฟิ ลป ิ ดา

4 : 30 ฟิ ลป
ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 78 :
ถ ้าต ้องการความถูกต ้องของการวัดระยะเท่ากับ 1:2500 และ 1:5000 ท่านคิดว่าควรใช ้กล ้องวัดมุมทีถูกต ้องเท่าใดมาใช ้จึงจะเหมาะสม

1 : ใช ้กล ้องวัดมุมทีถูกต ้อง 1 ลิปดาสําหรับงาน 1:2500 และกล ้องวัดมุมทีถูกต ้อง 30 ฟิ ลป


ิ ดาสําหรับงาน 1:5000
2 : ใช ้กล ้องวัดมุมทีถูกต ้อง 1 ลิปดาสําหรับงาน 1:2500 และ 1:5000
3 : ใช ้กล ้องวัดมุมทีถูกต ้อง 2 ลิปดาสําหรับงาน 1:2500 และกล ้องวัดมุมทีถูกต ้อง 30 ฟิ ลปิ ดาสําหรับงาน 1:5000
4 : ใช ้กล ้องวัดมุมทีถูกต ้อง 2 ลิปดา สําหรับงาน 1:2500 และ 1:5000
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

เนือหาวิชา : 824 : Errors in surveying, acceptable error, data correction, triangulation

ข ้อที 79 :
การวัดระยะทีใช ้วิธก
ี ารวัดด ้วยกล ้องวัดมุม (Theodolite) ร่วมกับไม ้ระดับมีความคลาดเคลือน
อยูใ่ นเกณฑ์

1 : 1: 200
2 : 1: 300
3 : 1: 400
4 : 1: 500
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 80 :
เทปวัดระยะยาว 30 เมตร เมือนํ าไปเปรียบเทียบกับเทปวัดระยะทางมาตรฐานได ้ความยาว
29.996 เมตร นํ าไปวัดความยาวได ้ 171.278 เมตร ความยาวทีถูกต ้องจะต ้องเป็ นเท่าไร

1 : 171.255 เมตร
2 : 171.755 เมตร
3 : 170.350 เมตร
4 : 171.301 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 81 :
เทปวัดระยะเหล็กมีความยาว 30 เมตร ภายใต ้แรงดึงมาตรฐาน 5 กิโลกรัม มีพนที ื หน ้าตัดขวางเท่ากับ 0.032 ตร.ซม. ถ ้านํ าแถบวัดระยะนีไปวัดระยะทางได ้ 265.950
เมตร โดยใช ้แรงดึง 10 กก. จงหาระยะทางทีถูกต ้อง ถ ้าค่า E ของเหล็กเท่ากับ 1,973,300 กก/ตร.ซม.

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 12/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

1 : 265.951 เมตร
2 : 265.971 เมตร
3 : 265.929 เมตร
4 : 265.930 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 82 :
ในการรังวัดระยะทางจากจุด K ไปยัง L จํานวน 6 ครัง มีข ้อมูลดังนี (หน่วยเป็ นเมตร)
961.37, 961.49, 961.30, 961.38, 961.28, 961.23 จงคํานวณหาค่าความคลาดเคลือนมาตรฐานของค่าเฉลีย (Standard error of the mean)

1 : +/- 0.026 เมตร


2 : +/- 0.038 เมตร
3 : +/- 0.065 เมตร
4 : +/- 0.092 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 83 :
ในการรังวัดมุม H จํานวน 8 ครัง มีคา่ ความคลาดเคลือนมาตรฐาน (Standard error) เท่ากับ +/-04 ฟิ ลป
ิ ดา
จงคํานวณหาค่า Probable error

1 : +/-0.5 ฟิ ลป
ิ ดา
2 : +/-2.7 ฟิ ลปิ ดา
3 : +/-4.0 ฟิ ลป ิ ดา
4 : +/-7.8 ฟิ ลป ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 84 :
สนามรูปสีเหลียมผืนผ ้า วัดความกว ้างได ้เท่ากับ 339.21+/-0.05 เมตร และวัดความยาวได ้เท่ากับ 563.67+/-0.09 เมตร
จงคํานวณหาความคลาดเคลือนมาตรฐานของพืนที

1 : +/-41.5 ตารางเมตร
2 : +/-46.8 เมตร
3 : +/-49.9 ตารางเมตร
4 : +/-51.5 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 85 :
ในงานสํารวจเมือมีการวัดซําของปริมาณใด ค่าทีน่าเชือถือทีสุดทีใช ้เป็ นตัวแทนของการวัดนัน
คือข ้อใด

1 : ค่าพิสยั ( range )
2 : ค่าเฉลีย ( mean )
3 : ค่ามัธยฐาน ( median )
4 : ค่าเบียงเบนมาตรฐาน ( standard deviation )
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 86 :
ในการอ่านค่าไม ้ระดับ ความไม่ถก
ู ต ้องทีเกิดขึนเป็ นความคลาดเคลือนชนิดใด

1 : ความคลาดเคลือนเชิงระบบ ( systematic error )


2 : ความคลาดเคลือนสุม่ ( accidental error )
3 : ความคลาดเคลือนเชิงปฏิบต ั ิ ( practical error )
4 : ความผิดพลาด ( mistake )
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 87 :
เมือ SE หรือ Standard Errorเป็ นความคลาดเคลือนมาตรฐานของค่าการวัด ความคลาดเคลือนทียอมรับได ้ ในช่วงทีมีความเชือมัน 90% (SE90) หาได ้จากค่า
สัมพันธ์ในข ้อใด

1 : 1.6449SE
2 : 0.8645SE
3 : 0.6745SE
4 : 0.4578SE
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 88 :
วัดระยะราบระหว่างหมุด A และ B ได ้ค่า 82.15, 82.20, 82.12, 82.18 และ 82.22 เมตร
ค่าระยะราบ AB ทีดีทสุ
ี ดจะเป็ นเท่าใด

1 : 82.150 เมตร
2 : 82.162 เมตร
3 : 82.174 เมตร
4 : 82.186 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 89 :
รูปสามเหลียมระนาบ วัดด ้าน 3 ด ้านด ้วยวิธวี ด
ั ซํา ได ้ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐานของแต่ละด ้านเท่ากับ
0.1, 0.3, 0.4 เมตร อยากทราบว่าส่วนเบียงเบนมาตรฐานของเส ้นรอบรูปสามเหลียมนันจะเป็ นเท่าใด

1 : 0.26 เมตร
2 : 0.80 เมตร
3 : 0.51 เมตร
4 : 0.64 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 13/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

ข ้อที 90 :
พืนทีรูปสีเหลียมผืนผ ้า วัดด ้านโดยวิธวี ด
ั ซํา ได ้ค่าด ้านกว ้าง 339.21+/-0.05 เมตร ด ้านยาว 563.67+/-0.11 เมตร และได ้ค่าส่วนเบียงเบนมาตรฐานของแต่ละด ้าน
เท่ากับ 0.2 และ 0.3 เมตร ตามลําดับ อยากทราบว่าส่วนเบียงเบนมาตรฐานของพืนทีรูปสีเหลียมผืนผ ้านันเป็ นเท่าใด

1 : 41.5 ตารางเมตร
2 : 46.8 ตารางเมตร
3 : 49.9 ตารางเมตร
4 : 51.5 ตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 91 :
การโยงพิกดั ทางราบจากหมุดควบคุมโดยวิธเี ล็งสกัดกลับ (Resection)
การวัดมุมอย่างเดียวต ้องการใช ้หมุดควบคุมทางราบอย่างน ้อยกีหมุด

1 : 2 หมุด
2 : 3 หมุด
3 : 4 หมุด
4 : 5 หมุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 92 :
การโยงพิกด ั ทางราบจากหมุดควบคุมโดยวิธเี ล็งสกัดตรง (Intersection)
ด ้วยการวัดมุมอย่างเดียวต ้องการใช ้หมุดควบคุมทางราบอย่างน ้อยกีหมุด

1 : 2 หมุด
2 : 3 หมุด
3 : 4 หมุด
4 : 5 หมุด
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 93 :
วัดมุมในรูปสามเหลียมด ้วยวิธวี ด
ั ซํา ได ้ค่ามุม A = 53 องศา 15 ลิปดา : B = 59 องศา 12 ลิปดา : C = 67 องศา 21 ลิปดา และนํ าหนักของการวัดเท่ากับ 2 : 4 : 6
ตามลําดับ ค่าทีดีทสุ
ี ดของมุม C คือข ้อใด

1 : 67 องศา 27 ลิปดา
2 : 67 องศา 21 ลิปดา
3 : 67 องศา 23 ลิปดา
4 : 67 องศา 25 ลิปดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 94 :

1 : 0.09 เมตร
2 : 0.07 เมตร
3 : 0.05 เมตร
4 : 0.06 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 95 :
ต ้องการวัดระยะทาง 500 เมตร ด ้วยแถบวัดระยะให ้มีความคลาดเคลือนไม่เกิน +/- 0.10 เมตร เมือใช ้แถบวัดระยะทาง 50 เมตร วัดในแต่ละช่วงจะมีคา่ ความคลาด
เคลือนทียอมรับได ้ (Acceptable error) เป็ นเท่าใด

1 : +/-0.01
2 : +/-0.02 ม.
3 : +/-0.03 ม.
4 : +/-0.04 ม.
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 96 :
ในการรังวัดมุมภายในรูปสามเหลียมด ้วยกล ้องทีมี least count 1 ลิปดา ค่าคลาดเคลือนทียอมรับได ้ (Acceptable error) จากการรังวัดมุมทังสามควรเป็ นทําใด

1 : 3 ลิปดา
2 : 1.5 ลิปดา
3 : 1.7 ลิปดา
4 : 2 ลิปดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 97 :
ในการวัดรังวัดมุมราบ AOB โดยรังวัดทิศทางจํานวน 2 ชุด (มีการรังวัดทิศทาง 4 ทิศทาง) ถ ้าค่าคลาดเคลือนในการเล็งเป้ าและการอ่านค่าไมโครมิเตอร์เท่ากับ
04.0 ฟิ ลป
ิ ดา และ 02.0 ฟิ ลป
ิ ดา จงคํานวณหาค่าคลาดเคลือนในการรังวัดมุม

1 : 3.8 ฟิ ลป
ิ ดา
2 : 1.6 ฟิ ลปิ ดา
3 : 2.2 ฟิ ลป ิ ดา
4 : 3.2 ฟิ ลป ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 98 :

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 14/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
โครงข่ายสามเหลียมวัดด ้าน
AB = 1073.007 เมตร BC = 667.373 เมตร
BD = 117.104 เมตร AC = 1174.495 เมตร AD = 723.906 เมตร
จงคํานวนหามุม 5

1 : 30º14´40´´
2 : 37º14´30´´
3 : 37º14´35´´
4 : 37º14´25´´
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 99 :
คําตอบข ้อใดทีเลขทุกจํานวนมีนัยสําคัญ 4 ตัว

1 : 1234, 0.1234, 0.0012


2 : 3542.0000, 35.4200, 3.5420
3 : 3641, 3.641, 0.03641
4 : 0875, 8.750, 0.0875
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 100 :
หลักการคํานวณโดยคํานึงถึงเลขนัยสําคัญ ถ ้านํ า 362.56 คูณด ้วย 2.13 จะได ้คําตอบเป็ น

1 : 772.2528
2 : 772
3 : 772.25
4 : 772.3
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 101 :

1:

2:

3:

4:
5:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 102 :
หากวัดขนาดของอาคารบนแผนทีมาตราส่วน 1:250 ได ้ความกว ้าง 60 มิลลิเมตรและความยาว 80 มิลลิเมตร ให ้คํานวณหาพืนทีจริงของอาคารนี

1 : 3 ตารางเมตร
2 : 300 ตารางเมตร
3 : 3,000 ตารางเมตร
4 : 30,000 ตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 103 :
ในการเขียนแผนทีโดยทัวไปมักจะกําหนดให ้ขนาดของจุดหรือเส ้นใดๆ บนแผนทีต ้องมีความหนาเพียงพอทีจะมองเห็นได ้ ซึงในทางปฏิบต ิ มายถึงจุดหรือเส ้นจะ
ั ห
ต ้องมีความหนาไม่น ้อยกว่า 0.2 มิลลิเมตร ดังนันในการเขียนเส ้นหรือจุดใดๆ ก็จะมีความคลาดเคลือนประมาณ 0.2 มิลลิเมตร จงคํานวณระยะคลาดเคลือนบนพืน

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 15/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
ดินทียอมรับได ้สําหรับแผนทีมาตราส่วน 1:25,000

1 : 0.5 เมตร
2 : 5 เมตร
3 : 50 เมตร
4 : 500 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 104 :
แผนทีมาตราส่วนใดทีไม่เหมาะสมสําหรับงานวิศวกรรมทัวไป

1 : 1:250
2 : 1:500
3 : 1:1,000
4 : 1:10,000
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 105 :
ทําการวัดมุมรอบจุด 3 มุม ได ้ค่าดังนี

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 106 :
ทําการวัดมุมมุมหนึงจํานวนสามชุดทีมีจํานวนครังของการวัดแตกต่างกัน โดยมีรายละเอียดดังนี

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 107 :
หลักการคํานวณโดยคํานึงถึงเลขนัยสําคัญ ถ ้านํ าค่า 23.3134 2.03 และ 200.1 มาบวกกัน
จะได ้

1 : 225.4434
2 : 225.443
3 : 225.44
4 : 225.4
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 108 :
ทําการวัดมุมมุมหนึงจํานวนสามชุดทีมีจํานวนครังของการวัดแตกต่างกัน โดยมีรายละเอียดดังนี

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 16/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

ข ้อที 109 :
สนามรูปสีเหลียมผืนผ ้า วัดความกว ้างได ้เท่ากับ 339.21+/-0.07 เมตร และวัดความยาวได ้เท่ากับ 563.67+/-0.09 เมตร
จงคํานวณหาความคลาดเคลือนมาตรฐานของพืนที

1 : +/-41.5 ตารางเมตร

2 : +/-46.8 เมตร

3 : +/-49.9 ตารางเมตร

4 : +/-51.5 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 110 :
เมือ SE หรือ Standard Errorเป็ นความคลาดเคลือนมาตรฐานของค่าการวัด ความคลาดเคลือนทียอมรับได ้ ในช่วงทีมีความเชือมัน 50% (SE50) หาได ้จากค่าสัมพันธ์ในข ้อใด

1 : 1.6449SE

2 : 0.8645SE

3 : 0.6745SE

4 : 0.4578SE
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 111 :
ในการอ่านค่าไม ้ระดับ ถ ้าอ่านค่าเดซิเมตรผิด ความไม่ถก
ู ต ้องทีเกิดขึนเป็ นความคลาดเคลือนชนิดใด

1 : ความคลาดเคลือนเชิงระบบ ( systematic error )

่ ( accidental error )
2 : ความคลาดเคลือนสุม

3 : ความคลาดเคลือนเชิงปฏิบต
ั ิ ( practical error )

4 : ความผิดพลาด ( mistake )
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 112 :
วัดระยะราบระหว่างหมุด A และ B ได ้ค่า 82.15, 82.20, 82.12, 82.16 และ 82.12 เมตร
ค่าระยะราบ AB ทีดีทสุ
ี ดจะเป็ นเท่าใด

1 : 82.150 เมตร

2 : 82.162 เมตร

3 : 82.174 เมตร

4 : 82.186 เมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 113 :
ื หน ้าตัดขวางเท่ากับ 0.032 ตร.ซม. ถ ้านํ าแถบวัดระยะนีไปวัดระยะทางได ้ 265.950 เมตร โดยใช ้แรงดึง 5 กก. จง
เทปวัดระยะเหล็กมีความยาว 30 เมตร ภายใต ้แรงดึงมาตรฐาน 10 กิโลกรัม มีพนที
หาระยะทางทีถูกต ้อง ถ ้าค่า E ของเหล็กเท่ากับ 1,973,300 กก/ตร.ซม.

1 : 265.951 เมตร

2 : 265.971 เมตร

3 : 265.929 เมตร

4 : 265.930 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 114 :
ในการรังวัดระยะทางจากจุด K ไปยัง L จํานวน 6 ครัง มีข ้อมูลดังนี (หน่วยเป็ นเมตร)
961.37, 961.39, 961.30, 961.38, 961.28, 961.23 จงคํานวณหาค่าความคลาดเคลือนมาตรฐานของค่าเฉลีย (Standard error of the mean)

1 : +/- 0.026 เมตร

2 : +/- 0.038 เมตร

3 : +/- 0.065 เมตร

4 : +/- 0.092 เมตร


คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 115 :
เทปวัดระยะยาว 30 เมตร เมือนํ าไปเปรียบเทียบกับเทปวัดระยะทางมาตรฐานได ้ความยาว
29.996 เมตร นํ าไปวัดความยาวได ้ 171.778 เมตร ความยาวทีถูกต ้องจะต ้องเป็ นเท่าไร

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 17/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

1 : 171.255 เมตร

2 : 171.755 เมตร

3 : 170.350 เมตร

4 : 171.301 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 116 :
ในการวัดรังวัดมุมราบ AOB โดยรังวัดทิศทางจํานวน 4 ชุด (มีการรังวัดทิศทาง 4 ทิศทาง) ถ ้าค่าคลาดเคลือนในการเล็งเป้ าและการอ่านค่าไมโครมิเตอร์เท่ากับ 04.0 ฟิ ลป
ิ ดา และ 02.0 ฟิ ลป
ิ ดา จง
คํานวณหาค่าคลาดเคลือนในการรังวัดมุม

1 : 3.8 ฟิ ลป
ิ ดา

2 : 1.6 ฟิ ลป
ิ ดา

3 : 2.2 ฟิ ลป
ิ ดา

4 : 3.2 ฟิ ลป
ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

เนือหาวิชา : 825 : Precise determination of azimuth, precise traverse plane coordinate system, precise leveling

ข ้อที 117 :
Azimuth หมายถึง

1 : ง่ามมุมทีวัดจากทิศเหนือหรือทิศใต ้กับทิศทางทวนเข็มนาฬกาิ
2 : ง่ามมุมทีวัดจากทิศใต ้ในทิศทางตามเข็มนาฬกาิ
3 : ง่ามมุมทีวัดจากทิศเหนือในทิศทางตามเข็มนาฬกา ิ

4 : ง่ามมุมทีวัดจากทิศเหนือหรือทิศใต ้ในทิศทางตามเข็มนาฬกา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 118 :
จงแปลงค่าควอแดรนท์แบริง(Quadrant bearing) N 30 องศา 10 ลิปดา W เป็ นค่า Azimuth

1 : 210องศา 10 ลิปดา

2 : 329 องศา 50 ลิปดา

3 : 330 องศา 0 ลิปดา

4 : 30 องศา 10 ลิปดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 119 :
จงแปลงค่า 311 องศา 10 ลิปดา เป็ นค่าควอแดรนท์แบริง(Quadrant bearing)

1 : N 48 องศา 50 ลิปดา W
2 : N 131 องศา 10 ลิปดา E
3 : N 48 องศา 50 ลิปดา E
4 : N 131 องศา 10 ลิปดา W
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 120 :
หลักการอ่านค่า Azimuth คือ


1 : อ่านจากแนวเหนือ-ใต ้ (N-S) เวียนทวนเข็มนาฬกาทางเดี ยว

2 : อ่านจากแนวเหนือ-ใต ้ (N-S) เวียนตามเข็มนาฬกาทางเดียว
3 : อ่านจากแนวออก-ตก (E-W) เวียนทวนเข็มนาฬกาทางเดี ิ ยว

4 : อ่านจากแนวออก-ตก (E-W) เวียนตามเข็มนาฬกาทางเดี ยว
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 121 :
แนว AB มีคา่ แบริง (bearing) N 30 องศา 12 ลิปดา 45 ฟิ ลป
ิ ดา W จงหาว่าแนว AB นีมี Azimuth เท่าไร

1 : 30 องศา 12 ลิปดา 45 ฟิ ลป
ิ ดา
2 : 149 องศา 47 ลิปดา 15 ฟิ ลปิ ดา
3 : 210 องศา 12 ลิปดา 45 ฟิ ลป ิ ดา
4 : 329 องศา 47 ลิปดา 15 ฟิ ลป ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 122 :
กําหนดให ้ Azimuth AB = 149 องศา 51 ลิปดา 33 ฟิ ลป
ิ ดา ระยะ BC = 100.391 เมตร มุม ABC = 81 องศา 32 ลิปดา 51 ฟิ ลป ิ อยากทราบว่า
ิ ดา ตามเข็มนาฬกา
Azimuth BC มีคา่ เท่าไร

1 : 51 องศา 24 ลิปดา 24 ฟิ ลป
ิ ดา
2 : 68 องศา 18 ลิปดา 42 ฟิ ลปิ ดา
3 : 231 องศา 24 ลิปดา 24 ฟิ ลป ิ ดา
4 : 248องศา 18 ลิปดา 42 ฟิ ลป ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 123 :
www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 18/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
การตรวจสอบการอ่านค่าระดับจากกล ้องระดับโดยวิธส
ี เตเดียหรือวิธส
ี ามสายใยว่าถูกต ้องหรือไม่ ข ้อใดทีไม่ใช่วธิ ต
ี รวจสอบทีถูกต ้อง

1 : เอาค่าสายใยบน,กลาง,ล่าง บวกกันหารด ้วยสามให ้ได ้ค่าเท่ากับสายใยกลาง


2 : เอาค่าสายใยบนและล่างลบกันต ้องได ้ค่าเท่ากับสายใยล่าง
3 : เอาค่าสายใยบนลบสายใยกลางต ้องมีคา่ เท่ากับสายใยกลางลบสายใยล่าง
4 : หาค่าเฉลียกลางสายใยบนและล่างต ้องได ้ค่าเท่ากับค่าสายใยกลาง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 124 :
ถ ้าใช ้กล ้องระดับทีมีคา่ ตัวคูณสเตเดียเป็ น 100 การคํานวณระยะทางราบจากการอ่านค่าไม ้ระดับแบบสามสายใย ( U,M,L ) หาได ้จาก

1 : (U-M )100
2 : (U-L )100
3 : (M-L )100
4 : (U+M+L )100/3
5 : (U+M+L )100
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 125 :
ตังกล ้องทีจุด A ตัง Staff ทีจุด B อ่านค่าทีสายใยบน, กลาง และล่าง บนไม ้ Staff ได ้ค่า 2.030 ,1.515 และ 1.000 เมตร ตามลําดับวัดมุมสูงจากจุด A ไปยังจุด B
ได ้ค่าเท่ากับ 90 องศา 30 ลิปดา 0 ฟิ ลปิ ดา จงคํานวณหาระยะทางราบ AB

1 : 103.01 เมตร
2 : 102.98 เมตร
3 : 102.99 เมตร
4 : 103.00 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 126 :
วัดระยะทางตามแนวพืนทีมีลาดเอียง 3 องศา 12 ลิปดา ได ้ 153.40 เมตร จะได ้ระยะทางราบตามข ้อใด

1 : 152.921 เมตร
2 : 153.161 เมตร
3 : 153.400 เมตร
4 : 153.640 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 127 :
สามเหลียม ABC มีพก
ิ ด
ั ของจุด A (0,0), B (10,15), C (30,0) เมตร พืนทีของสามเหลียม ABC เป็ นเท่าใด

1 : 200 ตารางเมตร
2 : 225 ตารางเมตร
3 : 400 ตารางเมตร
4 : 450 ตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 128 :
ประเทศไทยตังอยูใ่ นโซนที 47 และ 48 ในระบบพิกดั ฉากยูทเี อ็ม
อยากทราบว่าเมอริเดียนย่านกลาง (Central meridian) ของทังสองโซนเป็ นเท่าใด

1 : 99 องศาตะวันออก และ 105 องศาตะวันออก


2 : 99 องศาตะวันตก และ 105 องศาตะวันตก
3 : 96 องศาตะวันออก และ 102 องศาตะวันออก
4 : 96 องศาตะวันตก และ 102 องศาตะวันตก
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 129 :
จงคํานวณหา Azimuth และ Grid distance จากพิกด
ั ฉากยูทเี อ็มของจุด A ซึงมีคา่ พิกด
ั N 1,452,491E 410,161และจุด B ซึงมีคา่ พิกด
ั N 1,452,515E 410,367

1 : 6 องศา 39 ลิปดา 207.4 เมตร


2 : 83 องศา 21 ลิปดา 207.4 เมตร
3 : 96 องศา 39 ลิปดา 207.4 เมตร
4 : 263 องศา 21 ลิปดา 207.4 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 130 :
ในการทําระดับจากหมุดระดับ ( BM ) ซึงมีคา่ ระดับ 10.005 เมตร เมือตังกล ้องครังแรกอ่านค่า ไม ้ระดับหลัง( BS ) ได ้ 2.715 เมตร ค่าความสูงของแนวเล็ง ( HI )
เท่ากับเท่าไร

1 : –7.290 เมตร
2 : 7.290 เมตร
3 : –12.720 เมตร
4 : 12.720 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 131 :
ต ้องการหาค่าระดับของหมุด A ซึงอยูใ่ กล ้กับหมุดระดับ BM1 ซึงมีคา่ ระดับ 12.123 เมตร โดยใช ้กล ้องระดับ อ่านค่าไม ้ระดับหลัง ( BS ) ทีหมุดระดับ BM1ได ้
1.874 เมตร และอ่านค่าไม ้ระดับหน ้า ( FS ) ได ้ 1.468 เมตร ดังนันค่าระดับของหมุด A เท่ากับเท่าไร

1 : 12.529 เมตร
2 : 11.717 เมตร
3 : 13.591 เมตร
4 : 13.997 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 19/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

ข ้อที 132 :
ในการทําระดับจากBM1 ไป BM2 อ่านค่าบนไม ้ระดับตามขันตอนของการทําระดับได ้ดังนี 1.131 2.514 1.875 1.624 2.001 1.992 ถ ้าค่าระดับของ BM1 เท่ากับ
15.275 เมตร ค่าระดับของ BM2 เท่ากับเท่าไร

1 : 14.150 เมตร
2 : 14.151 เมตร
3 : 14.152 เมตร
4 : 16.398 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 133 :
กําหนดจุด A และ จุด B บนพืนดินซึงอยูห
่ า่ งกัน 7.5 เมตร และมีความลาดเอียงสมําเสมอ ตังกล ้องระดับ อ่านค่าไม ้ระดับที จุด A และ จุด B ได ้เท่ากับ 2.104 และ
1.879 เมตร ตามลําดับ ค่าความลาดเอียงจาก A ไป B เป็ นเท่าไร

1 : -0.0200 เมตร/เมตร
2 : +0.0200 เมตร/เมตร
3 : -0.0300 เมตร/เมตร
4 : +0.0300 เมตร/เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 134 :
ในการทําระดับระหว่างจุด A และ จุด B ซึงอยูค ่ นละฝั งของแม่นํา เมือตังกล ้องฝั ง A อ่านค่าไม ้ระดับทีจุด A และ จุด B ได ้ 1.756เมตร และ 2.008 เมตร ตามลําดับ
และเมือตังกล ้องฝั ง B อ่านค่าไม ้ระดับที จุด A และ จุด B ได ้ 0.624เมตร และ 0.872 เมตร ตามลําดับ ถ ้าจุด A มีคา่ ระดับ 7.125 เมตร จุด B มีคา่ ระดับเท่ากับเท่าไร

1 : 7.225 เมตร
2 : 7.375 เมตร
3 : 6.875 เมตร
4 : 6.525 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 135 :
เส ้น CD มีพก
ิ ด
ั ของจุด C (-10,-20) และ D (40,60) เมตร ระยะทางของ CD คือข ้อใด

1 : 50.00 เมตร
2 : 70.00 เมตร
3 : 94.34 เมตร
4 : 93.44 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 136 :
ต ้องการให ้ระดับทีหลังไม ้แบบมีคา่ เท่ากับ 10.250 เมตร ถ ้าจุด A ซึงมีคา่ ระดับ 10.740 เมตรอ่านค่าไม ้ระดับที A ได ้ 1.425 เมตร ดังนันค่าไม ้ระดับทีหลังไม ้แบบจะ
ต ้องอ่านค่าได ้เท่าไร

1 : 1.895 เมตร
2 : 1.995 เมตร
3 : 1.945 เมตร
4 : 1.915 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 137 :
เส ้น AB มีพก
ิ ด
ั ของจุด A (20,-10) และ B (120,-110) เมตร แอซิมท
ั ของแนว AB คือข ้อใด

1 : 45 องศา
2 : 315 องศา
3 : 135 องศา
4 : 225 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 138 :
กําหนดพิกด
ั A (10,0) B (40,30) C (40,0) เมตร มุม ACB มีคา่ เท่าใด

1 : 120 องศา
2 : 45 องศา
3 : 60 องศา
4 : 90 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 139 :
แนวเส ้นตรงถูกกํากับด ้วยจุด A (-10,5) และ B (10,15) เมตร สมการเส ้นตรงของแนว AB คือข ้อใด

1 : y = 0.1x + 15
2 : y = 0.3x + 13
3 : y = 0.4x + 12
4 : y = 0.5x + 10
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 140 :
AB เป็ นด ้านของวงรอบยาว 1000 เมตร มีมม
ุ แบริงจากทิศเหนือ 60 องศาไปทางตะวันออก
ระยะ Latitude และ Departure ของแนว AB เป็ นเท่าใด

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 20/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

1 : 707 และ 866 เมตร


2 : 500 และ 707 เมตร
3 : 866 และ 500 เมตร
4 : 500 และ 866 เมตร
5:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 141 :
การวัดระดับแบบ 3 สายใย อ่านไม ้วัดระดับได ้ค่าของสายใย บน กลาง ล่าง เท่ากับ
0.809, 1.234, 1.661 เมตร ตามลําดับ ค่าสายใยกลางตัวแทนทีเหมาะสมคือข ้อใด

1 : 1.233 เมตร
2 : 1.234 เมตร
3 : 1.235 เมตร
4 : 1.236 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 142 :
พิกดั A (0,0) B (50,0) เมตร มุม a เท่ากับ 30 องศา มุม b เท่ากับ 60 องศา
พิกด ั จุด P คือข ้อใด

1 : 35.70 , 21.65 เมตร


2 : 37.50, 21.65 เมตร
3 : 21.65 , 37.50 เมตร
4 : 21.65 , 35.70 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 143 :
วงระดับมี 3 สายงาน สายงาน AB นํ าหนักการวัด 6 ค่าต่างระดับ+1.5 เมตร : สายงาน BC นํ าหนักการวัด10
ค่าต่างระดับ+1.3 เมตร :สายงาน CA นํ าหนักการวัด 15 ค่าต่างระดับ -2.7 เมตร กําหนดสูงของหมุด A เท่ากับ 100.00 เมตร อยากทราบว่ากําหนดสูงของ B และ C
เป็ นเท่าใด

1 : 101.45, 102.72 เมตร


2 : 101.50, 102.84 เมตร
3 : 101.50, 102.70 เมตร
4 : 101.55, 102.75 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 144 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้องเกียวกับองค์ประกอบในส่วนอวกาศของระบบการกําหนดตําแหน่งด ้วยดาวเทียม GPS

1 : วงโคจรของดาวเทียมมี 6 ระนาบ และทํามุมเอียงกับระนาบศูนย์สต ู ร 55 องศา


2 : ดาวเทียมอยูส ่ งู จากผิวโลกประมาณ 20,200 กิโลเมตร และมีคาบของการโคจรรอบโลก 12 ชัวโมง
3 : คลืนวิทยุทส่
ี งมาจากดาวเทียมเป็ นคลืนทีเรียกว่า L-band มี 2 ความถีคือ C/A และ P

4 : ความถีพืนฐานทีสร ้างขึนจากแหล่งกําเนิดความถีของชุดนาฬกาอะตอมมิ คคือ 10.23 MHz.
5 : ระบบได ้ออกแบบให ้มีดาวเทียมอย่างน ้อย 4 ดวง อยูเ่ หนือเส ้นขอบฟ้ าทุกสถานทีบนโลก ตลอด 24 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 145 :
ในการอ่านค่าไม ้ระดับแบบ 3 สายใย(เมตร) ดังตาราง
ถ ้าค่า callimation conection = +0.00015 m/m จงคํานวณหาผลต่างระดับ

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 21/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

1 : 1.045
2 : 1.048
3 : 1.054
4 : 1.051
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 146 :
การปรับแก ้วงรอบโดยวิธ ี Compass Rule เหมาะสมในกรณีใดมากทีสุด

1 : ความละเอียดถูกต ้องในการวัดมุมเหนือกว่าความละเอียดถูกต ้องในการวัดระยะทาง


2 : ความละเอียดถูกต ้องในการวัดระยะทางเหนือกว่าความละเอียดถูกต ้องในการวัดมุม
3 : ความละเอียดถูกต ้องในการวัดมุมเท่ากับความละเอียดถูกต ้องในการวัดระยะทาง
4 : ความถูกต ้องในการวัดมุมเหนือกว่าหรือเท่ากับความถูกต ้องของการวัดระยะทาง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 147 :
การปรับแก ้วงรอบโดยวิธ ี Transit Rule เหมาะสมในกรณีใด

1 : เมือใช ้กล ้อง Theodolite ในการวัดมุม

2 : ความละเอียดถูกต ้องในการวัดมุมเหนือกว่าความละเอียดถูกต ้องในการวัดระยะทาง

3 : ความละเอียดถูกต ้องในการวัดระยะทางเหนือกว่าความละเอียดถูกต ้องในการวัดมุม

4 : ความละเอียดถูกต ้องในการวัดมุมเท่ากับความละเอียดถูกต ้องในการวัดระยะทาง


คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 148 :
วิธใี ดให ้ค่า azimuth ทีถูกต ้องมากทีสุด

1 : Astronomical observation
2 : GPS
3 : North Seeking Gyroscopes
4 : Magnetic compass
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 149 :
วงรอบ ABC มีคา่ latitude และ departure ของเส ้นรอบวงแต่ละเส ้น

1 : 196 องศา 01 ลิบดา 54 ฟิ ลบ ิ ดา


2 : 196องศา 01ลิบดา 55 ฟิ ลบิ ดา
3 : 196องศา 01ลิบดา 56 ฟิ ลบ ิ ดา
4 : 196องศา 01ลิบดา 57 ฟิ ลบ ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 150 :

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 22/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
วงรอบ ABC ค่า latitude และ departure ของเส ้นรอบวงแต่ละเส ้นดังตาราง :

1 : 196 องศา 01 ลิบดา 54 พิลป


ิ ดา
2 : 196 องศา 01 ลิบดา 55 พิลปิ ดา
3 : 196 องศา 01 ลิบดา 56 พิลป ิ ดา
4 : 196 องศา 01 ลิบดา 57 พิลป ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 151 :
A และ B เป็ นสถานีวงรอบ มีพก ิ ด
ั ดังแสดงในตารางข ้างล่าง
ตังกล ้องทีจุด A ด ้วยกล ้องรังวัดแบบเบ็ดเสร็จ (Total Station) เพือรังวัดหาอาซิมท
ุ ไปยังสถานีวงรอบ E เมือเล็งไปยังสถานี B ควรจะตังค่าอาซิมท
ุ เป็ นเท่าใด

1 : 108º21′31″
2 : 108º21′32″
3 : 288º21′31″
4 : 288º21′32″
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 152 :
วงรอบ ABC มีระยะทางและอาซิมท ุ ดังตารางข ้างล่าง
จงคํานวณหาอาซิมทุ ของเส ้น BC

1 : 103องศา 13 ลิบดา 23 ฟิ ลป
ิ ดา
2 : 283องศา 13 ลิบดา 23 ฟิ ลปิ ดา
3 : 166องศา 46 ลิบดา 37 ฟิ ลป ิ ดา
4 : 346องศา 46 ลิบดา 37 ฟิ ลป ิ ดา
5 : 13องศา13 ลิบดา 27 ฟิ ลป
ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 153 :
เส ้น AB มีคา่ แอซิมธ
ั เท่ากับ 210 องศา ให ้แปลงค่าแอซิมธ
ั เป็ นภาคทิศ

1:

2:

3:

4:
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 154 :
เส ้น AB มีคา่ ภาคทิศเท่ากับ

1 : 60 องศา
2 : 120 องศา
3 : 240 องศา
4 : 300 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 155 :
ในการทําระดับด ้วยกล ้องระดับระหว่างหมุดควบคุมหลักมักจะทําการอ่านค่าสายใยทังสามสายใย (สายใยบน กลางและล่าง) ท่านคิดว่าการอ่านค่าทังสามสายใยมี
ข ้อดีอย่างไร

1 : ตรวจสอบความผิดพลาดในการอ่านค่า
2 : เพิมความถูกต ้องของค่าทีอ่าน

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 23/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
3 : ช่วยคํานวณระยะระหว่างกล ้องและไม ้ระดับ
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 156 :
ขันตอนใดเป็ นขันตอนแรกในการคํานวณปรับแก ้งานวงรอบปิ ด

1 : คํานวณค่าเฉลียของมุมแต่ละมุม
2 : ตรวจสอบข ้อมูลสนามในสมุดสนาม
3 : ปรับแก ้ระยะทางแต่ละเส ้น
4 : ตรวจสอบการบรรจบของมุมภายใน
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 157 :
ในการปรับแก ้การบรรจบของมุมภายในของงานวงรอบปิ ด จะปรับแก ้โดยวิธใี ด

1 : ปรับแก ้มุมทุกมุมเท่ากัน
2 : ปรับแก ้เฉพาะมุมทีขนาดโตกว่า 90 องศา
3 : ตามขนาดของมุมแต่ละมุม
4 : ตามระยะทางระหว่างมุม
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 158 :
ในการทํางานวงรอบปิ ด ทีมีจํานวนสถานีเท่ากับ 8 สถานีและมีความยาวรวมของเส ้นวงรอบเท่ากับ 1960.00 เมตร ผลจากการคํานวณพบว่าค่าคลาดเคลือนบรรจบ
ิ ดา ค่าคลาดเคลือนบรรจบเชิงเส ้นมีคา่ 0.28 เมตร ความถูกต ้องของงานวงรอบนีคือ
เชิงมุมมีคา่ 60 พิลป

1 : 1:7000
2 : 1:3500
3 : 1:875
4 : ข ้อมูลทีให ้ไม่เพียงพอต่อการคํานวณ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 159 :
ค่าพิกด
ั ของสถานี A และ B มีดงั นี

1 : ระยะทางเท่ากับ 261 เมตร แอซิมธ


ั 40 องศา
2 : ระยะทางเท่ากับ 261 เมตร แอซิมธั 220 องศา
3 : ระยะทางเท่ากับ 216 เมตร แอซิมธ ั 40 องศา
4 : ระยะทางเท่ากับ 216 เมตร แอซิมธ ั 220 องศา
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 160 :
วงระดับมี 3 สายงาน สายงาน AB นํ าหนักการวัด 15 ค่าต่างระดับ+1.5 เมตร : สายงาน BC นํ าหนักการวัด10
ค่าต่างระดับ+1.3 เมตร :สายงาน CA นํ าหนักการวัด 6 ค่าต่างระดับ -2.7 เมตร กําหนดสูงของหมุด A เท่ากับ 100.00 เมตร อยากทราบว่ากําหนดสูงของ B และ C
เป็ นเท่าใด

1 : 101.45, 102.72 เมตร


2 : 101.50, 102.84 เมตร
3 : 101.48, 102.75 เมตร
4 : 101.55, 102.75 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 161 :
เส ้น CD มีพก
ิ ด
ั ของจุด C (10,20) และ D (40,60) เมตร ระยะทางของ CD คือข ้อใด

1 : 50.00 เมตร

2 : 70.00 เมตร

3 : 94.34 เมตร

4 : 93.44 เมตร

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 24/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

ข ้อที 162 :
เส ้น AB มีพก
ิ ด
ั ของจุด A (20,-10) และ B (-80,-110) เมตร แอซิมท
ั ของแนว AB คือข ้อใด

1 : 45 องศา

2 : 315 องศา

3 : 135 องศา

4 : 225 องศา

คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 163 :
จงแปลงค่าควอแดรนท์แบริง(Quadrant bearing) S 30 องศา 10 ลิปดา W เป็ นค่า Azimuth

1 : 210องศา 10 ลิปดา

2 : 329 องศา 50 ลิปดา

3 : 330 องศา 0 ลิปดา

4 : 30 องศา 10 ลิปดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 164 :
แนว AB มีคา่ แบริง (bearing) N 30 องศา 12 ลิปดา 45 ฟิ ลป
ิ ดา E จงหาว่าแนว AB นีมี Azimuth เท่าไร

1 : 30 องศา 12 ลิปดา 45 ฟิ ลป
ิ ดา

2 : 149 องศา 47 ลิปดา 15 ฟิ ลป


ิ ดา

3 : 210 องศา 12 ลิปดา 45 ฟิ ลป


ิ ดา

4 : 329 องศา 47 ลิปดา 15 ฟิ ลป


ิ ดา
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 165 :
สามเหลียม ABC มีพก
ิ ด
ั ของจุด A (0,0), B (10,20), C (40,0) เมตร พืนทีของสามเหลียม ABC เป็ นเท่าใด

1 : 200 ตารางเมตร

2 : 225 ตารางเมตร

3 : 400 ตารางเมตร

4 : 450 ตารางเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 166 :
จากโครงถักรับแรงกระทํา ดังรูป จงหาชินส่วนทีรับแรงอัดสูงสุด

1 : AB
2 : AC
3 : BC
4 : BD
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 167 :

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 25/29
3/10/2562 สภาวิศวกร
จากโครงถักรับแรงกระทํา ดังรูป จงหาชินส่วนทีรับแรงดึงสูงสุด

1 : AB
2 : AD
3 : AC
4 : BD
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

เนือหาวิชา : 826 : Topographic survey, map plotting

ข ้อที 168 :
แผนทีมาตราส่วน 1:4,000 เมือวัดระยะในแผนทีได ้ 3.52 เซนติเมตรระยะบนภูมป
ิ ระเทศเท่ากับ
เท่าใด

1 : 88.0 เมตร
2 : 140.8 เมตร
3 : 1408.0 เมตร
4 : 880.0 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 169 :
วัดระยะบนพืนดินได ้ 2,000 เมตร ใช ้มาตราส่วน 1:4,000 จะเป็ นระยะส่วนย่อเท่าไร

1 : 5 เซนติเมตร
2 : 20 เซนติเมตร
3 : 40 เซนติเมตร
4 : 50 เซนติเมตร
5 : 2 เซนติเมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 170 :
จากแผนทีมาตรส่วน 1: 50,000 บ ้านยุ ้งและบ ้านมะค่ามีระยะห่างกันวัดเป็ นระยะในแผนทีได ้ 25 เซนติเมตร ถ ้ารวิชญ์เดินทางด ้วยอัตราเร็ว 5 กิโลเมตร/ชัวโมง
อยากทราบว่าระวิชญ์ต ้องใช ้เวลาเดินทางนานเท่าไรจึงจะเดินทางจากบ ้านยุ ้งถึงบ ้านมะค่า

1 : 2 ชัวโมง
2 : 2 ชัวโมง 30 นาที
3 : 2 ชัวโมง 50 นาที
4 : 3 ชัวโมง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 171 :
แผนทีฉบับหนึงมีเส ้นชันความสูง 20,30,40,50,60 เมตร แสดงว่าแผนทีฉบับนัน
มีคา่ CI.( contour interval )เท่าไร

1 : 10 เมตร
2 : 20 เมตร
3 : 40 เมตร
4 : 60 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 172 :
ช่วงห่างของเส ้นชันความสูงในแผนทีภูมป
ิ ระเทศ มาตราส่วน 1 : 10000 โดยทัวไปควรเป็ นเท่าใด

1 : 1 เมตร
2 : 2. เมตร
3 : 10. เมตร
4 : 20. เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 173 :
การควบคุมงานระดับชันที 3 ค่าความคลาดเคลือนของการบรรจบวงระดับจะต ้องไม่เกินเท่าใด

1:

2:

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 26/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

3:

4:

5:
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 174 :
แบบบ่อนํ าแทนความลึกด ้วยเส ้นชันความสูง 3 ระดับ จากก ้นบ่อถึงปากบ่อคือเส ้น 10, 20, 30 เมตร
โดยแต่ละเส ้นชันความสูงมีพนที
ื 80, 100, 120 ตารางเมตร ตามลําดับ
ปริมาตรของบ่อนํ าเป็ นเท่าใด

1 : 1000 ลูกบาศก์เมตร
2 : 1500 ลูกบาศก์เมตร
3 : 2000 ลูกบาศก์เมตร
4 : 2500 ลูกบาศก์เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 175 :
แผนทีภูมป
ิ ระเทศ คือแผนทีลักษณะใด

1 : แผนทีแสดงพืนผิวโลกในทางราบ
2 : แผนทีแสดงพืนผิวโลกในทางดิง
3 : แผนทีแสดงพืนผิวโลกในทางราบและทางดิง
4 : แผนทีแสดงพืนผิวโลกด ้วยหุน
่ จําลอง
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 176 :
ในงานสํารวจ Planimeter เป็ นเครืองมือประเภทใด

1 : เครืองมือวัดพืนที
2 : เครืองมือวัดทิศทาง
3 : เครืองมือวัดความกดดันของบรรยากาศ
4 : เครืองมือวัดความราบเรียบ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 177 :
ข ้อใดทีไม่ใช่ชนิดของเส ้นชันความสูงบนแผนที

1 : เส ้นชันความสูงหลัก (Index Contour)


2 : เส ้นชันความสูงรอง (Intermediate Contour)
3 : เส ้นชันความสูงแทรก (Auxilliary Contour)
4 : เส ้นชันความสูงมาตรฐาน (Standard Contour)
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 178 :
การหดตัวของแผนผังมาตราส่วน 1: 1000 ทําให ้เส ้นตรงซึงเคยยาว 102 มิลลิเมตร เหลือความยาวเพียง 100 มิลลิเมตร ถ ้าวัดพืนทีบนแผนผังได ้ 225 ตาราง
มิลลิเมตร พืนทีจริงเป็ นกีตารางเมตร

1 : 216.3
2 : 220.6
3 : 229.5
4 : 234.1
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 179 :
การหดตัวของแผนผังมาตราส่วน 1: 1000 ทําให ้เส ้นตรงซึงเคยยาว 50.5 มิลลิเมตร เหลือความยาว 50 มิลลิเมตร มาตราส่วนทีถูกต ้องคือข ้อใด

1 : 1 : 1010
2 : 1 : 1015
3 : 1 : 1020
4 : 1 : 990
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 180 :
วัดความยาวของเส ้นทางในแผนผังมาตราส่วน 1:2000 ได ้ 10 มิลลิเมตร ความยาวในพืนทีจริงเป็ นเท่าใด

1 : 0.2 กิโลเมตร
2 : 0.02 กิโลเมตร
3 : 0.002 กิโลเมตร
4 : 0.0002 กิโลเมตร
5 : ไม่มค
ี ําตอบทีถูกต ้อง
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 181 :
จงคํานวณหาระยะราบจากจุดตังกล ้อง Theodolite ไปยังไม ้วัดระดับ เมือรังวัดมุมสูงได ้เท่ากับ 9 องศา 15 ลิปดา อ่านค่าบนไม ้วัดระดับทีสายใยบนได ้ 2.025 เมตร
สายใยกลาง 1.515 เมตร และสายใยล่าง 1.000 เมตร ค่าตัวบวกคงทีของกล ้อง (Additive constant) เท่ากับ 0

1 : 101.167เมตร
2 : 49.926 เมตร
3 : 50.584 เมตร
4 : 99.852 เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 27/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

ข ้อที 182 :
แผนทีภูมปิ ระเทศมาตราส่วน 1:4000 มีชว่ งเส ้นชันความสูง 1 เมตร วัดระยะระหว่างเส ้นชันความสูง 2 เส ้น ทีอยูต
่ ด
ิ กันมีระยะห่างเท่ากับ 16 มม. อยากทราบว่าพืน
ดินมีความลาดชันเป็ นกีเปอร์เซนต์

1 : 1.2 เปอร์เซ็นต์
2 : 1.4 เปอร์เซ็นต์
3 : 1.6 เปอร์เซ็นต์
4 : 1.8 เปอร์เซ็นต์
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 183 :
จากข ้อมูลกล ้องประมวลผลรวม(Total Staion) มุม zenith angle(88-44-22) ระยะลาด slope distance(79.607 m.) ทิศทาง Azimuth(202-30-15) ค่าพิกด
ั A(X=1000
Y=500 Z=30) จงคํานวณหาค่าพิกด ั ทางราบ B (ตังกล ้องทีจุด A รังวัดข ้อมูลสนามไปยัง จุดฺ B)

1 : X=979.607 Y=479.607
2 : X=969.538 Y=426.473
3 : X=1079.607 Y=579.607
4 : X=1069.538 Y=426.473
5 : X=920.393 Y=420.393
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 184 :
จากข ้อมูลกล ้องประมวลผลรวม(Total Staion) มุม zenith angle(88-44-22) ระยะลาด slope distance(79.607 m.) ทิศทาง Azimuth(202-30-15) (ตังกล ้องทีจุด A
รังวัดข ้อมูลสนามไปยัง จุดฺ B)
Diff A->B มีคา่ เท่าไร

1 : 1.157 m.
2 : 1.215 m.
3 : 1.571 m.
4 : 1.751 m.
5 : 1.821 m.
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 185 :
จากข ้อมูลกล ้องประมวลผลรวม(Total Staion) มุม zenith angle(88-44-22) ระยะลาด slope distance(79.607 m.) ทิศทาง Azimuth(202-30-15) ค่าพิกดั A(X=1000
Y=500 Z=30) จงคํานวณหาค่าพิกด ั ทางดิง B (ตังกล ้องทีจุด A รังวัดข ้อมูลสนามไปยัง จุดฺ B) ความสูงกล ้องจุด A=1.571 ความสูงเป้ า B=1.287

1 : Z = 31.571
2 : Z = 31.287
3 : Z = 30.284
4 : Z = 32.035
5 : Z = 32.858
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 186 :
ข ้อมูลเส ้นชันความสูงบนแผนทีใช ้ประโยชน์สําหรับทํางานข ้อใด

1 : ใช ้เขียนรูปตัดตามแนวทีต ้องการ
2 : พิจารณาถึงการมองเห็นกันระหว่างจุด
3 : พิจารณาการตัดกันของพืนผิว 2 พืนผิว
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 187 :
จงคํานวณพืนทีของรูปหลายเหลียม ABCDEF จากข ้อมูลค่าพิกด
ั ด ้านล่าง

1 : 11705.8 ตารางเมตร
2 : 23411.6 ตารางเมตร
3 : 46823.2 ตารางเมตร
4 : ผิดทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

ข ้อที 188 :
ในการคํานวณปริมาตรดินเมือพืนทีรูปตัดต่างกันมาก วิธค
ี ํานวณใดเหมาะสมทีสุด

1 : การคํานวณโดยวิธพ ี นที
ื เฉลีย (Mean-area method)
2 : การคํานวณโดยวิธพ ี นที
ื หัวท ้ายเฉลีย (End-area method)
3 : การคํานวณโดยสูตรพริสมอยด์ (Prismoidal formula)
4 : การคํานวณโดยสูตรซิมป์ สัน (Simpson’s formula)
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 28/29
3/10/2562 สภาวิศวกร

ข ้อที 189 :
รูปตัดตามแนวขวางซึงมีระยะห่างกัน 20 เมตร มีขนาดพืนที 120 70 30 40 และ 50 ตารางเมตร ตามลําดับ จงคํานวณปริมาตรโดยวิธพ
ี นที
ื หัวท ้ายเฉลีย (End-area
method)

1 : 4960 ลูกบาศก์เมตร
2 : 4467 ลูกบาศก์เมตร
3 : 4500 ลูกบาศก์เมตร
4 : 1240 ลูกบาศก์เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 190 :
รูปตัดตามแนวขวางซึงมีระยะห่างกัน 20 เมตร มีขนาดพืนที 120 70 30 40 และ 50 ตารางเมตร ตามลําดับ จงคํานวณปริมาตรโดยสูตรพริสมอยด์ (Prismoidal
formula)

1 : 4960 ลูกบาศก์เมตร
2 : 4500 ลูกบาศก์เมตร
3 : 4467 ลูกบาศก์เมตร
4 : 1240 ลูกบาศก์เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 191 :
พืนทีซึงเป็ นทะเลสาบ มีเส ้นชันความสูงและพืนทีภายในเขตเส ้นชันความสูงจากการใช ้เครืองวัดพืนที (Planimeter) ได ้ดังตาราง

1 : 13264 ลูกบาศก์เมตร
2 : 13220 ลูกบาศก์เมตร
3 : 13213 ลูกบาศก์เมตร
4 : 13210 ลูกบาศก์เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 2

ข ้อที 192 :
พืนทีซึงเป็ นทะเลสาบ มีเส ้นชันความสูงและพืนทีภายในเขตเส ้นชันความสูงจากการใช ้เครืองวัดพืนที (Planimeter) ได ้ดังตาราง

1 : 13264 ลูกบาศก์เมตร
2 : 13220 ลูกบาศก์เมตร
3 : 13213 ลูกบาศก์เมตร
4 : 13210 ลูกบาศก์เมตร
คําตอบทีถูกต ้อง : 3

ข ้อที 193 :
ปั จจัยใดใช ้ในการพิจารณาการเลือกช่วงชันความสูงทีเหมาะสมสําหรับการรังวัดแผนทีภูมป
ิ ระเทศ

1 : ลักษณะภูมป ิ ระเทศ
2 : ความชัดเจนอ่านง่าย
3 : ค่าใช ้จ่ายในการทํางานสนาม
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถูกต ้อง : 4

ข ้อที 194 :
ในการกําหนดขนาดของช่วงชันความสูงทีเหมาะสมกับมาตราส่วนแผนที ข ้อความใดต่อไปนีกล่าวเหมาะสม

1 : มาตราส่วน 1:100 ถึง 1:2000 ควรใช ้ช่วงชันความสูงระหว่าง 0.5 ถึง 2 เมตร


2 : มาตราส่วน 1:2000 ถึง 1:10000 ควรใช ้ช่วงชันความสูงระหว่าง 0.5 ถึง 2 เมตร
3 : มาตราส่วน 1:10000 ถึง 1:250000 ควรใช ้ช่วงชันความสูงระหว่าง 1 ถึง 5 เมตร
4 : การกําหนดช่วงชันความสูงไม่ขนอยู
ึ ก ่ บ
ั มาตราส่วนแผนที
คําตอบทีถูกต ้อง : 1

www.coe.or.th/coe-2/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=221&aMajid=1 29/29

You might also like