You are on page 1of 15

15/07/63

1305 213 Surveying

บทที่ 5 การวัดระยะดิ่ง – งานระดับ

สิทธา เจนศิริศักดิ์

คาจากัดความ
• ค่าระดับ (Elevation) ของจุดใดๆ คือระยะดิ่งของจุดนั้นเหนือหรือใต้พื้นผิวระดับสมมุติ
• พื้นผิวระดับ (Level Surface) คือ พื้นผิวโค้งที่ทุกๆ จุดของพื้นผิวนี้ตั้งฉากกับเส้นดิ่ง (Plumb Line) พื้นผิวระดับที่ใช้สาหรับ
เป็นพื้นผิวอ้างอิง เรียกว่า Datum ที่ใช้ คือ ระดับน้าทะเลปานกลาง (รทก.) (Mean Sea Level, MSL)
• แนวระดับ (Level Line) คือแนวๆ หนึ่งในพื้นผิวระดับพื้นผิวหนึ่ง
• แนวราบ (Horizontal Line) คือ แนวๆ หนึ่งในงานรังวัดถือว่าแนวนี้เป็นเส้นตรงและสัมผัสกับพื้นผิวระดับที่จุดๆ หนึ่ง
• ค่าต่างระดับ (Difference in elevation) ระหว่างจุด 2 จุด คือระยะดิ่งระหว่างสองพื้นผิวระดับที่จุดทั้งสองอยู่บนพื้นผิวนั้น
• การทาระดับ หรือ งานระดับ (Levelling) คือ วิธีการวัดระยะตามแนวดิ่ง เพื่อหาค่าต่างระดับ มีทั้งวิธีโดยตรงและโดยอ้อม

1
15/07/63

ความโค้งของโลก (Curvature of the earth) และ


การหักเหของแสง (Refraction of light rays)

งานระดับจาเป็นต้องพิจารณาผลของ
(1) ความโค้งของโลก
(2) การหักเหของแสง ซึ่งจะเป็นผลแนวเล็ง (Line of sight)

DE หรือ C = ระยะดิ่งระหว่างแนวราบกับแนวระดับ เป็นผลมาจากความโค้งของโลก


BE หรือ r = ผลจากการหักเหของแสงที่ทาให้แนวเล็งเบนออกจากแนวราบ

ค่าแก้เนื่องจากความโค้งของโลกและการหักเหของแสง (C & r)
C&r = 0.574 M2 ft (5.5)
C&r = 0.0206 D2 ft (5.6)
C&r = 0.0675 K2 m. (5.7)
ในเมื่อ M เป็นไมล์, K เป็น กิโลเมตร และ D เป็น 1000 ฟุต
ตัวอย่างที่ 5.1 จงคานวณผลความโค้งของโลกและการหักเหของแสงที่ระยะ 300 เมตร และ 12 กิโลเมตร
C & r ที่ 300 เมตร = 0.0675 (0.32) = 0.0061 เมตร
C & r ที่ 12 กม. = 0.0675 (122) = 9.72 เมตร
ข้อสังเกต
1. สาหรับระยะทางสั้นๆ ค่าความคลาดเคลื่อนทั้งสองชนิดมีค่าน้อยมากและสามารถตัดทิ้งได้
2. ค่าความคลาดเคลื่อนทั้งสองชนิดสามารถกาจัดให้หมดไปได้ โดยการกาหนดให้ระยะ BS กับ FS เท่ากัน
3. ค่าความคลาดเคลื่อนทั้งสองชนิดสามารถกาจัดให้หมดไปได้ โดยการทาระดับแบบสวนทางกลับ (Reciprocal leveling, ดูหัวข้อ 5.13)
4

2
15/07/63

วิธีการทาระดับ

• Direct differential หรือ Spirit Levelling เป็นการวัดระยะดิ่งโดยตรง วิธีการนี้เป็นวิธีที่มีความละเอียด


มากที่สุด เครื่องมือที่ใช้คือกล้องระดับและไม้ระดับ
• Indirect หรือ Trigonometric Levelling เป็นวิธีการโดยอ้อม อาศัยการวัดมุมดิ่ง ระยะราบหรือระยะตาม
แนวลาดเอียงแล้วนามาคานวณหาค่าต่างระดับด้วยสูตรตรีโกณมิติ เครื่องมือที่ใช้คือ กล้องวัดมุมธีโอโดไลท์
(Theodolite) เทปวัดระยะ หรือเครื่อง EDM เป็นต้น
• Stadia Levelling เป็นการหาค่าระยะดิง่ โดยวิธี Tacheometry เครื่องมือที่ใช้ กล้องวัดมุมธีโอโดไลท์กับไม้
ระดับ เป็นต้น
• Barometric Levelling เป็นการหาค่าระดับโดยใช้บารอมิเตอร์ เนื่องจากเมื่อระดับสูงขึ้นความดันบรรยากาศ
จะลดลงและเป็นวิธีการให้ความละเอียดน้อยที่สดุ

Trigonometric Levelling (Indirect)

ถ้าทาการวัดระยะลาดเอียง EC โดยการใช้เครื่อง EDM


กรณีนี้ DC = EC sin
 ค่าต่างระดับ  HAB= AE + EC sin - BC
ระยะราบ AB = EC cos
HAB

3
15/07/63

ตัวอย่างที่ 5.2 จากรูป ถ้าระยะลาดเอียง S จาก E ถึง C มีค่า 332.791 เมตรมุมดิ่ง () เฉลี่ย
เท่ากับ 946’29” ความสูงเครื่องมือเหนือ A (EA) มีค่า 1.558 เมตร ความสูงของเป้าเล็ง (BC)
เท่ากับ 1.372 เมตร ถ้าค่าระดับที่ A เหนือระดับน้าทะเลปานกลางมีค่า 21.935 เมตร
จงคานวณหาค่าต่างระดับจาก A ไป B และ ค่าระดับ B

1.372 m.Elev. B= ?

946’29” HAB = ?
1.558 m.
Elev. A= 21.935 m

Direct differential

เครื่องมือที่ใช้
• กล้องระดับ (Level)
• ไม้ระดับ (Levelling Rod Levelling staff)
- ไม้บรรทัดที่มีการแบ่งขีดเพื่อให้อ่านระยะตามแนวดิ่งได้

4
15/07/63

วิธีการวัดค่าระดับ ZB = ZA + B.S. - F.S

ZAB

ZB
ZA
B.M. = Bench Mark (หมุดระดับ)
T.P. = Turning Point (จุดเปลี่ยนระดับ)
B.S. = Back sight (ค่าไม้ระดับหลัง) B.S. F.S.
F.S. = Fore sight (ค่าไม้ระดับหน้า)
H.I. = Height of Instrument (ระดับของกล้องหรือความสูงของเครื่องมือ)
B.M.
9

ตัวอย่าง
A
B.M. HA = HBM + B.S. - F.S

10

5
15/07/63

1.876 2.518

2.893 0.925

2.684 1.407

Station B.S. H.I. F.S. Elev.


BM 2.684 92.684 90.000
TP. 1 2.893 94.170 1.407 91.277
TP. 2 1.876 95.121 0.925 93.245
A 2.518 92.603
 7.453 4.850
11

12

6
15/07/63

วิธีการสร้างหมุดควบคุมระดับ

• วงรอบปิดบรรจบ (กลับมายังจุดเริ่มต้น)
• วงรอบปิดไม่บรรจบ (บรรจบหมุดใหม่ที่ทราบค่าระดับ)

B B
D

A C A
(BM) C
(BM1)

D
E
(BM2)

13

การตรวจสอบความคลาดเคลื่อน

1) กรณีที่ทางานระดับกลับมายังจุดเริ่มต้นนั้น ผลรวมของค่าไม้ระดับหลัง ต้องเท่ากับ ผลรวมของ


ค่าไม้ระดับหน้า
2) กรณีที่ทาบรรจบหมุดที่ทราบค่าระดับ ค่าระดับของจุดที่ทวนค่าระดับที่ได้จากการทาระดับต้อง
เท่ากับระดับที่กาหนดไว้ก่อนแล้ว (ค่าที่ถูกต้อง)

ถ้าไม่เท่ากันแสดงว่ามีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น
ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเรียกว่า ความคลาดเคลื่อนบรรจบ (Error of Closure)

14

7
15/07/63

ความคลาดเคลื่อนบรรจบ (Error of Closure)

เกณฑ์งานชั้น 3  12mmK
เกณฑ์งานชั้น 4  25mmK

โดย K = ระยะทาง ในหน่วย กม.

15

การปรับแก้ค่าระดับในงานระดับวงจรปิด
Ec = ความคลาดเคลื่อนบรรจบของวงจร (Error of closure)
L = ระยะทางทั้งหมดของวงจรนั้น
a, b, …, n = ระยะทางของจุด A, B, …, N จากจุดเริ่มต้น
Ca , Cb , ……Cn= ค่าแก้ไข (Correction) ของค่าระดับที่จุด A , B…….N ตามลาดับ

จะได้ Ca = - (a/L).Ec ,
Cb = - (b/L).Ec ,
...
Cn = - (n/L).Ec

16

8
15/07/63

ตัวอย่าง 1 - วงรอบปิดบรรจบ
Distance (m.)
Station B.S. (m.) H.I. F.S. (m.) Elev. (m.)
B.S. F.S.
BM1 2.541 - 100.000
90 80
TP1 1.598 1.958
80 70
TP2 2.375 2.673
90 100
TP3 1.413 2.462
100 110
BM1 - 0.829
720
Error

17

ตัวอย่าง 1 - วงรอบปิดบรรจบ
Distance (m.)
Station B.S. (m.) H.I. F.S. (m.) Elev. (m.)
B.S. F.S.
BM1 2.541 - 100.000
90 80 102.541
TP1 1.598 1.958 100.583
80 70 102.181
TP2 2.375 2.673 99.508
90 100 101.883
TP3 1.413 2.462 99.421
100 110 100.834
BM1 - 0.829 100.005
720
Error 0.005

18

9
15/07/63

ตัวอย่าง 1 - วงรอบปิดบรรจบ
Distance (m.) Adj. Elev.
Station B.S. (m.) H.I. F.S. (m.) Elev. (m.) Corr. (m.)
B.S. F.S. (m.)
BM1 2.541 - 100.000 0.000 100.000
90 80 102.541
TP1 1.598 1.958 100.583 -0.001 100.582
80 70 102.181
TP2 2.375 2.673 99.508 -0.002 99.506
90 100 101.883
TP3 1.413 2.462 99.421 -0.004 99.417
100 110 100.834
BM1 - 0.829 100.005 -0.005 100.000
720
Error 0.005 0.000

19

ตัวอย่าง 2 - วงรอบปิดไม่บรรจบ ค่าระดับที่ BM1 คือ 112.545 ม.


ค่าระดับที่ BM2 คือ 112.565 ม.
Distance (m.)
Station B.S. (m.) H.I. F.S. (m.) Elev.(m.)
B.S. F.S.
BM1 2.543 - 112.545
90 80
TP1 1.598 1.958
80 70
TP2 2.375 2.673
90 100
TP3 1.413 2.462
100 110
BM2 - 0.829
720 112.565
Error

20

10
15/07/63

ตัวอย่าง 2 - วงรอบปิดไม่บรรจบ ค่าระดับที่ BM1 คือ 112.545 ม.


ค่าระดับที่ BM2 คือ 112.565 ม.
Distance (m.)
Station B.S. (m.) H.I. F.S. (m.) Elev.(m.)
B.S. F.S.
BM1 2.543 - 112.545
90 80 115.088
TP1 1.598 1.958 113.130
80 70 114.728
TP2 2.375 2.673 112.055
90 100 114.430
TP3 1.413 2.462 111.968
100 110 113.381
BM2 - 0.829 112.552
720 112.565
Error -0.013

21

ตัวอย่าง 2 - วงรอบปิดไม่บรรจบ ค่าระดับที่ BM1 คือ 112.545 ม.


ค่าระดับที่ BM2 คือ 112.565 ม.
Distance (m.) Adj. Elev.
Station B.S. (m.) H.I. F.S. (m.) Elev.(m.) Corr. (m.)
B.S. F.S. (m.)
BM1 2.543 - 112.545 0.000 112.545
90 80 115.088
TP1 1.598 1.958 113.130 +0.003 113.133
80 70 114.728
TP2 2.375 2.673 112.055 +0.006 112.061
90 100 114.430
TP3 1.413 2.462 111.968 +0.009 111.977
100 110 113.381
BM2 - 0.829 112.552 +0.013 112.565
720 112.565 112.565
Error -0.013 0.000

22

11
15/07/63

ความคลาดเคลื่อนในงานระดับ (Error in Levelling)

1. กล้องไม่ได้รับการปรับแก้ให้ถูกต้อง 7. ไม้ระดับไม่อยูใ่ นแนวดิ่ง


2. ภาพเหลื่อม (Parallax) 8. จุดเปลี่ยนระดับ
3. ความโค้งของโลก 9. การทรุดตัวของสามขาหรือของจุดเปลี่ยนระดับ
4. การหักเหของแสงในบรรยากาศ 10. ขณะอ่านค่าไม้ระดับนัน้ ฟองอากาศของหลอด
ระดับไม่อยูท่ ่ีก่งึ กลาง ก่อนทาการอ่านค่าไม้ระดับ
5. การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ
โดยเฉพาะกล้องระดับทิล้ ติง้ ต้องปรับหลอดระดับเขา
6. ความยาวของไม้ระดับไม่ได้มาตรฐาน ควายเสมอ
11. ความไม่สามารถในการอ่านค่าไม้ระดับของผูร้ งั วัด

23

ความผิดพลาดในงานระดับ (Mistakes in Levelling)

ความผิดพลาดในงานระดับมีดังต่อไปนี้
1. การอ่านค่าบนไม้ระดับผิด
2. การจดบันทึกค่าไม้ระดับผิด เช่น จดค่าไม้ระดับหลังลงในช่องค่าไม้ระดับหน้า
3. จุดที่ตั้งไม้ระดับหน้าและไม้ระดับหลัง กรณีที่จุดนั้นอ่านทั้งสองค่าไม่เป็นจุดเดียวกัน
4. การบวก ลบ ค่าต่างๆ ผิด โดยเฉพาะการบวกลบของค่าไม้ระดับหน้าและไม้ระดับหลัง

24

12
15/07/63

การทาระดับแบบสอบกลับ (Reciprocal Levelling)

ในบางครัง้ จาเป็ นที่จะต้องทางานระดับข้ามแม่นา้ หรือข้ามหุบเขา ซึ่งไม่มีจดุ สาหรับตัง้ กล้องระหว่าง


กลางได้ กรณีนีจ้ ะทาให้ระยะไม้หลังและระยะไม้หน้าต่างกันมาก แนวเล็งที่มีระยะส่องไกลๆ จึงมีผล
ของความโค้งของโลกและการหักเหของแสง และ ความคลาดเคลื่อนของเครื่องมือ วิธีการทางานเพื่อ
กาจัดความคลาดเคลื่อนต่างๆ เหล่านี ้

ค่าต่างระดับจาก A ไป B = ( a − b) + ( d − c )
2
25

ระดับตามขวาง
(Cross-section)
• การทา Cross-section คือ การหาระดับดินเดิม existing groan ไปในแนว ตั้งฉากกับเส้นฐาน
กับแนวสารวจ หรือ ตั้งฉากกับแนว Center line ของการทา profile

26

13
15/07/63

งานระดับตามยาว
(Profile)
• การทา profile levelling คือ การทาระดับตามแนว center line ของแนวถนน คลองส่งน้า
แนวสายไฟฟ้าแรงสูงเป็นต้น

27

แบบฝึกหัด - พื้นฐาน

• ตั้งกล้องระดับระหว่างจุด 2 จุด อ่านค่าไม้ระดับที่จุดที่ 1 ได้ 1.684 เมตร อ่านค่าไม้ระดับที่จุดที่


2 ได้ 1.807 เมตร ถ้าค่าระดับของจุดที่ 1 เท่ากับ 109.548 เมตร จงหาค่าระดับของจุดที่ 2

28

14
15/07/63

แบบฝึกหัด - วงรอบปิดบรรจบ
Station Distance (m.) B.S. (m.) H.I. F.S. (m.) Elev. Corr. Adj. Elev.
B.S. F.S.
BM1 92.543 2.777 - 200.000

TP1 83.543 85.354 1.832 2.192

TP2 85.432 71.321 2.609 2.907

TP3 103.432 99.432 1.647 2.696

BM1 108.456 - 1.063

Error

29

แบบฝึกหัด - วงรอบปิดไม่บรรจบ
Station Distance (m.) B.S. (m.) H.I. F.S. (m.) Elev. Corr. Adj. Elev.
B.S. F.S.
BM1 96.432 2.396 - 156.543

TP1 84.543 82.543 2.087 0.956

TP2 94.543 86.678 2.228 1.154

TP3 99.456 104.765 2.175 1.353

BM2 109.762 - 0.784


161.192
Error

30

15

You might also like