You are on page 1of 4

ใบประเมินผลการปฏิบัติงาน วิชาการฝึ กพื้นฐานทางวิศวกรรม

BASIC ENGINEERING TRAINING 2/2565

ค้อนช่างไฟ

ชื่อ – นามสกุล .............................................................................. เบอร์โทรศัพท์ ........................................ ตำแหน่งที่


นั่ง .................................. SEC .................... เลขที่ ............
เต็ คะแน
ที่ งานตะไบ หัวค้อน กำหนดส่ง ข้อบังคับ
ม นที่ได้
เตรียมชิน
้ งานตรวจสอบ และกำหนดด้าน ก่อนทำการตะไบต้องทำการขูดผิวดิบของแต่ละด้านออกให้
1 5 สัปดาห์ที่ 2
A เพื่อทำการขูดผิวดิบ หมดก่อนทุกครัง้
ความเรียบผิวด้าน A (ตามแนวขวางและ สัปดาห์ที่ 3 ต้องทำความสะอาดผิวหน้าชิน
้ งาน และถอดชิน
้ งานออก
2 10
แนวยาว) -4 จากปากของปากกาทุกครัง้ ที่จะทำการวัด หรือตรวจสอบ
3 การตอกรหัสตัวเลข 5 สัปดาห์ที่ 4 การตอกต้องกำหนดจุด ช่องไฟหรือระยะห่างให้เท่ากัน [วัน
ที่เรียน จ. = 1 | อ. = 2
พ. เช้า = 3 พ. บ่าย = 03 พฤ = 4 ศ. = 5 อา. = 7]
(ตามด้วยตำแหน่งนั่ง)
ความเรียบผิวด้าน B และวัดมุมฉากโดย การจับชิน
้ งาน และการจับเครื่องมือวัด ต้องถูกต้อง -
4 10 สัปดาห์ที่ 4
ใช้ด้าน A อ้างอิง แม่นยำ
ความเรียบผิวด้าน C และวัดมุมฉาก โดย
5 ใช้ด้าน B อ้างอิง 15 สัปดาห์ที่ 5 ขนาด A – C ต้องให้ได้ขนาดตามที่กำหนดไว้
ขนาด A - C = 23 mm. (± 0.2 mm.)
ความเรียบผิวด้าน D และวัดมุมฉาก โดย
สัปดาห์ที่ 5
6 ใช้ด้าน A หรือ C อ้างอิง (ขนาด B - D = 15 ขนาด B – D ต้องให้ได้ขนาดตามที่กำหนดไว้
-6
23 mm. (± 0.2 mm.)
ความเรียบผิวด้าน E (วัดในแนวทแยงมุม)
ผิวหน้าชิน
้ งานต้องเรียบ และได้มุมฉาก เพราะต้องใช้เป็ น
7 และวัดมุมฉากโดยใช้ด้าน A - B หรือ C - 15 สัปดาห์ที่ 6
ด้านอ้างอิงในการร่างแบบเพื่อขึน
้ รูปชิน
้ งาน
D อ้างอิง

เต็ คะแน
ที่ งานตะไบ ค้อนช่างไฟ กำหนดส่ง ข้อบังคับ
ม นที่ได้
การร่างแบบชิน
้ งาน โดยใช้เครื่องมือร่างแบบ แบบละเอียด
8 การร่างแบบลงบนชิน
้ งาน + วงรี 10 สัปดาห์ที่ 7 + แม่นยำ ต้องร่างแบบครัง้ เดียวให้ครบ
ทุกเส้น (ก่อนประเมินต้องตอบคำถาม)
9 การตัดเฉือนเพื่อการขึน
้ รูป (งานเลื่อยด้วย 10 สัปดาห์ที่ 7 การเลื่อยต้องเผื่อระยะสำหรับตะไบปรับความเรียบ
มือ) ด้าน B - F ; D - F -8 ประมาณ 2 mm.
ความเรียบผิว และวัดมุมฉาก B – F ; D -
10 15 วัดระยะเส้น LE ต้องได้ขนาดตามที่กำหนดไว้
F โดยใช้ด้าน A หรือ ด้าน C อ้างอิง
สัปดาห์ที่ 9
ขนาดด้าน E - F = 95 mm. ตะไบโค้ง
11 10 การตะไบโค้งด้าน F ต้องตัง้ ฉากกับด้าน A หรือ C
หน้า F (R3)
สัปดาห์ที่ ต้องศึกษาตัวแปรต่าง ๆ ในการทำงาน (ก่อนประเมินต้อง
12 งานเจาะ และการทำเกลียวด้วยมือ 10 +
10 ตอบคำถาม)
สัปดาห์ที่ 11
13 การ CHAMFER (SCH) และการลบคม 10 ทุกด้านของชิน
้ งานต้องไม่มีคม
- 12

สัปดาห์ที่ 12 - การฝึ กเป็ นการตะไบ ห้ามใช้กระดาษทราย ผิวหน้าชิน


้ งาน
14 การเตรียมผิวชิน
้ งาน เพื่อเคลือบผิว 5
13 ต้องสะอาด
สัปดาห์ที่
15 การพ่นสี 10 สีต้องไม่เยิม
้ พ่นแล้วต้องเรียบ
14
สัปดาห์ที่
16 ลำดับขัน
้ ตอนการทำงาน 10 ต้องเขียนไม่น้อยกว่า 25 ขัน
้ ตอน
14
งานประกอบ ใส่ด้ามค้อน และการตอกลิ่ม สัปดาห์ที่ หัวค้อนกับด้ามต้องไม่เอียง และด้ามค้อนต้องแน่นพร้อมใช้
17 10
(กำหนดส่งงานก่อนสอบปลายภาค 2 สัปดาห์) 14 งาน
รวม
รวมคะแนน 175 คะแนน = 25 % 175 คะแนนที่ได้ = %
เกณฑ์การให้คะแนน ผู้ตรวจให้คะแนน
1 ได้คะแนนเต็ม 15, 10 หรือ 5 เมื่อทำงานได้มาตรฐาน ครบถ้วน ถูกต้อง
ตรงเวลา ทุกขัน
้ ตอน
(จากเกณฑ์ข้อที่ 1) ได้ คะแนน 13, 10, 7, 5, 3, หรือ 1 เมื่องานมีจุด
2
พร่อง ไม่ได้มาตรฐาน และส่งงานหลังเวลาที่กำหนด ...........................................................
3 ได้ 0 หรือตัดเกรด F เมื่อไม่ส่งชิน
้ งาน (ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญส่ง จงกลณี)

You might also like