You are on page 1of 14

22/08/63

1305 213 Surveying

บทที่ 8 โครงข่ายสามเหลี่ยม

สิทธา เจนศิริศักดิ์

บทนา
โครงข่ายสามเหลี่ยม เป็นวิธีการหาพิกัดของหมุดควบคุมทางราบ เช่นเดียวกับ การทาวงรอบ แต่โครงข่าย
สามเหลี่ยม ทาการรังวัดมุม และ/หรือ ระยะทางของรูปสามเหลี่ยมที่ต่อกัน หรือ ซ้อนกันให้ครอบคลุมพื้นที่ที่
ต้องการ
โครงข่ายสามเหลี่ยมที่ทาโดยการวัดมุม เรียกว่า Triangulation
โครงข่ายสามเหลี่ยมที่ทาโดยการวัดด้าน เรียกว่า Trilateration
N B D F
Base line Checked
base line

ส่วนประกอบหลักของโครงข่ายสามเหลี่ยม
ประกอบด้วย M A C E G

• เส้นฐาน (Base line)


N B F
• สถานีโครงข่ายสามเหลี่ยม
D
วงรอบ
• เส้นตรวจสอบ (Checked base line)
M A C E G

1
22/08/63

การเลือกใช้ วงรอบ หรือ โครงข่ายสามเหลี่ยม

มีข้อพิจารณา ดังนี้
• ภูมิประเทศ: โครงข่ายสามเหลี่ยมเหมาะสาหรับพื้นที่สูงๆต่าๆ
• ค่าใช้จ่าย: โครงข่ายสามเหลี่ยมเสียค่าใช้จ่ายมาก
• ความละเอียดถูกต้อง: ความละเอียดถูกต้องของโครงข่ายสามเหลี่ยมขึ้นกับแบบหรือชั้นของโครงข่าย
สามเหลี่ยม แต่ความละเอียดถูกต้องของโครงข่ายสามเหลี่ยมและวงรอบถือว่าเหมือนๆกัน

รูปร่างที่ดีของโครงข่ายสามเหลี่ยม มุมต้องไม่เล็กกว่า 30 และ ไม่มากกว่า 120

การคานวณความยาวด้านของโครงข่ายสามเหลี่ยม

ใช้กฎของ Sine (Sine’s law)

𝑎 𝑏 𝑐
= = c b
sin 𝐴 sin 𝐵 sin 𝐶

B C

2
22/08/63

N B
A2 B2
ตัวอย่างโครงข่ายสามเหลี่ยมอย่างง่าย
• กาหนดให้
• MN เป็นเส้น Base line ที่รังวัดความยาว
• มุม A คือ มุมตรงข้ามด้านที่จะคานวณความยาว M A1 B1 A
• มุม B คือ มุมตรงข้ามด้านที่รู้ความยาว
sin 𝐴1
𝐴𝑁 = . 𝑀𝑁
sin 𝐵1
sin 𝐴2
𝐴𝐵 = . 𝐴𝑁
sin 𝐵2

sin 𝐴1 sin 𝐴2
𝐴𝐵 = . . 𝑀𝑁
sin 𝐴1 sin 𝐴2 sin 𝐴𝑛 sin 𝐵1 sin 𝐵2
𝐹𝐺 = . .…. . 𝑀𝑁
sin 𝐵1 sin 𝐵2 sin 𝐵𝑛

รูปแบบของโครงข่ายสามเหลี่ยม มี 3 รูปทรง

Chain of Triangle

Chain of quadrilaterals

Chain of polygons (Centre point figure)

3
22/08/63

ขั้นตอนการปฏิบัติงานโครงข่ายสามเหลี่ยม

1. การสารวจสังเขป เพิ่มหาตาแหน่งสถานีโครงข่ายที่เหมาะสม
• การคานวณหาความแข็งแรงของโครงข่ายสามเหลี่ยม (Strength of figure)
2. การสร้างหมุดควบคุมและสัญญาณ
3. การรังวัด
• ระยะทางเส้นฐาน (Base line) และ เส้นตรวจสอบ (Checked base line)
• รังวัดอาซิมุททางดาราศาสตร์ (แนวอ้างอิงเริ่มต้น) และ
• รังวัดมุมทุกมุมของโครงข่าย
4. การคานวณและปรับแก้ (โดยดูตามเกณฑ์กาหนดงานโครงข่ายสามเหลี่ยม)
5. คานวณ Azimute และ พิกัด (ดาเนินการเช่นเดียวกับวงรอบ)

การหาความแข็งแรงของโครงข่ายสามเหลี่ยม (Strength of figure)


𝑫−𝑪 𝟐 𝟐 โดยที่ 𝐶 = 𝐶𝐴 + 𝐶𝑆
𝑹= . ෍ 𝜹 𝑨 + 𝜹𝑨 . 𝜹𝑩 + 𝜹𝑩
𝑫
𝐶 = 𝑛′ − 𝑆 ′ + 1 + (𝑛 − 2𝑆 + 3)

R = Strength of figure (ยิ่งน้อยยิ่งทาให้ถูกส่วนมากขึ้น)


D = Total number of directions in the network (not including known line) จานวนเส้นทางทั้งหมดที่ส่อง
(หน้าหรือหลัง) ไม่รวมจานวนที่ส่องตามด้านที่ทราบระยะทาง (Base line)
C = Total no of angle and side conditions จานวนสภาพยังคับที่ทาให้ถูกส่วน
CA = Angle condition CS = Side condition
n = Number of lines observed in both directions จานวนด้านที่ส่องวัดทั้ง 2 ทาง รวมด้านที่ทราบระยะ
n = Total number of lines จานวนด้านทั้งหมด
s = Number of stations occupied สถานีที่ตั้งกล้องได้
s = Total number of stations จานวนหมุดทั้งหมด
8

4
22/08/63

D=? D = 4 (ไม่ใช่ 6)
Base line n= ? n= 3 C = (n – S +1) + (n-2S+3)
n=? n=3 = (3 – 3 + 1) + (3 - 2*3 + 3)
s= ? s = 3 =1+0
B C s=? s=3 =1

D=? D = 10
Base line
n= ? n = 6 C = (6 – 4 + 1) + ( 6 - 2*4 + 3)
n=? n =6 =3+1
s= ? S = 4 =4
s=? S =4

Base line D=? D=8


n= ? n = 5 C=?
n=? n =6
s= ? S = 4
s=? S =4

Base line D=? D=7


n= ? n = 3 C=?
n=? n=6
s= ? S = 3
s=? S=4

10

5
22/08/63

การหาความแข็งแรงของโครงข่ายสามเหลี่ยม (Strength of figure)


𝑫−𝑪 โดยที่ 𝐶 = 𝐶𝐴 + 𝐶𝑆
𝑹= . ෍ 𝜹𝟐𝑨 + 𝜹𝑨 . 𝜹𝑩 + 𝜹𝟐𝑩
𝑫
𝐶 = 𝑛′ − 𝑆 ′ + 1 + (𝑛 − 2𝑆 + 3)

A = Different in sixth decimal place in the log sine of the angle (labeled A) opposite the
side to be calculated in the triangle ผลต่างของค่า log sine ของมุม A เมื่อมุมเปลี่ยนแปลงไป 1 (มุม
A ถึงมุมตรงข้ามด้านที่ต้องการคานวณ) ใช้ทศนิยมตาแหน่งที่ 6
B = Different in the sixth decimal place in the log sine of the angle (labeled B) opposite
the know side in the triangle ผลต่างของค่า log sine ของมุม B เมื่อมุมเปลี่ยนแปลงไป 1 (มุม B คือ
มุมตรงข้ามด้านที่รู้ระยะ) ใช้ทศนิยมตาแหน่งที่ 6

11

B D
A2 B2
70

60 A1 B1 50
A C G

ABC
A1 = log (sin 600001) – log (sin 600000) B1 = log (sin 500001) – log (sin 500000)
= (-0.062 468 152) – (-0.062 469 368) = 0.000 001 767
= 0.000 001 216
ใช้ทศนิยมตำแหน่งที่ 6 เป็ นหลักหน่วย  B1= 1.767
A1 = 1.216

2A1 + A1 . B1 + 2B1 = 6.750

12

6
22/08/63

จานวนค่า R ของแต่ละรูปทรงโครงข่ายสามเหลี่ยมแต่ต่างกัน ขึ้นกับด้านร่วมที่


ใช้เป็นเส้นทางผ่านสาหรับคานวณความยาว Checked baseline
A 2 B 2 A 4 B
4
Check Base
Chain of Triangle มีค่า R 1 ค่า Base line line

A 1 B 1 A
3 B 3 A 5 B 5

Chain of quadrilaterals มีค่า R 4 ค่า 1 Check Base


Base line 2 line
3
4

Chain of polygons มีค่า R 2 ค่า Base line

Check
Base line

13

ตัวอย่าง A D
47
40 1 43
49
Check Base
Base line 2 line
3
50
42
4 42 47
B C

D = 10 C = (n – s+1) + (n - 2S + 3)
n = 6 C = (6 – 4 + 1) + (6 - 2 x 4 + 3) = 4
n=6 D – C = (10 –4) = 0.6
S = 4 D 10
S=4

14

7
22/08/63

A D
ตัวอย่าง 47
40 1 43
49
Check Base
Base line 2 line
3
50
42
4 42 47
B C

หาค่า R กรณีอีก 3 ด้านร่วม

15

16

8
22/08/63

การปรับแก้โครงข่ายสามเหลี่ยม

• โดยใช้วิธี Approximated method (or Equal shift method) ใช้กับงานชั้น 3 หรือ ชั้น 4
• วิธี Least squares ใช้กับงานชั้น 3 ขึ้นไป (1 และ 2)

17

 log sin(มุมคี)่ -  log sin (มุมคู่) = k

18

9
22/08/63

 log sin(มุมคี)่ -  log sin (มุมคู่) = 0

19

3.โครงข่ายรูปสี่เหลี่ยม

 log sin(มุมคี)่ -  log sin (มุมคู่) = 0

20

10
22/08/63

การปรับแก้มุมโดยวิธี Equal Shifts หรือ approximate method


จำก Side condition
โครงข่ำยรูปสำมเหลีย่ ม :  log sin(มุมคี)่ -  log sin (มุมคู่) = k

โครงข่ำยรูปสีเ่ หลีย่ มและหลำยเหลีย่ ม :  log sin(มุมคี)่ -  log sin (มุมคู่) = 0


ให้
ดังนัน้
log sin (มุมคี่ ) = a
(a – b – k) = ค่ำคลำดเคลื่อนของ log sin ของมุมทีว่ ดั
 log sin (มุมคู่) = b
(c – d – k) = ค่ำคลำดเคลื่อนของ log sin ของมุมทีป่ รับแก้ไขมุม 1
log sin (มุมคี่ + 1) = c
log sin (มุมคู่ – 1) = d
ค่ำคงที่ = k
(σ 𝑎−σ 𝑏−𝑘) (σ 𝑎−σ 𝑏−𝑘)
 ค่ำปรับแก้ของแต่ละมุม = σ 𝑎−σ 𝑏−𝑘 − (σ 𝑐−σ 𝑑−𝑘)
= σ 𝑎−σ 𝑏 − (σ 𝑐−σ 𝑑)
ฟิ ลปิ ดำ
(σ 𝑎−σ 𝑏−𝑘)
= σ 𝑎−σ 𝑐 + (σ 𝑑−σ 𝑏)
21

ตัวอย่าง

22

11
22/08/63

23

24

12
22/08/63

25

26

13
22/08/63

27

14

You might also like