You are on page 1of 7

0301231 ปฏิบัติการสำรวจ

Survey Laboratory

เรื่อง “การตรวจสอบแนวเล็งของกล้องระดับโดยวิธี 2 หมุด และ การหาค่าระดับแบบครบวงจร”


อาจารย์ผู้สอน ดร.ศิวา แก้วปลั่ง นาย ณัฏพงษ์ ลาดบัตร
ดร.ปิ ยณัฐ จันโทสุทธิ์ นาย มีศักดิ์ธนา พัวพิทยาธร

กลุ่ม วันจันทร์
ภาคการศึกษา 2 ปี การศึกษา 2566

สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หลักการ
การตรวจสอบแนวเล็งโดยวิธี 2 หมุด (Two Pegs Test) ที่นิยมใช้ทั่วไปมี 2 วิธี

วิธีที่ 1 ตั้งกล้องที่จุดกึ่งกลางระหว่าง หมุด และ ตั้งใกล้กับหมุดใดหมุดหนึ่ง


❖ หาค่าผลต่างระดับระหว่างหมุด A และ B (จากค่าเฉลี่ยที่ 3 สายใย)
 ตั้งกล้องกึ่งกลางระหว่างหมุด AB (จุด C)
 ตั้งกล้องใกล้หมุดใดหมุดหนึ่ง (จุด D) หมุด A หรือ B

โดยทั่วไปไม่ควรเกิน 0.00005 เรเดียน หรือ 10” นั่นคือค่า


e ควรมีค่า +/- 0.5 มม. ต่อ ระยะทาง 10 ม.
วิธีที่ 2 ตั้งกล้องใกล้หมุดทั้ง 2

❖ หาค่าผลต่างระดับระหว่างหมุด A และ B (จากค่าเฉลี่ยที่ 3 สายใย)


 ตั้งกล้องใกล้หมุด B
 หาค่าคลาดเคลื่อนแนวเล็งของกล้องหรือค่า e (หาได้จากค่าผลต่างระดับที่ตั้งกล้องหมุด C = D)

โดยทั่วไปไม่ควรเกิน 0.00005 เรเดียน หรือ 10” นั่นคือค่า


e ควรมีค่า +/- 0.5 มม. ต่อ ระยะทาง 10 ม.
อุปกรณ์
❑ กล้องระดับ + ขาตั้งกล้อง + ไม้ระดับ 1 ชุด

❑ หมุดไม้ 4 อัน

❑ ค้อน 1 อัน

❑ เทปวัดระยะ (100 เมตร) 1 ม้วน

วิธีปฏิบัติ
วิธีที่ 1 ตั้งกล้องที่จุดกึ่งกลางระหว่างหมุดและตั้งใกล้กับหมุดใดหมุดหนึ่ง
พื้นฐานการตั้งกล้อง
 วางแนวตรวจสอบ
 ตอกหมุด A จากนั้นวัดระยะจากหมุด A ออกไป 60 เมตร แล้วตอกหมุด D จากนั้น
ตอกหมุด B ที่ระยะ 50 เมตร จากนั้นตอกหมุด C ที่ระยะ 25 เมตร
 ตั้งกล้องกึ่งกลางระหว่างหมุด AB (จุด C)
 ปรับสกรูระหว่างฐานกล้อง(Leveling Screw) หากลูกน้ำไหลไปทิศใดให้ปรับสกรูขึ้นลง
 ค่าอ่านไม้ระดับในแต่ละจุด

วางกล้องแต่ละหมุด ทั้งหมด 3 จุด


1. นำไม้ระดับตั้งที่จุด A และ B อ่านค่า ละ 3 จุด
2. ตั้งกล้องใกล้หมุดใดหมุดหนึ่ง (จุด D) หมุด A หรือ B
3. ปรับแก้แนวเล็งกล้อง โดยการตั้งกล้องที่หมุด D

วิธีที่ 2 ตั้งกล้องใกล้หมุดทั้ง 2 หมุด


พื้นฐานการตั้งกล้อง
 วางแนวตรวจสอบ
 ตอกหมุด A จากนั้นวัดระยะจากหมุด A ออกไป 60 เมตร แล้วตอกหมุด D จากนั้น
ตอกหมุด B ที่ระยะ 50 เมตร จากนั้นตอกหมุด C ที่ระยะ 25 เมตร
 ตั้งกล้องกึ่งกลางระหว่างหมุด AB (จุด C)
 ปรับสกรูระหว่างฐานกล้อง(Leveling Screw) หากลูกน้ำไหลไปทิศใดให้ปรับสกรูขึ้นลง
 ค่าอ่านไม้ระดับในแต่ละจุด
วางกล้องแต่ละหมุด ทั้งหมด 3 จุด
1. ตั้งกล้องใกล้หมุด A
2. ตั้งกล้องใกล้หมุด B
3. ปรับแก้แนวเล็งกล้อง โดยการตั้งกล้องที่หมุด D

วิธีการคำนวณ
ตรวจสอบผลต่าง 3 สายใย

ผลต่างระหว่างหมุด A กับ B

ค่าความคลาดเคลื่อน

การหาค่าระดับแบบครบวงจร (Closed Circuit Differential Leveling)


อุปกรณ์
❑ กล้องระดับ + ขาตั้งกล้อง + ไม้ระดับ 1 ชุด

❑ หมุดไม้ 4 อัน
❑ ค้อน 1 อัน

❑ เทปวัดระยะ (50 เมตร) 1 ม้วน

วิธีปฏิบัติ
เดินสำรวจพื้นที่ทำการรังวัด เพื่อหาตำแหน่งหมุดที่เหมาะสมในการทำหมุดควบคุมเพิ่มเติม
(Control Point : CP) จากหมุดที่ทราบค่าระดับ (Benchmark : B.M.)

❖ ควรเป็นตำแหน่งที่ เข้า-ออก ง่าย

❖ สามารถส่องอ่านค่าจากไม้ระดับได้ทั้ง ไม้ส่องหน้า (F.S.) และไม้ส่องหลัง (B.S.)

❖ อยู่ในตำแหน่งที่ไม่ถูกท าลายได้ง่ายจาก คน สัตว์ ยานพาหนะ

2) ทำการตอกหมุดควบคุมเพิ่ม (CP) ในตำแหน่งที่เหมาะสมตามจำนวนที่ต้องการ

3) ทำการตั้งไม้ระดับบนหัวหมุด B.M.

4) ทำการตั้งกล้องระดับให้อยู่ตรงกลางหรือใกล้เคียง ระหว่างหมุด B.M. และหมุดควบคุมเพิ่มเติมหมุด

แรก (CP1) โดยกล้องต้องอยู่ในแนวเดียวกันกับหมุดทั้งสอง เพื่อจะได้ระยะทางในแนวราบที่ถูกต้อง


5) ทำการส่องกล้องระดับอ่านค่าไม้ระดับบนหัวหมุด B.M. เป็น B.S. แล้วบันทึกข้อมูล

6) ทำการตั้งไม้ระดับบนหัวหมุด CP1 และส่องกล้องระดับอ่านค่าไม้ระดับ เป็น F.S. แล้วบันทึกข้อมูล

การหาค่าระดับแบบครบวงจร (Closed Circuit Differential Leveling)


7) ทำการย้ายกล้องระดับ ตั้งตรงกลางหรือใกล้เคียง ระหว่างหมุด CP1 และหมุด CP2 โดยกล้องต้อง

อยู่ในแนวเดียวกันกับหมุดทั้งสอง เพื่อจะได้ระยะทางในแนวราบที่ถูกต้อง
8) ทำการตั้งไม้ระดับบนหัวหมุด CP1 และส่องกล้องอ่านค่าไม้ระดับเป็น B.S. แล้วจดบันทึกข้อมูล

9) ทำการตั้งไม้ระดับบนหัวหมุด CP2 และส่องกล้องอ่านค่าไม้ระดับเป็น F.S. แล้วจดบันทึกข้อมูล

10) ก่อนอ่านค่าไม้ระดับทุกครั้ง ต้องขจัดภาพเหลื่อมให้หมด (Parallax)

11) ทำซ้ำ ข้อ 7 ถึง 10 จนกระทั่งส่องกล้องอ่านค่าไม้ระดับบนหัวหมุด B.M. หรือหมุดอ้างอิงอื่นๆ ที่

ตารางบันทึกข้อมูล และ การคำนวณ


Dis(m)
sta. B.S(m) H.I F.S(m) Elev(m) B.S F.S
B.M 1.358 101.358 100 12.4
CP1 1.524 101.361 1.521 99.837 12.3 12.5
CP2 1.435 101.56 1.236 100.125 12.6 12.5
CP3 1.133 101.468 1.225 100.335 12.4 14.7
B.M 1.259 100.214 15.1
SOME 5.45 5.236 104.5

สรุปผลการทดลอง
SOME B.S - SOME F.S = 5.450 - 5.236 = 0.214 M

Last Elev - first Elev = 100.214-108 = 0.214

12√ K =12
√ 104.3
1000
= 3.879

สรุปเกณฑ์ไม่ผ่านงานชั้น 3

หาค่าระดับวงจร

You might also like