You are on page 1of 12

บทที่ 2

การปรับระดับพื้นที่ราบ
( Grading Flat Areas )

อาคาร , พื้นที่จอดรถ หรือลานเอนกประสงค พื้นที่เหลานี้เปนพื้นที่ที่ตองการความ


ราบเรียบ แตหากพื้นเรียบมีระดับเดียวกันตลอดจะทําใหเกิดน้ําขังขึ้นได ไมมีการระบายน้ํา
ดังนั้นพื้นที่ราบเรียบจึงจําเปนตองมีความลาดเอียงเล็กนอย และการปรับสภาพผิวดิน ( Grading
) พื้นดินนั้น จะทําใหการระบายน้ําสามารถเกิดขึ้นได

การปรับระดับความลาดเอียง ( Grading ) ของพื้นที่เรียบมีอยู 3 วิธี คือ


1. โดยการตัดพื้นดินเขาไปในสวนของพื้นที่ที่มีความชัน ( รูปที่ 2-1 )
2. โดยการเพิ่มพื้นดินออกมาจากพื้นที่ที่มีความชัน
3. โดยการตัดและเพิ่มดินใหกับพื้นที่ที่มีความชัน ( รูปที่ 2-2 )
การยายดินออกไป เรียกวา การตัด
การเพิ่มดินเขามา เรียกวา การถม

รูปที่ 2-1
การปรับระดับโดยการตัดดินออกมา จะมีการเคลื่อนยาย
ดินออกใหเกิดเปนพื้นที่ราบสําหรับกอสรางอาคารได และ
ใชกําแพงกันดิน จากนั้นจึงเติมวัสดุใหมลงไปในพื้นที่ให
เต็ม หลังจากที่วางฐานรากเรียบรอยแลว

รูปที่ 2-2
การปรับระดับโดยการใชทั้งการตัดและการถม ระดับที่
สูงขึ้นของลานนี้ ไดถูกออกแบบโดยใชการถมดินบนพื้นที่
ก อ สร า ง และยั ง มี ก ารขุ ด ย า ยดิ น ออกไปสํ า หรั บ ส ว นที่
ตองการจะทําเปนพื้นที่จอดรถ
ผังของการปรับสภาพผิวดิน ( Grading plan ) จะสามารถบอกตอผูรับเหมาไดวา พื้นที่
บริเวณใดบางที่ตองมีการตัด หรือการถมเกิดขึ้น

วิธีการในการปรับสภาพผิวดิน ( Grading Procedure )


การปรับระดับที่เปนวิธีพื้นฐานที่งายมาก คือการใชเครื่องจักร ขั้นแรกตองกําหนดเขตที่
จะปรับระดับความลาดเอียง และกําหนดระดับขั้นสุดทายโดยประมาณกอน ตอมาจึงตั้งระดับ
ความชันโดยทําเปนขอบขึ้นมา และดําเนินการทําระดับความลาดเอียงซึ่งไดกําหนดไวแลว ( Cut
, Fill หรือ Cut & Fill ) ตองมีการวางเสนระดับ ( Contour ) โดยใชวิธีการนี้
- พื้นที่ราบเรียบ ควรจะมีความกวางพอสําหรับจุดประสงคในการใชหอง รวมไปถึง
ทางเดินรอบ ๆ อาคารดวย
- ระดับชั้นสุดทาย ( Finish Grade ) สามารถบอกระดับในชั้นอื่น ๆ ได แตจะงายขึ้นถา
หากใชระดับชั้นหางกัน 0.5 ฟุต ทั้งแนวบนและลาง ( เชน 7.5 ,6.5 หรือ 82.5 ) วิธีนี้
จะงายตอการกําหนดแนวเสน Contour
- ความชันของระดับที่ทําขึ้นมาใหม สามารถทําใหชันเทาไรก็ได เทาที่ตองการ ซึ่ง
ขอจํากัดจะขึ้นอยูกับประเภทของดิน ศักยภาพในการกัดเซาะของดิน และความ
สวยงามจะใชความชันในอัตราสวน 1 : 3 ( 1 ฟุต ในทางดิ่ง และ 3 ฟุต ในทางราบ )
สําหรับการตัดชั้นดิน และใชอัตราสวน 1 : 4 สําหรับการเพิ่มชั้นดิน

การปรับระดับพื้นที่มีลักษณะเปนแองใหเปนพื้นที่เรียบโดยการตัด ( Grading to Make


an Area Flat by Cutting into the Bank )
วิธีนี้เปนการสรางพื้นที่ที่ราบเรียบ ซึ่งถูกลอมรอบดวยพื้นที่ที่มีความลาดเอียง 3 ดาน คือ
ดานขาง 2 ดานที่มีความสูงไปทางดานหลัง ซึ่งจะเปนดานที่สูงที่สุด ขั้นแรก เริ่มโดยการกําหนด
เขตที่จะทําพื้นที่ราบเรียบบนแผนที่ที่แสดงลักษณะภูมิประเทศ กําหนดระดับที่ตองการโดยการ
ระบุเสนระดับ ( Contour ) ที่เหมาะสม รวมถึงพื้นที่รอบ ๆ พื้นที่ราบนั้น จากนั้นยกระดับของ
เสนระดับ ( Contour ) ขึ้น 0.5 ฟุต ( ประมาณ 15 ซม. ) ซึ่งระดับนี้จะกลายเปนระดับที่ไดแกไข
ของพื้นที่เรียบในแตละระดับ เคลื่อนเสน Contour ไปยังแนวที่มีระดับสูงกวา และใหออมไปรอบ ๆ
พื้นที่เรียบ ( Flat Area ) ที่ตองการ จากนั้นคอย ๆ ปรับเสนใหตอกับแนวเสนระดับ ( Contour )
เดิม ถึงแมวาเสนระดับ ( Contour ) นี้คอนไปดานหลังพื้นที่ราบ และมีระดับที่สูงกวาพื้นที่ที่ได
กําหนดใหเปนที่ราบที่ตองการ จําเปนตองมีระยะทางมากพอที่จะวางพื้นที่ที่สามารถใชงานได ( 2
ฟุต ทางดานหลัง เมื่อใชอัตราสวนความชันเปน 1 : 3 ) การเคลื่อนแนวเสนระดับ ( Contour ) ขึ้น
ไปเรื่อย ๆ และไลใหไปบรรจบกับแนวเดิม จนกระทั่งไมมีแนวเสนระดับ ( Contour ) ผานพื้นที่
เรียบที่ตองการ ควรลากแนวใหมนี้ดวยน้ําหนักที่เบา หรือใชดินสอ ( หากใชหมึกจะยากตอการ
แกไข )

ในรูป 2-3a พื้นที่ที่ถูกปรับใหเปนพื้นราบนั้น จะแสดงดวยลายจุด เสนระดับ ( Contour )


เสนที่ 2 คือ เสนระดับ ( Contour ) ที่ต่ําที่สุด ที่จะไมผานพื้นที่ราบนี้ และจะถูกยกระดับใหสูงขึ้น
0.5 ฟุต เพื่อใหเปน Finish Grade ( ระดับที่ 2.5 ) เสนระดับ ( Contour ) เสนที่ 3 ถูกพื้นที่ราบที
ตองการคลุมอยู จึงตองออมไปรอบๆ ดานหลังพื้นที่ และไปบรรจบกับแนวเสนระดับ ( Contour )
แนวเดิม ( จะใชเสนทึบแสดงเสนที่ตองการออกแบบใหม ) ทําวิธีเดียวกันนี้กับแนวเสนระดับ (
Contour ) 4 และ 5 สวนแนวเสนระดับ ( Contour ) 6 จะไมมีการปรับเปลี่ยน พยายามสราง
เสนระดับ ( Contour ) ใหมีคาของความชันในอัตราสวน 1 : 3 ( รูปที่ 2-3b )

รูปที่ 2-3a

การอธิบายความชัน ถาหากชวงระยะหางทางแนวตั้งของเสนระดับ ( Contour ) คือ 1


ฟุต และตองการที่จะปรับใหเปนอัตราสวน 1 : 3 ( 3 ฟุตในแนวนอน ตอ 1 ฟุตในแนวดิ่ง ) จะตอง
กําหนดแนวเสนระดับ ( Contour ) ถอยออกมาจากพื้นที่ราบ ( Flat Area ) อีก 3 ฟุต ถาหาก
ระยะหางทางแนวตั้งของเสนระดับ ( Contour ) เทากับ 5 ฟุต จะตองเลือกคาความชันที่ทําใหเกิด
ความชันมากขึ้นกวาเดิมที่เปนอยู ซึ่งบางทีอาจจะไมสามารถมาบรรจบกันกับระดับเดิมได
Meeting the Grade เปนคําศัพทเฉพาะ ที่แสดงถึงจุดสิ้นสุดของแนวระดับใหมที่ตองการปรับ
ซึ่งตองพยายามใหจุดนั้นเขาสูแนวระดับเดิมใหเร็วที่สุดเทาที่สามารถจะทําได
รูปที่ 2-3b
แสดงแนวเสนระดับ ( Contour ) ทับบนพื้นที่ที่จะ
ทําการปรับระดับ

การปรับระดับพื้นที่โดยการถมดิน ( Grading a Flat Area by Filling )


เปนวิธีที่ตรงขามกับการตัด มักจะทํากันในบริเวณหุบเขาที่เปนแอง โดยการเพิ่มผิวดินขึ้น
เพื่อที่จะสรางพื้นที่เรียบบนพื้นที่ที่แนวเสนระดับ ( Contour ) เดิม เริ่มตนโดยการระบุตําแหนงที่
ตองการจะทําใหเรียบ กําหนดคาของระดับที่ตองการ ใหสูงกวาแนวเดิม 0.5 ฟุต ซึ่งแนวนั้นจะไม
ผานสวนของพื้นที่ราบที่ตองการ ตอมาขยับแนวเสน Contour ที่ถัดลงมาที่แนวเสนระดับ (
Contour ) ที่มีระดับต่ํากวา และทําวิธีเดียวกันกับเสนถัดไป ระยะระหวางเสนระดับ ( Contour )
จะตองมีความหางมากพอ ที่จะยอมใหเกิดทางลาดระหวางเสนระดับ ( Contour ) 2 เสน

ตัวอยาง เมื่อเสนระดับ ( Contour ) เสนที่ 5 (รูป 2-4) เปนเสนที่อยูเหนือพื้นที่ราบ ชวงระหวาง


เสนที่ 4 และ 5 จะเปนพื้นที่ที่จะปรับ เริ่มดวยการปรับแนวเสนระดับ ( Contour ) เสนที่ 4 ซึ่งอยู
ถัดมา และออมลอมรอบพื้นที่ราบนั้น และวกกลับมาที่แนวเสนระดับ ( Contour ) ระดับเดิม ทํา
วิธีเดียวกันกับ contour เสนที่ 3 และ 2 ระยะระหวางเสนระดับ ( Contour ) แตละแนว ควรหาง
กันอยางนอย 3 ฟุต และใชอัตราสวนความชันเปน 1:3

รูปที่ 2-4
การปรับระดับดินดวยการถม
หากสังเกตอยางตั้งใจ บนพื้นที่ราบที่ทําการปรับดวยการตัดรูปตัดแลว จะเห็นวาพื้นที่
ไมไดเรียบเปนระดับเดียวกัน แตจะมีความชันเปนระยะ 1 ฟุต ( ระยะหางทางแนวตั้ง ) แมวา
เสนระดับ ( Contour ) ที่ปรากฎออกมาในแตละระดับคอนขางถี่ แตในความเปนจริงพื้นที่นั้นถูก
ปรับใหเรียบ การทําระดับความลาดชันตองสามารถระบายน้ําได ถาพื้นที่สวนนั้นตองทําเปนระดับ
ระดับตาง ๆ ของรูปดาน ( Spot Elevation ) หรือรูปตัด สามารถใชในการอธิบายได รอบ ๆ มุม
ของเสนระดับ ( Contour ) ทําใหกลมกลืนกับภูมิทัศนรอบ ๆ ได เสนโคงที่มีขนาดกวางบอกไดวา
พื้นที่สวนนั้นเปนที่เรียบ ในทางตรงกันขาม ถาแตละมุมของเสนระดับ ( Contour ) เปนมุมเหลี่ยม
ภูมิทัศนจะปรากฏในรูปที่เกี่ยวกับรูปแบบในทางสถาปตยกรรม หรือออกมาในรูปแบบเรขาคณิต
มุมที่ออกมาเปนมุมเหลี่ยมจะมีผลกระทบและรบกวนพื้นที่สวนที่เล็กกวา ผูออกแบบสามารถ
กําหนดพื้นที่ที่ถูกกระทบกระเทือนโดยการเชื่อมดวยการใชเสนบาง ๆ ในตําแหนงที่แสดงจุด
เสนระดับ ( Contour ) ที่มีอยูเดิม พบกับเสนระดับ ( Contour ) ที่กําหนดขึ้นมาใหม

วิธีการปรับระดับดินโดยใชการตัดและการถม ( Grading a Flat Area by Using Both


Cut & Fill )
เปนวิธีการทําพื้นที่ราบ ( Flat area ) โดยใหการตัดดิน ( Cut ) และถมดิน ( Fill ) มีความ
สมดุลกัน หมายความวามีการประมาณจํานวน ปริมาณของการตัด ( Cut ) และถม ( Fill ) เทา ๆ
กัน ที่ซึ่งสามารถลดคาใชจายในการปรับสภาพผิวดิน ( Grading ) โดยอาจจะไมตองสั่งดินเพิ่มเขา
มา ครึ่งหนึ่งของพื้นที่ราบ ( Flat area ) ถูกสรางโดยการตัดชั้นดิน ตอมาดินเดิมที่ถูกแทนที่เหนือ
ชั้นดินโดยการเพิ่มดินเขาไป ( Filling )
เริ่มโดยการกําหนดเขตพื้นที่ ที่จะทําระดับบนผัง ที่เปนลักษณะภูมิ ประเทศ (รูปที่ 2-5)
กําหนดระดับพื้นสุดทาย ( Finish grade โดยการกําหนดระดับชั้นตรงกลาง ( Mid-grade ) ซึ่งผาน
พื้นที่ราบ ที่ตรงนั้น ( Flat area ) ควรจะมีจํานวนของเสนระดับ ( Contour ) ที่เทากันทั้งบนและ
ลางจนถึงพื้นที่ราบที่จะทําระดับพื้นสุดทาย ( Finish grade )

รูปที่ 2-5
การปรับสภาพผิวดินโดย
การตัดและการถม
ในกรณีนี้เสนระดับ ( Contour ) ที่ 6 และ 7 คือ จุดกลาง ดังนั้นชวงที่ 6.5 จะกลายเปน
ระดับพื้นสุดทาย ( Finish grade ) ตอนนี้ทําการลอมเสนระดับ ( Contour ) ในสวนที่ต่ําของระดับ
พื้นสุดทาย ( Finish grade ) รอบ ๆ ดานที่ต่ํากวาของพื้นที่ราบ ( flat area ) และทําแบบเดียวกัน
ที่ดานบน ทําไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งเสนระดับ ( Contour ) ทั้งหมดปรับเขาสูสภาพปกติ

แผนผังรูปตัดของตําแหนงผังแตละประเภทอธิบายความชันและระดับความลาดเอียงมา
พบกันไดอยางไรในรูปที่ 2-6

รูปที่ 2-6

การเปลี่ยนแปลงรูปทรงของพื้นดิน จะตองทําความคุนเคยกับการใชวิธีที่ทําการออกแบบ
บนผัง จะตองเรียนรูทางที่จะหลีกเลี่ยงความลาดชัน โดยการใชกําแพงกันการพังทลายของดิน (
Retaining wall ) สิ่งปลูกสรางบนที่ลาด ( Terrace ) ขั้นบันได ( Step ) การกอสราง ฯลฯ แต
เทคนิคในการทําระดับความลาดเอียงยังคงอยูใน 3 วิธีพื้นฐานนี้
สําหรับพื้นที่ในสวนอื่นๆ ที่ไมไดถูกทําระดับความลาดเอียงและการระบายน้ําควรจะ
เปลี่ยนคาของตัวเลขที่เปนเศษสวนหรือไมลงตัว ใหเปนเลขจํานวนเต็มที่ลงตัว ( Decimal ) ซึ่งจะ
ทําใหงายในการที่จะเพิ่มหรือลดและมีความเรียบรอยมากกวาการใชเศษสวน ซึ่งการคํานวณระดับ
ความชันจะใชเปนจุดทศนิยม 2 ตําแหนง ( เชน 10.12 หรือ 25.10 ) และจะตองทําความคุนเคยใน
การปรับเปลี่ยนคากันระหวางหนวยนิ้วและจํานวนเต็ม ซึ่งขาดไมไดและมีวิธีตามตาราง

พื้นที่ราบที่ไดถูกกําหนดไวหรือสวนที่ตัดสินใจวาจะทําการออกแบบนั้น ควรจะทําอยาง
รวดเร็วและทดสอบปญหาของดิน การปรับสภาพผิวดิน ( Grading ) ถาการปรับสภาพผิวดิน
( Grading ) มีปญหามาก อาจจะทําใหตนไมถูกทําลายลงได ฯลฯ พื้นที่ราบ ( Flat area ) ควรจะ
ถูกปรับเปลี่ยนและทดสอบการปรับสภาพผิวดิน ( Grading ) ในแตละแบบ ( Scheme ) การ
ทดลองและการทําผิด จะแสดงถึงการขาดความสัมพันธระหวางการออกแบบและการปรับสภาพ
ผิวดิน ( Grading ) การเลือกเขตที่ตั้งดวยความเอาใจใสตัวปญหาของ การปรับสภาพผิวดิน
( Grading ) จะทําใหดําเนินการออกแบบเร็วขึ้น การทดลองในการออกแบบสามารถยืดหยุนได
และสามารถเห็นขอผิดพลาดได

พื้นผิวที่เวาขางในและพื้นผิวที่นูนออกควรจะถูกใชที่สวนบนและสวนลางสุดของความชัน
และทําระดับความลาดเอียงโดยการใชแรงงานคน หรือใชเครื่องจักรที่ไมใหญมาก ภายหลังการทํา
ระดับความลาดเอียงมีพื้นที่ที่ขรุขระ การที่จะดูวาพื้นที่สวนนั้นไมเรียบ อธิบายโดยการวาด
section และบันทึกคําอธิบายบนผังในแตละพื้นที่ ( รูปที่ 2-7 )

รูปที่ 2-7
สวนบนสุดของแนวดินที่ชันนี้ จะถูกปรับให
เกิดเปนผิวที่โคงนูน และเชื่อมเขากันกับ
พื้นผิวที่มีอยูเดิม สําหรับสวนดานลางของ
แนวดินนี้ใกลกับทางเดินมากเกินไป ทําให
ไมสามารถทํารองน้ําไดดีนัก

การเปลี่ยนแปลงความลาดเอียง ( Variation in slope )


ตัวอยางที่ยกมาไดอธิบายความชันอัตราสวน 1:2 และ 1:3 และอธิบายวาใชเสนระดับ (
Contour ) อยางไร พื้นดินที่มีความลาดชันจําเปนตองมีการทําระดับความลาดเอียง และเปนไป
ไมไดที่จะลงเสาเข็มลงไปตามแนวดิ่งของพื้นดิน อัตราสวนของความชันที่ใชกันทั่วไป คือ 1:2 ,1:3
,1:4 ฯลฯ (สวนใหญใช 1:3) ความชัน 1:3 หมายความวา มีระยะ 3 ฟุตทางแนวราบ และ 1 ฟุตใน
แนวดิ่ง ตอการเปลี่ยนแปลงระดับในแตละชวง ขณะที่เสนระดับ ( Contour ) ถูกแสดงในผัง
จะตองรักษาเสนระดับ ( Contour ) ในอัตราสวน 1:3 ไว (สมมุติชองหางระหวางเสนระดับ (
Contour ) คือ 1 ฟุต) อาจจะตองมีที่วางหางกัน 3 ฟุต ( รูปที่ 2-8 )
รูปที่ 2-8

ส ว นที่ เ พิ่ ม เขา มาในเรื่ อ งของอั ตราสว น คือ ความชัน สามารถแสดงออกมาในค า ของ
percentage = 33 1/3 % และ 1:4 จะเทากับ 25% ฯลฯ percentage ของความชันงายที่จะเขาใจ
ถาผูออกแบบคิดวา ความชันมีความยาว 100 ฟุต (วัดตามแนวดิ่ง) (รูป 2-9) ระยะทางตามแนวดิ่ง
จะเปนคาของ percent การที่จะกําหนดคา percentage ในแตละชวงของความชัน โดยการแบง
ระยะทางตามแนวดิ่งตอระยะทางตามแนวราบ (ดิ่ง/ราบ) ตัวอยางเชน คาเปอรเซ็นตของความชัน
ตามแนวดิ่ง = 17 ฟุต ซึ่งมีระยะทางในแนวนอน = 340 ฟุต หาร 17 ดวย 346 (17/340) = 0.05
หรือ 5%

รูปที่ 2-9 รูปที่ 2-10

การใชคาความชันโดยการวัดมุมไมนิยมที่จะใชในการอธิบายความลาดชัน เพราะมีความ
ลําบากในการปรับเปลี่ยน percent หรือขนาดของมุม การวัดมุมสามารถวัดโดยการใชไมโปรแทค
เตอร เรือการคํานวณโดยตรงจากตาราง โดยการตั้งคามุมที่ 90 ํ (อัตราสวน 1:0) มุม 45 ํ คือ
อัตราสวน 1:1 มุม 22 1/2 ํ คือ อัตราสวน 1:2 (รูป 2-10) ตามตารางจะบอกคาคํานวณระหวาง
อัตราสวน percent และมุม ทําใหเห็นวาการใชคําของ percent ลําบากที่จะใชกับความชันที่ลาด
เอียงมากกวา 1:1
การเปลี่ ย นค าของระดั บความชัน เปน องศา โดยการนํ า คา ในแนวเอี ยงหารดว ยค า ใน
แนวนอน คาของ tangent ของผลลัพธที่ไดจากการหาร จะเปนคาที่เปนองศาของความชัน
การเปลี่ยนคาของระดับความชันจากอัตราสวนเปนเปอรเซ็นต โดยการนําคาในแนวตั้ง
หารดวยคาในแนวนอนและคูณดวย 100

Field Exercise
เพื่อใหเกิดความคุนเคยในการปรับระดับความลาดเอียงที่แตกตางกัน ผูออกแบบตอง
สังเกต คาเปอรเซนต ของระดั บชั้น ตา ง ๆ ต อมา เมื่อเตรียมผัง ที่ทําความลาดเอี ยงแลว จะ
สามารถระบุระดับชั้นที่ทําความลาดเอียงไดมากขึ้น

แบบทดลองฝกหัด ( Exercise )
เลือกจํานวนของความชันตาง ๆ ที่แตกตางกัน และทําการจัดระดับ เปลี่ยนคาที่วัดไดให
เปนคาของ Percent หรืออัตราสวน และคิดเกี่ยวกับคาที่ออกมา ขณะที่ทําผานในแตละพื้นที่
การวัดระดับความลาดเอียงตองใชไมที่ยาว 2-5 ฟุต กําหนดคาเปนฟุต และใชจุดทศนิยม 2
ตําแหนง ( 1/10 ) วัดระดับแนวราบดวยการใชระดับน้ํา ( Carpenter Level ) และบันทึกคาความ
สูงในแนวดิ่งที่ปลายสุดของไม ( ใชไมสามเหลียมฉากทําใหตําแหนงชัดเจนขึ้น ) การคํานวณคา
ของ Percent โดยการหารของระยะในแนวดิ่ง ตอระยะทางในแนวราบ สําหรับตัวอยาง คือ ถา
ความสูงในแนวดิ่งสูง 1.10 ฟุต และความยาวในแนวราบยาว 5 ฟุต คา 1.10 ถูกหารดวย 5.00
ได 0.22 หรือ 22 % ( รูปที่ 2-11 ) ทําการทดสอบเดิมในอัตราสวนความชันตาง ๆ

รูปที่ 2-11
รูปแสดงวิธีการวัดคาระดับความลาดเอียง

สังเกตวาการทําระดับความลาดเอียงมีคุณภาพมากอยางไร
- ระดับความลาดชันที่สูงเกินไปมีระดับเปนอยางไร
- การทําระดับความลาดเอียง ทําใหเกิดแองน้ําฝนบนพื้นดิน
- การทําระดับความลาดเอียง น้ําจะกัดเซาะดินที่มีสภาพอะไร? สภาพดินทราย หรือ
สภาพดินโคลน
- การทําระดับความลาดเอียง ลําบากในการสัญจรหรือเปลา หรือการรบกวนของเสียง
ที่ผานไปมาของรถยนต
- สภาพพื้นผิวที่มีความชันมากเกินไป ยังคงใชเลน บาสเกตบอล , เทนนิส หรือ
ฟุตบอลไดอยางไร

ขอไดเปรียบและขอเสียเปรียบของแตละวิธีในการปรับระดับพื้น (
Advantage and Disadvantages of each Grading Method )
ผูออกแบบตองตัดสินใจวาจะใชวิธีใดในการออกแบบ ใหเหมาะสมกับพื้นที่ มีแนวทาง
อธิบายถึงขอดี , ขอเสีย กอนที่จะตัดสินใจในการออกแบบขั้นสุดทาย

การปรับระดับโดยการตัด ( Grading by Cut )


ขอไดเปรียบที่สําคัญของการออกแบบพื้นที่ราบโดยการตัดดินออก คือพื้นที่ใหมที่ไดนั้น
จะมีความมั่นคง เนื่องจากดินที่ไมถูกรบกวนเปนเวลานานนั้น จะมีการจับตัวและอัดแนนดวยตัว
ของมันเอง จากแรงตามธรรมชาติ ทั้งนี้ยังขึ้นอยูกับ ชนิดของดินที่มีอยูเดิม สิ่งกอสราง ถนน
หนทาง และโครงการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการกระทําของมนุษยที่จะกอสรางบนพื้นที่นี้นั้น ไมมี
ความจําเปนตองใชฐานรากชนิดพิเศษ หรือราคาแพง
ขอเสียเปรียบที่สําคัญของพื้นที่ที่มีการตัดดินออกนั้น คือการจัดการดินที่ไดตัดออกมา ซึง่
จะตองมีการเคลื่อนยายไปที่อื่น ทําใหตองรวมไปถึงการจัดรถยกและคาขนสงเคลื่อนยายอีก ซึ่ง
โดยสวนมากแลว เปนไปไดยากที่จะหาพื้นที่ที่จะนําดินสวนเกินนี้ไปเท แมวาจะเพิ่มราคาในสวน
นี้ก็ตาม พื้นที่ที่มีความเปนไปได ตองมีลักษณะเปนบึง , คลอง หรือแองน้ํา ซึ่งก็มีหนาที่ตาม
ธรรมชาติของมันเองอยูแลว จึงไมสามารถจะถมดินลงไปได
นอกจากนี้ยั งมี ขอไดเปรียบอื่นอีก คือพื้นที่ที่มีความชัน มากเกิ นกวาจะทํ าการถมนั้น
จําเปนตองใชวิธีการตัดเพียงวิธีเดียวแทน หากตองการรบกวนพื้นดินใหนอยที่สุด การตัดถือเปน
วิธีที่ดีที่สุด พื้ น ที่ มี ความชัน มากจะสามารถตัดไดม ากกวา การถม ซึ่ งจะทํ า ใหดิน ไม เ กิ ด การ
พังทลายไดโดยงาย ถึงแมวาจะตองสูญเสียผิวหนาดินที่มีคาก็ตาม
เมื่อวิธีการตัดดินมีความนิยมมากขึ้น ดินที่เพิ่มมากขึ้นควรมีการออกแบบจัดการใหเกิด
ลักษณะภูมิประเทศแบบใหมที่นาสนใจ ปริมาณที่ใกลเคียงกันระหวางการตัดและการถมนั้น
เรียกวาความสมดุลของการปรับระดับ ( รูปที่ 2-12 และ 2-13 )
รูปที่ 2-12
การปรับใหการตัดและถมมีการใชสอยที่เกิดความ
สมดุลกัน

รูปที่ 2-13
การทําขอบคันดินเปนอีกวิธีการกําจัดดินสวนเกินที่
เกิดจากการตัด ในบางครั้งขอบดินนี้อาจใชเปนตัว
แบงสวยของสนามเด็กเลนออกจากสวน หรือการจัด
ใหเกิดพื้นที่ที่นาสนใจขึ้น นอกจากนี้ยังใชถมในบอ
น้ํา ใหกนบอที่โคงเวาลงไปเปนพื้นเรียบอีกดวย

การปรับระดับโดยการถม ( Grading by Filling )


เหตุผลสําคัญของการเพิ่มระดับความลาดเอียง ( Filling ) คือ เพิ่มพื้นดินในสวนพื้นที่ที่มี
ความต่ํา ที่จะทําใหสวนนั้นสามารถใชได ซึ่งอาจจะตองการยกระดับจุดที่ต่ํา ใหเกิดเปนระดับ
ความลาดเอียงขึ้นมา หรือ การทําใหระดับพื้นดินเกิดการไหล ( รูปที่ 2-14 )
ขอเสียเปรียบก็เหมือน ๆ กับการตัด คือลําบาก ( และเสียคาใชจายมาก ) ที่จะหาพื้นที่ที่
ทําการเพิ่มพื้นดิน พื้นที่ที่ทําการเพิ่มผิวดินใหม ๆ จะไมมั่นคงพอนอกจากจะวางฐานราก หรือ
ทําการอัดดินใหแนนดวยเครื่องมือพิเศษ ฐานรากสวนใหญที่ติดตั้ง ตองขยายโดยรอบไปยังพื้นที่
ที่ทําการถมเขาไปในพื้นดิน ซึ่งภายในดินจะตองไมมีสิ่งที่เปนของแข็ง ซึ่งไมใหฐานรากผานเขาลง
ไปในดินได การอัดพื้นดินใหแนน ตองการอุปกรณพิเศษ และจะสรางปญหาพื้นที่บริเวณนั้น ใน
การปลูกพืชในเวลาตอมา

รูปที่ 2-14
ฐานรากของอาคารเกาหลังนี้นั้น ไดถูกเติมดวย
คอนกรีตใหกลายเปนสวนของสวนเล็กๆ มุมมองที่
เกิดขึ้น ทําใหลดความรูสึกสูงเกินไปของกําแพง
และการเปลี่ยนแปลงระดับอยางรวดเร็วลงได
พื้นที่ที่ทําการถมและมีความลาดเอียง จะเกิดการกัดเซาะไดงาย ขณะที่ดินคอย ๆ เกิด
การกัดเซาะพังทลาย จะเกิดการลื่นไหลของพื้นดิน มีการผสมเล็กนอยระหวางดินที่มีอยู และดิน
ที่ทําการเพิ่มเขาไป

การทําระดับพื้นที่โดยการตัดและการถม ( Making an Area Level by Cut and Fill )


เปนวิธีที่นิยมใชกัน ถามีการประมาณความสมดุลของการตัดและการถม ( Cut & Fill )
จะสามารถประเมินคาใชจายได สวนใหญจะเปนประโยชนในสวนของพื้นที่ที่มีขนาดกวาง ที่ซึ่ง
ปญหาการเคลื่อนยายกําจัดดินที่ถูกขุดขึ้นมาของการตัด นอกจากสาเหตุของการกัดเซาะ หรือ
จําเปนตองมีการทําฐานรากอยางพิถีพิถัน เปนไปไดที่จะใชวิธีการถม ( Fill ) ผิวดินมากในที่จอด
รถ หรือ บางสวนของพื้นที่ที่ไมเปนโครงสราง
ถาไมใชวิธีการทําระดับความลาดเอียง สวนบนสุดของดินทั้งหมดจะตองระมัดรัวังในเรื่อง
ของวัสดุในการกอสราง และการแทนที่ตามระดับชั้น ดังนั้นตองควบคุมการปลูกพืช และการกัด
เซาะของหนาดิน
นี่เปนคําแนะนําสําหรับเรื่องทั่ว ๆ ไป ในการปรับสภาพผิวดินใหเกิดความลาดเอียงซึ่งมี
คาใชจายต่ํา อยางไรก็ตาม ตองพิจารณาการประมาณราคาทั้งในระยะสั้นและระยะยาว วิธีการ
ในการออกแบบตองคํานึงถึงผลที่จะไดในระยะยาว การพัฒนาในการออกแบบตองมีเหตุผล การ
มีเหตุผลอันสมควรสําหรับแตละกรณีที่มีความสําคัญ สามารถทําใหเขาใจไดดีกับสภาพโดยรวม
ทั่วไปในบริเวณนั้น

You might also like