You are on page 1of 3

66

. . หลักเกณฑ์ ทีเกียวข้ องกับการออกแบบงานปรับปรุ งคุณภาพดิน

หลักเกณฑ์ การออกแบบ (Design Criteria)


1) การทรุ ดตัว (Settlement) : หลักเกณฑ์ทีใช้ในการออกแบบการปรับปรุ งคุณภาพดิน
จะใช้หลักเกณฑ์จาก Airside Design Group (ADG) ซึงครอบคลุมถึงงานปรับปรุ งคุณภาพ
ดินในพืนที Airside เกือบทังหมด โดยหลักเกณฑ์ทีเกียวข้องกับการทรุ ดตัวภายหลังจากทีเปิ ด
การใช้งานพืนทีแล้วจะเป็ นดังนี
- ส่ วนต่างในการทรุ ดตัวของทางวิงควรน้อยกว่า เซนติเมตร ต่อความยาวทางวิง
เมตร
- ทางวิงและทางขับ (Runway & Taxiway) : การทรุ ดตัวรวมควรน้อยกว่า เซนติเมตร
ภายใน ปี
- หลุมจอดอากาศยาน (Apron area) : การทรุ ดตัวรวมควรน้อยกว่า เซนติเมตร ภายใน
ปี

2) การออกแบบ Prefabricated Vertical Drain (PVD) : ต้อ งพิ จ ารณารู ปแบบ PVD
Pattern ได้แก่ Triangular Pattern หรื อ Square Pattern

3) การใช้นาหนั
ํ กกดทับ (Surcharge) : ค่า Primary Settlement ทีเกิดขึนต้องมีค่าร้อยละ
ของค่า Total Primary Settlement โดยนําหนักกด (Surcharge) ทีใช้มีค่าไม่ตากว่
ํ า . ตันต่อ
ตารางเมตร สําหรับเฉพาะพืนทีทางด้าน North Side of 3rd Runway
67

. . การตรวจสอบคุณภาพและผลจากการปรับปรุงคุณภาพดิน
- การวัดและการวิเคราะห์สุญญากาศทีใช้ (Measurement and Analysis of Applied
Vacuum)
- การวิเคราะห์เครื องมือวัดการทรุ ดตัว (Analysis of Settlement Plate)
- การตรวจสอบการปฏิบตั ิตามข้อกําหนดของเครื องมือวัดการทรุ ดตัว (Compliance
Check Settlement Plate) ในพืนทีโซนปรับปรุ งที แบ่งออกได้เป็ น Section
1. Z13-RA-07-line (Settlement Plate อัน)
2. Z13-RA-08-line (Settlement Plate อัน)
3. Z13-RB-08-line (Settlement Plate อัน)
- วิธีการนําข้อมูลการทรุ ดตัวไปคํานวณหา Degree of Consolidation แบ่งเป็ น วิธี
1. ASAOKA Method
1.1 ASAOKA Sheet
1. . เมือทราบข้อมูลการทรุ ดตัวทีวัดได้ในช่วงเวลาการวัดทีต่อเนื องกันจาก
Settlement Plate แล้ว จะทํา การเลื อ กข้อ มู ล การทรุ ด ตัว ในช่ ว งเวลาการวัด ที
Degree of Consolidation มากกว่า % ขึนไปมาใช้ในการพล็อตเส้น Trendline
1. . หลังจากทีนําข้อมูลการทรุ ดตัวทีวัดได้ในการวัดทีต่อเนื องกันไปพล็อต
ในที นี จะพล็ อ ตโดยใช้ Zt เที ย บกับ Zt+l โดยที Zt คื อ ค่ า การทรุ ด ตัว ซึ งจะถู ก
คํานวณด้วยเส้นแนวโน้มเชิ งเส้น (Trendline) ทีสร้างขึนอัตโนมัติโดย Excel โดย
ทําให้เกิดความเหมาะสมตามวัตถุประสงค์มากทีสุ ด
. . จากพล็อตเส้น แนวโน้มเชิ งเส้นนี จะสามารถคํานวณจุ ดตัด (α) และ
ความชันของเส้น (β) ได้ ซึ งจําเป็ นสําหรับการคํานวณหาการทรุ ดตัวสู งสุ ด (Sf)
และทําให้สามารถคํานวณค่าอัตราการทรุ ดตัว (Degree of Consolidation)
. . เมือทราบการทรุ ดตัวสูงสุ ด (Sf) สามารถคํานวณหาอัตราการทรุ ดตัวใน
ปัจจุบนั ได้ คือ U (Degree of Consolidation) โดยใช้การทรุ ดตัวทันทีทีรับนําหนัก
(Si) และการทรุ ดตัวในปัจจุบนั ครังล่าสุด (Sc) ในการคํานวณ
68

1.1.5 Degree of Consolidation ที คํานวณด้วยวิธี ASAOKA และ Hyperbolic


จะต้องไม่นอ้ ยกว่า % เพือให้เป็ นไปตามข้อกําหนด

2. Hyperbolic Method
2.1 Hyperbolic Sheet
2.1. เมือทราบข้อมูลการทรุ ดตัวทีวัดได้ในช่วงเวลาการวัดทีต่อเนื องกันจาก
Settlement Plate แล้ว จะนําข้อมูลการทรุ ดตัวและเวลาในช่วงการวัดทีต่อเนืองกัน
มาใช้ในการพล็อตเส้น Trendline
2.1.2 หลังจากทีนําข้อมูลการทรุ ดตัวทีวัดได้ในการวัดทีต่อเนื องกันไปพล็อต
ในทีนี จะใช้เวลาหลังจากเริ มการวัด จะหารด้วยการทรุ ดตัวและจะถูกพล็อตตาม
เวลาเป็ น t/s กับ t โดยที t คือเวลา และ s คือการทรุ ด ตัวที เริ มต้นด้วยการใช้งาน
โหลดคงที ซึ งจะถู ก คํา นวณด้ว ยเส้ น แนวโน้ ม เชิ ง เส้ น (Trendline) ที สร้ า งขึ น
อัตโนมัติโดย Excel โดยทําให้เกิดความเหมาะสมตามวัตถุประสงค์มากทีสุ ด
2.1.3 จากพล็อตเส้นแนวโน้มเชิ งเส้นนี จะสามารถคํานวณจุ ดตัด (α) และ
ความชันของเส้น (β) ได้ ซึ งจําเป็ นสําหรับการคํานวณหาการทรุ ดตัวสู งสุ ด (Sf)
และทําให้สามารถคํานวณค่าอัตราการทรุ ดตัว (Degree of Consolidation)
2.1.4 เมือทราบการทรุ ดตัวสู งสุ ด (Sf) สามารถคํานวณหาอัตราการทรุ ดตัวใน
ปัจจุบนั ได้ คือ U (Degree of Consolidation) โดยใช้การทรุ ดตัวทันทีทีรับนําหนัก
(Si) และการทรุ ดตัวในปัจจุบนั ครังล่าสุด (Sc) ในการคํานวณ
2.1.5 Degree of Consolidation ที คํานวณด้วยวิธี ASAOKA และ Hyperbolic
จะต้องไม่นอ้ ยกว่า % เพือให้เป็ นไปตามข้อกําหนด

You might also like