You are on page 1of 13

คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 1 …………………………………………….

มุมและส่ วนของเส้ นตรง

 ความคิดรวบยอดเกียวกับมุม
(1) มีสว่ นประกอบ 2 ส่วนคือ
– แขนของมุม มี 2 แขน อาจจะเป็ นรังสีหรื อส่วนของเส้ นตรง

– จุดยอดมุม มี 1 จุด

(2) มุมเกิดจากเส้ นตรง รังสี หรือ ส่วนของเส้ นตรงสองเส้ นมาตัดกัน มาบรรจบกัน หรือมีจดุ ร่วมกัน
(3) สัญลักษณ์แทนการเขียนมุม
B จากรูป คือมุม BAC
เขียนแทนด้ วย BAC
 หรื อ A
 หรื อ BAC หรื อ A
 
แขนของมุม ของ BAC  คือ AB, AC
A C
จุดยอดมุม ของ BAC คือ จุด A

(4) การวัดมุมจะได้ เป็ นจํานวนเรียกว่า ขนาดของมุม มีหน่วยเป็ นองศา ลิปดา และ ฟิ ลิปดา โดยที
60 ฟิ ลิปดา = 1 ลิปดา

60 ลิปดา = 1 องศา

3600 ฟิ ลิปดา = 1 องศา

องศา เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ 


เช่น 48 องศา เขียนแทนด้ วย 48 

 ชนิดของมุม
(1) มุมแหลม คือ มุมทีมีขนาดมากกว่า 0 องศา แต่น้อยกว่า 90 องศา
(2) มุมฉาก คือ มุมทีมีขนาดเท่ากับ 90 องศา
(3) มุมป้าน คือ มุมทีมีขนาดมากกว่า 90 องศา แต่น้อยกว่า 180 องศา
(4) มุมตรง คือ มุมทีมีขนาดเท่ากับ 180 องศา
(5) มุมกลับ คือ มุมทีมีขนาดมากกว่า 180 องศา แต่น้อยกว่า 360 องศา
(6) มุมกลมหรือมุมรอบจุดศูนย์กลาง คือ มุมทีมีขนาดเท่ากับ 360 องศา

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 2 …………………………………………….

 ความสัมพันธ์ ระหว่ างมุม


(1) มุมตรงข้ าม คือ มุมทีเกิดจากการตัดกันของเส้ นตรง หรือส่วนของเส้ นตรง หรือรังสี 2 เส้ น โดย
มุมตรงข้ ามจะมีขนาดเท่ากัน
จากรูปจะได้
1 2 1 ตรงข้ ามกับ
 
4 และ 
1
4
3 4
3 ตรงข้ ามกับ
 
2 และ 
3
2

(2) มุมประชิด คือ มุม 2 มุมทีมีจดุ ยอดมุมเป็ นจุดเดียวกันและมีแขนของมุมร่วมกันหนึงข้ าง


จากรูปจะได้
1 เป็ นมุมประชิดกับ
 
2

1
2

(3) มุมประกอบ 1 มุมฉาก คือ มุมประชิดทีรวมกันแล้ วได้ 90 องศา หรือ 1 มุมฉาก

จากรูปจะได้
1 เป็ นมุมประกอบ
 1 มุมฉากกับ 
2
2
1

(4) มุมประกอบ 2 มุมฉาก คือ มุมประชิดทีรวมกันแล้ วได้ 180 องศา หรือ 2 มุมฉาก
จากรูปจะได้
1 เป็ นมุมประกอบ 2 มุมฉากกับ 
 2

2 1

Note :
(5) มุมภายในรูปสามเหลียมรวมกันได้ 180 องศา
ผลบวกของมุมภายในรูป n เหลียม
1
เท่ากับ (n – 2)  180
2 เช่น ผลบวกของมุมภายในรูป 10 เหลียม
3
เท่ากับ (10 – 2)  180
(6) มุมภายในรูปสีเหลียมรวมกันได้ 360 องศา ขนาดของมุมภายในรู ป n เหลียมด้ านเท่า
1 2 มีขนาดมุมละ (n  2)n 180
3
เช่น ขนาดของมุมภายในรูป 10 เหลียมด้ านเท่า
(10  2)180
4 มีขนาดมุมละ 10
 162o

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 3 …………………………………………….

ตัวอย่ าง 1 จงตอบคําถามต่อไปนี
1. ให้ นกั เรียนเติมคําตอบลงในช่องว่างให้ ถกู ต้ อง
(1)
K จุดยอดมุมคือ ...........................................................
แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
F C มุมนีเป็ นมุม ..............................................................

(2)
P จุดยอดมุมคือ ...........................................................
Q แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
มุมนีเป็ นมุม ..............................................................
R
(3)
ก จุดยอดมุมคือ ...........................................................
ข แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
ค มุมนีเป็ นมุม ..............................................................
(4) T
จุดยอดมุมคือ ...........................................................
O แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
F มุมนีเป็ นมุม ..............................................................

(5)
A C จุดยอดมุมคือ ...........................................................
แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
M มุมนีเป็ นมุม ..............................................................
(6)
จุดยอดมุมคือ ...........................................................
A แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
B O มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
มุมนีเป็ นมุม ..............................................................

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 4 …………………………………………….

2. จงพิจารณาว่าข้ อใดต่อไปนีถูกหรือผิด
………… (1) มุมมีแขนของมุมเป็ นรังสี 2 เส้ น มีจด ุ ยอดมุม 1 จุด
………… (2) มุมทีเกิดจากการตัดกันของ รังสี ส่วนของเส้ นตรง หรื อเส้ นตรง

………… (3) ถ้ าแขนของมุมทีมีความยาวมากขึน จะทําให้ มม ุ นันมีขนาดใหญ่ขนึ


………… (4) มุมทีมีขนาดใหญ่สด ุ คือ มุมกลับ เพราะมีขนาดเท่ากับ 360 องศา
………… (5) ชนิดของมุมมี 6 ชนิด

………… (6) มุมทีมีขนาด 89.99 องศา เป็ นมุมแหลม

………… (7) มุมทีมีขนาด 90.0001 องศา เป็ นมุมฉาก

………… (8) มุมทีมีขนาด 96 องศา เป็ นมุมป้าน

………… (9) มุมทีมีขนาด 181 องศา เป็ นมุมป้าน

………… (10) มุมทีมีขนาด 270 องศา เป็ นมุมกลับ

………… (11) ถ้ านํามุมแหลมมาแบ่งครึงจะได้ มม ุ แหลมเสมอ


………… (12) ถ้ านํามุมฉากมาแบ่งครึงจะได้ มม ุ แหลมมีขนาดเท่ากับ 45 องศาเสมอ
………… (13) ถ้ านํามุมป้านมาแบ่งครึงจะได้ มม ุ ฉากเสมอ
………… (14) ถ้ านํามุมฉาก 2 มุมบวกบวกกันแล้ วลบด้ วยมุมแหลมจะได้ มม ุ แหลมเสมอ
………… (15) ถ้ านํามุมป้าน 1 มุมลบด้ วยมุมแหลม 1 มุม จะได้ มม ุ แหลมเสมอ
………… (16) มุมทีจะลบกับมุมป้านแล้ วได้ มม ุ แหลมต้ องเป็ นมุมฉาก หรือไม่ก็มมุ ป้าน
………… (17) มุมป้าน 1 มุมบวกกับมุมแหลม 1 มุมจะได้ มม ุ กลับเสมอ
…….…... (18) มุมกลับถูกแบ่งครึงจะได้ มม ุ ป้าน
………… (19) มุมป้าน 1 มุมบวกมุมป้านอีก 1 มุม จะได้ มม ุ กลับเสมอ
………… (20) มุมกลมเมือถูกแบ่งเป็ น 6 ส่วนเท่าๆกันจะได้ มม ุ แหลม
………… (21) มีมม ุ กลับ 1 มุมทีลบด้ วยมุมป้าน 1 มุมแล้ วยังได้ มมุ กลับ
………… (22) มีมม ุ ป้าน 1 มุมทีลบด้ วยมุมแหลม 1 มุมยังคงเป็ นมุมป้าน
………… (23) มุมแหลมสองมุมบวกกันจะได้ มม ุ ป้านเสมอ
………… (24) 32 องศา 20 ลิปดา เท่ากับ 32.20 องศา

………… (25) 122.24 องศา เท่ากับ 122 องศา 14 ลิปดา 24 ฟิ ลิปดา

………… (26) ผลบวกของมุมภายในรูป 6 เหลียม เท่ากับ 900 องศา

………… (27) มุมภายในของรูป 8 เหลียมด้ านเท่า มีขนาดมุมละ 80 องศา

………… (28) ถ้ ารูปสามเหลียมมีมม ุ สองมุมเป็ น 60 องศา แล้ วสามเหลียมนันจะมีด้านทุกด้ านเท่ากัน


………… (29) มุมประกอบ 1 มุมฉากของมุม 38 องศาคือมุมประชิดทีขนาด 52 องศา

………… (30) มุมตรงข้ ามมีขนาดเท่ากันเสมอ

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 5 …………………………………………….

3. จงเติมให้ ทีถูกต้ อง
(1) 
AOM เป็ นมุมประชิดกับ .................... และ .....................
M
N O

BOM เป็ นมุมประชิดกับ .................... และ .....................
B

AOM เป็ นมุมตรงข้ ามกับ .....................

BOM เป็ นมุมตรงข้ ามกับ .....................
P
(2) A 
AMQ เป็ นมุมประชิดกับ .................... และ .....................
S
Q M

BNT เป็ นมุมประชิดกับ .................... และ .....................
N 
SNB เป็ นมุมตรงข้ ามกับ .....................
B

QMN เป็ นมุมตรงข้ ามกับ .....................
T

4. จงหาคําตอบต่อไปนี
(1)

มีมมุ แหลม ................................. มุม


มีมมุ ป้าน ................................... มุม

(2)   ................
AOM
A
ถ้ า   35
AON แล้ ว   ................
MOB
M   ................
N MON
O

W
(3) ถ้ า   78
XAU และ   118
UBZ จงหา
X Y   .....................
WAY
A
  .....................
XAW

Z   ......................
BAY
B
V   ......................
VBU

U   ......................
VBA
  .......................
ABZ
(4) A
B
จงหา
  .................
AOC
  .................
BOC
50O
O C
…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)
คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 6 …………………………………………….

(5) (6) 28o


1

34o
84 o
1

 1 = ……………………..  1 = ……………………..

(7) (8)
A

1
24o
36o
1 C
O

 1 = ……………………..  1 = ……………………..

(9) (10)

210o
54o 2
1 1
2

 1 = ……………………..  1 = ……………………..
 2 = ……………………..  2 = ……………………..

(11) (12)

43o 126o
x x
y z y
z

x = …………….………….. x = …………….…………..
y = …………….………….. y = …………….…………..
z = …………….………….. z = …………….…………..

(13) x (14) x 55o

34o 62o 55o

x = …………….………….. x = …………….…………..

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 7 …………………………………………….

(15) (16)
D B M P
C

25o N
O
65o
E
Q
A

 BEC = …………………  NOM = ……………………….


 AEC = ………………...  MOP = ……………………….
 AEB = …………………  POQ = ……………………….
 AED = …………………  NOQ = ……………………….

(17) A (18)
B C

E 55o
73o A D
F 25o
F B
107o E
D
C
 BFC = …………………  BFC = ……………………….
 AFC = ………………...  CFD = ……………………….
 AFD = …………………  AFE = ……………………….
 BFC = …………………(มุมกลับ)  CFE = ………………………. (มุมกลับ)

(19) (20)
46o 30o
43o
x
y

36o 112o 106o


x

x = …………….………….. x = …………….… y = …………………….

(21) (22)
90o
o
80 87o
2x
x

y
2x 100 134o
y

x = …………………….. x = ……………………..
y = …………………….. y = ……………………..

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 8 …………………………………………….

 การสร้ างทางเรขาคณิต

(1) การสร้ างส่ วนของเส้ นตรงให้ เท่ ากับส่ วนของเส้ นตรงทีกําหนดให้


ตัวอย่ าง 2 จงแสดงวิธีการสร้ างต่อไปนี
(1) กําหนด a แทนความยาวของส่วนของเส้ นตรงดังรูป จงสร้ างส่วนของเส้ นตรงให้ ยาวเท่ากับ a

(2) กําหนดเส้ นตรงทีมีความยาว a หน่วยและ b หน่วยดังรูป


a b

จงสร้ างส่วนของเส้ นตรงทีมีความยาวเท่ากับ a+b

(3) จงสร้ างรูปสามเหลียมจากทีกําหนดเส้ นตรงทีมีความยาว a หน่วย b หน่วยและ c หน่วยดังรูป


a b

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 9 …………………………………………….

(2) การสร้ างมุมให้ เท่ ากับมุมทีกําหนดให้

ตัวอย่ าง 3 จงสร้ างมุมให้ เท่ากับมุมทีกําหนดให้


(1)

(2)

(3) การแบ่ งส่ วนของเส้ นตรงออกเป็ นส่ วนละๆเท่ ากัน


วิธีที 1 การแบ่งส่วนของเส้ นตรงโดยการแบ่งครึงเรือยๆ
ตัวอย่ าง 4 จงแบ่งส่วนของเส้ นตรงตามทีกําหนด
(1) จงแบ่งออกเป็ นสองส่วนเท่าๆกัน

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 10 …………………………………………….

(2) จงแบ่งออกเป็ นสีส่วนเท่าๆกัน

(3) จงแบ่งครึงด้ านทังสีของสีเหลียมด้ านล่าง แล้ วลากเส้นแบ่งครึงนัน พร้ อมทังตอบคําถาม

เส้ นแบ่งครึงทังสีเส้ นมีลกั ษณะอย่างไรบ้ าง ………………………………………………………….


เมือเชือมจุดกึงกลางทังสีด้ านจะได้ รูปอะไร ………………………………………………………….

วิธีที 2 การแบ่งส่วนของเส้ นตรงโดยใช้ มมุ แย้ ง


ตัวอย่ าง 5
(1) จงแบ่งเส้ นตรงนีออกเป็ นสองส่วนเท่าๆกัน

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 11 …………………………………………….

(2) จงแบ่งเส้ นตรงนีออกเป็ นสามส่วนเท่าๆกัน

(3) จงแบ่งเส้ นตรงต่อไปนีออกเป็ นห้ าส่วนเท่าๆกัน

(4) การแบ่ งมุมให้ เท่าๆกัน


ตัวอย่ าง 6 จงแบ่งมุมเท่าๆกันในแต่ละข้ อ
(1) จงแบ่งครึงมุมข้ างล่าง

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 12 …………………………………………….

(2) จงแบ่งมุมต่อไปนีออกเป็ นสีมุมเท่าๆกัน

(3) จงแบ่งครึงมุมทุกมุม พร้ อมทังลากเส้นแบ่งครึงมุมแล้ วตอบคําถาม

ความสัมพันธ์ของเส้ นแบ่งครึงมุมทังสามมุม ได้ แก่ ……………………………………………………………………………………………

(4) จงแบ่งครึงด้ านทังสาม พร้ อมทังลากเส้นแบ่งครึงด้ านแล้ วตอบคําถาม

ความสัมพันธ์ของเส้ นแบ่งครึงด้ านทังสามด้ าน ได้ แก่ ..........................................................................


…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)
Summary of Annotations

You might also like