You are on page 1of 50

ความสัมพันธ์

และฟังก์ชนั
เพิ่มเติม

6 Oct 2021
สารบัญ

ทบทวนความสัมพันธ์............................................................................................................................................................... 1
โดเมนและเรนจ์ จากการพิจารณาช่วงค่า ................................................................................................................................ 3
การเลือ่ นกราฟ ......................................................................................................................................................................... 7
อินเวอร์ส ................................................................................................................................................................................... 9
กราฟของอินเวอร์ส ................................................................................................................................................................ 12
ทบทวนฟั งก์ชนั ...................................................................................................................................................................... 15
ประเภทของฟั งก์ชนั ............................................................................................................................................................... 20
ฟั งก์ชนั เพิ่ม - ลด ................................................................................................................................................................... 24
ฟั งก์ชนั อินเวอร์ส.................................................................................................................................................................... 26
บวก ลบ คูณ หาร ฟั งก์ชนั ..................................................................................................................................................... 30
ฟั งก์ชนั ประกอบ .................................................................................................................................................................... 32
ฟั งก์ชนั ทีว่ นกลับไปหาตัวเอง ................................................................................................................................................ 43
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 1

ทบทวนความสัมพันธ์

ผลคูณคาร์ทีเซียน ระหว่าง เซต 𝐴 กับ เซต 𝐵 แทนได้ดว้ ยสัญลักษณ์ 𝐴 × 𝐵


หมายถึง “เซตของคูอ่ นั ดับ” ทัง้ หมดที่ “ตัวหน้ามาจาก 𝐴” และ “ตัวหลังมาจาก 𝐵”

ความสัมพันธ์ คือ ความเกี่ยวข้องกัน ระหว่างกลุม่ สองกลุม่ ซึง่ เขียนแทนด้วยเซตของคูอ่ นั ดับ


 โดเมน คือ เซตของตัวหน้า (𝑥 ) ในความสัมพันธ์
 เรจ์ คือ เซตของตัวหน้า (𝑦) ในความสัมพันธ์

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, {1, 2}, (1, 2)} เมื่อ (1, 2) หมายถึงคูอ่ นั ดับ และ 𝐵 = (𝐴 × 𝐴) − 𝐴
จานวนสมาชิกของเซต 𝐵 เท่ากับเท่าใด [A-NET 49/2-2]

1
2. กาหนดให้ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ R×R | 𝑦 =
√5−|3−𝑥|
} เมื่อ R แทนเซตของจานวนจริง จงหาโดเมนของ 𝑟
[PAT 1 (ธ.ค. 54)/5]
2 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

3. กาหนดให้ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑥 2 + 𝑦 2 = 16}


𝑠 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | 𝑥𝑦 2 + 𝑥 + 3𝑦 2 + 2 = 0}
เซตในข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นสับเซตของ D𝑟 − D𝑠 [A-NET 50/1-4]
1. [−4, −1] 2. [−3, 0] 3. [−2, 1] 4. [−1, 2]

4. กาหนดให้ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) | (𝑥 − 2)(𝑦 − 1) = 1}


และ 𝑠 = {(𝑥, 𝑦) | 𝑥𝑦 2 = (𝑦 + 1)2 }
เซตในข้อใดต่อไปนีไ้ ม่เป็ นสับเซตของ R 𝑟 ∩ R 𝑠 [A-NET 51/1-9]
1. (−∞, − 1) 2. (−2, − 12) 3. (12 , 2) 4. (1, ∞)
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 3

โดเมนและเรนจ์ จากการพิจารณาช่วงค่า

อีกเทคนิคหนึง่ ในการหา โดเมน หรือ เรนจ์ คือ การ “พิจารณาช่วงค่าที่เป็ นไปได้” ของพจน์ตา่ งๆ ในสมการความสัมพันธ์
หลักของวิธีนี ้ คือ 1. เริม่ จาก “พจน์กาลังสอง ≥ 0” หรือ “ค่าสัมบูรณ์ ≥ 0”
2. ค่อยๆปรับเติม ให้ได้เป็ นพจน์ที่ปรากฏในสมการความสัมพันธ์

ตัวอย่าง จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของความสัมพันธ์ 𝑦 = (𝑥 − 3)2 − 4


วิธีทา จะเห็นว่า มีพจน์กาลังสอง คือ (𝑥 − 3)2 ดังนัน้ เราจะใช้วิธีการพิจารณาช่วงค่าที่เป็ นไปได้
โดยเริม่ จาก “พจน์กาลังสอง ≥ 0” แล้วปรับเติมจนได้เป็ นพจน์ที่ปรากฏในสมการความสัมพันธ์
(𝑥 − 3)2 ≥ 0
ลบ 4 ทัง้ สองข้าง
2
(𝑥 − 3) − 4 ≥ −4
เพราะ 𝑦 = (𝑥 − 3)2 − 4
𝑦 ≥ −4

เนื่องจาก 𝑦 ≥ −4 ดังนัน้ จะได้ R 𝑟 = [−4, ∞)

สาหรับโดเมน เนื่องจากสมการที่โจทย์ให้ อยูใ่ นรูปพร้อมหาโดเมนแล้ว


เนื่องจาก 𝑥 ไม่เป็ นตัวหาร และ ไม่อยูใ่ น √ ดังนัน้ D𝑟 = R #

ตัวอย่าง จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของความสัมพันธ์ 𝑦 = 2 − |𝑥 + 5|


วิธีทา จะเห็นว่า มีพจน์คา่ สัมบูรณ์ คือ |𝑥 + 5| ดังนัน้ เราจะใช้วิธีการพิจารณาช่วงค่าที่เป็ นไปได้
โดยเริม่ จาก |𝑥 + 5| ≥ 0 คูณ −1 ทัง้ สองข้าง
−|𝑥 + 5| ≤ 0
บวก 2 ทัง้ สองข้าง
2 − |𝑥 + 5| ≤ 2
เพราะ 𝑦 = 2 − |𝑥 + 5|
𝑦 ≤ 2
เนื่องจาก 𝑦≤2 ดังนัน้ จะได้ R 𝑟 = (−∞, 2]

สาหรับโดเมน เนื่องจากสมการที่โจทย์ให้ อยูใ่ นรูปพร้อมหาโดเมนแล้ว


เนื่องจาก 𝑥 ไม่เป็ นตัวหาร และ ไม่อยูใ่ น √ ดังนัน้ D𝑟 = R #
4 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

ตัวอย่าง จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของความสัมพันธ์ |𝑥 − 2| + |𝑦| = 5


วิธีทา ข้อนี ้ มีทงั้ |𝑥 − 2| และ |𝑦| เราจะแยกทาทีละตัว
|𝑥 − 2| ≥ 0
บวก |𝑦| ทัง้ สองข้าง
|𝑥 − 2| + |𝑦| ≥ |𝑦|
เพราะ |𝑥 − 2| + |𝑦| = 5
5 ≥ |𝑦|
จากสมบัติของค่าสัมบูรณ์
−5 ≤ 𝑦 ≤ 5

เนื่องจาก −5 ≤ 𝑦 ≤ 5 ดังนัน้ R 𝑟 = [−5, 5]

|𝑦| ≥ 0
บวก |𝑥 − 2| ทัง้ สองข้าง
|𝑥 − 2| + |𝑦| ≥ |𝑥 − 2|
เพราะ |𝑥 − 2| + |𝑦| = 5
5 ≥ |𝑥 − 2|
จากสมบัติของค่าสัมบูรณ์
−5 ≤ 𝑥 − 2 ≤ 5
−3 ≤ 𝑥 ≤ 7 บวก 2 ตลอด

เนื่องจาก −3 ≤ 𝑥 ≤ 7 ดังนัน้ D𝑟 = [−3, 7] #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้
1. 𝑥 = (𝑦 + 2)2 + 5 2. 𝑦 = 3 − (2 − 𝑥)2

3. 𝑦 = |𝑥 + 5| − 2 4. |𝑥 + 3| = 𝑦 − 1
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 5

5. 𝑦 = −1 − |3 − 𝑥| 6. |𝑦| + |1 − 𝑥| = 1

7. |𝑦| − |1 − 𝑥| = 1

2. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ R × R | √12 − |𝑥| + √𝑦 + 1 = 3 }


ข้อใดถูกต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 56)/5]
1. D𝑟 ∩ R 𝑟 ⊂ (−1, 8)
2. D𝑟 − R 𝑟 = { 𝑥 ∈ R | 8 < 𝑥 ≤ 12 }
6 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

3. กาหนดให้ 𝐴 = [−2, −1] ∪ [1, 2] และ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 | 𝑥 − 𝑦 = −1}


ถ้า 𝑎, 𝑏 > 0 และ 𝑎 ∈ D𝑟 , 𝑏 ∈ R 𝑟 แล้ว 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าไร [PAT 1 (มี.ค. 52)/9]

4. ให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง และให้ 𝑆 ′ แทนคอมพลีเมนต์ของเซต 𝑆


ให้ 𝑓 = { (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | 𝑦 2 + |1 − 𝑥|𝑦 2 = 4 } และ 𝑔 = { (𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | 𝑦 = √1 − 𝑥 4 }
และให้ 𝐴 เป็ นเรนจ์ของ 𝑓 และ 𝐵 เป็ นโดเมนของ 𝑔 ข้อใดถูกต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 58)/4]
1. 𝐴 ⊂ 𝐵′
2. (𝐴 − 𝐵) ∩ (𝐵 − 𝐴) = ∅
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 7

การเลือ่ นกราฟ

ในกรณีที่เราทราบรูปกราฟของความสัมพันธ์หนึง่ ๆ เราสามารถขยายผลเพื่อหารูปกราฟของความสัมพันธ์อื่นที่มีรูป
สมการคล้ายกันได้ โดยใช้หลักการ “เลือ่ นกราฟทางขนาน” ดังนี ้
 ถ้าเปลีย่ น 𝑥 ทุกตัว เป็ น 𝑥 − ℎ กราฟจะเลือ่ นไปทางขวา ℎ หน่วย (ถ้า ℎ เป็ นลบ กราฟจะเลือ่ นไปทางซ้าย)
 ถ้าเปลีย่ น 𝑦 ทุกตัว เป็ น 𝑦 − 𝑘 กราฟจะเลือ่ นขึน้ 𝑘 หน่วย (ถ้า 𝑘 เป็ นลบ กราฟจะเลือ่ นลง)

ตัวอย่าง จงวาดกราฟของความสัมพันธ์ 𝑦 = √𝑥 − 5
วิธีทา จากหัวข้อที่แล้ว เราจะได้ทอ่ งรูปกราฟของ 𝑦 = √𝑥 ซึง่ จะมีรูปกราฟคือ
ข้อนี ้ สมการคล้ายๆ กัน เพียงแต่เปลีย่ น 𝑥 เป็ น 𝑥 − 5
จากหลักการเลือ่ นกราฟ กราฟจะเลือ่ นไปทางขวา 5 หน่วย

ดังนัน้ จะได้กราฟของ 𝑦 = √𝑥 − 5 เป็ นดังรูป #


5

ตัวอย่าง จงวาดกราฟของความสัมพันธ์ 𝑦 = 𝑥 2 + 2𝑥 + 5
วิธีทา ข้อนีเ้ ริม่ ดูยาก ว่าจะเปลีย่ น 𝑥 เป็ น 𝑥 − ℎ หรือเปลีย่ น 𝑦 เป็ น 𝑦 − 𝑘 ยังไง
(เวลาเปลีย่ น ต้องเปลีย่ น 𝑥 ทุกตัว หรือเปลีย่ น 𝑦 ทุกตัว จะเปลีย่ นแค่บางตัวไม่ได้)
ข้อนี ้ เราสามารถจัดรูปกาลังสองสมบูรณ์ เพื่อรวบ 𝑥 2 กับ 2𝑥 ให้เหลือ 𝑥 ตัวเดียวได้ดงั นี ้
𝑦 = 𝑥 2 + 2𝑥 + 5
𝑦 = 𝑥 2 + 2𝑥 + 1 + 4
𝑦 = (𝑥 + 1)2 + 4
𝑦−4 = (𝑥 + 1)2

จากหัวข้อที่แล้ว กราฟของ 𝑦 = 𝑥2 มีรูปกราฟคือ


(−1, 4)
ดังนัน้ 𝑦 − 4 = (𝑥 + 1)2 จะเลือ่ นขึน้ 4 หน่วย และ ซ้าย 1 หน่วย เป็ นดังรูป #

แบบฝึ กหัด
1. จงวาดกราฟของความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้
1. 𝑦 = √𝑥 − 1 2. 𝑦 = |𝑥 + 1|
8 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

3. (𝑥 + 1)2 + (𝑦 − 1)2 = 4 4. 𝑥𝑦 = 𝑦 + 1
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 9

อินเวอร์ส

อินเวอร์สของความสัมพันธ์ 𝑟 แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑟 −1 หมายถึง ความสัมพันธ์ที่ “โยงกลับทาง” กับ 𝑟


เช่น อินเวอร์สของ 𝑟แอบชอบ ก็คือความสัมพันธ์ “ถูกชอบ” ซึง่ แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑟แอบชอบ −1

สมชาย สมชาย
สมหญิง สมหญิง
สมหวัง สมหวัง
สมศรี สมศรี
สมปอง สมปอง
สมหมาย สมหมาย
สมบัติ สมบัติ
𝑟แอบชอบ 𝑟แอบชอบ −1

จะเห็นว่า โดเมน และ เรนจ์ ของ 𝑟 −1 จะสลับกันกับ โดเมนและเรนจ์ของ 𝑟


กล่าวคือ D𝑟 = R 𝑟−1 และ R 𝑟 = D𝑟−1

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑟 = {(1, 6), (2, 2), (3, 6), (4, 8)} จงหา 𝑟 −1
วิธีทา 𝑟 −1 คือ ความสัมพันธ์ที่โยงกลับทางกันกับ 𝑟
1 2 2 1
2 4 4 2
3 6 6 3
4 8 8 4
𝑟 𝑟 −1
จะได้ 𝑟 −1 = {(6, 1), (2, 2), (6, 3), (8, 4)} #

จะเห็นว่า 𝑟 −1 ก็คือการสลับ 𝑥 กับ 𝑦 ในคูอ่ นั ดับนั่นเอง


ดังนัน้ ถ้าโจทย์ให้ 𝑟 แบบบอกเงื่อนไข แล้วให้หา 𝑟 −1 เราก็แค่สลับ 𝑥 กับ 𝑦
เช่น 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐵 | 𝑦 = 2𝑥 + 1}
𝑟 −1 = {(𝑦, 𝑥) ∈ 𝐵 × 𝐴 | 𝑦 = 2𝑥 + 1} (อย่าลืมเปลีย่ น 𝐴 × 𝐵 เป็ น 𝐵 × 𝐴 ด้วย)

ถ้าบางคนไม่ชอบสลับ 𝑥 𝑦 ในคูอ่ นั ดับ จะไปสลับ 𝑥 𝑦 ตรงเงื่อนไขก็ได้


เช่น 𝑟 −1 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐵 × 𝐴 | 𝑥 = 2𝑦 + 1}
และถ้าจะให้สวย ควรจัดรูปสมการให้ 𝑦 แยกไปอยูต่ วั เดียว 𝑥 = 2𝑦 + 1
𝑥 − 1 = 2𝑦
𝑥−1
= 𝑦
2
𝑥−1
จะได้ 𝑟 −1 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐵 × 𝐴 | 𝑦 =
2
}

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R+ × R | 𝑦 = 𝑥 2 + 1} จงหา 𝑟 −1


วิธีทา จะสลับ 𝑥 𝑦 ในคูอ่ นั ดับ แล้วตอบ 𝑟 −1 = {(𝑦, 𝑥) ∈ R × R+ | 𝑦 = 𝑥 2 + 1} ก็ได้
แต่ไม่คอ่ ยเป็ นที่นิยม เพราะ การใช้ตวั แปร 𝑦 แทนพิกดั แกน X และใช้ตวั แปร 𝑥 แทนพิกดั แกน Y จะทาให้สบั สน
คนส่วนใหญ่ นิยมเปลีย่ น 𝑥 𝑦 ตรงเงื่อนไข แล้วจัดรูปให้ 𝑦 แยกไปอยูต่ วั เดียวมากกว่า
10 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

นั่นคือ 𝑟 −1 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R+ | 𝑥 = 𝑦 2 + 1}
จัดรูปให้สวยงาม 𝑥 = 𝑦 2 + 1
𝑥 − 1 = 𝑦2
±√𝑥 − 1 = 𝑦

ดังนัน้ 𝑟 −1 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R+ | 𝑦 = ±√𝑥 − 1} #

ตัวอย่าง จงหาอินเวอร์สของความสัมพันธ์ 𝑦 = √𝑥 − 2
วิธีทา ข้อนีใ้ ห้มาแต่สมการความสัมพันธ์ เราต้องรูเ้ องว่าโจทย์หมายถึง 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 = √𝑥 − 2 }
ดังนัน้ 𝑟 −1 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑥 = √𝑦 − 2 }
จัดรูปให้สวยงาม 𝑥 = √𝑦 − 2
𝑥2 = 𝑦−2 ;𝑥≥0
2
𝑥 +2 = 𝑦

ดังนัน้ 𝑟 −1 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 = 𝑥 2 + 2 และ 𝑥 ≥ 0 }


หรือตอบสัน้ ๆ ว่า 𝑟 −1 คือ 𝑦 = 𝑥 2 + 2 โดยที่ 𝑥 ≥ 0 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาอินเวอร์สของความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้
1. 𝑟 = {(1, 4), (2, 2), (3, 2)} 2. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐵 │ 𝑦 = 𝑥 2 }

𝑥+1 2
3. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R+ │ 𝑦 =
2
} 4. 𝑦=
𝑥+1

2𝑥+1
5. 𝑦=
𝑥−3
6. 𝑦=2−𝑥
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 11

7. 𝑦 = 2𝑥 2 + 1 8. 𝑦 = √2𝑥 + 1

9. 𝑥2 + 𝑦2 = 1 10. 𝑦 = √4 − 𝑥 2
12 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

กราฟของอินเวอร์ส

จากหัวข้อที่แล้ว อินเวอร์สของความสัมพันธ์ จะได้จากการสลับที่ 𝑥 กับ 𝑦 ในคูอ่ นั ดับ


เช่น คูอ่ นั ดับ (2, −1) ใน 𝑟 จะกลายเป็ น (−1, 2) ใน 𝑟 −1 เป็ นต้น
𝑟 𝑟 −1

𝑦=𝑥
เนื่องจาก 𝑟 กับ 𝑟 −1 จะมี 𝑥 กับ 𝑦 สลับกัน
ดังนัน้ กราฟของ 𝑟 กับ 𝑟 −1 จะสมมาตรกันตามแนว 45° (คือแนว ) เสมอ

ดังนัน้ ถ้าให้กราฟของ 𝑟 มา เราจะวาดกราฟของ 𝑟 −1 ได้โดยการสะท้อน 𝑟 ไปตามแนว 45°


เช่น
𝑟 𝑟 −1 𝑦 = 𝑥2 𝑥 = 𝑦2

𝑦 = √−𝑥 𝑥 = √−𝑦 𝑦 = 1 − |𝑥| 𝑥 = 1 − |𝑦|

𝑟 𝑟 −1 𝑟 𝑟 −1

𝑟 𝑟 −1 𝑟 𝑟 −1
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 13

𝑟 𝑟 −1 𝑟 𝑟 −1

แบบฝึ กหัด
1. จงวาดกราฟอินเวอร์สของความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้
1. 𝑟 𝑟 −1 2. 𝑟 𝑟 −1

3. 𝑟 𝑟 −1 4. 𝑟 𝑟 −1

5. 𝑟 𝑟 −1 6. 𝑟 𝑟 −1

7. 𝑟 𝑟 −1 8. 𝑟 𝑟 −1
14 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

2. กาหนดให้ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) | 𝑥 ∈ [−1, 1] และ 𝑦 = 𝑥 2} ข้อใดถูกต้องบ้าง [PAT 1 (ก.ค. 52)/10]


1. 𝑟 −1 = {(𝑥, 𝑦) | 𝑥 ∈ [0, 1] และ 𝑦 = ±√|𝑥|}
2. กราฟของ 𝑟 และกราฟของ 𝑟 −1 ตัดกัน 2 จุด
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 15

ทบทวนฟั งก์ชนั

ฟั งก์ชนั คือ ความสัมพันธ์ที่ “ 𝑥 แต่ละตัว ห้าม จับคูก่ บั 𝑦 เกิน 1 ตัว “


ความสัมพันธ์ทเี่ ป็ นฟังก์ชนั เราจะนิยมใช้ตวั แปร 𝑓 , 𝑔 , ℎ แทน
นอกจากนี ้ เรายังใช้สญ ั ลักษณ์ 𝑓(𝑥) , 𝑔(𝑥) , ℎ(𝑥) แทน 𝑦 ได้ดว้ ย
โดย 𝑓(𝑘) จะหมายถึง ค่า 𝑦 เมื่อ 𝑥 = 𝑘

แบบฝึ กหัด
1. ให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ความสัมพันธ์ขอ้ ใดต่อไปนีเ้ ป็ นฟั งก์ชนั [PAT 1 (ต.ค. 53)/4]
1. ความสัมพันธ์ 𝑟1 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | 𝑥 = √4 − 𝑦 2 และ 𝑥𝑦 ≥ 0}
2. ความสัมพันธ์ 𝑟2 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | 𝑥 2 + 𝑦 2 = 4 และ 𝑥𝑦 > 0}
3. ความสัมพันธ์ 𝑟3 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | ||𝑥| − |𝑦|| = 1}
4. ความสัมพันธ์ 𝑟4 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | |𝑥 − 𝑦| = 1}

2. กาหนด R แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ R × R | |𝑥|𝑦 + 𝑦 − 𝑥 − 1 = 0 }


ข้อใดถูกต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 55)/4]
1. 𝑟 เป็ นความสัมพันธ์ที่มีโดเมน D𝑟 = { 𝑥 ∈ R | 𝑥 ≠ −1 }
2. ความสัมพันธ์ 𝑟 −1 เป็ นฟั งก์ชนั
16 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

3. กาหนดให้ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | 25𝑥 4 + 16𝑦 2 + 2 = 10𝑥 2 + 8𝑦} เมื่อ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง


ข้อใดถูกต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 54)/3]
1. 𝑟 ไม่เป็ นฟั งก์ชนั
2. 𝐷𝑟 ≠ 𝑅𝑟

1 1
, |𝑥| < 2 1
4. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = {1 𝑥
1 1 ค่าของ 𝑓 (𝑓 (𝑓 (− 3))) ตรงกับเท่าใด
+ , |𝑥| ≥
2 𝑥 2
[PAT 1 (มี.ค. 56)/11]

𝑥−1
5. ให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั จากเซตของจานวนจริงไปยังเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 −4 และ
𝑔(𝑥) = √𝑓(𝑥) − √𝑥 − 1 ข้อใดถูกต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 53)/6]
1. 𝐷𝑔 = (2, ∞)
2. ค่าของ 𝑥 > 0 ที่ทาให้ 𝑔(𝑥) = 0 มีเพียง 1 ค่าเท่านัน้
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 17

6. กาหนดให้ ℎ(𝑥) = |1 − 𝑥 5 | และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 5


ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ 𝑓(𝑔(𝑥)) = ℎ(𝑥) แล้ว 𝑓(5) มีคา่ เท่าใด [A-NET 49/2-1]

7. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 𝑥 + 1 และ 𝑎, 𝑏 เป็ นค่าคงตัวโดยที่ 𝑏 ≠ 0


ถ้า 𝑓(𝑎 + 𝑏) = 𝑓(𝑎 − 𝑏) แล้ว 𝑎2 อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.ค. 52)/9]
1. (0, 0.5) 2. (0.5, 1) 3. (1, 1.5) 4. (1.5, 2)

8. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตจานวนจริง


2𝑥 2 +4𝑥+4
โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑥+1
เมื่อ 𝑥 ≠ −1 แล้วจงหาเรนจ์ของฟั งก์ชนั 𝑓 [PAT 1 (มี.ค. 57)/6]
18 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

4 2 2
9. กาหนดให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม และให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 𝑥−2𝑥 +𝑎 𝑥−75
5 +𝑏 2 𝑥−270 เมื่อ 𝑎, 𝑏 ∈ 𝐼
ถ้า 𝐴 = {(𝑎, 𝑏) ∈ I × I | 𝑓(3) = 0} และ 𝐵 = {(𝑎, 𝑏) ∈ 𝐼 × 𝐼 | √𝑎2 − 2𝑎𝑏 + 𝑏2 < 3}
แล้ว จานวนสมาชิกของเซต 𝐴 ∩ 𝐵 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/28]

10. ให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 5 + 𝑎𝑥 4 + 𝑏𝑥 3 + 𝑐𝑥 2 + 𝑑𝑥 + 𝑒 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑, 𝑒 เป็ นจานวนจริง


ถ้ากราฟ 𝑦 = 𝑓(𝑥) ตัดกับกราฟ 𝑦 = 3𝑥 + 2 ที่ 𝑥 = −1, 0, 1, 2
แล้วค่าของ 𝑓(3) − 𝑓(−2) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/31]
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 19

𝑥+1
11. กาหนดให้ 𝑦1 = 𝑓(𝑥) = 𝑥−1 เมื่อ 𝑥 เป็ นจานวนจริงที่ไม่เท่ากับ 1
𝑦2 = 𝑓(𝑦1 ) , 𝑦3 = 𝑓(𝑦2 ) , … , 𝑦𝑛 = 𝑓(𝑦𝑛−1 ) สาหรับ 𝑛 = 2, 3, 4, …
𝑦2553 + 𝑦2010 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (มี.ค. 53)/5]
𝑥−1 𝑥 2 +1 𝑥 2 +1 1+2𝑥−𝑥 2
1. 𝑥+1
2. 𝑥−1
3. 2𝑥
4. 𝑥−1

1−𝑥
12. ให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง และให้ 𝑓: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีสมบัติสอดคล้องกับ 𝑓(
1+𝑥
) =𝑥 สาหรับทุก
จานวนจริง 𝑥 ≠ −1 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [PAT 1 (มี.ค. 54)/5]
1. 𝑓(𝑓(𝑥)) = −𝑥 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
2. 𝑓(−𝑥) = 𝑓 (1+𝑥
1−𝑥
) สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 ≠ 1
1
3. 𝑓 (𝑥) = 𝑓(𝑥) สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 ≠ 0
4. 𝑓(−2 − 𝑥) = −2 − 𝑓(𝑥) สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
20 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

ประเภทของฟั งก์ชนั

หัวข้อก่อนหน้านี ้ เราได้เรียนเกี่ยวกับความหมาย และสัญลักษณ์พนื ้ ฐาน ในเรือ่ งฟั งก์ชนั ไปบ้างแล้ว


ในหัวข้อนี ้ เราจะเรียนเพิม่ อีกมี 3 คา คือ “จาก” “ทั่วถึง” และ “หนึง่ ต่อหนึง่ ”

ฟั งก์ชนั “จาก” 𝐴 ไป 𝐵 แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑓: 𝐴 → 𝐵 หมายถึง ฟั งก์ชนั ที่ (𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐵 และ “โดเมน = 𝐴”


ซึง่ จะเห็นว่า “โดเมน = 𝐴” ได้เมือ่ ทุกตัวใน 𝐴 ถูก 𝑓 โยงหมดนั่นเอง
เช่น ให้ 𝐴 = {1, 2, 3, 4} และ 𝐵 = {𝑎, 𝑏, 𝑐}
𝑓 = {(1, 𝑎), (2, 𝑏), (3, 𝑎), (4, 𝑏)} → เป็ นฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไป 𝐵 เพราะ ทุกตัวใน 𝐴 ถูกโยงหมด
โดเมน = {1, 2, 3, 4} = 𝐴
𝑔 = {(1, 𝑏), (2, 𝑏), (4, 𝑐)} → ไม่เป็ นฟั งก์ชน
ั จาก 𝐴 ไป 𝐵 เพราะ 3 ไม่ถกู โยง
โดเมน = {1, 2, 4} ≠ 𝐴
onto
ฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไป ”ทั่วถึง” 𝐵 แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑓: 𝐴 → 𝐵 หมายถึง ฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไป 𝐵 ที่มี “เรนจ์ = 𝐵”
ซึง่ จะเห็นว่า “เรนจ์ = 𝐵” ได้เมื่อ 𝐵 ถูก 𝑓 โยงมาหาหมดทุกตัวนั่นเอง
เช่น ให้ 𝐴 = {1, 2, 3, 4} และ 𝐵 = {𝑎, 𝑏, 𝑐}
𝑓 = {(1, 𝑎), (2, 𝑏), (3, 𝑏), (4, 𝑐)} → เป็ นฟั งก์ชน
ั จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐵 เพราะ 𝐵 ถูกโยงหาหมดทุกตัว
เรนจ์ = {𝑎, 𝑏, 𝑐} = 𝐵
𝑔 = {(1, 𝑏), (2, 𝑏), (3, 𝑐), (4, 𝑐)} → ไม่เป็ นฟั งก์ชน
ั จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐵 เพราะ 𝑎 ไม่ถกู โยงหา
เรนจ์ = {𝑏, 𝑐} ≠ 𝐵
1−1
ฟั งก์ชนั “หนึง่ ต่อหนึง่ ” จาก 𝐴 ไป 𝐵 แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑓: 𝐴 → 𝐵
หมายถึง ฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไป 𝐵 ทีจ่ บั คูแ่ บบ “หนึง่ 𝑥 คูห่ นึง่ 𝑦”
เช่น ให้ 𝐴 = {1, 2, 3} และ 𝐵 = {𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑}
𝑓 = {(1, 𝑐), (2, 𝑏), (3, 𝑑)} → เป็ นฟั งก์ชน ั หนึง่ ต่อหนึง่ จาก 𝐴 ไป 𝐵
𝑔 = {(1, 𝑐), (2, 𝑏), (3, 𝑏)} → ไม่เป็ นฟั งก์ชน ั หนึง่ ต่อหนึง่ เพราะ ทัง้ 2 และ 3 จับคูก่ บั 𝑏
ℎ = {(1, 𝑐), (1, 𝑏), (2, 𝑑)} → ไม่เป็ นฟั งก์ชน ั หนึง่ ต่อหนึง่ เพราะ 1 คูท่ งั้ 𝑐 และ 𝑏 (ไม่เป็ นฟังก์ชนั )

วิธีในการตรวจสอบว่าเป็ นหนึง่ ต่อหนึง่ หรือไม่ จะคล้ายๆกับตอนทีใ่ ช้ตรวจสอบว่า เป็ นฟั งก์ชนั หรือไม่
 จากสมการฟั งก์ชน ั : ถ้า 𝑥 หรือ 𝑦 ถูกยกกาลังคู่ หรือ อยูใ่ นเครือ่ งหมายค่าสัมบูรณ์ มักจะไม่ใช่หนึง่ ต่อหนึง่
 จากกราฟ : ถ้าลากเส้นในแนวนอนหรือแนวตัง้ ตัดกราฟได้มากกว่า 1 จุด แปลว่าไม่ใช่หนึง่ ต่อหนึง่

ฟั งก์ชนั บางฟังก์ชนั อาจเป็ น “จาก” “ทั่วถึง” และ “หนึง่ ต่อหนึง่ ” พร้อมๆกันได้


เช่น ให้ 𝐴 = {1, 2, 3, 4} และ 𝐵 = {𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑}
จะได้ 𝑓 = {(1, 𝑎) , (2, 𝑏) , (3, 𝑐) , (4, 𝑑)} เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐵 เป็ นต้น
1−1
โดย ฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐵 จะแทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑓: 𝐴 →
onto
𝐵
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 21

ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = √𝑥 − 2 เป็ นฟั งก์ชนั จาก R+ ไป R หรือไม่


วิธีทา จะดูวา่ เป็ นฟังก์ชนั จาก R+ หรือไม่ ต้องหาว่า โดเมน = R+ ไหม
เนื่องจาก ใน √ ห้ามติดลบ ดังนัน้ 𝑥 − 2 ≥ 0
𝑥 ≥ 2 ดังนัน้ D𝑓 = [2, ∞)
จะเห็นว่า D𝑓 ≠ R+ ดังนัน้ 𝑓 ไม่เป็ นฟั งก์ชนั จาก R+ ไป R #

ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 2𝑥 + 4 เป็ นฟั งก์ชนั จาก R ไปทั่วถึง R หรือไม่


วิธีทา เนื่องจาก 𝑥 ไม่เป็ นตัวหาร และไม่อยูใ่ น √ จะได้ D𝑓 = R ดังนัน้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั “จาก R”
ถัดไป จะพิจารณาว่าเป็ นฟังก์ชนั ทั่วถึง R หรือไม่ โดยหาว่า R𝑓 = R ไหม
𝑏 4𝑎𝑐−𝑏 2
จะเห็นว่า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั กาลังสอง เป็ นพาราโบลาหงาย มีจดุ ยอด = (− 2𝑎 , 4𝑎 )
2 4(1)(4)−22
= (− 2(1) , 4(1)
) = (−1, 3)
จะได้คา่ 𝑦 ต่าสุดคือ 3 ส่วนค่า 𝑦 สูงสุดไม่มี ดังนัน้ R𝑓 = [3, ∞)
จะเห็นว่า R𝑓 ≠ R ดังนัน้ 𝑓 ไม่เป็ นฟั งก์ชนั ทั่วถึง R #

ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ จาก R ไปทั่วถึง R+ ∪ {0} หรือไม่
วิธีทา เนื่องจาก 𝑥 ไม่อยูใ่ น √ และไม่เป็ นตัวหาร ดังนัน้ D𝑓 = R → เป็ นฟั งก์ชนั จาก R
เนื่องจาก 𝑥 2 ≥ 0 ดังนัน้ 𝑦 ≥ 0 จะได้ R𝑓 = R+ ∪ {0} → เป็ นฟั งก์ชน ั ทั่วถึง R+ ∪ {0}
แต่เนื่องจากในสมการของฟั งก์ชนั มี 𝑥 2 อยู่ จึงมีแนวโน้มว่าจะไม่ใช่หนึง่ ต่อหนึง่
ลองสุม่ แทนค่าดู จะพบว่ามี (1, 1) และ (−1, 1) อยูใ่ น 𝑓 ดังนัน้ ไม่ใช่หนึง่ ต่อหนึง่
ดังนัน้ 𝑓 ไม่ใช่ฟังก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ จาก R ไปทั่วถึง R+ ∪ {0} #

ตัวอย่าง จากกราฟของ 𝑓 ต่อไปนี ้ จงพิจารณาว่า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ หรือไม่

วิธีทา จะเห็นว่าสามารถลากเส้นแนวนอน ให้ตดั กราฟมากกว่า 1 จุดได้


𝑦
นั่นคือ มี 𝑦 บางตัว ที่จบั คูก่ บั 𝑥 สองตัว
𝑥1 𝑥2 ดังนัน้ 𝑓 ไม่ใช่ฟังก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ #

ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ จาก R ไปทั่วถึง R+ ∪ {0} หรือไม่ โดยใช้กราฟ
วิธีทา ฟั งก์ชนั 𝑦 = 𝑥 2 จะมีกราฟดังรูป
จากกราฟ D𝑓 = R → เป็ นฟั งก์ชน
ั จาก R
R𝑓 = R+ ∪ {0} → เป็ นฟั งก์ชน ั ทั่วถึง R+ ∪ {0}
แต่จะเห็นว่า ลากเส้นแนวนอนตัดได้หลายจุด
จึงไม่ใช่ฟังก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่
ดังนัน้ 𝑓 ไม่ใช่ฟังก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ จาก R ไปทั่วถึง R+ ∪ {0} #
22 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3} และ 𝐵 = {𝑎, 𝑏} และ 𝑓 = { (1, 𝑎), (2, 𝑎), (3, 𝑎) } ข้อใดถูกต้องบ้าง
1. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั 2. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไป 𝐵

3. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน


ั จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐵 4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั 1 − 1 จาก 𝐴 ไป 𝐵

2. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3} และ 𝐵 = {𝑎, 𝑏} และ 𝑓 = { (𝑎, 1), (𝑏, 2) } ข้อใดถูกต้องบ้าง


1. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั 2. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไป 𝐵

3. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน


ั จาก 𝐵 ไปทั่วถึง 𝐴 4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั 1 − 1 จาก 𝐵 ไป 𝐴

3. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3} และ 𝐵 = {2, 3, 4} และ 𝑓 = { (2, 1), (3, 2), (4, 3) } ข้อใดถูกต้องบ้าง
1. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั 2. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั จาก 𝐵 ไป 𝐴

3. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน


ั จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐵 4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั 1 − 1 จาก 𝐵 ไปทั่วถึง 𝐴

4. กาหนดให้ 𝐴 = {2, 3} และ 𝐵 = {2, 3, 4} และ 𝑓 = { (2, 3), (3, 2) } ข้อใดถูกต้องบ้าง


1. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั 2. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไป 𝐵

3. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน


ั จาก 𝐵 ไป 𝐴 4. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั จาก 𝐴 ไป 𝐴

5. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน


ั จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐴 6. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั 1 − 1 จาก 𝐴 ไปทั่วถึง 𝐴

5. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 1 ข้อใดถูกต้องบ้าง


1. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จาก R ไปทั่วถึง R+ 2. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั 1−1

6. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 โดยที่ 𝑥 > 0 ข้อใดถูกต้องบ้าง


1. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั จาก R+ ไปทั่วถึง R+ 2. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชน
ั 1−1

7. กาหนดให้ 𝑔(𝑥) = |𝑥 − 5| ข้อใดถูกต้องบ้าง


1. 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั จาก R ไปทั่วถึง R+ ∪ {0} 2. 𝑔 เป็ นฟั งก์ชน
ั 1−1
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 23

8. กาหนดให้ ℎ(𝑥) = √𝑥 + 3 ข้อใดถูกต้องบ้าง


1. ℎ เป็ นฟั งก์ชนั จาก R ไปทั่วถึง R+ ∪ {0} 2. ℎ เป็ นฟั งก์ชน
ั จาก R+ ∪ {0} ไป R

3. ℎ เป็ นฟั งก์ชน


ั จาก R+ ∪ {0} ไปทั่วถึง R 4. ℎ เป็ นฟั งก์ชน
ั 1−1

9. กาหนดให้ 𝑟(𝑥) = 3𝑥 ข้อใดถูกต้องบ้าง


1. 𝑟 เป็ นฟั งก์ชนั จาก R ไปทั่วถึง R 2. 𝑟 เป็ นฟั งก์ชน
ั 1−1

10. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 1 เมื่อ 𝑥 ∈ (−∞, −1] ∪ [0, 1]


และ 𝑔(𝑥) = 2𝑥 เมื่อ 𝑥 ∈ (−∞, 0]
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู [PAT 1 (มี.ค. 52)/10]
1. R𝑔 ⊂ D𝑓 2. R𝑓 ⊂ D𝑔
3. 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั 1 − 1 4. 𝑔 ไม่เป็ นฟั งก์ชนั 1 − 1

11. กาหนดให้ 𝑛 เป็ นจานวนนับ


ถ้า 𝑓: {1, 2, … , 𝑛} → {1, 2, … , 𝑛} เป็ นฟั งก์ชนั 1 − 1 และทั่วถึง ซึง่ สอดคล้องกับเงื่อนไข
𝑓(1) + 𝑓(2)+. . . +𝑓(𝑛) = 𝑓(1)𝑓(2) … 𝑓(𝑛)
แล้วค่ามากสุดที่เป็ นไปได้ของ 𝑓(1) − 𝑓(𝑛) เท่ากับเท่าไร [PAT 1 (ก.ค. 52)/46]
24 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

ฟั งก์ชนั เพิ่ม - ลด

ฟั งก์ชนั เพิ่ม คือ ฟั งก์ชนั ที่ เมื่อ 𝑥 เพิ่มขึน้ จะส่งผลให้ 𝑓(𝑥) มีคา่ เพิ่มขึน้
และ เมื่อ 𝑥 ลดลง จะส่งผลให้ 𝑓(𝑥) มีคา่ ลดลง
ฟั งก์ชนั ลด คือ ฟั งก์ชนั ที่ เมื่อ 𝑥 เพิ่มขึน้ จะส่งผลให้ 𝑓(𝑥) มีคา่ ลดลง
และ เมื่อ 𝑥 ลดลง จะส่งผลให้ 𝑓(𝑥) มีคา่ เพิ่มขึน้

ตัวอย่าง จงแสดงว่า 𝑓(𝑥) = 10 − 2𝑥 เป็ นฟั งก์ชนั ลด


วิธีทา จะเห็นว่า 𝑥 มี −2 คูณอยูข่ า้ งหน้า ดังนัน้ เมื่อ 𝑥 เพิ่มขึน้ จะทาให้ 𝑓(𝑥) ลดลง ดังนัน้ 𝑓(𝑥) เป็ นฟั งก์ชนั ลด
หรือถ้าจะพิสจู น์ เราต้องแสดงว่า ถ้า 𝑥1 > 𝑥2 แล้ว จะได้ 𝑓(𝑥1 ) < 𝑓(𝑥2 ) ดังนี ้
𝑥1 > 𝑥2
คูณทัง้ สองข้างด้วยเลขลบ
−2𝑥1 < −2𝑥2
10 − 2𝑥1 < 10 − 2𝑥2 ต้องกลับ > เป็ น <
𝑓(𝑥1 ) < 𝑓(𝑥2 ) #

สิง่ ที่ตอ้ งระวังก็ คือ บางฟังก์ชนั จะเป็ นฟั งก์ชนั เพิ่มแค่บางช่วง และเป็ นฟั งก์ชนั ลดในอีกช่วง
เช่น 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 จะเห็นว่าเมื่อ 𝑥 เป็ นบวก ถ้า 𝑥 ยิ่งมาก ก็จะทาให้ 𝑥 2 ยิ่งมาก
แต่เมื่อ 𝑥 เป็ นลบ จะเห็นว่า 𝑥 ยิ่งน้อย กลับจะทาให้ 𝑥 2 จะยิง่ มาก
𝑥 เพิ่ม 22 = 4 𝑥 ลด (−2)2 = 4 𝑓(𝑥) เพิ่ม
𝑓(𝑥) เพิ่ม
32 = 9 (−3)2 = 9

ดังนัน้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 เป็ นฟั งก์ชน


ั เพิ่มบน R+ แต่เป็ นฟั งก์ชนั ลดบน R−

อีกวิธีที่นิยมใช้ คือให้ดจู ากกราฟ: ถ้ากราฟเป็ นช่วงขาขึน้ แปลว่าช่วงนัน้ เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม
ถ้ากราฟเป็ นช่วงขาลง แปลว่าช่วงนัน้ เป็ นฟั งก์ชนั ลด
เช่น
เพิ่ม ลด เพิ่ม
ลด ลด ลด เพิ่ม ลด เพิ่ม
ลด

แบบฝึ กหัด
1. จงพิจารณาว่าฟังก์ชนั ต่อไปนี ้ เป็ นฟั งก์ชนั เพิ่ม หรือ ฟั งก์ชนั ลด ในช่วงใดบ้าง
1. 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 5 2. 𝑓(𝑥) = 3 − 𝑥
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 25

3. 4.

5. 𝑓(𝑥) = (𝑥 − 1)2

2. กาหนดให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั


โดยที่ 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 + 𝑏 เมื่อ 𝑎, 𝑏 เป็ นจานวนจริง ถ้า 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ลด และ 𝑓(𝑓(𝑓(𝑓(𝑥)))) = 16𝑥 + 45
แล้วค่าของ 𝑎 + 𝑏 เท่ากับเท่าไร [PAT 1 (ก.ค. 53)/18]
26 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

ฟั งก์ชนั อินเวอร์ส

จากเรือ่ งความสัมพันธ์ อินเวอร์สของ 𝑓 จะแทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑓 −1


โดย ในเรือ่ งฟังก์ชนั นี ้ 𝑓 −1 จะมีสมบัติทกุ อย่างเหมือนกับตอนทีเ่ รียนเรือ่ งอินเวอร์สของความสัมพันธ์
เช่น ถ้า 𝑓 = { (−1, 2) , (0, 5) , (1, 4) , (2, −1) , (3, 6) , (4, 3) }
จะได้ 𝑓 −1 = { (2, −1) , (5, 0) , (4, 1) , (−1, 2) , (6, 3) , (3, 4) }

สิง่ ที่ตอ้ งระวัง คือ ถึง 𝑓 จะเป็ นฟังก์ชนั ก็ไม่ได้แปลว่า 𝑓 −1 จะเป็ นฟั งก์ชนั ด้วย
เช่น ถ้า 𝑓 = { (1, 4) , (3, 4) } → เป็ นฟั งก์ชน

จะได้ 𝑓 −1 = { (4, 1) , (4, 3) } → ไม่เป็ นฟั งก์ชนั
จะเห็นว่า 𝑓 −1 จะเป็ นฟั งก์ชนั ก็ตอ่ เมื่อ 𝑓 เป็ นหนึง่ ต่อหนึง่ เท่านัน้

ในกรณีที่ 𝑓 −1 เป็ นฟั งก์ชนั เราจะเรียก 𝑓 −1 ว่า “ฟั งก์ชนั อินเวอร์ส”


สิง่ ที่ตอ้ งระวังคือ “อินเวอร์สของฟั งก์ชนั ” กับ “ฟั งก์ชนั อินเวอร์ส” เป็ นคาศัพท์คนละคากัน
 “อินเวอร์สของฟั งก์ชน ั ” 𝑓 แทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑓 −1 คือ การเอา 𝑓 มาสลับ 𝑥 กับ 𝑦
 𝑓 −1 อาจจะเป็ นฟั งก์ชน ั หรือไม่เป็ นฟั งก์ชนั ก็ได้
 ถ้า 𝑓 −1 เป็ นฟั งก์ชน ั เราจะเรียก 𝑓 −1 ว่า “ฟั งก์ชนั อินเวอร์ส” และจึงจะสามารถใช้สญ
ั ลักษณ์ 𝑓 −1 (𝑥) ได้
เช่น ถ้า 𝑓 = { (−1, 2) , (0, 5) , (1, 4) , (2, −1) , (3, 6) , (4, 3) }
จะได้ 𝑓 −1 = { (2, −1) , (5, 0) , (4, 1) , (−1, 2) , (6, 3) , (3, 4) }
จะเห็นว่า 𝑓 −1 เป็ นฟั งก์ชนั ดังนัน้ เราสามารถใช้สญ ั ลักษณ์ 𝑓 −1(𝑥) ได้
เช่น 𝑓 −1 (3) = 4 , 𝑓 −1 (−1) = 2 และ 𝑓 −1 (0) = หาค่าไม่ได้ เป็ นต้น

จะเห็นว่า 𝑓 −1(𝑎) = 𝑏 ก็ตอ่ เมื่อ 𝑓(𝑏) = 𝑎 นั่นเอง


เช่น ถ้า 𝑓 = {(1, 3), (2, 4), (3, 2)} จะเห็นว่า 𝑓(1) = 3 ดังนัน้ 𝑓 −1 (3) = 1
ถ้า 𝑓 = {(−1, 1), (0, −1), (1, 0)} จะเห็นว่า 𝑓(0) = −1 ดังนัน้ 𝑓 −1 (−1) = 0 เป็ นต้น

และมันจะเหมือนกับว่าเราสามารถย้ายข้าง 𝑓 จากฝั่งหนึง่ ไปเป็ น 𝑓 −1 ที่อีกฝั่งหนึง่ ได้เลย (เมื่อ 𝑓 −1 เป็ นฟั งก์ชนั )


เช่น 𝑓(𝑎) = 𝑏 𝑓(𝑥) = 5𝑥 − 3 𝑓 −1 (
𝑥+3
2
) = 2𝑥 − 1
−1 (𝑏) −1 (5𝑥 𝑥+3
𝑎 =𝑓 𝑥 =𝑓 − 3) = 𝑓(2𝑥 − 1)
2

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 − 2 จงหา 𝑓 −1 (−10)


วิธีทา ให้ 𝑓 −1 (−10) = 𝑘 ดังนัน้ −10 = 𝑓(𝑘)
จากสมการ 𝑓(𝑥) ที่โจทย์ให้ จะได้ 𝑓(𝑘) = 𝑘 3 − 2 ดังนัน้ −10 = 𝑘 3 − 2
0 = 𝑘3 + 8
0 = (𝑘 + 2)(𝑘 2 − 2𝑥 + 4)
−(−2)±√(−2)2 −4(1)(4)
𝑘 = −2 𝑘=
2(1)
2±√−12
= → หาไม่ได้
2
ดังนัน้ 𝑓 −1 (−10) = −2 #
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 27

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥+1𝑥+3


จงหา 𝑓 −1(𝑥)
วิธีทา จาก 𝑓(𝑥) = 2𝑥+1
𝑥+3
จะได้ 𝑥 = 𝑓 −1 (2𝑥+1 𝑥+3
)
2𝑥+1
แต่โจทย์อยากได้แบบที่หลัง 𝑓 −1 เป็ นตัวแปรตัวเดียว ดังนัน้ เราจะเปลีย่ นรูป 𝑓 −1 ( 𝑥+3 ) ให้เป็ น 𝑓 −1 (𝑘)
ดังนี ้ 𝑥 = 𝑓 −1 (
2𝑥+1
)
𝑥+3
2𝑥+1
= 𝑘
𝑥+3
−1 (
𝑓 𝑘) 2𝑥 + 1 = 𝑥𝑘 + 3𝑘
2𝑥 − 𝑥𝑘 = 3𝑘 − 1
3𝑘−1 𝑥(2 − 𝑘) = 3𝑘 − 1
2−𝑘 3𝑘−1
𝑥 =
2−𝑘

3𝑘−1 3𝑥−1
จะได้ 𝑓 −1 (𝑘) = 2−𝑘
ดังนัน้ 𝑓 −1 (𝑥) = 2−𝑥
#

แบบฝึ กหัด
1. จงหา 𝑓 −1 เมื่อกาหนด 𝑓 ดังนี ้
1. 𝑓 = {(1, 3), (2, 1) , (4, 2)} 2. 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 1

𝑥−1
3. 𝑓(𝑥) = 2𝑥+1
4. 𝑓(𝑥) = √𝑥 + 1

2. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = √𝑥 − 3 จงหาค่าของ 𝑓 −1 (1)


28 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

3. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 4𝑥 − 4 โดยที่ 𝑥<2 จงหาค่าของ 𝑓 −1 (1)

1 − 2𝑥 ; 𝑥 ≥ −2
4. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = { 2
𝑥 +1 ; 𝑥 < −2
จงหาค่าของ 𝑓 −1 (10) + 𝑓 −1 (3)

5. กาหนดให้ 𝑓 −1 (𝑥) = 𝑎𝑥 − 3 ถ้า 𝑓(2) = 5 แล้ว จงหาค่า 𝑓(1)

−1+√1+4𝑥 2
6. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = { 2𝑥
เมื่อ 𝑥 ≠ 0
0 เมื่อ 𝑥 = 0
ถ้า 𝑓 −1(𝑎) = 23 แล้ว 𝑎 มีคา่ เท่ากับเท่าใด [A-NET 49/2-3]
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 29

2
7. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 3𝑥 − 1 และ 𝑔−1(𝑥) = { 𝑥 2
,𝑥 ≥ 0
−𝑥 ,𝑥 < 0
ค่าของ 𝑓 −1 (𝑔(2) + 𝑔(−8)) เท่ากับเท่าไร [PAT 1 (มี.ค. 52)/8]

8. กาหนดให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ นิยามโดย


𝑓(𝑥) = {𝑥 − 1 เมื่อ 𝑥 < 0 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 + 4𝑥 + 13
𝑥 3 − 1 เมื่อ 𝑥 ≥ 0
ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงบวก ซึง่ 𝑔(𝑎) = 25
แล้ว 𝑓 −1 (−2𝑎) + 𝑓 −1(13𝑎) มีคา่ เท่ากับเท่าใด [A-NET 51/1-8]
30 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

บวก ลบ คูณ หาร ฟั งก์ชนั

ฟั งก์ชนั 2 ฟั งก์ชนั สามารถเอามาบวก ลบ คูณ หาร กันได้ โดยให้เอาค่า 𝑦 ของ 𝑥 เดียวกัน มาบวก ลบ คูณ หาร กัน
เช่น ถ้า 𝑓 = { (1, 4), (2, 6), (3, 0), (4, 5), (5, 3) }
𝑔 = { (1, 2), (2, 3), (3, 2), (5, 0), (6, 3) }
จะได้ 𝑓 + 𝑔 = { (1, 6), (2, 9), (3, 2), (5, 3) } สังเกตว่า
 ไม่ตอ้ งเอา 𝑥 มาบวกกัน (บวกแต่ 𝑦)
𝑓 − 𝑔 = { (1, 2), (2, 3), (3, −2), (5, 3) }
 ถ้า 𝑥 ไม่เท่ากัน ไม่ตอ้ งเอามาคิด
𝑓∙𝑔 = { (1, 8), (2, 18), (3, 0), (5, 0) }
 การหารจะจูจ้ น ี ้ ิดหน่อย ตรงที่หา้ ม
𝑓
𝑔
= { (1, 2), (2, 2), (3, 0) } ตัวหารเป็ นศูนย์
จะเห็นว่า 𝑓+𝑔 , 𝑓−𝑔 , 𝑓∙𝑔 จะมีโดเมน = D𝑓 ∩ D𝑔
𝑓
และ 𝑔
จะมีโดเมนคล้ายๆกัน เพียงแต่ตดั ตัวที่ตวั หารเป็ นศูนย์ออก

ในกรณีที่โจทย์ให้สมการของฟังก์ชนั มา ให้เราเอาสมการมา บวก ลบ คูณ หาร กันได้เลย


เช่น ถ้า 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 , 𝑔(𝑥) = 𝑥 − 3
จะได้ (𝑓 + 𝑔)(𝑥) = (𝑥 2 − 2𝑥) + (𝑥 − 3) = 𝑥 2 − 𝑥 − 3
(𝑓 − 𝑔)(𝑥) = (𝑥 2 − 2𝑥) − (𝑥 − 3) = 𝑥 2 − 3𝑥 + 3
(𝑓 ∙ 𝑔)(𝑥) = (𝑥 2 − 2𝑥)(𝑥 − 3) = 𝑥 3 − 5𝑥 2 + 6𝑥
𝑓 𝑥 2 −2𝑥
( ) (𝑥) =
𝑔 𝑥−3

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 , 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 จงหา (𝑓 + 𝑔)(1)


วิธีทา เนื่องจาก (𝑓 + 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑥) + 𝑔(𝑥)
ดังนัน้ (𝑓 + 𝑔)(1) = 𝑓(1) + 𝑔(1)
= 2(1) + 12 = 3 #

𝑥−3
ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = √𝑥 − 1 , 𝑔(𝑥) =
𝑥−2
จงหา D𝑓+𝑔 , D𝑓−𝑔 , D𝑓∙𝑔 และ D𝑓
𝑔

วิธีทา D𝑓+𝑔 , D𝑓−𝑔 และ D𝑓∙𝑔 จะหาได้จาก D𝑓 ∩ 𝐷𝑔


 เนื่องจากใน √ ห้ามติดลบ ดังนัน ้ D𝑓 = [1, ∞)
 เนื่องจากตัวหารห้ามเป็ น 0 ดังนัน
้ D𝑔 = R − {2}
ดังนัน้ D𝑓+𝑔 , D𝑓−𝑔 และ D𝑓∙𝑔 คือ [1, ∞) − {2}
สาหรับ D𝑓 จะต้องหักตัวที่ทาให้ 𝑔(𝑥) เป็ นศูนย์ออกไปอีก
𝑔

จะเห็นว่า 𝑔(𝑥) เป็ นศูนย์ เมื่อ 𝑥=3 ดังนัน้ D𝑓 = [1, ∞) − {2, 3} #


𝑔
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 31

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 𝑓 = { (1, 2) , (2, 3) , (3, 4) } และ 𝑔 = { (2, 1) , (3, 2) } จงหาค่าของ (𝑓 −1 + 𝑔)(2)

2. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 + 1 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 − 3𝑥 − 4 จงหา D𝑓


𝑔

3. กาหนดให้ 𝑓 = { (𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 = 2𝑥 + 1 } และ 𝑔 = { (𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 = √𝑥 + 1 } จงหา


ค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. D𝑓−𝑔 2. (𝑓 − 𝑔)(1)

𝑥
4. ถ้า 3
𝑓(𝑥) = √𝑥 และ 𝑔(𝑥) =
1+𝑥
แล้ว (𝑓 −1 + 𝑔−1 )(2) มีคา่ เท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/2-4]
32 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

ฟั งก์ชนั ประกอบ

“ฟั งก์ชนั ประกอบ 𝑓 และ 𝑔” หมายถึงการนา 𝑓 กับ 𝑔 มาโยงต่อจากกันเป็ นทอด


𝑓 𝑔
1 1 1
เช่น 𝑓 = { (1, 2) , (2, 4) , (3, 3) , (4, 5) } 1
2 2 2
2
𝑔 = { (1, 3) , (2, 5) , (3, 2) , (4, 4) } 3 3 3 3
4 4 4 4
5 5 5
ถ้านา 𝑓 กับ 𝑔 มา “ประกอบ” กัน จะได้ดงั รูป
𝑓 𝑔
1 1 1 𝑓 โยง 1 ไป 2 และ 𝑔 โยง 2 ต่อไป 5 → ฟั งก์ชนั ประกอบ 𝑓 และ 𝑔 โยง 1 ไป 5
2 2 2
3 3 3 𝑓 โยง 2 ไป 4 และ 𝑔 โยง 4 ต่อไป 4 → ฟั งก์ชนั ประกอบ 𝑓 และ 𝑔 โยง 2 ไป 4
4 4
4
5 5 𝑓 โยง 3 ไป 3 และ 𝑔 โยง 3 ต่อไป 2 → ฟั งก์ชนั ประกอบ 𝑓 และ 𝑔 โยง 3 ไป 2

ฟั งก์ชนั ประกอบ 𝑓 และ 𝑔 เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ 𝑔 ∘ 𝑓 (อ่านว่า จีโอเอฟ)


ในตัวอย่างข้างบน จะได้ 𝑔 ∘ 𝑓 = {(1, 5), (2, 4), (3, 2)}

จะเห็นว่า 𝑓 โยง 4 ไป 5 แต่ 𝑔 ไม่โยง 5 ต่อ จึงไม่มีการโยงนีใ้ น 𝑔 ∘ 𝑓


ทานองเดียวกัน 𝑓 ไม่ได้โยงอะไรไปที่ 1 ถึง 𝑔 จะโยง 1 ต่อไปที่ 3 แต่ก็จะไม่มีการโยงนีใ้ น 𝑔 ∘ 𝑓 เช่นกัน
ดังนัน้ โดเมนของ 𝑔 ∘ 𝑓 จะเท่ากับ โดเมนของ 𝑓 เฉพาะตัวที่ 𝑔 โยงต่อได้
เขียนแบบเข้าใจยากๆได้วา่ D𝑔∘𝑓 = {𝑥 ∈ D𝑓 |𝑓(𝑥) ∈ D𝑔 }
𝑔∘𝑓
(𝑔 ∘ 𝑓)−1 คือ การโยงกลับของ 𝑔 ∘ 𝑓
𝑓 𝑔
เนื่องจาก 𝑔 ∘ 𝑓 ขาไป จะเอา 𝑓 โยงก่อน แล้วค่อย 𝑔 โยงต่อ
ดังนัน้ (𝑔 ∘ 𝑓)−1 ขากลับ ต้องให้ 𝑔−1 โยงกลับก่อน แล้วค่อยให้ 𝑓 −1 โยงกลับ 𝑓 −1 𝑔−1

ซึง่ นักเรียนส่วนใหญ่ มักนิยมท่องว่า (𝑔 ∘ 𝑓)−1 = 𝑓 −1 ∘ 𝑔−1 𝑓 −1 ∘ 𝑔−1

𝑔 ∘ 𝑓 กับ 𝑓 ∘ 𝑔 ไม่จาเป็ นต้องเหมือนกัน


 𝑔 ∘ 𝑓 คือ 𝑓 โยงก่อน แล้ว 𝑔 โยงต่อ
 𝑓 ∘ 𝑔 คือ 𝑔 โยงก่อน แล้ว 𝑓 โยงต่อ
เช่นในตัวอย่างข้างบน 𝑔 ∘ 𝑓 = { (1, 5) , (2, 4) , (3, 2) }
แต่ 𝑓 ∘ 𝑔 = { (1, 3) , (3, 4) , (4, 5) }

และถ้าเห็น 𝑓 ∘ 𝑓 ก็ไม่ตอ้ งตกใจ หมายถึงเอา 𝑓 โยงก่อน แล้วเอา 𝑓 ตัวเดิมโยงต่อ


เช่น ถ้า 𝑓 = { (1, 4) , (2, 1) , (3, 2) , (4, 3) }
𝑓 𝑓
1 1 1
2 2 2 จะได้ 𝑓 ∘ 𝑓 = { (1, 3) , (2, 4) , (3, 1) , (4, 2) }
3 3 3
4 4 4
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 33

ถ้าเห็น 𝑓 −1 ∘ 𝑓 หรือ 𝑓 ∘ 𝑓 −1 ก็ทาคล้ายๆกัน


แต่จะเห็นว่าคราวนี ้ 𝑓 กับ 𝑓 −1 โยงสวนกัน ดังนัน้ 𝑓 −1 ∘ 𝑓 จะโยงกลับมาที่เดิม
เช่น ถ้า 𝑓 = { (1, 5) , (2, 6) , (3, 4) }
𝑓 −1 = { (5, 1) , (6, 2) , (4, 3) }

𝑓 𝑓 −1 𝑓 −1 𝑓
1 4 1 4 1 4
2 5 2 5 2 5
3 6 3 6 3 6

𝑓 −1 ∘ 𝑓 = { (1, 1) , (2, 2) , (3, 3) } 𝑓 ∘ 𝑓 −1 = { (5, 5) , (6, 6) , (4, 4) }

หรือจะเอาฟังก์ชนั 3 ฟั งก์ชนั มาประกอบกันก็ยงั ได้


𝑔
เช่น ถ้า 𝑓 = { (1, 2) , (2, 3) , (3, 1) } 1
𝑓
1 1 1 1

1
𝑔 = { (1, 3) , (2, 2) , (3, 1) } 2 2 2 2 2 2
3 3 3 3 3 3
ℎ = { (1, 3) , (2, 1) , (3, 2) }

𝑓 𝑔 ℎ 𝑔 ℎ 𝑓
1 1 1 1 1 1 1 1
2 2 2 2 2 2 2 2
3 3 3 3 3 3 3 3

ℎ ∘ 𝑔 ∘ 𝑓 = { (1, 1) , (2, 3) , (3, 2) } 𝑓 ∘ ℎ ∘ 𝑔 = { (1, 3) , (2, 2) , (3, 1) }

หมายเหตุ: การประกอบฟั งก์ชนั สลับที่ไม่ได้ แต่เปลีย่ นกลุม่ ได้


กล่าวคือ 𝑓 ∘ 𝑔 ไม่จาเป็ นต้องเท่ากับ 𝑔 ∘ 𝑓 แต่ ℎ ∘ (𝑔 ∘ 𝑓) = (ℎ ∘ 𝑔) ∘ 𝑓

ในกรณีที่โจทย์ให้ฟังก์ชนั ในรูปสมการ ก็จะยังใช้หลักเดิมอยู่ เพียงแต่คราวนีจ้ ะโยงด้วยสมการฟังก์ชนั


เช่น ถ้า 𝑓(𝑥) = 3𝑥 + 2 หมายความว่า 𝑓 โยง 1 ไปที่ 3(1) + 2 = 5 เป็ นต้น

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 และ 𝑔(𝑥) = (𝑥 − 1)3 จงหา (𝑔 ∘ 𝑓)(1) และ (𝑓 ∘ 𝑔)(1)
วิธีทา (𝑔 ∘ 𝑓)(1) คือ 𝑓 โยง 1 ไปก่อน ได้เท่าไหร่ ให้ 𝑔 โยงต่อ
𝑓(1) = 12 − 2(1) + 5 = 4 → 𝑓 โยง 1 ไปที่ 4
𝑔(4) = (4 − 1)3 = 27 → 𝑔 โยง 4 ไปที่ 27
ดังนัน้ (𝑔 ∘ 𝑓)(1) = 27

(𝑓 ∘ 𝑔)(1) คือ 𝑔 โยง 1 ไปก่อน ได้เท่าไหร่ ให้ 𝑓 โยงต่อ


𝑔(1) = (1 − 1)3 = 0 → 𝑔 โยง 1 ไปที่ 0
𝑓(0) = 02 − 2(0) + 5 = 5 → 𝑓 โยง 0 ไปที่ 5
ดังนัน้ (𝑓 ∘ 𝑔)(1) = 5 #
34 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

สุดท้าย ในกรณีที่ตอ้ งการหาสมการของ 𝑔 ∘ 𝑓


𝑓 𝑔

𝑓(𝑥) 𝑔(𝑓(𝑥))
เราจะใช้สตู ร (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑔(𝑓(𝑥)) 𝑥

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 5 และ 𝑔(𝑥) = (𝑥 − 1)3 จงหา (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) และ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥)
วิธีทา (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 𝑔(𝑓(𝑥)) (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑔(𝑥))
2
= 𝑔(𝑥 − 2𝑥 + 5) = 𝑓((𝑥 − 1)3 )
= (𝑥 2 − 2𝑥 + 5 − 1) 3
= ((𝑥 − 1)3 )2 − 2((𝑥 − 1)3 ) + 5
= (𝑥 2 − 2𝑥 + 4) 3
= (𝑥 − 1)6 − 2(𝑥 − 1)3 + 5
#

ตัวอย่าง กาหนดให้ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑥 − 1 ถ้า 𝑓 −1 (𝑥) = 2𝑥 + 3 แล้ว จงหา 𝑔(𝑥)


วิธีทา 𝑓(𝑔(𝑥)) = 𝑥−1
𝑔(𝑥) = 𝑓 −1 (𝑥 − 1)
= 2(𝑥 − 1) + 3
= 2𝑥 + 1
#

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 𝑓 = {(1, 2), (2, 3), (3, 1)} และ 𝑔 = {(1, 1), (2, 3), (3, 2)} จงหาค่าของ
1. (𝑓 ∘ 𝑔)(2) 2. (𝑔 ∘ 𝑓)(1)

3. (𝑓 ∘ 𝑓)(3) 4. (𝑓 ∘ 𝑔 ∘ 𝑔)(2)

2. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 1 และ 𝑔(𝑥) = 2𝑥 − 1 จงหาค่าของ


1. (𝑓 ∘ 𝑔)(2) 2. (𝑔 ∘ 𝑓)(1)

3. (𝑓 ∘ 𝑓)(3) 4. (𝑓 ∘ 𝑔 ∘ 𝑔)(2)
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 35

3. กาหนดให้ 𝑓 = { (𝑥, 𝑦) | 𝑦 = −𝑥 + 1 } จงหา (𝑓 ∘ 𝑓 ∘ 𝑓)(𝑥)

4. กาหนดให้ 𝑓 −1 (𝑥) = 3𝑥 3 และ 𝑔−1 (𝑥) = 2 − 𝑥 จงหา (𝑓 ∘ 𝑔)−1 (1)

1
5. ถ้า 𝑓(𝑥) =
𝑥
และ 𝑔(𝑥) = 2𝑓(𝑥) แล้ว 𝑔 ∘ 𝑓(3) + 𝑓 ∘ 𝑔−1 (3) มีคา่ เท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/2-3]

6. กาหนดให้ 𝑅 เป็ นเซตของจานวนจริง


บทนิยาม ให้ 𝑓: 𝑅 → 𝑅 และ 𝑔: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั ใดๆ
กาหนดการดาเนินการ ⨂ ของ 𝑓 และ 𝑔 ดังนี ้
(𝑓⨂𝑔)(𝑥) = 𝑓(𝑔(𝑥)) − 𝑔(𝑓(𝑥))
สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥

ถ้า 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 1 และ 𝑔(𝑥) = 2𝑥 + 1 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 แล้ว (𝑓⨂𝑔)(1) เท่ากับเท่าใด


[PAT 1 (มี.ค. 53)/47]
36 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

7. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 3 + 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 3 และ 𝑔(𝑥) = 𝑏𝑥 2 + 3𝑥 + 𝑎 เมื่อ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริง


ถ้า 𝑓(3) = 0 และ 𝑥 − 2 หาร 𝑓(𝑥) มีเศษเหลือเท่ากับ 5 แล้วค่าของ (𝑔 ∘ 𝑓)(1) เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 57)/43]

8. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 56)/7]


1. ความสัมพันธ์ { (𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑥 2 + 𝑦 2 = 4 , 𝑥𝑦 > 0 } เป็ นฟั งก์ชนั
𝑥−2 , 𝑥≤0
2. ถ้า 𝑓(𝑥) = { 𝑥 2 , 𝑥 > 0 และ 𝑔(3𝑥 − 1) = 2𝑥 2 + 3𝑥 สาหรับ 𝑥∈R
แล้วค่าของ (𝑔 ∘ 𝑓 −1 )(25) = 14

9. ฟั งก์ชนั 𝑓, 𝑔, ℎ มีสมบัตวิ า่ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 3𝑥 − 14


𝑥+6
𝑓( )
3
= 𝑥 − 2 , ℎ(2𝑥 − 1) = 6𝑔(𝑥) + 12 จงหาสมการของ ℎ(𝑥) [PAT 1 (ธ.ค. 54)/28*]
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 37

0 , 𝑥 = −1
10. ให้ R แทนเซตของจานวนจริง และให้ 𝑓:R→R เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีสมบัติสอดคล้องกับ 𝑓(𝑥) = {𝑥−1
, 𝑥 ≠ −1
𝑥+1
ถ้า 𝐴 = { 𝑥 ∈ R | (𝑓 ∘ 𝑓)(𝑥) = 2 − √3 } แล้วข้อใดไม่เป็ นเซตว่าง [PAT 1 (ธ.ค. 54)/7*]
1. 𝐴 ∩ (−3, −2) 2. 𝐴 ∩ (−4, −3) 3. 𝐴 ∩ (2, 3) 4. 𝐴 ∩ (3, 4)

11. ให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | 𝑦 = 3𝑥 − 5} และ


𝑔 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝑅 × 𝑅 | 𝑦 = 2𝑥 + 1}
ถ้า 𝑎∈𝑅 และ (𝑔−1 ∘ 𝑓 −1 )(𝑎) = 4 แล้ว (𝑓 ∘ 𝑔)(2𝑎) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/42]

12. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 3𝑥 + 5 และ ℎ(𝑥) = 3𝑥 2 + 3𝑥 − 1


ถ้า 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ ทาให้ 𝑓 ∘ 𝑔 = ℎ แล้ว 𝑔(5) มีคา่ เท่าใด [A-NET 50/2-7]
38 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

13. ให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตของจานวนจริง โดยที่
𝑥+3
𝑓(𝑥) =
𝑥+6
และ (𝑓 −1 ∘ 𝑔)(𝑥) = −6𝑥 𝑥−1
ถ้า 𝑔(𝑎) = 2 แล้ว 𝑎 อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้ [PAT 1 (ก.ค. 53)/5]
1. [−1, 1) 2. [1, 3) 3. [3, 5) 4. [5, 7)

14. กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง และให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม ให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั จาก R ไปยัง R
โดยที่ 𝑓(𝑥 + 5) = 𝑥 3 − 𝑥 2 + 2𝑥 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
และ 𝑔−1 (2𝑥 − 1) = 𝑥 + 4 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง
[PAT 1 (ต.ค. 55)/6]
1. (𝑓 − 𝑔)(0) < −169
2. { 𝑥 ∈ I | (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) + 5 = 0 } เป็ นเซตว่าง

15. กาหนดให้ R แทนเซตของจาวนจริง กาหนด 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 + 𝑥 + 3 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥


ถ้า 𝑓 : R → R เป็ นฟั งก์ชนั และสอดคล้องกับ
(𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) + 2(𝑓 ∘ 𝑔)(1 − 𝑥) = 6𝑥 2 − 10𝑥 + 17
2(𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) + (𝑓 ∘ 𝑔)(1 − 𝑥) = 6𝑥 2 − 2𝑥 + 13
ค่าของ 𝑓(383) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/38]
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 39

1
16. กาหนดให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑔: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั กาหนดโดย 𝑔(𝑥) = 2𝑥+3 เมื่อ 𝑥 ≠ − 32
ถ้า 𝑓: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั ที่ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 𝑥 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 แล้ว จงหาสมการของ 𝑓(𝑥)
[PAT 1 (มี.ค. 54)/20*]

17. ให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓1 , 𝑓2 , 𝑓3 , 𝑓4 , 𝑔 และ ℎ เป็ นฟั งก์ชนั จาก 𝑅 ไปยัง 𝑅 โดยที่
𝑓1 (𝑥) = 𝑥 + 1 , 𝑓2 (𝑥) = 𝑥 − 1 , 𝑓3 (𝑥) = 𝑥 2 + 4 , 𝑓4 (𝑥) = 𝑥 2 − 4
(𝑓1 ∘ 𝑔)(𝑥) + (𝑓2 ∘ ℎ)(𝑥) = 2 และ (𝑓3 ∘ 𝑔)(𝑥) − (𝑓4 ∘ ℎ)(𝑥) = 4𝑥
ค่าของ (𝑔 ∘ ℎ)(1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 53)/28]

18. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 − 5 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 2


ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงซึง่ 𝑔 ∘ 𝑓(𝑎) = 𝑓 ∘ 𝑔(𝑎) แล้ว (𝑓𝑔)(𝑎) มีคา่ เท่ากับเท่าไร [PAT 1 (ก.ค. 52)/8]
40 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

19. กาหนดให้ 𝑓 และ 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ นิยามโดย 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 1 และ 𝑔(𝑥) = 𝑎𝑥 เมื่อ 𝑎 ∈ (0, 1)
ถ้า 𝑘 เป็ นจานวนจริงที่ทาให้ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑘) = (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑘)
แล้ว (𝑓 ∘ 𝑔−1 ) (𝑘12) มีคา่ เท่ากับเท่าไร [A-NET 51/1-7]

20. กาหนดให้ 𝑓, 𝑔 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ 𝑓(𝑥) = (𝑥 − 1)3 + 3


และ 𝑔−1 (𝑥) = 𝑥 2 − 1, 𝑥≥0
ถ้า 𝑔 ∘ 𝑓 −1(𝑎) = 0 แล้ว 𝑎2 อยูใ่ นเซตใดต่อไปนี ้ [A-NET 50/1-5]
1. [10, 40] 2. [40, 70] 3. [70, 100] 4. [100, 130]

21. กาหนดให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓, 𝑔 และ ℎ เป็ นฟั งก์ชนั พหุนามจาก 𝑅 ไปยัง 𝑅 โดยที่ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 − 5 ,
(𝑓 −1 ∘ 𝑔)(𝑥) = 4𝑥 และ (𝑔 ∘ ℎ)(𝑥) หารด้วย 𝑥 − 1 แล้ว เหลือเศษเท่ากับ −21 ให้ 𝑐 เป็ นจานวนเต็มบวกที่
น้อยสุดที่สอดคล้องกับ ℎ(𝑥 − 𝑐) = 𝑥 3 − 3𝑥 2 − 2 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 58)/20]
1. (𝑓 ∘ ℎ)(𝑐) = 23
2. (ℎ + 𝑔)(𝑐) = 35
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 41

22. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่ และ 𝑔 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั
โดยที่ 𝑔(𝑥) = 2𝑓(𝑥) + 5 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
ถ้า 𝑎 เป็ นจานวนจริงที่ (𝑓 ∘ 𝑔−1 )(1 + 𝑎) = (𝑔 ∘ 𝑓 −1)(1 + 𝑎) แล้วค่าของ 𝑎2 เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (พ.ย. 57)/42]

23. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓: ℝ → ℝ และ 𝑔: ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั หนึง่ ต่อหนึง่
โดยที่ (𝑓 ∘ 𝑔)(𝑥) = 4𝑥 − 5 และ 𝑔−1 (𝑥) = 2𝑥 + 1 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง
[PAT 1 (เม.ย. 57)/6]
1. 4(𝑓 −1 ∘ 𝑔)(2𝑥 + 1) = 𝑔(𝑥) + 1 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
2. (𝑔−1 ∘ (𝑓 −1 ∘ 𝑔))(𝑥) = 𝑓 −1(𝑥) + 1 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
42 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

24. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง และ 𝑎 เป็ นจานวนจริงโดยที่ 𝑎 ≠ 0 ให้ 𝑓: ℝ → ℝ และ 𝑔: ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั
ที่นิยามโดย 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 + 2 และ 𝑔(𝑥) = 𝑥 3 − 3𝑥(𝑥 − 1) สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
ถ้า (𝑓 −1 ∘ 𝑔−1)(1) = 1 แล้ว (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑎) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/35]

25. กาหนดให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง ให้ 𝑓 : ℝ → ℝ และ 𝑔 : ℝ → ℝ เป็ นฟั งก์ชนั ที่สอดคล้องกับ


𝑓(𝑥 + 𝑔(𝑦)) = 2𝑥 + 𝑦 + 15 สาหรับจานวนจริง 𝑥 และ 𝑦 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง
[PAT 1 (เม.ย. 57)/30]
1. (𝑔 ∘ 𝑓)(𝑥) = 2𝑥 + 15 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 และ 𝑦
2. 𝑔(25 + 𝑓(57)) = 75
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 43

ฟั งก์ชนั ทีว่ นกลับไปหาตัวเอง

ในหัวข้อที่ผา่ นมา สมการของฟังก์ชนั มักจะมีพจน์ทตี ิด 𝑓 แค่พจน์เดียว เช่น 𝑓(𝑥) = 2𝑥 − 1 , 𝑓 (𝑥+1 2


) = 𝑥2
แต่ในเรือ่ งนี ้ สมการของฟั งก์ชนั จะมีพจน์ทตี่ ิด 𝑓 หลายพจน์ เช่น 𝑓(𝑥) = 𝑓(𝑥 − 1) + 2𝑥 เป็ นต้น
วิธีทาโจทย์ประเภทนี ้ มักต้องใช้สมการที่โจทย์ให้ มาแทน 𝑥 เป็ นค่าต่างๆหลายรอบ เพื่อหาค่าที่โจทย์ตอ้ งการ

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(2𝑥) = 𝑓(𝑥) + 3 ถ้า 𝑓(1) = −2 จงหา 𝑓(32)


วิธีทา ถ้าจะหา 𝑓(32) เราต้องนาสมการที่โจทย์ให้ มาแทน 𝑥 ด้วย 16 ดังนี ้ 𝑓(2 ∙ 16) = 𝑓(16) + 3
𝑓(32) = 𝑓(16) + 3 ….(1)

จะเห็นว่า การหา 𝑓(32) นัน้ จะต้องหา 𝑓(16) ออกมาให้ได้ก่อน


ถ้าจะหา 𝑓(16) เราต้องนาสมการที่โจทย์ให้ มาแทน 𝑥 ด้วย 8 ดังนี ้ 𝑓(2 ∙ 8) = 𝑓(8) + 3
𝑓(16) = 𝑓(8) + 3 ….(2)

ทาแบบนีซ้ า้ ไปเรือ่ ยๆ จะได้ 𝑓(8) = 𝑓(4) + 3


𝑓(4) = 𝑓(2) + 3
𝑓(2) = 𝑓(1) + 3

แทน 𝑓(1) = −2 จะได้ 𝑓(2) = −2 + 3 = 1


แทน 𝑓(2) = 1 จะได้ 𝑓(4) = 1 + 3 = 4
แทนแบบนี ้ ย้อนกลับไปเรือ่ ยๆ จะได้ 𝑓(8) = 4 + 3 = 7
𝑓(16) = 7 + 3 = 10
𝑓(32) = 10 + 3 = 13

ดังนัน้ จะได้ 𝑓(32) = 13 #

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ I แทนเซตของจานวนเต็ม ถ้า 𝑓 : I → I เป็ นฟั งก์ชนั ทีม่ สี มบัติดงั นี ้
(1) 𝑓(1) = 1
(2) 𝑓(2𝑥) = 4𝑓(𝑥) + 6
(3) 𝑓(𝑥 + 2) = 𝑓(𝑥) + 12𝑥 + 12
แล้วค่าของ 𝑓(7) + 𝑓(16) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 54)/48]
44 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

2. กาหนดให้ 𝑓 : N → N สอดคล้องกับสมการ 𝑓(𝑥 + 𝑦) = 𝑓(𝑥) + 𝑓(𝑦) + 4𝑥𝑦


โดยที่ 𝑓(1) = 4 จงหาค่าของ 𝑓(20) [PAT 1 (ธ.ค. 54)/49]

3. ให้ 𝐼 แทนเซตของจานวนเต็ม และให้ 𝑓: 𝐼 → 𝐼 เป็ นฟั งก์ชนั โดยที่ 𝑓(𝑛 + 1) = 𝑓(𝑛) + 3𝑛 + 2 สาหรับ 𝑛 ∈ 𝐼
ถ้า 𝑓(−100) = 15,000 แล้ว 𝑓(0) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 53)/30]

4. กาหนดให้ R แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓 : R → R เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ สอดคล้องกับ


(𝑓 ∘ 𝑓)(𝑥) = 4 + 𝑥(4 − 𝑓(𝑥)) สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥 แล้วค่าของ 𝑓(4) เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 56)/50]
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 45

5. สาหรับ 𝑥, 𝑦 ∈ {0, 1, 2, 3. …} กาหนดให้ 𝐹(𝑥, 𝑦) เป็ นจานวนเต็มบวก โดยที่


𝐹(1, 𝑦 − 1) , 𝑥 = 0, 𝑦 ≠ 0
𝐹(𝑥, 𝑦) = { 𝑥 + 1 , 𝑦=0
𝐹(𝐹(𝑥 − 1, 𝑦), 𝑦 − 1) , 𝑥 ≠ 0, 𝑦 ≠ 0
ค่าของ 𝐹(1, 2) + F(3, 1) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/48]

6. กาหนดให้ 𝑅 แทนเซตของจานวนจริง ถ้า 𝑓: 𝑅 → 𝑅 เป็ นฟั งก์ชนั


โดยที่ 𝑥𝑓(𝑥) + 𝑓(1 − 𝑥) = 2𝑥 − 𝑥 2 เมื่อ 𝑥 ∈ 𝑅 แล้ว จงหาสมการของ 𝑓(𝑥) [PAT 1 (มี.ค. 54)/41*]
46 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

ทบทวนความสัมพันธ์

1. 15 2. (−2, 8) 3. 4 4. 3

โดเมนและเรนจ์ จากการพิจารณาช่วงค่า

1. 1. [5, ∞) , R 2. R , (−∞, 3]
3. R , [−2, ∞) 4. R , [1, ∞)
5. R , (−∞, −1] 6. [0, 2] , [−1, 1]
7. R , (−∞, −1] ∪ [1, ∞)
2. - 3. 3 4. 2

การเลือ่ นกราฟ

1. 1. 2. 3. 4.
(−1, 1)

−1 1
−1

อินเวอร์ส

1. 1. {(4, 1), (2, 2), (2, 3)} 2. {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐵 × 𝐴 │ 𝑦 = ±√𝑥 }


2−𝑥
3. {(𝑥, 𝑦) ∈ R+ × R │ 𝑦 = 2𝑥 − 1} 4. 𝑦=
𝑥
3𝑥+1
5. 𝑦=
𝑥−2
6. 𝑦=2−𝑥
𝑥−1 𝑥 2 −1
7. 𝑦 = ±√
2
8. 𝑦=
2
และ 𝑥≥0
9. 𝑥2 + 𝑦2 = 1 10. 𝑦 = ±√4 − 𝑥 2 และ 𝑥≥0

กราฟของอินเวอร์ส

1. 1. 2. 3. 4.

5. 6. 7. 8.

2. 1, 2
ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั 47

ทบทวนฟั งก์ชนั

1. 2 2. - 3. 2 4. 6
5. - 6. 4 7. 1
8. (−∞, −4] ∪ [4, ∞) 9. 8 10. 135
11. 2 12. 4

ประเภทของฟั งก์ชนั

1. 1, 2 2. 1, 4 3. 1, 2, 4 4. 1, 2, 4, 5, 6
5. - 6. 1, 2 7. 1 8. 2, 4
9. 2 10. 1 11. 2

ฟั งก์ชนั เพิ่ม - ลด

1. 1. (−∞,∞) → เพิ่ม 2. (−∞,∞) → ลด 3. (−∞,∞) → ลด


4. (−∞, 0) → ลด , (0, ∞) → เพิ่ม 5. (−∞, 1) → ลด , (1, ∞) → เพิ่ม
2. −11

ฟั งก์ชนั อินเวอร์ส
𝑥−1 −𝑥−1
1. 1. {(3, 1), (1, 2), (2, 4)} 2. 2
3. 2𝑥−1
4. 𝑥2 − 1 ; 𝑥 ≥ 0
2. 16 3. −1 4. −4 5. 4
1−√2
6. 0.5 7. 3
8. 0

บวก ลบ คูณ หาร ฟั งก์ชนั

1. 2 2. R − {−1, 4}
3. 1. [0, ∞) 2. 1
4. 6

ฟั งก์ชนั ประกอบ

1. 1. 1 2. 3 3. 2 4. 3
2. 1. 8 2. −1 3. 63 4. 24
3. −𝑥 + 1 4. −1 5. 7.5 6. 7
7. 721 8. 1, 2 9. 3𝑥 + 3 10. 2
11. 262 12. 28 13. 3 14. -
48 ความสัมพันธ์ และฟังก์ชนั

1 3
15. 763 16. 2𝑥
−2 17. 1 18. −18
19. 2 20. 1 21. 1 22. 36
23. 1, 2 24. 9 25. -

ฟั งก์ชนั ทีว่ นกลับไปหาตัวเอง

1. 911 2. 840 3. 50 4. 4
5. 10 6. 1−𝑥

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Gunta Serikijcharoen
และ คุณ Chaiyaklit Adsavavichairote
และ คุณครูเบิรด์ จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ครูเบิรด์ ย่านบางแค
และ คุณ Theerat Piyaanangul
และ คุณ Pasin
และ คุณ Eiffel Deal ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารครับ

You might also like