You are on page 1of 16

ใบความรู้ที่ 1.1.

1 (ก)
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.1.1(ก) ให้เข้าใจถ้าไม่เข้าใจให้สอบถามเพื่อนหรือครูผู้
สอน
และเติมตัวเลขลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1.1 ค่ากลางของข้อมูล
การวิเคาระห์ข้อมูลเบื้องต้นนอกจากจะทำโดยการสร้างตารางแจกแจงความถี่หรือกราฟ
ดังได้กล่าวมาแล้ว การหาค่ากลางซึ่งเป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดไว้ใช้ เพื่อสะดวกในการจดจำ
หรือสรุปเรื่องราวที่เกี่ยวกับข้อมูลนั้นๆจะช่วยให้การวิเคาระห์ข้อมูลเบื้องต้นดีขึ้น เช่น
ผู้อำนวยการโรงเรียนต้องการทราบผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นต่างๆของปี ที่ผ่าน
มา ว่าเป็นอย่างไร แทนที่ผู้อำนวยการจะต้องทราบระดับคะแนนของวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน
แต่ละคนในแต่ละชั้น อาจทราบเพียงค่ากลางของระดับคะแนนของวิชาคณิตศาสตรืของนักเรียนใน
แต่ละชั้นก็เพียงพอที่จะตัดสินใจได้โดยกว้างๆว่าผลการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของแต่ละชั้นเป็น
อย่างไร ค่ากลางมีทั้งหมด 6 ชนิดแต่ที่นิยมใช้มีอยู่ 3 ชนิดแรกคือ
1.1.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือค่าเฉลี่ย (arithmetic mean )
1.1.2.มัธยฐาน (median )
1.1.3 ฐานนิยม (mode )
1.1.4 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต (geometric mean )
1.1.5 ค่าเฉลี่ยฮาร์โมนิค (harmonic mean )
1.1.6 ค่ากึ่งกลางพิสัย (mid-range )
ก่อนที่จะศึกษาค่ากลางชนิดต่างๆเรามาศึกษาสัญลักษณ์ของ “ซิกมา” (sigma )
…………. (summation of x )
สมบัติบางประการของ ถ้า c เป็นค่าคงตัวใดๆ
1. เช่น

2. เช่น

3.

4.

ตัวอย่างที่ 1 ถ้า
จงหา ก. ข. ค.
วิธีทำ (ให้นักเรียนเติมตัวเลขในช่องว่างให้สมบูรณ์)
ก.
=………………………………………………..
=………………………………………………..
=………………………………………………..
ข.
=………………………………………………..
=………………………………………………..
=………………………………………………..

ค. =
=……………………………………………….
=……………………………………………….
=……………………………………………….
=……………………………………………….

ตัวอย่างที่ 2 (ให้นักเรียนเติมตัวเลขในช่องว่างให้สมบูรณ์)
ถ้า และ จงหา

ก. = ข. =
= …………………….. = ………………………………
=…………………….. =………………………………
=……………………. =……………………………….
= ……………………………...

ใบความรู้ที่ 1.1.1 (ข)


คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.1.1 (ข) ให้เข้าใจถ้าไม่เข้าใจให้สอบถามเพื่อนหรือครูผู้
สอน และเติมตัวเลขลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1.1.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (arithmetic mean ) หรือค่าเฉลี่ย ใช้สัญลักษณ์ “ ” (เอกซ์
บาร์)หรือ A.M.
-ข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ ( ungrouped data ) จะใช้กรณีที่มีข้อมูลไม่มากนักและเป็น
ข้อมูลที่มาจากตัวอย่าง
ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด
สูตร
จำนวนข้อมูล
แต่ถ้าข้อมูลมาจากประชากรจะใช้
ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด
สูตร
จำนวนข้อมูล

ตัวอย่างที่ 1 ต่อไปนี้เป็นความสูงของนักเรียนเจ็ดคน(หน่วยเป็นเซ็นติเมตร)คือ 157,156,160,156,


175,160 และ 156 จงหาความสูงโดยเฉลี่ยของคนทั้งเจ็ดคนนี้
วิธีทำ
จากสูตร

=………………………………………………………..

=………………………………………………………..

=………………………………………………………..

- ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบถ่วงน้ำหนัก (weighted arithmetic mean


รายวิชา ) “ ระดับคะแนน
หน่วยกิต ”
คือค่ากลางเลขคณิตที่ได้จากข้อมูลที่มีค่าความสำคัญไม่เหมือนกันหาได้จากสูตร
ภาษาไทย 3 3
คือค่าความสำคัญหรือน้ำหนักที่ใช้ถ่วงเมื่อ
ภูมิศาสตร์ I=1 1,2,3,…………n 2
คือค่าจากการสังเกต เมื่อประวัติศาสตร์
I = 1,2,3,……………n 1 3
ศีลธรรม 1 3
พลานามัย 1 2
ตัวอย่างที่ 2 นางสาวอรอนงค์ ทรงงาม มีผลการเรียนรายวิชาประจำภาคเรียนที่1
English 4 ชั้น2ม.ศ.5
ดังตารางต่อไปนี้ จงคำนวณหาระดับคะแนนเฉลี่ยของนางสาวอรอนงค์
Reading ทรงงาม
3 ในภาคเรียนนี้
2
เคมี 3 2
วิธีทำ จากสูตร ชีววิทยา 3 4
ฟิ สิกส์ 5 3
คณิตศาสตร์ 6 3
- หน่วยกิต ( น้ำหนัก )
- ระดับคะแนน ( )

เพราะฉะนั้นคะแนนเฉลี่ย(เกรดเฉลี่ย)
ของนางสาวอรอนงค์ ทรงงาม มีค่าเท่ากับ 2.70

- ข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว ( grouped data ) ใช้ในกรณีที่มีจำนวนข้อมูลมากแล้วนำมา


แจกแจงความถี่ของข้อมูลหาได้ 2 วิธีคือ
1. แบบธรรมดา
คือค่าของความถี่ของแต่ละอันตรภาคชั้นเมื่อ i=1,2,3,……..,k
สูตร
คือค่าจุดกึ่งกลางชั้นของแต่ละอันตรภาคชั้น เมื่อ I=1,2,3,………,k

ตัวอย่างที่ 3 จากตารางแจกแจงความถี่แสดงความสูงของคนกลุ่มหนึ่งจงหาค่าเฉลี่ยของความสูง
ของคนกลุ่มนี้ ความสูง(ซม.) จำนวนคน
วิธีทำ ให้นักเรียนเติมตัวเลข 148-152 5
ในช่องว่างให้ครบเพื่อแทนค่า
153-157 7
ในสูตร
158-162 12
163-167 6
168-172 3
173-177 4
=
178-182 2
= 183-187 1
N=
2. แบบลัด (วิธีทอนค่าข้อมูล) เมื่อข้อมูลหรือจุดกึ่งกลางชั้นทั้งหมดมีค่ามาก การหาค่า
เฉลี่ยเลขคณิตโดยการบวกตัวเลขมากๆอาจมีข้อผิดพลาดได้และเสียเวลาในการบวกเลข ฉะนั้นจึง
ใช้วิธีลดค่าตัวเลขของข้อมูลให้น้อยลงลดหลั่นลงไปทุกๆอันตรภาคชั้นเท่าๆกันทั้งนี้ต้องอาศัย
ความเบี่ยงเบนของข้อมูล(deviation of data ) เขียนย่อ “ ” แต่ละค่าห่างจากตัวกลางสมมติ
เขียนย่อ “a” หารด้วยขนาดของอันตรภาคชั้น กล่าวคือ เมื่อ i=1,2,…..,k
ซึ่ง a ในที่นี้จะเลือกสมมติจากจุดกึ่งกลางชั้นใดก็ได้
แต่โดยทั่วไปนิยมเลือกชั้นที่มีความถี่สูงสุด และ I เป็นขนาดของอันตรภาคชั้นซึ่งเท่ากันทุกชั้น

จะได้

จากตัวอย่างที่ 3 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโดยวิธีลัด
คว จำนว
ามสูง(ซม.) นคน

148-152 5 150
153-157 7 155
158-162 12 160
163-167 6 165
168-172 3 170
173-177 4 175
178-182 2 180
183-187 1 185
N=

วิธีทำ I = , a=
จากสูตร
=

= ซม.

- ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม (combined arithmetic mean ) “ ”


ในกรณีที่มีข้อมูลหลายๆชุด แต่ละชุดมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและกำหนดจำนวนข้อมูลให้จะได้

คือค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลแต่ละชุด เมื่อ i = 1,2,….,n

คือจำนวนข้อมูลแต่ละชุด เมื่อ i = 1,2,……..,n

ตัวอย่างที่ 4 นักเรียนชั้น ม.ศ. 5 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งมีห้าห้องแต่ละห้องมีจำนวนนักเรียน


28,30,32,33 และ 27 คนตามลำดับ ในการสอบกลางภาคได้คะแนนเฉลี่ยวิชาสถิติแต่ละห้องคือ
48,45,36,42 และ 40 คะแนนตามลำดับ อยากทราบว่าคะแนนเฉลี่ยทั้ง 5 ห้องเป็นเท่าใด
วิธีทำ จากโจทย์กำหนดให้จะได้ และ

จากสูตร

กล่าวคือ คะแนนเฉลี่ยวิชาสถิติทั้งห้าห้องเท่ากับ 42.08 คะแนน


สมบัติที่สำคัญของค่าเฉลี่ยเลขคณิต
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเมื่อคูณกับจำนวนข้อมูลทั้งหมด จะได้ผลรวมของข้อมูลทุกๆค่า กล่าวคือ

ซึ่งมาจากสูตร (ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง)

2. ผลรวมของความแตกต่างระหว่างแต่ละค่าของข้อมูลจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดหนึ่งจะ
เท่ากับ 0 เสมอ กล่าวคือ (ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง)
3. ผลรวมของความแตกต่างกำลังสองของแต่ละค่าของข้อมูล จากจำนวน M ใดๆจะมีค่าน้อยที่สุด
เมื่อ M เท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมุลชุดนั้นกล่าวคือ น้อยที่สุดเมื่อ
(ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง)
4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดใดๆจะต้องอยู่ระหว่างค่าจากการสังเกตที่น้อยที่สุดและค่าจากการ
สังเกตที่มากที่สุดในข้อมูลชุดนั้น กล่าวคือ   เมื่อ และ เป็นค่า
จากการสังเกตที่น้อยที่สุดและมากที่สุดในข้อมูลตามลำดับ (ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง)
5. ถ้าตัวแปร Y สัมพันธ์กับตัวแปร X ในรูปของฟังก์ชันเส้นตรงนั่นคือ ถ้า เมื่อ
i = 1,2,3,…….,N เมื่อ a,b เป็นค่าคงตัวใดๆแล้ว จะสัมพันธ์กับ ดังนี้
ตัวอย่างที่ 5 ถ้าอุณหภูมิเมื่อเวลา 12.00 น. ของแต่ละวันในสัปดาห์แรกของเดือนเมษายน พ.ศ.2516
เป็น 33,35,32,37,34,36 และ 31 องศาเซลเซียล ตามลำดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอุณหภูมิที่มี
หน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮต์
วิธีทำ ให้ C เป็นตัวแปรแทนอุณหภูมิมีหน่วยเป็นองศาเซลเซียล
F เป็นตัวแปรแทนอุณหภูมีหน่วยเป็นองศาฟาเรนไฮต์
ความสัมพันธ์ระหว่าง C กับ F คือ จะได้
ในที่นี้ เมื่อ i = 1,2,3,………,7 ดังนั้น
แต่

ดังนั้น นั่นคือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอุณหภูมิคือ 93.2 องศาฟาเรนไฮต์


6. ถ้านำค่าคงตัวตัวหนึ่งไปบวกกับทุกค่าในข้อมูลชุดหนึ่ง แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดใหม่
เท่ากับ ผลบวกของค่าคงตัวนั้นกับค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดเดิม
ถ้า คือค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดเดิม , คือค่าเฉลี่ยเลคณิตของข้อมูลชุดใหม่
จะได้ เมื่อ C คือค่าคงตัว
ตัวอย่างที่ 6 ในปัจจุบันเด็กห้าคนมีอายุดังนี้ 8,10,11,15,16 ปี ตามลำดับ จงหา
ก. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของเด็กทั้งห้าคนในอีก 6 ปี ข้างหน้า
ข. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุของเด็กทั้งห้าคน เมื่อ 4 ปี ที่แล้ว
วิธีทำ ให้ แทนอายุเฉลี่ยของเด็กในปัจจุบัน
แทนอายุเฉลี่ยของเด็กในอีก 6 ปี ข้างหน้า
แทนอายุเฉลี่ยของเด็กเมื่อ 4 ปี ที่แล้ว
ปี
ก. ข.

ปี ปี
7. ถ้านำค่าคงตัวตัวหนึ่งไปคูณกับทุกค่าในข้อมูลชุดหนึ่งแล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดใหม่
เท่ากับผลคูณของค่าคงตัวนั้นกับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดเดิม
ถ้า แทนอายุเฉลี่ยของข้อมูลชุดเดิม
แทนอายุเฉลี่ยของข้อมูลชุดใหม่
จะได้ เมื่อ C คือค่าคงตัว (ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง)
8. ถ้านำค่าคงตัวตัวหนึ่งซึ่งไม่เท่ากับ 0 ไปหารทุกค่าในข้อมูลชุดหนึ่ง แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ
ข้อมูลชุดใหม่จะเท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดเดิมหารด้วยค่าคงตัวนั้น
ถ้า ถ้า แทนอายุเฉลี่ยของข้อมูลชุดเดิม
แทนอายุเฉลี่ยของข้อมูลชุดใหม่
จะได้ เมื่อ C คือค่าคงตัว
(ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่าง)

9. จากค่าสังเกต 72,68,80,70,85,80,75,78,82,86,79,69 หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้ = 77


ถ้านำมาสร้างตารางแจกแจงความถี่แล้วหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตจะได้

อันตรภาคชั้น
68 - 72 4 70 280
73 - 77 1 75 75
78 - 82 5 80 400
83 - 87 2 85 170
N = 12

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่หาได้จากค่าสังเกต (77) จะเป็ นค่าเฉลี่ย


เลขคณิตที่แท้จริง
ส่วนค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่หาได้จากตารางแจกแจงความถี่ (77.08)
จะเป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิตโดยประมาณเท่านั้น
สรุป ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่หาได้จากค่าสังเกตจะมีความเที่ยงตรงกว่า
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่หาได้จากตารางแจกแจงความถี่

ใบความรู้ที่ 1.1.1 (ค)


คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.1.1(ค) ให้เข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจให้สอบถามเพื่อนหรือครูผู้สอน
จากข้อมูลต่อไปนี้ 157,156,160,156,175,160 และ 156
จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลโดยใช้ Microsoft Excel

1. ป้ อนข้อมูลลงในแผ่นทำงานของ Excel จาก A1 ถึง A7


2. คลิกที่ A8 แล้วไปที่เมนูเครื่องมือ เลือก ค่าเฉลี่ย

3. กด Enter ก็จะได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 160 ที่ A8

ใบความรู้ที่ 1.1.2 (ก)


คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่1.1.2 (ก) ให้เข้าใจถ้าไม่เข้าใจให้สอบถามเพื่อน
หรือครูผู้สอน และเติมตัวเลขลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1.1.2 มัธยฐาน (median) “Med” คือข้อมูลที่มีตำแหน่งอยู่กึ่งกลางของข้อมูลทั้งหมด เมื่อเรียงลำดับ
ข้อมูลทั้งหมดแล้ว
- เมื่อข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ ( ungrouped data ) ถ้า N เป็นจำนวนข้อมูลที่เรียงลำดับ
จากน้อยไปหามากหรือจากมากไปหาน้อย
ถ้า N เป็นจำนวนคี่ มัธยฐานคือ ข้อมูลตำแหน่งที่ เช่น จากข้อมูลต่อไปนี้
1,3,6,7,9 จงหามัธยฐาน
วิธีทำ N= 5 ตำแหน่งของมัธยฐานคือ เพราะฉะนั้นมัธยฐานคือ 6
ถ้า N เป็นจำนวนคู่ มัธยฐานคือ ค่าเฉลี่ยของข้อมูลตำแหน่งที่
เช่น จากข้อมูลต่อไปนี้ 18.3,20.6,22.4,19.3,20.2,18.8,20.0,19.7 จงหามัธยฐาน
วิธีทำ เรียงลำดับข้อมูล 18.3,18.8,19.3,19.7,20.0,20.2,20.6,22.4
N = 8 ตำแหน่ง และตำแหน่ง
เพราะฉะนั้น มัธยฐานคือ
ข้อสังเกต 1. ถ้า N เป็นจำนวนคี่แล้ว มัธยฐานจะเป็นค่าในข้อมูลนั้น
2. ถ้า N เป็นจำนวนคู่แล้ว มัธยฐานอาจจะเป็นหรือไม่เป็นค่าในข้อมูลนั้น
- ข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว(grouped data ) คือค่าของข้อมูลในอันตรภาคชั้นซึ่งมี
ข้อมูลต่ำกว่าและสูงกว่ามีจำนวนอย่างละครึ่งหนึ่งของจำนวนข้อมูลทั้งหมด หามัธยฐานได้จาก
ตำแหน่งของข้อมูลที่เป็นมัธยฐาน
สูตร ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่มัธยฐานตกอยู่
ความถี่สะสมที่ต่ำกว่าอันตรภาคชั้นที่มัธยฐานตกอยู่
ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มัธยฐานตกอยู่
ขนาดของอันตรภาคชั้นที่มัธยฐานตกอยู่

ตัวอย่างที่ 1 จากตารางแจกแจงความถี่ แสดงรายได้ต่อวันของกรรมกรเป็นดังนี้


ก. จงหามัธยฐานของรายได้ต่อวันของกรรมกร
วิธีทำ รายได้ต่อ จำนวนกรรมกร
วัน(บาท)
……..,I = …… ,L = ……., cuf=……… 60-65 3
fm = ……….. 66-71 7
72-77 15
แทนค่า 78-83 6
50 84-89 10
45 = ……………………
= …………………… 90-95 5
40
35 = ………………… บาท / วัน 96-101 4
30 N=
25
20
ข. จงหามัธยฐานโดยใช้กราฟของโค้งความถี่สะสม
15
ความถี่สะสม
10
5
0
โค้งความถี่สะสม

รายได้
59.5 65.5 71.5 77.5 83.5 89.5 95.5 101.5
วิธีทำ หาตำแหน่งมัธยฐาน ซึ่งอยู่บนแกนตั้ง แล้วลากเส้นตรงจากจุดนี้ขานกับแกนนอน
ไปตัดที่กราฟโค้งความถี่สะสม ที่จุดตัดกราฟลากเส้นตรงขนานกับแกนตั้งลงมาตัดกับแกนนอน
จุดที่ตัดกับแกนนอนคือค่ามัธยฐานซึ่งเท่ากับ 77.5

ตัวอย่างที่ 2 จากตารางแจกแจงความถี่ เป็นน้ำหนักของคน 100 คนดังนี้


ก. จงหาค่าของมัธยฐาน น้ำหนัก(กก.) จำนวนคน
วิธีทำ จากสูตร ต่ำกว่า 60 3
60-62 5
63-65 15
66-68 42
………,I = …. ,L = ……., cuf=…….. 69-71 27
fm = …….., แทนค่าในสูตรจะได้ มากกว่า 71 8

= ………………..
= ……………….กก.
ข. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ( จากตารางแจกแจงความถี่ ไม่สามารถหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้ เนื่องจาก
ไม่สามารถหาจุดกึ่งกลางชั้นของชั้นแรกและชั้นสุดท้ายได้ )
สมบัติของมัธยฐาน
ผลรวมของค่าสัมบูรณ์ของผลต่างระหว่างค่าในข้อมูลแต่ละตัวกับค่าคงตัว จะมีค่าน้อยที่สุดก็ต่อ
เมื่อ ค่าคงตัวนั้นเท่ากับมัธยฐาน นั่นคือ จะมีค่าน้อยที่สุดเมื่อ a = Med
เช่น กำหนดข้อมูล 18,22,22,23,24,24,29
จะเห็นว่า เมื่อ a = 23 ซึ่งคือค่ามัธยฐาน จะทำให้ มีค่าน้อยที่สุดคือ 15

ใบความรู้ที่ 1.1.2 (ข)


คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.1.2(ข) ให้เข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจให้สอบถามเพื่อนหรือครูผู้สอน
จากข้อมูลต่อไปนี้ 157,156,160,156,175,160 และ 156
จงหาค่ามัธยฐานของข้อมูลโดยใช้ Microsoft Excel
1. ป้ อนข้อมูลลงในแผ่นทำงานของ Excel จาก A1 ถึง A7

2. คลิกที่ A8 แล้วพิมพ์ = MEDIAN (A1:A7)

3. กด Enter ก็จะได้ค่ามัธยฐานเท่ากับ 157 ที่ A8


ใบความรู้ที่ 1.1.3 (ก)
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่1.1.3(ก)ให้เข้าใจถ้าไม่เข้าใจให้สอบถามเพื่อนหรือครูผู้สอน
1.1.3 ฐานนิยม (Mode)” ” คือข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด(มีตัวซ้ำกันมากที่สุด)หรือคือข้อมูลที่
มีแนวโน้มเกิดมโนภาพมุ่งไปสู่ความคิดแบบเดียวกัน
ฐานนิยม จะสื่อความหมายได้เมื่อใช้ข้อสรุปข้อมูลที่เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น เพศ อาชีพ
ภูมิลำเนา เบอร์หรือขนาดของเสื้อ ความคิดเห็น ความชอบ เป็นต้น
- ข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ (ungrouped data )
ข้อมูลที่มีค่าซ้ำกันมากที่สุด ข้อมูลนั้นคือฐานนิยม
ตัวอย่างที่ 1 จากข้อมูลต่อไปนี้จงหาฐานนิยม
ก. 29,31,30,31,26,31,24,29,22,25
วิธีทำ ข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุดคือ 31 มีความถี่เท่ากับ 3 ฐานนิยมคือ 31
ข. 2,5,8,9,8,7,10,8,9,10,10
วิธีทำ ข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุดคือ 8 มีความถี่ 3 และ 10 มีความถี่ 3 ฐานนิยมมีสองค่า
คือ 8 และ 10
ค. 3,4,8,10,12,7,6,5,9
วิธีทำ ข้อมูลชุดนี้ไม่มีฐานนิยมเพราะข้อมูลทุกตัวมีความถี่เท่ากันหมดคือ 1
ง. 2,5,5,4,2,3,3,2,4,5,3,4
วิธีทำ ข้อมูลชุดนี้มีความถี่มากที่สุดมีมากกว่าสองค่าเราถือว่าไม่มีฐานนิยม
- ข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว (grouped data)
สูตร อันตรภาคชั้นที่ฐานนิยมตกอยู่คืออันตรภาคที่มีความถี่มากที่สุด

L คือขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่ฐานนิยมตกอยู่
I คือขนาดของอันตรภาคชั้นที่ฐานนิยมตกอยู่
คือผลต่างระหว่างความถี่ของอันตรภาคชั้นที่ฐานนิยมตกอยู่กับความถี่ของอันตรภาคชั้นที่อยู่
ติดกันซึ่งเป็นช่วงคะแนนที่ต่ำกว่า
คือผลต่างระหว่างความถี่ของอันตรภาคชั้นที่ฐานนิยมตกอยู่กับความถี่ของอันตรภาคชั้นที่อยู่
ติดกันซึ่งป็นช่วงคะแนนที่สูงกว่า
Karl Peason ได้ค้นพบความสัมพันธ์ของ ดังนี้
ความสัมพันธ์นี้จะใช้กรณีที่โจทย์กำหนดสองค่าใดๆมาให้

T
ตัวอย่างที่ 2 ต่อไปนี้เป็นตารางแสดงน้ำหนักคิดเป็นกิโลกรัมของนักเรียนจำนวน 50 คน
จงหาฐานนิยมของน้ำหนักทั้งหมด
วิธีทำ จากสูตร น้ำหนัก(กก.) จำนวนคน
30-34 5
ชั้นที่ฐานนิยมตกอยู่คือชั้น 45-49 (มีความถี่มากที่สุดคือ 14) 35-39 7
L= 44.5 , I = 5 , 40-44 10
แทนค่าในสูตร 45-49 14
50-54 8
55-59 6

ตัวอย่างที่ 3 จากตัวอย่างที่ 2 จงหาฐานนิยมโดยใช้ฮิสโทแกรม


ความถี่

R S
15
pP
P
10 Q
T
5

0 29.5 34.5 39.5 44.5 49.5 54.5 59.5 น้ำหนัก

วิธีทำ 1. สร้างฮิสโทแกรม 2. ชั้นที่ฐานนิยมตกอยู่คือแท่งรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่สูงสุด


3. ลาก RT ตัดกับ SQ ที่จุด P 4. จากจุด P ลาก PM ขนานกับแกนตั้งตัดแกนนอนที่จุด M
ค่าที่อ่านได้บนแกนนอนที่จุด M คือฐานนิยม ซึ่งมีค่าเท่ากับ 46.5 กิโลกรัม
ใบความรู้ที่ 1.1.3 (ข)
คำชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1.1.3(ข) ให้เข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจให้สอบถามเพื่อนหรือครูผู้สอน
จากข้อมูลต่อไปนี้ 157,156,160,156,175,160 และ 156
จงหาค่าฐานนิยมของข้อมูลโดยใช้ Microsoft Excel
1. ป้ อนข้อมูลลงในแผ่นทำงานของ Excel จาก A1 ถึง A7

2. คลิกที่ A8 แล้วพิมพ์ = MODE (A1:A7)

3. กด Enter ก็จะได้ค่าฐานนิยมเท่ากับ 156 ที่ A8

You might also like