You are on page 1of 64

สถิติ

พื้นฐาน

7 Mar 2021
สารบัญ

สถิติภาคบรรยาย...................................................................................................................................................................... 1
ตารางแจกแจงความถี่ .............................................................................................................................................................. 3
การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพ .............................................................................................................................................. 8
ฮิสโทแกรม............................................................................................................................................................................. 11
แผนภาพลาต้นและใบ........................................................................................................................................................... 13
ค่ากลางข้อมูล ....................................................................................................................................................................... 14
ค่าเฉลีย่ เลขคณิต................................................................................................................................................................... 15
ค่าเฉลีย่ ถ่วงนา้ หนัก............................................................................................................................................................... 20
มัธยฐาน................................................................................................................................................................................. 22
ฐานนิยม ................................................................................................................................................................................ 26
เปรียบเทียบค่ากลางแต่ละชนิด ............................................................................................................................................ 30
การวัดตาแหน่งข้อมูล ............................................................................................................................................................ 34
การวัดการกระจายสัมบูรณ์ .................................................................................................................................................. 41
พิสยั ....................................................................................................................................................................................... 41
พิสยั ระหว่างควอไทล์ ............................................................................................................................................................ 44
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ........................................................................................................................................................ 45
สมบัติของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ....................................................................................................................................... 50
การวัดการกระจายสัมพัทธ์ ................................................................................................................................................... 52
แผนภาพกล่อง....................................................................................................................................................................... 54
สถิติ 1

สถิติภาคบรรยาย

สถิติศาสตร์ คือ วิชาเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูล และสรุปผล เพื่อตอบคาถาม หรืออธิบายสิง่ ที่สนใจ


คาศัพท์สาคัญในวิชานีไ้ ด้แก่
ประชากร = ข้อมูล “ทัง้ หมด”
ตัวอย่าง = ข้อมูล “บางส่วน”
ตัวแปร = “ลักษณะ” ที่ตอ้ งการศึกษา (เช่น เพศ อายุ นา้ หนัก ส่วนสูง คะแนนสอบ)
ข้อมูล = ความจริงอะไรก็ได้ (มักหมายถึง “ค่าของตัวแปร” ทีเ่ ก็บมา) ทีใ่ ช้สรุปเรือ่ งที่สนใจ

การเก็บข้อมูลจากประชากร จะได้ผลครบถ้วนสมบูรณ์กว่าเก็บจากตัวอย่าง แต่ก็ใช้เวลามากกว่า


ในชีวติ จริง เรามักนิยมเก็บข้อมูลจากจากตัวอย่าง โดยจะมีวิธีเลือกตัวอย่างตามหลักสถิติ เพื่อให้ตวั อย่างที่เลือก สามารถ
เป็ นตัวแทนของประชากรได้ใกล้เคียงที่สดุ

การวิเคราะห์ขอ้ มูล คือ การคานวณหรือประมวลจากข้อมูล (เช่น ค่าเฉลีย่ , มัธยฐาน, ฐานนิยม, ฯลฯ)


ค่าที่วเิ คราะห์ได้จะมีชื่อเรียก 2 ชื่อ ขึน้ กับว่านาข้อมูลระดับไหนมาวิเคราะห์
พารามิเตอร์ = ค่าที่ได้จาก “ประชากร”
ค่าสถิติ = ค่าที่ได้จาก “ตัวอย่าง”
ปกติ เราจะไม่วเิ คราะห์ประชากร แต่เราจะวิเคราะห์ตวั อย่าง เพื่อหาค่าสถิติแล้วนามาประมาณพารามิเตอร์

ประเภทของข้อมูล จะแบ่งได้หลายแบบ
แบ่งตามแหล่งที่มา
ข้อมูลปฐมภูมิ = ข้อมูลที่เก็บจากต้นกาเนิดข้อมูลโดยตรง
ข้อมูลทุติยภูมิ = ข้อมูลที่เก็บจากผลการเก็บข้อมูลของคนอื่นอีกที เช่น เก็บจากเอกสาร หรือทะเบียนทีม่ ีอยู่
แบ่งตามเวลา
ข้อมูลอนุกรมเวลา = ข้อมูลที่เกิด หรือเก็บตามลาดับเวลา ต่อเนื่องไปตลอดช่วงเวลาช่วงหนึง่
ข้อมูลตัดขวาง = ข้อมูล ณ จุดหนึง่ ของเวลา
แบ่งตามลักษณะ
ข้อมูลเชิงปริมาณ = ข้อมูลที่บอกปริมาณ เช่น อายุ ส่วนสูง นา้ หนัก
ข้อมูลเชิงคุณภาพ = ข้อมูลที่แสดงคุณสมบัติ เช่น เพศ กรุป๊ เลือด ข้อมูลประเภทนี ้ จะไม่สามารถ บวก ลบ คูณ
หาร หรือเทียบมากกว่าน้อยกว่า ได้ จึงหาไม่สามารถหาค่าเฉลีย่ หรือ มัธยฐาน ได้

สถิติศาสตร์ แบ่งตามลักษณะการวิเคราะห์ได้ดงั นี ้
สถิติเชิงพรรณนา = สถิติที่มงุ่ อธิบายลักษณะของข้อมูล เช่น การประมวลค่าต่างๆ หรือการนาเสนอข้อมูลใน
รูปแบบที่เข้าใจง่าย (เนือ้ หาส่วนที่เหลือของบทนี ้ จัดเป็ นสถิติเชิงพรรณนาทัง้ หมด)
สถิติเชิงอนุมาน = สถิติที่ใช้ทฤษฎีความน่าจะเป็ น ในการสรุปลักษณะของข้อมูลทัง้ หมด (ประชากร) จาก
กลุม่ ตัวอย่าง
2 สถิติ

แบบฝึ กหัด
1. ข้อใดถูกต้อง
1. เบอร์โทรศัพท์ เป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ

2. การเก็บข้อมูลของชุมชน จากที่วา่ การเขต จัดเป็ นการเก็บข้อมูลแบบปฐมภูมิ

3. การหาค่าเฉลีย่ ของข้อมูล เป็ นส่วนหนึง่ ของการนาเสนอข้อมูล

4. ในการสุม่ นักเรียน 50 คนจากโรงเรียนแห่งหนึง่ เพือ่ วัดส่วนสูง จะมี “ตัวแปร” คือนักเรียนที่สมุ่ มาได้

5. สถิติเชิงอนุมาน คือ สถิติที่มงุ่ อธิบายลักษณะกว้างๆของข้อมูล

6. พารามิเตอร์ คือ ค่าที่ได้จากการนากลุม่ ตัวอย่างมาคานวณ

7. ประโยชน์ของการนาเสนอข้อมูล คือ ทาให้เข้าใจข้อมูลได้ง่ายขึน้

2. ข้อต่อไปนีม้ ีผลกระทบต่อความถูกต้องของการตัดสินใจโดยใช้สถิติ ยกเว้นข้อใด [O-NET 52/34]


1. ข้อมูล 2. สารสนเทศ 3. ข่าวสาร 4. ความเชื่อ

3. ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นเท็จ [O-NET 52/25]


1. สถิติเชิงพรรณนาคือสถิติของการวิเคราะห์ขอ้ มูลขัน้ ต้นทีม่ งุ่ อธิบายลักษณะกว้างๆของข้อมูล
2. ข้อมูลที่เป็ นหมายเลขทีใ่ ช้เรียกสายรถโดยสารประจาทางเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ
3. ข้อมูลปฐมภูมิคือข้อมูลที่ผใู้ ช้เก็บรวบรวมจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
4. ข้อมูลที่นกั เรียนรวบรวมจากรายงานต่างๆที่ได้จากหน่วยงานราชการเป็ นข้อมูลปฐมภูมิ

4. ครูสอนวิทยาศาสตร์มอบหมายให้นกั เรียน 40 คน ทาโครงงานตามความสนใจ หลังจากตรวจรายงานโครงงานของ


ทุกคนแล้ว ผลสรุปเป็ นดังนี ้
ผลการประเมิน จานวนโครงงาน
ดีเยี่ยม 3
ดี 20
พอใช้ 12
ต้องแก้ไข 5

ข้อมูลที่เก็บรวบรวม เพื่อให้ได้ผลสรุปข้างต้นเป็ นข้อมูลชนิดใด [O-NET 53/27]


1. ข้อมูลปฐมภูมิ เชิงปริมาณ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ เชิงปริมาณ
3. ข้อมูลปฐมภูมิ เชิงคุณภาพ 4. ข้อมูลทุติยภูมิ เชิงคุณภาพ
สถิติ 3

ตารางแจกแจงความถี่

“ตารางแจกแจงความถี่” คือ ตารางที่บอกว่ามีขอ้ มูลแต่ละชนิด หรือแต่ละช่วง อย่างละกี่ตวั


ความถี่ (𝑓)
เป็ นค่าที่บอกว่ามีขอ้ มูลกี่ตวั ตกอยู่
ค่าของข้อมูล (𝑥)
ในแต่ละช่วง ในที่นีค้ ือจานวน
ในที่นีค้ ือคะแนนสอบ
นักเรียนในแต่ละช่วงคะแนน
ของนักเรียนแต่ละคน คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (คน)
1 - 10 3 อันตรภาคชัน้
11 - 20 12 เรียกสัน้ ๆว่า “ชัน้ ” หมายถึง
21 - 30 15
31 - 40 24 แต่ละแถวของช่วงข้อมูล
41 - 50 6 เช่น ในตารางนี ้ จะมี 5 ชัน้

สาหรับ “ข้อมูลเชิงปริมาณ” อาจมีช่อง “ความถี่สะสม” เป็ นค่าที่ได้จากการบวกสะสมความถี่ จากชัน้ ค่าน้อย ไล่สะสมไป


หาชัน้ ค่ามาก (ข้อมูลเชิงคุณภาพ จะเรียงลาดับไม่ได้ จึงไม่มีความถี่สะสม)
ความถี่สะสม (𝐹 )
คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (คน) ความถี่สะสม (𝐹 )
ได้จากการนาช่อง “ความถี่” มาบวก
1 - 10 3 3
11 - 20 12 15 สะสม โดยเริม่ สะสมตัง้ แต่ชนั้ แรก
21 - 30 15 30
31 - 40 24 54 ความถี่สะสม ชัน้ สุดท้าย จะเท่ากับ
41 - 50 6 60
จานวนข้อมูลทัง้ หมดเสมอ
60
จานวนข้อมูลทัง้ หมด (𝑁)
นอกจากนี ้ ยังมีช่องอื่นๆที่ไม่คอ่ ยจะได้ใช้อีก ดังนี ้
ความถี่ 𝑓
ความถี่สมั พัทธ์ = =
จานวนข้อมูลทัง้ หมด 𝑁
สัมพัทธ์ → ÷ 𝑁
ความถี่สะสม 𝐹
ความถี่สะสมสัมพัทธ์ = =
จานวนข้อมูลทัง้ หมด 𝑁

ร้อยละของความถี่สมั พัทธ์ = ความถี่สมั พัทธ์ × 100


ร้อยละ → × 100
ร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์ = ความถี่สะสมสัมพัทธ์ × 100

÷𝑁 × 100

จานวน ความถี่ ร้อยละของ ร้อยละของ


คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม
นักเรียน สะสม ความถี่ ความถี่สะสม
สอบ สัมพัทธ์ สัมพัทธ์
(คน) (𝐹 ) สัมพัทธ์ สัมพัทธ์
1 - 10 3 3 3/60 = 0.05 3/60 = 0.05 0.05 × 100 = 5 0.05 × 100 = 5
11- 20 12 15 12/60 = 0.20 15/60 = 0.25 0.20 × 100 = 20 0.25 × 100 = 25
21 - 30 15 30 15/60 = 0.25 30/60 = 0.50 0.25 × 100 = 25 0.50 × 100 = 50
31 - 40 24 54 24/60 = 0.40 54/60 = 0.90 0.40 × 100 = 40 0.90 × 100 = 90
41 - 50 6 60 6/60 = 0.10 60/60 = 1.00 0.10 × 100 = 10 1.00 × 100 = 100
60 1.00 100

กล่อง ความถี่สมั พัทธ์ ร้อยละของความถี่สมั พัทธ์


รวมกันได้ 1 เสมอ รวมกันได้ 100 เสมอ
4 สถิติ

ในข้อมูลเชิงปริมาณ จะมีคาศัพท์ที่ควรรู ้ เกี่ยวกับตารางแจกแจงความถี่ ดังนี ้


ค่าต่าสุดของชัน้ +ค่าสูงสุดของชัน้ ก่อนหน้า
ขอบล่าง =
2
ค่าสูงสุดของชัน้ +ค่าต่าสุดของชัน้ ถัดไป
ขอบบน =
2
ค่าสูงสุดของอันตรภาคชัน้ +ค่าต่าสุดของอันตรภาคชัน้
จุดกึง่ กลางชัน้ =
2
ขอบบน+ขอบล่าง
=
2
ความกว้างชัน้ (𝐼) = ขอบบน − ขอบล่าง
= ค่าข้อมูลตาแหน่งเดียวกัน ระหว่าง 2 ชัน้ ที่ติดกัน ลบกัน

คะแนนสอบ ขอบล่าง ขอบบน จุดกึ่งกลางชัน้ ความกว้างชัน้ (𝐼)


1 - 10 0.5 (10+11)/2 = 10.5 (1+10)/2 = 5.5 10.5 − 0.5 = 10
11 - 20 (10+11)/2 = 10.5 (20+21)/2 = 20.5 (11+20)/2 = 15.5 20.5 − 10.5 = 10
21 - 30 (20+11)/2 = 20.5 (30+31)/2 = 30.5 (21+30)/2 = 25.5 30.5 − 20.5 = 10
31 - 40 (30+31)/2 = 30.5 (40+41)/2 = 40.5 (31+40)/2 = 35.5 40.5 − 30.5 = 10
41 - 50 (40+41)/2 = 40.5 50.5 (41+50)/2 = 45.5 50.5 − 40.5 = 10

หมายเหตุ: ขอบล่างของชัน้ ต่าสุด จะคานวณจากแนวโน้มความห่างของขอบบน


ขอบบนของชัน้ สูงสุด จะคานวณจากแนวโน้มความห่างของขอบล่าง

แบบฝึ กหัด
1. จงเติมตารางแจกแจงความถี่ให้สมบูรณ์
1. 27 1 14 8 30 20 8 27 12 14
12 27 3 5 5 19 2 17 15 14

ร้อยละของ ร้อยละของ
ความถี่ ความถี่ ความถี่สะสม
ค่าข้อมูล ความถี่ ความถี่ ความถี่สะสม
สะสม สัมพัทธ์ สัมพัทธ์
สัมพัทธ์ สัมพัทธ์
1 - 10
11 - 20
21 - 30

2. 5 12 10 22 11 20 16 8 14 29
20 6 16 12 9 18 18 15 34 34

ค่าข้อมูล ความถี่ ความถี่สะสม จุดกึ่งกลางชัน้ ความกว้างชัน้ ขอบล่าง ขอบบน


1 - 10
11 - 20
21 - 30
31 - 40
สถิติ 5

3. ค่าข้อมูล ความถี่ ความถี่สะสม จุดกึ่งกลางชัน้ ความกว้างชัน้ ขอบล่าง ขอบบน


2 5.5
5 11.5
16 17.5
20 23.5

4. ค่าข้อมูล ความถี่ ความถี่สะสม จุดกึ่งกลางชัน้ ความกว้างชัน้ ขอบล่าง ขอบบน


5 2.5
12 6.5
13 4
30 4

2. ในการสารวจอายุของคนในหมูบ่ า้ นแห่งหนึง่ เป็ นดังนี ้


อายุ (ปี ) ความถี่ (คน) ความถี่สมั พัทธ์
0 10 10
11 20 25
21 30 35
31 40 𝑥
41 50 40
51 60 20 0.10
61 70 15
71 80 3
81 90 2

ค่า 𝑥 ในตารางแจกแจงความถี่สมั พัทธ์เท่ากับเท่าใด [O-NET 54/39]

3. ข้อมูลชุดหนึง่ มีบางส่วนถูกนาเสนอในตารางต่อไปนี ้
อันตรภาคชัน้ ความถี่ ความถี่สะสม ความถี่สมั พัทธ์
2- 6
7 - 11 11 0.2
12 - 16 14
17 - 21 6 0.3

ช่วงคะแนนใดเป็ นช่วงคะแนนที่มคี วามถี่สงู สุด [O-NET 53/34]


6 สถิติ

4. ตารางแสดงนา้ หนักของนักเรียนจานวน 50 คน เป็ นดังนี ้


นา้ หนัก (กิโลกรัม) จานวน (คน)
30 - 39 4
40 - 49 5
50 - 59 13
60 - 69 17
70 - 79 6
80 - 89 5

ข้อสรุปในข้อไดต่อไปนี ้ ไม่ถกู ต้อง [O-NET 49/1-27]


1. นักเรียนกลุม่ นีส้ ว่ นใหญ่มีนา้ หนัก 60 - 69 กิโลกรัม
2. นักเรียนที่มีนา้ หนักต่ากว่า 50 กิโลกรัม มี 9 คน
3. นักเรียนที่มีนา้ หนักในช่วง 50 - 59 กิโลกรัม มี 26 %
4. นักเรียนที่มีนา้ หนักมากกว่า 80 กิโลกรัม มี 10 %

5. กาหนดให้ตารางแจกแจงความถี่สะสมของคะแนนของนักเรียนห้องหนึง่ เป็ นดังนี ้


ช่วงคะแนน ความถี่สะสม
30 - 39 1
40 - 49 11
50 - 59 18
60 - 69 20

ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนี ้ ถูกต้อง [O-NET 50/37]


1. นักเรียนที่ได้คะแนน 40 - 49 คะแนน มีจานวน 27 %
2. นักเรียนส่วนใหญ่ได้คะแนน 60 - 69 คะแนน
3. นักเรียนที่ได้คะแนนมากกว่า 53 คะแนน มีจานวนน้อยกว่า
นักเรียนที่ได้คะแนน 40 - 49 คะแนน
4. นักเรียนที่ได้คะแนนน้อยกว่า 47 คะแนน มีจานวนมากกว่า
นักเรียนที่ได้คะแนนมากกว่า 50 คะแนน
สถิติ 7

6. จานวนผูว้ า่ งงานทั่วประเทศในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2551 มีจานวนทัง้ สิน้ 4.29 แสนคน ตารางเปรียบเทียบอัตรา


การว่างงานในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2550 กับปี พ.ศ. 2551 เป็ นดังนี ้
อัตราการว่างงานในเดือนกันยายน
(จานวนผูว้ า่ งงานต่อจานวนผูอ้ ยูใ่ น
พืน้ ที่สารวจ
กาลังแรงงานคูณ 100)
ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2551
ภาคใต้ 1.0 1.0
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 0.9 1.3
ภาคเหนือ 1.5 1.2
ภาคกลาง (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) 1.3 0.9
กรุงเทพมหานคร 1.2 1.2
ทั่วประเทศ 1.2 1.1

ข้อใดถูกต้องบ้าง [O-NET 53/35]


1. จานวนผูว้ า่ งงานในภาคใต้ในเดือนกันยายนของปี พ.ศ. 2550 และของปี พ.ศ. 2551 เท่ากัน
2. จานวนผูอ้ ยูใ่ นกาลังแรงงานทั่วประเทศในเดือนกันยายน ปี พ.ศ. 2551 มีประมาณ 39 ล้านคน
8 สถิติ

การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพ

หัวข้อนีจ้ ะทบทวนการนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพที่เคยเรียนมาแล้วในชัน้ ม.ต้น

แผนภูมิรูปภาพ
คือแผนภูมิที่ใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ ในการแสดงความถี่ ของข้อมูลแต่ละค่า
โดยจะต้องกาหนดว่ารูปภาพ 1 รูป แทนความถี่เท่าใด
กรุป๊ เลือด ความถี่
A
B
AB
O
แทนนักเรียน 10 คน

แผนภูมิรูปวงกลม
คือแผนภูมิที่ใช้พนื ้ ที่ที่แบ่งด้วยรัศมีวงกลม ในการแสดงสัดส่วนความถี่ของข้อมูลแต่ละค่า
ความถี่
โดยมุมที่จดุ ศูนย์กลางของข้อมูลแต่ละค่า จะคานวณได้จาก จานวนข้อมูล
× 360°

กรุป๊ เลือด ความถี่ มุมที่จดุ ศูนย์กลาง


40
A 40 × 360° = 96° B
150 A
30 30 40
B 30 × 360° = 72°
150
AB
20
AB 20 × 360° = 48° 20
150 O
O 60
60
× 360° = 144° 60
150

150

แผนภูมิแท่ง
ใช้ความสูงของแท่งในการแสดงความถี่ของข้อมูลแต่ละค่า
ถ้ามีตวั แปรเดียว เรียกว่าแผนภูมิแท่งเชิงเดี่ยว ถ้ามีหลายตัวแปร เรียกว่าแผนภูมแท่งพหุคณ

สถิติ 9

แผนภูมิแท่งส่วนประกอบ
คือแผนภูมิแท่ง ที่แสดงส่วนประกอบภายในแต่ละแท่ง
อาจแสดงส่วนประกอบในรูปความถี่ หรือแสดงเป็ นร้อยละของส่วนประกอบ

กรุป๊ ความถี่ ร้อยละของส่วนประกอบ


เลือด ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
28 12
A 28 12 40 × 100 = 70 × 100 = 30
40 40
12 18
B 12 18 30 × 100 = 40 × 100 = 60
30 30
6 14
AB 6 14 20 × 100 = 30 × 100 = 70
20 20
35 25
O 35 25 60 × 100 = 58.33 × 100 = 41.67
60 60

แผนภาพจุด
เป็ นแผนภาพที่ใช้เส้นจานวนในแนวนอน ซึง่ มีคา่ สเกลจากข้อมูลน้อยสุด ไปถึงข้อมูลมากสุด
โดยจะใช้จดุ แต่ละจุด แทนข้อมูลแต่ละตัว เขียนเรียงเหนือเส้นจานวน ตรงตาแหน่งค่าข้อมูล
แผนภาพจุด จะใช้กบั ข้อมูลเชิงปริมาณเท่านัน้ (เพราะข้อมูลเชิงคุณภาพ เรียงลาดับไม่ได้)
เช่น ข้อมูล 10 12 18 10 12
10 13 18 11 15
15 12 11 17 12

จะนามาสร้างแผนภาพจุด ได้ดงั นี ้

10 11 12 13 14 15 16 17 18

หมายเหตุ : สังเกตว่า ถึงไม่มีขอ้ มูล 14 หรือ 16 แต่ในแผนภาพก็ยงั ต้องมี 14 กับ 16 อยูบ่ นเส้นจานวน
10 สถิติ

แผนภาพการกระจาย
คือแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว ที่เป็ นข้อมูลเชิงปริมาณทัง้ คู่
โดยจะนาข้อมูลแต่ละค่ามาพล็อตลงบนแกน X-Y
เช่น
อายุ (ปี ) รายได้ (พันบาท)
25 22
27 23
28 25
30 28
32 35
35 41
36 63
40 77

ถ้าจุดในแผนภาพ เรียงตัวในแนวเฉียงขึน้ ( ) จะกล่าวว่าตัวแปรทัง้ สอง มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน


ถ้าจุดในแผนภาพ เรียงตัวในแนวเฉียงลง ( ) จะกล่าวว่าตัวแปรทัง้ สอง มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม
ถ้าจุดในแผนภาพ กระจายอย่างสะเปะสะปะ จะกล่าวว่า ตัวแปรทัง้ สอง ไม่สมั พันธ์กนั
สถิติ 11

ฮิสโทแกรม

คือแผนภูมิแท่งที่มีแกนนอนเป็ นค่าข้อมูลทีเ่ รียงจากน้อยไปมาก โดยที่แต่ละแท่งเรียงชิดติดกัน


ฮิสโทแกรมจะใช้กบั ข้อมูลเชิงปริมาณเท่านัน้ (เพราะข้อมูลเชิงคุณภาพ เรียงลาดับไม่ได้)
ถ้าสร้างฮิสโทแรมจากตารางที่มชี นั้ เป็ นช่วงแล้ว แท่งกราฟแต่ละแท่งจะวางอยูต่ รงจุดกึ่งกลางชัน้
แท่งกราฟคูท่ ี่ติดกัน จะวางชิดติดกันที่ขอบชัน้

จานวนนักเรียน (คน) แต่ละแท่ง จะแทนแต่ละอันตรภาคชัน้


ความสูงของแท่ง = ความถี่ในชัน้ นัน้ ๆ
25
คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (คน) 20
ความกว้างของแท่ง = ความกว้างชัน้
1 - 10 3 15
11 - 20 12 10
21 - 30 15 5
31 - 40 24 คะแนนสอบ
0 5.5 15.5 25.5 35.5 45.5
41 - 50 6

แต่ละแท่งชน จุดกึ่งกลางชัน้
กันที่ขอบชัน้

เราสามารถนาฮิสโทแกรม มาสร้างเป็ น “รูปหลายเหลีย่ มของความถี่” โดยลากเส้นเชื่อมตามยอดของแต่ละแท่ง


จานวนนักเรียน (คน)
25
20
15
10
5
0 5.5 15.5 25.5 35.5 45.5
คะแนนสอบ

และเราสามารถนารูปหลายเหลีย่ มของความถี่ มาปรับให้เป็ นเส้นโค้ง ที่เรียกว่า “เส้นโค้งของความถี่” ได้ ดังนี ้

คะแนนสอบ
0 5.5 15.5 25.5 35.5 45.5

ในโค้งความถี่ มักจะไม่นิยมแสดง แกนจานวนนักเรียน


โดยในโค้งความถี่ เราจะใช้ “พืน้ ที่ใต้โค้ง” ในการบอกจานวนข้อมูล
เช่น จานวนนักเรียนที่ได้คะแนน 11 - 20 จะเป็ นสัดส่วนกับพืน้ ทีใ่ ต้โค้ง จาก 11 ถึง 20
11 20
12 สถิติ

และเราสามารถใช้คาว่า “เบ้” มาบอกลักษณะการเอียงของโค้งความถี่ได้อกี ด้วย

เบ้ซา้ ย เบ้ขวา สมมาตร

นอกจากนี ้ เรายังสามารถเอา “ความถี่สะสม” มาสร้างฮิสโทแกรมได้ ดังนี ้

ความถี่สะสม (𝐹 )
คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (คน) ความถี่สะสม
60
1 - 10 3 3 50
11 - 20 12 15 40
21 - 30 15 30 30
31 - 40 24 54 20
10
41 - 50 6 60 คะแนนสอบ
0 5.5 15.5 25.5 35.5 45.5

จะเห็นว่าฮิสโทแกรมทีส่ ร้างจากความถี่สะสม จะมีแท่งกราฟสูงขึน้ เรือ่ ยๆ (เพราะความถี่สะสมมีแต่บวกเพิ่มไปเรือ่ ยๆ)


และแท่งสุดท้ายจะสูงเท่ากับจานวนข้อมูล (𝑁)
เวลาทาข้อสอบต้องระวังให้ดี ว่าฮิสโทแกรมที่โจทย์กาหนดให้ สร้างจากความถี่ธรรมดา หรือความถี่สะสม

แบบฝึ กหัด
1. จงเติมตารางแจกแจงความถี่ให้สอดคล้องกับแผนภาพต่อไปนี ้
1. ค่าข้อมูล ความถี่
ความถี่

20
15
10
5
0
ค่าข้อมูล
6.5 12.5 18.5 24.5

2. จานวนคนสะสม
นา้ หนัก จานวนคน
25
20
15
10
5
0
นา้ หนัก
4 9 14 19
สถิติ 13

แผนภาพลาต้นและใบ

แผนภาพลาต้นและใบ (หรือแผนภาพต้นใบ) เป็ นวิธีนาเสนอข้อมูลอีกแบบหนึง่ ที่สะดวกในการดูแนวโน้มของค่าข้อมูล


โดยเราจะนา “หลักหน่วย” ของข้อมูลมาเขียนเป็ น “ใบ” และนา หลักสิบ, ร้อย, พัน, ... มาเขียนเป็ น “ลาต้น”
เช่น ข้อมูล 15 24 8 10 32
10 23 18 31 25
9 22 21 37 22

จะนามาสร้างแผนภาพต้น - ใบ ได้ดงั นี ้
0 8 9 ในแต่ละแถว จะ
1 5 0 0 8 เรียงลาดับข้อมูล
2 4 3 5 1 2 2
3 2 1 7 ยังไงก็ได้

หลักสิบ หลักหน่วย

และในกรณีที่มีขอ้ มูล 2 กลุม่ เราสามารถนาข้อมูลทัง้ 2 กลุม่ มาเขียนลงใน “ลาต้นเดียวกัน” ได้


เช่น ถ้ามีคะแนนสอบของนักเรียน 2 ห้อง
คะแนนสอบห้อง 5/1 คะแนนสอบห้อง 5/2
98 102 121 130 121 110 91 115
105 111 115 123 116 124 114 120
119 124 120 133 138 124 99 102

จะนามาเขียนแผนภาพต้น - ใบ โดยใช้ลาต้นเดียวกันได้ ดังนี ้


ห้อง 5/1 ห้อง 5/2
8 9 1 9
5 2 10 2
9 5 1 11 0 5 6 4
0 4 3 1 12 1 4 0 4
3 0 13 8

แบบฝึ กหัด
1. จงเขียนตารางแจกแจงความถี่ จากแผนภาพลาต้นและใบต่อไปนี ้ ค่าข้อมูล ความถี่
80 - 88
8 6 2 0 3
9 8 3 1 2 7 89 - 97
10 4 9 3
11 2 3 98 - 106
107 - 115

2. ในกรณีที่มีขอ้ มูลจานวนมาก การนาเสนอข้อมูลในรูปแบบใดต่อไปนีท้ าให้เห็นการกระจายของข้อมูลได้ชดั เจนน้อย


ที่สดุ [O-NET 52/32]
1. ตารางแจกแจงความถี่ 2. แผนภาพต้นใบ
3. ฮิสโทแกรม 4. การแสดงค่าสังเกตทุกค่า
14 สถิติ

ค่ากลางข้อมูล

เวลาเรามีขอ้ มูลหลายๆตัว (เช่น นา้ หนักของเด็ก 30 คน) เรามักจะสนใจว่า “ตรงกลาง” ของข้อมูลชุดนัน้ มีคา่ เท่าไหร่
และเรามักใช้คา่ “ตรงกลาง” นี ้ เป็ นตัวแทนของข้อมูลทัง้ กลุม่ เพือ่ นาไปวิเคราะห์ หรือ เปรียบเทียบกับข้อมูลชุดอื่น ต่อไป

“ค่ากลางข้อมูล” แปลตรงๆตัวว่า ค่าที่อยูต่ รงกลางของกลุม่ ข้อมูล


ค่ากลางข้อมูล มีอยูห่ ลายชนิด ขึน้ กับว่าเราจะวัดความกลางยังไง
ซึง่ ในบทนี ้ เราจะได้เรียนค่ากลาง 3 ชนิด ได้แก่
“ค่าเฉลีย่ เลขคณิต” คือ ค่าที่อยูต่ รงกลาง โดยใช้ “ค่าของข้อมูล” เป็ นตัววัด
“มัธยฐาน” คือ ค่าที่อยูต่ รงกลาง โดยใช้ “ตาแหน่งของข้อมูล” เป็ นตัววัด
“ฐานนิยม” คือ ค่าที่ “ซา้ บ่อยที่สดุ ” ในกลุม่ ข้อมูล

ค่ากลางข้อมูลแต่ละชนิด มีขอ้ ดีขอ้ เสียต่างกัน ขึน้ กับว่าจะเอาไปใช้ทาอะไร


ข้อมูลบางประเภท ก็ไม่สามารถหาค่ากลางบางชนิดได้
การเลือกค่ากลาง จึงต้องคานึงถึง ลักษณะข้อมูล และการนาไปใช้
สถิติ 15

ค่าเฉลีย่ เลขคณิต

ค่าเฉลีย่ เลขคณิต (Arithmetric Mean: A.M.) ได้จากการเอาข้อมูลทุกตัวมาบวกกัน แล้วหารด้วยจานวนตัว


เช่น ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูล 2 , 4 , 9 , 18 คือ 2+4+9+18 4
33
= 4 = 8.25
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูล 16 , 30 คือ 16+30 2
46
= 2 = 23 เป็ นต้น
หมายเหตุ : เนื่องจากค่าเฉลีย่ เลขคณิต จะเป็ นค่าเฉลีย่ ทีใ่ ช้บอ่ ยกว่าค่าเฉลีย่ แบบอื่นๆ
ดังนัน้ ถ้าได้ยินคาว่า “ค่าเฉลีย่ ” (Mean) เฉยๆ ก็ให้หมายถึง ค่าเฉลีย่ เลขคณิตโดยอัตโนมัติ

ในเรือ่ งสถิตินี ้ อีกเดี๋ยวจะมีสตู รมากมาย โผล่ออกมาให้เราทาความเข้าใจ และ ท่อง (ถ้าไม่เข้าใจ)


ดังนัน้ เราควรทาความคุน้ เคยกับสัญลักษณ์ที่นิยมใช้ในเรือ่ งนีก้ นั ก่อน
ในเรือ่ งสถิติ เรานิยมใช้ 𝑛 แทน “จานวนข้อมูล” และใช้ 𝑥 แทน “ค่าของข้อมูล”
โดยเรานิยมให้ 𝑥1 แทนค่าของข้อมูลตัวที่ 1
𝑥2 แทนค่าของข้อมูลตัวที่ 2

𝑥𝑛แทนค่าของข้อมูลตัวที่ 𝑛
เช่น ถ้าข้อมูลชุดหนึง่ ประกอบด้วย 2 , 6 , 9 , 18
จะได้วา่ 𝑛 = 4 และ 𝑥1 = 2 , 𝑥2 = 6 , 𝑥3 = 9 , 𝑥4 = 18

เราจะใช้สญ ั ลักษณ์ 𝑥̅ แทนค่าเฉลีย่ เลขคณิต


𝑥 +𝑥 + … +𝑥𝑛
ดังนัน้ เราจะเขียนสูตรได้เป็ น 𝑥̅ = 1 2 𝑛
อย่างไรก็ตาม เรานิยมใช้สญ ั ลักษณ์ ∑ มาช่วยเขียนสูตรให้กระชับขึน้ ได้
𝑛
โดยสัญลักษณ์ ∑ 𝑥𝑖 = ผลบวกของ 𝑥𝑖 ทัง้ หลาย โดยเริม่ ตัง้ แต่ 𝑖=1 จนถึง 𝑖=𝑛
𝑖=1
= 𝑥1 + 𝑥2 + 𝑥3 + … + 𝑥𝑛 นั่นเอง
𝑛
∑ 𝑥𝑖
ดังนัน้ สูตรค่าเฉลีย่ เลขคณิต จะนิยมเขียนเป็ น 𝑥̅ = 𝑖=1𝑛 หรือเขียนแบบย่อๆได้วา่ 𝑥̅ = ∑𝑛𝑥𝑖
สูตรนี ้ เป็ นความสัมพันธ์ของปริมาณ 3 อย่าง คือ “ค่าเฉลีย่ ” “ผลรวมข้อมูล” และ “จานวนข้อมูล”
ถ้าโจทย์บอก 2 อย่างใดๆมา เราต้องสามารถหาตัวที่เหลือได้ทนั ที ดังนี ้
***
∑ 𝑥𝑖 ∑ 𝑥𝑖
𝑥̅ = 𝑛 = ∑ 𝑥𝑖 = 𝑛 ∙ 𝑥̅
𝑛 𝑥̅

ตัวอย่าง นักเรียนห้องหนึง่ มี 40 คน มีคา่ เฉลีย่ ของคะแนนสอบเท่ากับ 7.8 คะแนน ต่อมาพบว่าตรวจคะแนนผิด โดย


จะต้องเพิ่มคะแนนให้นกั เรียนคนหนึง่ 5 คะแนน และลดคะแนนของนักเรียนอีกคนหนึง่ 1 คะแนน จงหาค่าเฉลีย่
หลังจากทีแ่ ก้ไขคะแนนแล้ว
วิธีทา ตอนแรก 𝑥̅ = 7.8 , 𝑛 = 40 ดังนัน้ ผลรวมคะแนน = 7.8 × 40 = 312
แต่ที่ถกู ต้องมีคะแนนค่าหนึง่ เพิม่ ขึน้ 5 และอีกค่าหนึง่ ลดลง 1
ดังนัน้ ผลรวมคะแนนทีถ่ กู ต้อง คือ 312 + 5 − 1 = 316
316
ดังนัน้ 𝑥̅ หลังแก้คะแนน = 40 = 7.9 คะแนน #
16 สถิติ

หมายเหตุ: หากคานวณค่าเฉลีย่ เลขคณิตจาก “ประชากร” เรานิยมใช้สญั ลักษณ์ 𝜇 แทน 𝑥̅


และนิยมใช้สญ ั ลักษณ์ 𝑁 แทน 𝑛

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูล 5 , 8 , 12 , 12 , 16

2. นักเรียน 8 คน มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบคือ 7.5


ถ้าคะแนนของนักเรียน 7 คนแรก คือ 5 , 8 , 7.5 , 8 , 6 , 7, 9 แล้ว จงหาคะแนนของอีกหนึง่ คนที่เหลือ

3. นักเรียนห้องหนึง่ มี 20 คน มีคะแนนเฉลีย่ คือ 8 แต่ตอ่ มาพบว่าค่าเฉลีย่ นี ้ ไม่ถกู ต้อง เนื่องจากอ่านคะแนนของ


นักเรียนคนหนึง่ ผิดไป จากคะแนนที่ถกู คือ 6 คะแนน อ่านผิดเป็ น 8 คะแนน จงหาคะแนนเฉลีย่ ที่ถกู ต้อง

4. นักเรียนห้องหนึง่ มี 20 คน เป็ นผูห้ ญิง 12 คน ถ้าคะแนนเฉลีย่ ของนักเรียนหญิง คือ 8 คะแนน และคะแนนเฉลีย่


ของนักเรียนชาย คือ 6 คะแนน จงหาคะแนนเฉลีย่ ของนักเรียนทัง้ ห้อง
สถิติ 17

5. นักเรียนห้องหนึง่ มีนา้ หนักเฉลีย่ 50 กก. ถ้านา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียนหญิงคือ 45 กก. และนา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียน
ชายคือ 60 กก. จงหาอัตราส่วนของจานวนนักเรียนหญิง ต่อ จานวนนักเรียนชาย

6. นักเรียนห้องหนึง่ มีอตั ราส่วนนักเรียนชาย ต่อ นักเรียนหญิง คือ 2 : 3 ถ้านา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียนชายคือ 65 กก.
และนา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียนหญิงคือ 50 กก. จงหานา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียนทัง้ ห้อง

7. สัตว์กลุม่ หนึง่ มี 30 ตัว ประกอบด้วย วัว 8 ตัว ช้าง 12 ตัว และ ม้า 10 ตัว พบว่าอายุเฉลีย่ ของสัตว์กลุม่ นี ้ คือ 20
ปี และ อายุเฉลีย่ ของวัว เท่ากับ 10 ปี ถ้าอายุรวมของช้าง คือ 300 ปี จงหาอายุเฉลีย่ ของม้า

8. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของนา้ หนักของพนักงานของบริษัทหนึง่ เท่ากับ 48.01 กิโลกรัม บริษัทนีม้ ีพนักงานชาย 43 คน


และพนักงานหญิง 57 คน ถ้าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของนา้ หนักพนักงานหญิงเท่ากับ 45 กิโลกรัม แล้ว นา้ หนักของ
พนักงานชายทัง้ หมดรวมกันเท่ากับกี่กิโลกรัม [O-NET 53/28]
18 สถิติ

9. อายุเฉลีย่ ของคนกลุม่ หนึง่ เท่ากับ 31 ปี ถ้าอายุเฉลีย่ ของผูห้ ญิงในกลุม่ นีเ้ ท่ากับ 35 ปี และอายุเฉลีย่ ของผูช้ ายกลุม่ นี ้
เท่ากับ 25 ปี แล้ว อัตราส่วนระหว่างจานวนผูห้ ญิงต่อจานวนผูช้ ายในกลุม่ เท่ากับ เท่าใด [O-NET 50/17]

10. ในการสารวจนา้ หนักตัวของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 ของโรงเรียนแห่งหนึง่ ซึง่ มี 3 ห้อง มีจานวนนักเรียน 44,
46 และ 42 คน ตามลาดับ ปรากฏว่ามีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 50 กิโลกรัม แต่พบว่าเครือ่ งชั่งทีใ่ ช้สาหรับนักเรียน
ห้องแรกมีความคลาดเคลือ่ นทาให้ช่งั นา้ หนักได้ตวั เลขสูงเกินจริงคนละ 1 กิโลกรัม ดังนัน้ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตที่ถกู ต้อง
ของนา้ หนักตัวของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 นีเ้ ท่ากับกี่กิโลกรัม [O-NET 56/32]

11. ในการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยโลกครัง้ ที่ 24 ซึง่ ประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพ มีการส่งรายชื่อนักกีฬาจากประเทศไทย


379 คน มีอายุเฉลีย่ 22 ปี ถ้ามีการถอนตัวนักกีฬาไทยออก 4 คน ซึง่ มีอายุ 24, 25, 25 และ 27 ปี และมีการเพิ่ม
นักกีฬาไทยอีก 5 คน ซึง่ มีอายุเฉลีย่ 17 ปี แล้ว อายุเฉลีย่ ของนักกีฬาจากประเทศไทยจะเท่ากับกี่ปี
[O-NET 51/38]
สถิติ 19

12. ชายคนหนึง่ ตักปลาที่เลีย้ งไว้ในกระชังเพื่อส่งขายจานวน 500 ตัว ซึง่ มีนา้ หนักโดยเฉลีย่ ตัวละ 700 กรัม ในจานวนนี ้
เป็ นปลาจากกระชังที่หนึง่ 300 ตัว และจากกระชังที่สอง 200 ตัว ถ้าปลาในกระชังที่หนึง่ มีนา้ หนักเฉลีย่ ต่อตัว
มากกว่าในกระชังที่สอง 50 กรัม แล้วเขาตักปลาจากกระชังที่สองมากี่กิโลกรัม [O-NET 54/38]

13. ถ้าในปี พ.ศ. 2547 ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของอายุพนักงานของบริษัทแห่งหนึง่ เท่ากับ 23 ปี ในปี ตอ่ มา บริษัทได้รบั
พนักงานเพิ่มขึน้ อีก 20 คน ทาให้คา่ เฉลีย่ เลขคณิตของอายุพนักงานในปี พ.ศ. 2548 เท่ากับ 25 ปี และผลรวมของ
อายุของพนักงานเพิม่ ขึน้ จากปี พ.ศ. 2547 อีก 652 ปี เมื่อสิน้ ปี พ.ศ. 2548 บริษัทแห่งนีม้ ีพนักงานทัง้ หมดกี่คน
[O-NET 49/1-29]
20 สถิติ

ค่าเฉลีย่ ถ่วงนา้ หนัก

ในการหาค่าเฉลีย่ เราสามารถ “ถ่วงนา้ หนัก” ให้กบั ข้อมูลที่นามาหาค่าเฉลีย่ ได้ดว้ ย


ในกรณีที่ขอ้ มูลแต่ละตัว มีความสาคัญไม่เท่ากัน เราสามารถกาหนดนา้ หนัก (𝑤) ให้กบั ข้อมูลแต่ละตัว
ซึง่ จะส่งผลให้คา่ เฉลีย่ เอียงไปตามข้อมูลที่สาคัญ มากกว่า ข้อมูลที่ไม่สาคัญ
เช่น ในการคิดเกรดเฉลีย่ เรามักให้นา้ หนักเกรดบางวิชา มากกว่า อีกวิชา

สูตรของค่าเฉลีย่ ถ่วงนา้ หนัก จะหาได้จากสูตร


เอาข้อมูลมาคูณกับนา้ หนักของ
∑ 𝑤𝑖 𝑥𝑖 มันก่อน ค่อยเอามาบวกกัน
ค่าเฉลีย่ ถ่วงนา้ หนัก =
∑ 𝑤𝑖
หารด้วยผลบวกของนา้ หนักทัง้ หมด

ตัวอย่าง จากตารางต่อไปนี ้ จงหาเกรดเฉลีย่ แบบไม่ถว่ งนา้ หนัก และเกรดเฉลีย่ แบบถ่วงนา้ หนักด้วยหน่วยกิต


คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาฝรั่งเศส สุขศึกษา
หน่วยกิต 2.5 2 2 1 0.5
เกรด 4 3 3 1 2

4+3+3+1+2 13
วิธีทา เกรดเฉลีย่ แบบไม่ถ่วงนา้ หนัก =
5
=
5
= 2.6
(4×2.5)+(3×2)+(3×2)+(1×1)+(2×0.5) 24
เกรดเฉลีย่ แบบถ่วงนา้ หนักด้วยหน่วยกิต =
2.5+2+2+1+0.5
=
8
= 3

จะเห็นว่าเกรดเฉลีย่ แบบถ่วงนา้ หนัก จะเอียงไปทางวิชาที่หน่วยกิตมาก (คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, ภาษาไทย)


มากกว่าวิชาที่หน่วยกิตน้อย (ภาษาฝรั่งเศส, สุขศึกษา)
(หมายเหตุ: ปกติเวลาโรงเรียนคิดเกรดเฉลีย่ จะคิดด้วยวิธีถ่วงนา้ หนักด้วยหน่วยกิตเสมอ) #

ตัวอย่าง นักเรียนห้องหนึง่ มี 30 คน เป็ นชาย 12 คน และเป็ นหญิง 18 คน ถ้านา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียนชายคือ 60 กก.
และนา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียนหญิงคือ 50 กก. แล้ว จงหานา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียนทัง้ ห้อง
นา้ หนักเฉลี่ยชาย + นา้ หนักเฉลี่ยหญิง
วิธีทา ข้อนีค้ ิดได้หลายวิธี ที่ตอ้ งระวังคือ คาตอบจะไม่เท่ากับ 2
เพราะนักเรียนหญิง มีจานวนมากกว่า ดังนัน้ นา้ หนักเฉลีย่ ของทัง้ ห้อง ควรจะเอนไปทางนักเรียนหญิงมากกว่า
นั่นคือ คาตอบ จะเท่ากับ ค่าเฉลีย่ ที่ถ่วงนา้ หนัก ด้วย “จานวนนักเรียน ชาย / หญิง”
(60×12)+(50×18)
ดังนัน้ นา้ หนักเฉลีย่ ของทัง้ ห้อง =
12+18
720+900
=
30
1620
=
30
= 54 ก.ก. #
สถิติ 21

แบบฝึ กหัด
1. จงหาเกรดเฉลีย่
วิชา คณิตศาสตร์ ภาษาไทย คอมพิวเตอร์ พละ
หน่วยกิต 2.5 2 1 0.5
เกรด 2 3.5 4 4

2. ถ้าเกรดเฉลีย่ เท่ากับ 3.0 จงหาหน่วยกิตของวิชา ภาษาจีน


วิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาละติน
หน่วยกิต 2 2 ? 1
เกรด 2 3.5 4 3

3. ผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนายคณิต ในชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 เป็ นดังนี ้


รหัสวิชา ค41101 ค42101 ค41102 ค41202
จานวนหน่วยกิต 1 1.5 1 1.5
เกรด 2.5 3 3.5 2
เกรดเฉลีย่ ของวิชาคณิตศาสตร์ของนายคณิต ในชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/16]

4. บริษัทหนึง่ มียอดขายในแต่ละไตรมาสของปี 2557 เป็ นตามลาดับดังนี ้


17 21 19 23 (หน่วย : ล้านบาท)
การพยากรณ์ยอดขายในไตรมาสถัดไปจะใช้คา่ เฉลีย่ เลขคณิตถ่วงนา้ หนัก ถ้าบริษัทถ่วงนา้ หนักข้อมูลด้วย
1, 1, 1 และ 3 ตามลาดับ แล้ว ค่าเฉลีย่ เลขคณิตถ่วงนา้ หนักของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับกี่ลา้ นบาท [O-NET 59/27]
22 สถิติ

มัธยฐาน

ค่ากลางตัวถัดมาทีต่ อ้ งเรียน คือ “มัธยฐาน” (Median) หรือเรียกสัน้ ๆว่า Med


มัธยฐาน เป็ นค่ามี “ตาแหน่ง” อยูต่ รงกลาง เมื่อเรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมาก (หรือมากไปน้อยก็ได้)
หรือพูดง่ายๆก็คือ Med จะเป็ นจุดที่แบ่งจานวนข้อมูลออกเป็ น 2 ส่วน เท่าๆกัน

การหา Med ประกอบด้วย 2 ขัน้ ตอน


ขัน้ แรก ต้องหาก่อนว่า “ตาแหน่งตรงกลาง” คือตาแหน่งที่เท่าไหร่
เช่น ถ้ามีขอ้ มูล 3 ตัว ตาแหน่งตรงกลางคือตัวที่ 2
ถ้ามีขอ้ มูล 4 ตัว ตาแหน่งตรงกลางคือตัวที่ 2.5 (คืออยูร่ ะหว่างตัวที่ 2 กับตัวที่ 3)
ถ้ามีขอ้ มูล 5 ตัว ตาแหน่งตรงกลางคือตัวที่ 3

จะได้สตู ร คือ ตาแหน่งมัธยฐาน =


𝑛+1
2

ขัน้ ถัดมา เอาตาแหน่งที่ได้ไปหาค่า


โดยต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก (หรือมากไปน้อยก็ได้) แล้วจิม้ นิว้ ไล่นบั จนกว่าจะถึงตาแหน่งที่ตอ้ งการ
ถ้าตาแหน่งทีค่ านวณได้ ไปตกอยูต่ รงกลางระหว่างข้อมูลสองค่า ให้เอาสองค่านัน้ บวกกัน หารด้วยสอง

ตัวอย่าง จงหาค่ามัธยฐานของข้อมูลชุดหนึง่ ซึง่ ประกอบด้วย 5 , 15 , 12 , 21 , 13 , 9 , 18


วิธีทา มีขอ้ มูล 7 ตัว ดังนัน้ มัธฐานจะอยูต่ าแหน่งที่ 7+1
2
= 4
เรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก จะได้ 5 , 9 , 12 , 13 , 15 , 19 , 21 จะเห็นว่าตัวที่ 4 มีคา่ = 13
(จริงๆไม่ตอ้ งเรียงข้อมูลจนหมดทุกตัวก็ได้ แค่เรียงให้ถึงตาแหน่งที่ 4 ก็พอ)
ดังนัน้ จะได้ Med = 13 #

ตัวอย่าง จงหาค่ามัธยฐานของข้อมูลชุดหนึง่ ซึง่ ประกอบด้วย 12 , 18 , 22 , 25


วิธีทา มีขอ้ มูล 4 ตัว ดังนัน้ มัธฐานจะอยูต่ วั ที่ 4+1
2
= 2.5
จะเห็นว่าข้อนีใ้ จดี เรียงข้อมูลมาให้แล้ว และตาแหน่งที่ 2.5 จะอยูต่ รงกลางระหว่างตัวที่ 2 กับตัวที่ 3
ถ้าเป็ นแบบนี ้ ให้เอาตัวที่ 2 กับตัวที่ 3 บวกกัน หารด้วย 2 จะได้ Med = 18+22
2
= 20 #

ในกรณีที่ขอ้ มูลมาในรูปตารางแจกแจงความถี่ เราจะหา “ตาแหน่ง” ของข้อมูลยากขึน้ นิดหน่อย


สิง่ ที่ตอ้ งราลึกอยูเ่ สมอ คือ ตาแหน่งของข้อมูล จะมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับ “ความถี่”
คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (𝑓) ตัวที่ 1,2
14 2 ตัวที่ 3,4,5
15 3
16 5 ตัวที่ 6 , 7 , 8 , 9 , 10
17 3 ตัวที่ 11 , 12 , 13

จะเห็นว่า “ตาแหน่ง” ของข้อมูล จะได้จากการนา “ความถี่” มาบวกสะสมไปเรือ่ ยๆ


สถิติ 23

บางคนจะนิยมสร้างช่อง “ความถี่สะสม” เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการระบุตาแหน่งข้อมูล

คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (𝑓) ความถี่สะสม (𝐹 ) ตัวที่ 1,2


14 2 2 ตัวที่ 3,4,5
15 3 5
16 5 10 ตัวที่ 6 , 7 , 8 , 9 , 10
17 3 13 ตัวที่ 11 , 12 , 13

ความถี่สะสม จะบอกว่า “ตัวสุดท้ายของชัน้ ” คือตัวที่เท่าไหร่


ดังนัน้ ถ้าอยากหา “ตัวที่ 𝑘” ก็แค่ดวู า่ ความถี่สะสม “เลย 𝑘” ไปในชัน้ ไหน
เช่น ข้อมูลตัวที่ 4 จะอยูใ่ นชัน้ ที่ 2 เพราะ ความถี่สะสม เลย 4 ในชัน้ ที่ 2 (𝐹 = 5)
ข้อมูลตัวที่ 8 จะอยูใ่ นชัน้ ที่ 3 เพราะ ความถี่สะสม เลย 8 ในชัน้ ที่ 3 (𝐹 = 10)
ข้อมูลตัวที่ 10 จะอยูใ่ นชัน้ ที่ 3 และเป็ นตัวสุดท้ายของชัน้ ที่ 3
ข้อมูลตัวที่ 11 จะอยูใ่ นชัน้ ที่ 4 เพราะ ความถี่สะสม เลย 11 ในชัน้ ที่ 4 (𝐹 = 13) เป็ นต้น

ตัวอย่าง จงหามัธยฐานของข้อมูลต่อไปนี ้
นา้ หนัก จานวนนักเรียน (𝑓)
50 6
51 13
52 11
53 5

วิธีทา อันดับแรก สร้างช่อง “ความถี่สะสม” ก่อน เพื่อความสะดวกในการอ้างตาแหน่ง

นา้ หนัก จานวนนักเรียน (𝑓) ความถี่สะสม (𝐹 )


50 6 6
51 13 19
52 11 30
53 5 35

จะเห็นว่ามีขอ้ มูลทัง้ หมด 35 ตัว ดังนัน้ Med จะอยูต่ าแหน่งที่ 35+1 2


= 18
ยา้ อีกที ว่า 18 ไม่ใช่ “ค่า” มัธยฐาน แต่เป็ น “ตาแหน่ง” มัธยฐาน
ถัดมา หาว่า ตัวที่ 18 มีคา่ เท่าไหร่ เราต้องหาก่อน ว่า ตัวที่ 18 อยูใ่ นชัน้ ไหน
จะเห็นว่าความถี่สะสม เลย 18 ในชัน้ ที่ 2 (𝐹 = 19) ดังนัน้ ตัวที่ 18 อยูใ่ นชัน้ ที่ 2
ดังนัน้ จะได้ Med = 51 #

หมายเหตุ: นักเรียนจานวนมาก มักสับสนระหว่าง “ตาแหน่ง” กับ “ค่า”


สูตร 𝑛+1
2
เป็ นสูตรที่ใช้หา “ตาแหน่ง” มัธยฐาน เท่านัน้ ไม่ใช่ “ค่า” มัธยฐาน
เรายังต้องเอาตาแหน่งดังกล่าว ไปหา “ค่า” ต่ออีก
24 สถิติ

ตัวอย่าง จงหามัธยฐานของข้อมูลต่อไปนี ้

คะแนนสอบ ความถี่สะสม
6 5
10 12
12 20
15 32
18 40

วิธีทา ข้อนี ้ โจทย์ตงั้ ใจหลอก โดยให้ “ความถี่สะสม” มา แทนที่จะเป็ น “ความถี่” เฉยๆ เหมือนปกติ
ถ้าไม่สงั เกตดีๆ เราอาจคิดว่าโจทย์ให้ “ความถี่” มา แล้วดันไปสร้างช่อง “ความถี่สะสม” เพิ่ม จะได้คาตอบที่ผิด
จะเห็นว่าข้อนีม้ ขี อ้ มูลทัง้ หมด 40 ตัว ดังนัน้ Med จะอยูต่ าแหน่งที่ 40+1 2
= 20.5
ยา้ อีกที ว่า 20.5 ไม่ใช่ “ค่า” มัธยฐาน แต่เป็ น “ตาแหน่ง” มัธยฐาน
ตัวที่ 20.5 จะอยูต่ รงกลาง ระหว่างตัวที่ 20 กับ ตัวที่ 21 → ต้องเอาตัวที่ 20 กับ 21 มาบวกกัน แล้ว ÷2
ตัวที่ 20 → เป็ นตัวสุดท้ายของชัน้ ที่ 3 พอดี ดังนัน้ ตัวที่ 20 มีคา่ = 12
ตัวที่ 21 → ความถี่สะสม เลย 21 ในชัน้ ที่ 4 (𝐹 = 32) ดังนัน้ ตัวที่ 21 อยูใ่ นชัน้ ที่ 4 มีคา่ = 15
ดังนัน้ จะได้ Med = 12+15 2
= 13.5 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหามัธยฐานของข้อมูลต่อไปนี ้
1. 2 , 5 , 8 , 13 , 14 , 14 , 18 , 20 2. 5 , 2 , 8 , 10 , 7 , 11 , 9

3. 0 5 8 4. คะแนน ความถี่
1 0 2 2 7 2
2 5 6 7 7 8 8
3 1 9 12
10 6
สถิติ 25

5. จานวนนักเรียน 6. คะแนน ความถี่สะสม


21 2
5 22 8
4 23 12
3 24 15
2 25 16
1
เกรดวิชาเลข
0 1 2 3 4

7. 2 , 4 , 6 , … , 30 8. 5 , 7 , 9 , 11 , … , 101

0 7 8 9
2. จากแผนภาพต้น – ใบของข้อมูลชุดหนึง่ เป็ นดังนี ้ 1 0 1 5 7
2 1 2 2
3 0 2

จงหาค่าเฉลีย่ เลขคณิต และ มัธยฐาน ของข้อมูลชุดนี ้ [O-NET 57/30]

3. จากการสอบถามเยาวชนจานวน 12 คน ว่าเคยฟังพระธรรมเทศนามาแล้วจานวนกี่ครัง้ ปรากฏผลดังแสดงใน


แผนภาพต่อไปนี ้ [O-NET 52/33]
จานวนเยาวชน
5
4
3
2
1
จานวนครัง้ ที่เคยฟังพระธรรมเทศนา
0 1 2 3 4 5 6
มัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับกี่ครัง้

4. กาหนดให้ขอ้ มูลชุดหนึง่ คือ 10, 3, 𝑥, 6, 6 ถ้าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนี ้ มีคา่ เท่ากับมัธยฐาน แล้ว 𝑥 มีคา่
เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/20]
26 สถิติ

ฐานนิยม

ค่ากลางตัวสุดท้ายที่ตอ้ งเรียน คือ “ฐานนิยม”


ฐานนิยม (Mode) คือ ค่าที่ขอ้ มูลส่วนใหญ่นิยมเป็ น
เราสามารถหาฐานนิยมโดยหาข้อมูลที่ “ซา้ มากสุด”
ข้อมูลบางชุด อาจมีฐานนิยมหลายตัวได้ ถ้ามีขอ้ มูลที่ซา้ มากสุดเท่ากันหลายตัว
ข้อมูลบางชุด อาจไม่มีฐานนิยมได้ ถ้าข้อมูลไม่ซา้ กันเลย
ในที่นี ้ จะพิจารณาเฉพาะข้อมูลทีม่ ีฐานนิยมเพียง 1 ตัวเท่านัน้

เช่น 5, 6, 6, 7, 8, 8, 8, 6 , 7 , 7 , 11 , 12 , 15 , 6 , 6 , 10 , 11 , 12 , 12 ,
10 , 10 , 11 , 12 , 12 17 , 20 , 20 , 24 , 28 13 , 15 , 15 , 16 , 18
→ Mode = 8 → มี Mode หลายตัว → ไม่มี Mode

คะแนนสอบ จานวนนักเรียน (𝑓) อายุ จานวนนักเรียน (𝑓)


11 6 14 25
12 12 15 53
13 15 16 31
14 18 17 53
15 2
→ Mode = 14
→ มี Mode หลายตัว

แบบฝึ กหัด
1. จงหาฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี ้
1. 3 , 4 , 8 , 12 , 19 , 13 , 16 , 12 2. 0 2
1 1 2 3 1
2 4 9 9 4
3 4

3. จานวนพนักงาน 4. คะแนน ความถี่


4 7 2
3 8 8
2 9 12
10 6
1
เบอร์รองเท้า
0 5 6 7 8 9

5. คะแนน ความถี่สะสม
23 2
24 7
25 12
26 13
สถิติ 27

2. ข้อมูลสองชุดเป็ นดังนี ้ ชุดที่ 1 : 1 3 3 6 8 9


ชุดที่ 2 : 2 3 4 5 5 5
ข้อใด ผิด [O-NET 58/31]
1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 มากกว่าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 2 อยู่ 0.5
2. ข้อมูลทัง้ สองชุดมีมธั ยฐานเท่ากัน
3. ฐานนิยมของข้อมูลสองชุดนีต้ า่ งกันอยู่ 2
4. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตรวมของข้อมูลทัง้ สองชุดเท่ากับ 4.5
5. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1 เท่ากับฐานนิยมของข้อมูลชุดที่ 2

3. แผนภาพต้นใบของข้อมูลชุดหนึง่ เป็ นดังนี ้


2 0 0 3 5 8
3 1 4 4 6 7
4 3 3 5 7
5 1 2 2 2
6 3 5

ข้อใดถูกต้องบ้าง [O-NET 54/20]


1. ข้อมูลชุดนีไ้ ม่มฐี านนิยม
2. มัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 40

4. ถ้าข้อมูลชุดหนึง่ ประกอบด้วย 10, 12, 15, 13 และ 10 ข้อความในข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นเท็จ สาหรับข้อมูลชุดนี ้


[O-NET 49/1-14]
1. มัธยฐาน เท่ากับ 12 2. ฐานนิยม น้อยกว่า 12
3. ฐานนิยม น้อยกว่า ค่าเฉลีย่ เลขคณิต 4. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต มากกว่า 12
28 สถิติ

5. แผนภาพต้นใบของนา้ หนักในหน่วยกรัมของไข่ไก่ 10 ฟอง เป็ นดังนี ้


5 7 8
6 7 8 9
7 0 4 4 7
8 1
ข้อสรุปใดเป็ นเท็จ [O-NET 53/29]
1. ฐานนิยมของนา้ หนักของไข่ไก่มีเพียงค่าเดียว
2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตและมัธยฐานของนา้ หนักของไข่ไก่มีคา่ เท่ากัน
3. มีไข่ไก่ 5 ฟองที่มีนา้ หนักน้อยกว่า 70 กรัม
4. ไข่ไก่ที่มีนา้ หนักสูงกว่าฐานนิยม มีจานวนมากกว่า ไข่ไก่ที่มีนา้ หนักเท่ากับฐานนิยม

6. ข้อมูลชุดหนึง่ ประกอบด้วย
4, 9, 2, 7, 6, 5, 4, 6, 3, 4
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [O-NET 52/27]
1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < ฐานนิยม < มัธยฐาน
2. ฐานนิยม < มัธยฐาน < ค่าเฉลีย่ เลขคณิต
3. ฐานนิยม < ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < มัธยฐาน
4. มัธยฐาน < ฐานนิยม < ค่าเฉลีย่ เลขคณิต

7. กาหนดแผนภาพ ต้น - ใบ ของข้อมูลชุดหนึง่ ดังนี ้


0 3 7 5
1 6 4 3
2 0 2 1 2
3 0 1
สาหรับข้อมูลชุดนี ้ ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นจริง [O-NET 51/36]
1. มัธยฐาน < ฐานนิยม < ค่าเฉลีย่ เลขคณิต
2. มัธยฐาน < ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < ฐานนิยม
3. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < ฐานนิยม < มัธยฐาน
4. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < มัธยฐาน < ฐานนิยม
สถิติ 29

8. ถ้านา้ หนัก (คิดเป็ นกิโลกรัม) ของนักเรียน 2 กลุม่ กลุม่ ละ 6 คน เขียนเป็ นแผนภาพ ต้น - ใบ ได้ดงั นี ้
นักเรียนกลุม่ ที่ 1 นักเรียนกลุม่ ที่ 2
8 6 4 3 4 9
8 6 6 4 2 2 4
5 0
ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [O-NET 49/1-30]
1. นา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียนกลุม่ ที่ 2 มากกว่านา้ หนักเฉลีย่ ของนักเรียนกลุม่ ที่ 1
2. ฐานนิยมของนา้ หนักของนักเรียนกลุม่ ที่ 2 มากว่าฐานนิยมของนา้ หนักของนักเรียนกลุม่ ที่ 1
3. มัธยฐานของนา้ หนักของนักเรียนกลุม่ ที่ 2 มากกว่ามัธยฐานของนา้ หนักของนักเรียนกลุม่ ที่ 1
4. มัธยฐานของนา้ หนักของนักเรียนทัง้ หมด มากกว่ามัธยฐานของนา้ หนักของนักเรียนกลุม่ ที่ 1

9. จากแผนภาพ ต้น-ใบ ของข้อมูลแสดงนา้ หนัก (กิโลกรัม) ของนักเรียนกลุม่ หนึง่ เป็ นดังนี ้


4 2 1 0
5 0 8 3 2 2
6 0 3 1 4
เมื่อสุม่ เลือกนักเรียนมา 1 คน จากกลุม่ นี ้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้นกั เรียนที่มีนา้ หนักน้อยกว่าฐานนิยมของกลุม่ มีคา่
เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/36]

10. ถ้าสุม่ ตัวเลขหนึง่ จากข้อมูลชุดใดๆ ซึง่ ประกอบด้วยตัวเลข 101 ตัว แล้ว ข้อใดต่อไปนีถ้ กู [O-NET 51/39]
1. ความน่าจะเป็ นที่ตวั เลขที่สมุ่ ได้มคี า่ น้อยกว่าค่ามัธยฐาน < 12
2. ความน่าจะเป็ นที่ตวั เลขที่สมุ่ ได้มคี า่ น้อยกว่าค่าเฉลีย่ เลขคณิต < 12
3. ความน่าจะเป็ นที่ตวั เลขที่สมุ่ ได้มคี า่ มากกว่าค่ามัธยฐาน > 12
4. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < มัธยฐาน < ฐานนิยม
30 สถิติ

เปรียบเทียบค่ากลางแต่ละชนิด

เราได้เรียนค่ากลางทัง้ 3 ชนิดมาแล้วในหัวข้อก่อนหน้า ซึง่ ค่ากลางแต่ละชนิด จะเหมาะกับการใช้งานที่แตกต่างกัน

𝑥̅ จะเป็ นค่ากลางที่นยิ มใช้มากที่สดุ เนื่องจากเป็ นค่ากลางที่ใช้คา่ ของข้อมูลทุกตัวในการคานวณ


การเปลีย่ นค่าของข้อมูลแม้เพียงเล็กน้อย ก็มกั จะส่งผลให้ 𝑥̅ เปลีย่ น
ในขณะที่ Med กับ Mode จะไม่คอ่ ยไวต่อการเปลีย่ นแปลงของค่าข้อมูล
(คือ ต้องเปลีย่ นค่าข้อมูลตรงจุดสาคัญๆ เท่านัน้ จึงจะทาให้ Med กับ Mode เปลีย่ นได้)

Med นิยมใช้ในกรณีที่มีขอ้ มูลที่มากผิดปกติ หรือน้อยผิดปกติอยู่


ปกติ เราจะไม่คอ่ ยชอบให้ขอ้ มูลที่ผิดปกติ มาฉุดภาพรวมของข้อมูลไปซักเท่าไหร่
เช่น 6 , 7 , 7 , 8 , 11 , 12 , 12 , 2000 → จะเห็นว่า 2000 เป็ นข้อมูลที่มากผิดปกติ
ซึง่ การมีอยูข่ อง 2000 นี ้ จะ “ฉุด 𝑥̅ ” ได้สดุ ๆ
6+7+7+8+11+12+12
เช่น ถ้าไม่มี 2000: 6 , 7 , 7 , 8 , 11 , 12 , 12 𝑥̅ =
7
= 9
6+7+7+8+11+12+12+2000
ถ้า มี 2000: 6 , 7 , 7 , 8 , 11 , 12 , 12 , 2000 𝑥̅ = 8
= 257.88

อย่างไรก็ตาม การมีอยูข่ อง 2000 จะ ไม่มีผลกับ Med มากนัก


เช่น ถ้าไม่มี 2000: 6 , 7 , 7 , 8 , 11 , 12 , 12 Med = 8
8+11
ถ้า มี 2000: 6 , 7 , 7 , 8 , 11 , 12 , 12 , 2000 Med = 2
= 9.5
ดังนัน้ ถ้าในข้อมูล มีบางตัวที่มากหรือน้อยผิดปกติอยู่ เรามักนิยมใช้ Med เป็ นค่ากลาง แทน 𝑥̅

Mode เป็ นค่ากลางเพียงตัวเดียว ที่สามารถใช้กบ


ั “ข้อมูลเชิงคุณภาพ” ได้
ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ข้อมูลที่แสดงคุณสมบัติ เช่น สีที่ชอบ เพศ กรุป๊ เลือด
ข้อมูลประเภทนี ้ จะไม่สามารถ บวก ลบ คูณ หาร ได้ จึงหาค่าเฉลีย่ ไม่ได้
ข้อมูลประเภทนี ้ จะไม่สามารถเทียบมากกว่าน้อยกว่า ได้ จึงหา Med ไม่ได้

เช่น ถ้าผลการสารวจสีที่ชอบของนักเรียน 7 คน พบว่าชอบ สีฟา้ , สีเขียว , สีเขียว , สีชมพู , สีดา , สีฟา้ , สีเขียว
ข้อมูลประเภทนี ้ หมดสิทธิ์หา 𝑥̅ หรือ Med เพราะ บวก ลบ คูณ หาร หรือ เรียงลาดับ ไม่ได้
แต่จะหา Mode ได้ = สีเขียว

Mode จะตรงกับตรงกับค่าใดค่าหนึง่ ในข้อมูลเสมอ


(Med อาจไม่ตรงกับค่าข้อมูลตัวไหนเลยได้ ถ้าจานวนข้อมูลเป็ นเลขคู่ และข้อมูลลาดับตรงกลางสองตัว มีคา่ ไม่เท่ากัน)

สมบัติที่สาคัญอย่างหนึง่ ของค่ากลางทัง้ 3 ชนิด คือ เราสามารถ “แปลง” ข้อมูล กับ ค่ากลางด้วยสูตรเดียวกันได้


คือ ถ้าเราเอาข้อมูลเก่า มาบวกลบคูณหารด้วยตัวเลขอะไรก็ได้ เป็ นข้อมูลชุดใหม่
จะได้ ค่ากลางของข้อมูลชุดใหม่ มีคา่ เปลีย่ นไปจาก ค่ากลางเดิม ด้วยการบวกลบคูณหารแบบเดียวกัน
เช่น ถ้าแปลงข้อมูลโดยการคูณ 2 ที่ขอ้ มูลทุกตัว จะได้ ค่าเฉลียม มัธยฐาน และฐานนิยม เปลีย่ นเป็ น 2 เท่าของของเดิม
สถิติ 31

นอกจากนี ้ ลาดับมากน้อยของค่ากลางทัง้ 3 ตัว ยังสามารถบอก ลักษณะ “การเบ้” ได้ดว้ ย


ตอนที่เรียนเรือ่ งโค้งความถี่ เราแบ่งประเภทโค้งความถี่ได้ 3 แบบ ตามลักษณะการเบ้ ดังนี ้

เบ้ซา้ ย เบ้ขวา สมมาตร


ซึง่ ในการเบ้แต่ละแบบ ค่ากลางทัง้ 3 ตัว จะเรียงลาดับมากน้อยไม่เหมือนกัน ดังนี ้
สิง่ ที่ตอ้ งจา คือ ในโค้งเบ้ซา้ ย 𝑥̅ < Med < Mode
ในโค้งเบ้ขวา Mode < Med < 𝑥̅
ในโค้งสมมาตร 𝑥̅ = Med = Mode

หมายเหตุ : ข้อมูลที่สารวจจากธรรมฃาติจานวนมากๆ จะมีลกั ษณะการแจกแจงเฉพาะตัว ที่เรียกว่า “การแจกแจงปกติ”


ซึง่ ข้อมูลจากธรรมชาตินี ้ จะมีลกั ษณะเป็ นโค้งสมมาตรเสมอ

แบบฝึ กหัด

1. จงหาลักษณะการเบ้ของข้อมูลต่อไปนี ้
1. 2 , 3 , 4 , 6 , 10 , 10 , 10 , 11 2. 0 2 4
1 3 3 4 5
2 1 2
3 1

2. การเลือกใช้คา่ กลางของข้อมูลควรพิจารณาสิง่ ต่อไปนีย้ กเว้นข้อใด [O-NET 52/29]


1. ลักษณะของข้อมูล 2. วิธีจดั เรียงลาดับข้อมูล
3. จุดประสงค์ของการนาไปใช้ 4. ข้อดีและข้อเสียของค่ากลางแต่ละชนิด
32 สถิติ

3. ข้อใดถูก [O-NET 58/29]


1. ข้อมูลที่จะวัดค่ากลางได้ตอ้ งเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณเท่านัน้
2. กรณีที่ขอ้ มูลมีจานวนน้อยควรใช้ฐานนิยมเป็ นค่ากลางเพราะสามารถนับความถี่ของข้อมูลได้สะดวก
3. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเป็ นค่ากลางที่ไม่เหมาะสมกับข้อมูลที่มีบางค่าต่ากว่าข้อมูลอื่นๆมาก
4. เนื่องจากมัธยฐานคือค่าของข้อมูลที่อยูก่ ึ่งกลางของข้อมูลทัง้ ชุด ดังนัน้ มัธยฐานจึงใช้เฉพาะกรณีทขี่ อ้ มูลมี
จานวนข้อมูลเป็ นจานวนคี่เท่านัน้
5. ค่ากลางของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้วมีความถูกต้องแน่นอนมากกว่าค่ากลางของข้อมูลชุดเดียวกันที่ยงั ไม่ได้
แจกแจงความถี่

4. ค่ากลางของข้อมูลในข้อใดมีความเหมาะสมที่จะใช้เป็ นตัวแทนของข้อมูลของกลุม่ [O-NET 56/29]


1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของนา้ หนักตัวของชาวจังหวัดเชียงใหม่
2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของจานวนหน้าของหนังสือที่คนไทยแต่ละคนอ่านในปี พ.ศ. 2554
3. มัธยฐานของจานวนเงินที่แต่ละคนใช้จา่ ยต่อเดือนของคนไทย
4. ฐานนิยมของความสูงของนักเรียนห้องหนึง่
5. ค่าเฉลีย่ ของฐานนิยมกับมัธยฐานของคะแนนสอบของนักเรียนทัง้ โรงเรียน

5. ค่ากลางของข้อมูลในข้อใดมีความเหมาะสมที่จะใช้เป็ นตัวแทนของข้อมูลของกลุม่ [O-NET 57/29]


1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของขนาดรองเท้าของนักเรียนห้องหนึง่
2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของจานวนผูโ้ ดยสารรถไฟฟ้าใต้ดินต่อวันในเดือน มกราคม พ.ศ. 2557
3. มัธยฐานของนา้ หนักตัวของคนไทยในปี พ.ศ. 2556
4. ฐานนิยมของความสูงของนักกีฬาไทยได้ที่ได้รบั เหรียญทองจากการแข่งขันกีฬาโอลิมปิ ก
5. ค่ากึง่ กลางระหว่างมัธยฐานกับค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ ม.6 ของ
โรงเรียนแห่งหนึง่

6. ข้อมูลต่อไปนีแ้ สดงนา้ หนักในหน่วยกิโลกรัม ของนักเรียนกลุม่ หนึง่


41 , 88 , 46 , 42 , 43 , 49 , 44 , 45 , 43 , 95 , 47 , 48
ค่ากลางในข้อใดเป็ นค่าที่เหมาะสมที่จะเป็ นตัวแทนของข้อมูลชุดนี ้ [O-NET 53/31]
1. มัธยฐาน 2. ฐานนิยม
3. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต 4. ค่าเฉลีย่ ของค่าสูงสุดและค่าต่าสุด
สถิติ 33

7. ยอดขายต่อเดือน (หน่วย : หมื่นบาท) ของบริษัทแห่งหนึง่ ในระยะเวลา 10 เดือน เป็ นดังนี ้


154 151 148 405 158 157 158 148 148 153
ข้อใดถูก [O-NET 59/29]
1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต (𝑥̅ ) เป็ นค่ากลางที่เหมาะสมที่สดุ สาหรับเป็ นตัวแทนของข้อมูลนี ้ และ 𝑥̅ = 178
2. ฐานนิยม เป็ นค่ากลางที่เหมาะสมที่สดุ สาหรับเป็ นตัวแทนของข้อมูลนี ้ และ ฐานนิยม = 148
3. ฐานนิยม เป็ นค่ากลางที่เหมาะสมที่สดุ สาหรับเป็ นตัวแทนของข้อมูลนี ้ และ ฐานนิยม = 158
4. มัธยฐาน เป็ นค่ากลางที่เหมาะสมที่สดุ สาหรับเป็ นตัวแทนของข้อมูลนี ้ และ มัธยฐาน = 157.5
5. มัธยฐาน เป็ นค่ากลางที่เหมาะสมที่สดุ สาหรับเป็ นตัวแทนของข้อมูลนี ้ และ มัธยฐาน = 153.5

8. ข้อมูลชุดหนึง่ มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 20 มัธยฐานเท่ากับ 25 และฐานนิยมเท่ากับ 30


ข้อสรุปใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [O-NET 52/30]
1. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็ นการกระจายทีเ่ บ้ทางซ้าย
2. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็ นการกระจายทีเ่ บ้ทางขวา
3. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็ นการกระจายแบบสมมาตร
4. ไม่สามารถสรุปลักษณะการกระจายของข้อมูลได้
34 สถิติ

การวัดตาแหน่งข้อมูล

ในหัวข้อก่อนหน้า เราได้เรียนเกี่ยวกับ มัธยฐาน ซึง่ เป็ นวิธีวดั ตาแหน่งข้อมูลอย่างหนึง่


มัธยฐาน จะหมายถึง ข้อมูลที่มี “ตาแหน่งตรงกลาง” นั่นเอง
Med

10 11 15 17 18 21 26 27 32 33 35 39 40 43 44 45 46 49 51

ในเรือ่ งนี ้ เราจะได้เรียนข้อมูลในตาแหน่งอื่นๆ ซึง่ เราวัดได้โดยใช้ ควอไทล์ และเปอร์เซ็นไทล์

ควอไทล์
ถ้าเราแบ่งข้อมูลออกเป็ น 4 ส่วนเท่าๆกัน จะมีจดุ แบ่งอยู่ 3 จุด
เราจะเรียกข้อมูลตรงจุดแบ่งทัง้ 3 จุด ว่า Q1 Q2 และ Q3 ตามลาดับ ดังนี ้
Q1 Q2 Q3

10 11 15 17 18 21 26 27 32 33 35 39 40 43 44 45 46 49 51

หมายเหตุ : จะเห็นว่า Q 2 = Med เสมอ

ตาแหน่งของ Q𝑟 จะหาได้จากสูตร 4𝑟 ∙ (𝑛 + 1)
เช่น จากตัวอย่างด้านบน มีขอ้ มูล 19 ตัว (𝑛 = 19)
จะได้ Q1 อยูต่ วั ที่ 14 ∙ (19 + 1) = 5 Q 2 อยูต
่ วั ที่ 2
4
∙ (19 + 1) = 10
3
Q 3 อยูต
่ วั ที่ 4
∙ (19 + 1) = 15

เปอร์เซ็นไทล์
ถ้าเราแบ่งข้อมูลออกเป็ น 100 ส่วนเท่าๆกัน จะมีจดุ แบ่งอยู่ 99 จุด
เราจะเรียกข้อมูลตรงจุดแบ่งทัง้ 99 จุด ว่า P1 P2 P3 … P99 ตามลาดับ
P10 P18 P62 P87.5
... ... ... ...
10 11 15 17 18 21 26 27 32 33 35 39 40 43 44 45 46 49 51

หมายเหตุ : จะเห็นว่า P25 = Q1 P50 = Q 2 P75 = Q 3


และ P50 = Med

𝑟
ตาแหน่งของ P𝑟 จะหาได้จากสูตร 100 ∙ (𝑛 + 1)
เช่น จากตัวอย่างด้านบน มีขอ้ มูล 19 ตัว (𝑛 = 19)
10 18
จะได้ P10 อยูต่ วั ที่ 100 ∙ (19 + 1) = 2 P18 อยูต
่ วั ที่ 100
∙ (19 + 1) = 3.6
62 87.5
P62 อยูต
่ วั ที่ ∙ (19 + 1) = 12.4 P87.5 อยูต
่ วั ที่ ∙ (19 + 1) = 17.5 เป็ นต้น
100 100
สถิติ 35

ในการหาค่าของ ควอไทล์ และ เปอร์เซ็นไทล์ จะมีขนั้ ตอนคล้ายๆตอนที่เราหา Med ดังนี ้


1. หา “ตาแหน่ง”
𝑟 𝑟
Q𝑟 → ∙ (𝑛 + 1) P𝑟 → ∙ (𝑛 + 1)
4 100

2. เอาตาแหน่งที่ได้ ไปหา “ค่า”


โดยต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก นับจนถึงตาแหน่งที่ตอ้ งการ แล้วตอบค่าข้อมูล ณ ตาแหน่งนัน้
ถ้าตาแหน่งไม่เป็ นจานวนเต็ม ให้ประมาณเอาจากสองตัวทีค่ ร่อมตาแหน่งนัน้ อยู่
เช่น ถ้าต้องการหาค่าข้อมูล ตัวที่ 5.62 จะหาได้ดงั นี ้

ข้อมูลตัวที่ 5.62 = ตัวที่ 5 + 0.62 × (ตัวที่ 6 − ตัวที่ 5)

เราต้องหัดใช้สตู รนีใ้ ห้คล่อง เช่น ตัวที่ 10.3 = ตัวที่ 10 + 0.3 × (ตัวที่ 11 − ตัวที่ 10)
ตัวที่ 8.03 = ตัวที่ 8 + 0.03 × (ตัวที่ 9 − ตัวที่ 8)
ตัวที่ 3.45 = ตัวที่ 3 + 0.45 × (ตัวที่ 4 − ตัวที่ 3) เป็ นต้น

ตัวอย่าง จงหา Q3 , P20 และ P83 ของข้อมูล 15 , 18 , 18 , 19 , 20 , 24 , 24


วิธีทา มีขอ้ มูล 7 ตัว → Q 3 จะอยูต ่ วั ที่ 34 ∙ (7 + 1) = 6
นับดู จะได้ตวั ที่ 6 มีคา่ 24 ดังนัน้ Q3 = 24
20
→ P20 อยูต ่ วั ที่ 100 ∙ (7 + 1) = 1.6
ตัวที่ 1.6 = ตัวที่ 1 + 0.6 × (ตัวที่ 2 − ตัวที่ 1)
= 15 + 0.6 × ( 18 − 15 ) = 16.8
ดังนัน้ P20 = 16.8
83
→ P83 อยูต ่ วั ที่ 100 ∙ (7 + 1) = 6.64
ตัวที่ 6.64 จะอยูร่ ะหว่างตัวที่ 6 กับตัวที่ 7 แต่บงั เอิญตัวที่ 6 กับตัวที่ 7 เท่ากัน = 24
ดังนัน้ ไม่ตอ้ งคิดเลข ตอบได้เลยว่า P83 = 24 #

สุดท้าย ถ้าเราเจอประโยคพวกนี ้ ต้องรูว้ า่ เป็ นเรือ่ ง ควอไทล์ และเปอร์เซ็นไทล์


“มีขอ้ มูลประมาณ 3 ใน 4 ได้คะแนนน้อยกว่า สมชาย” → สมชาย = Q 3
“มีขอ้ มูลประมาณครึง่ หนึง่ ได้คะแนนน้อยกว่า สมหญิง” → สมหญิง = Med
“มีขอ้ มูลประมาณ 70% ได้คะแนนน้อยกว่า สมศักดิ”์ → สมศักดิ์ = P70
“มีขอ้ มูลประมาณ 7 ใน 10 ได้คะแนนน้อยกว่า สมหวัง” → สมหวัง = P70
“มีขอ้ มูลประมาณ 60% ได้คะแนนมากกว่า สมปอง” → สมปอง = P40
“สมศรี ได้คะแนนสูงที่สดุ ในกลุม่ 20% ที่ได้คะแนนต่าสุด” → สมศรี = P20
“สมหมาย ได้คะแนนต่าที่สดุ ในกลุม่ 30% ที่ได้คะแนนสูงสุด” → สมหมาย = P70
“โอกาสที่จะสุม่ ได้คนที่คะแนนน้อยกว่าสมบัติ เท่ากับ 3 ใน 10” → สมบัติ = P30
36 สถิติ

สิง่ ที่ตอ้ งรู ้ เวลาใช้คาศัพท์พวกนี ้ คือ เราจะไม่จกุ จิกเรือ่ ง “เท่ากับ”


นั่นคือ เราจะถือว่าประโยคต่างๆต่อไปนี ้ อนุโลมให้มีความหมายเหมือนกันได้
“มีขอ้ มูลประมาณ 3 ใน 4 ได้คะแนนน้อยกว่า สมชาย”
“มีขอ้ มูลประมาณ 3 ใน 4 ได้คะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากับ สมชาย”
“มีขอ้ มูลประมาณ 1 ใน 4 ได้คะแนนมากกว่า สมชาย”
“มีขอ้ มูลประมาณ 1 ใน 4 ได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับ สมชาย”

อย่างไรก็ตาม การไม่จกุ จิกแบบนี ้ สร้างปั ญหาให้เราได้พอสมควร


เพราะบางที เราต้องเดาเอาเอง ว่าโจทย์หมายถึงแบบไหน ว่าโจทย์จะนับสมชายเป็ นหนึง่ ในข้อมูลหรือไม่
ส่วนใหญ่ มักจะต้องเลือกแบบทีค่ ิดแล้วมีตวั เลือกให้กา และ / หรือ ได้คาตอบเป็ นเลขลงตัว

ตัวอย่าง จากข้อมูลคะแนนสอบต่อไปนี ้
20 22 25 25 27 29 31 33 33 34
38 39 39 41 45 48 49 51 54 55
57 59 59
จงหาว่า นักเรียนที่ได้คะแนนมากที่สดุ ในกลุม่ 10% ต่าสุด ได้คะแนนน้อยกว่านักเรียนที่ได้คะแนนน้อยที่สดุ ใน
กลุม่ 10% สูงสุด อยูก่ ี่คะแนน
วิธีทา คะแนนมากที่สดุ ในกลุม่ 10% ต่าสุด → P10
คะแนนน้อยที่สดุ ในกลุม่ 10% สูงสุด → P90 ข้อนี ้ โจทย์ให้หา P90 − P10 นั่นเอง
10
นับดู จะมีขอ้ มูลทัง้ หมด 23 ตัว → P10 จะอยูต่ วั ที่ 100 ∙ (23 + 1) = 2.4
ตัวที่ 2.4 = ตัวที่ 2 + 0.4 × (ตัวที่ 3 − ตัวที่ 2)
= 22 + 0.4 × ( 25 − 22 ) = 23.2
90
→ P90 จะอยูต่ วั ที่ 100
∙ (23 + 1) = 21.6
ตัวที่ 21.6 = ตัวที่ 21 + 0.6 × (ตัวที่ 22 − ตัวที่ 21)
= 57 + 0.6 × ( 59 − 57 ) = 58.2
ดังนัน้ P10 น้อยกว่า P90 อยู่ 58.2 − 23.2 = 35 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้ เมื่อกาหนดข้อมูลให้ดงั นี ้
10 12 15 20 25 26 28 29
33 34 36 38 40 42 42

1. Med 2. Q3

3. P30 4. P15
สถิติ 37

2. ข้อมูลชุดหนึง่ มี 10 จานวนประกอบด้วยจานวนต่อไปนี ้
4, 8, 8, 9, 14, 15, 18, 18, 22, 25
ควอไทล์ที่สามของข้อมูลชุดนีม้ ีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 49/2-5]

3. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ แสดงด้วยแผนภาพต้น - ใบได้ดงั นี ้


3 0 4 9
4 0 7 7 8 8 8
5 0 0 1 2 2 3 4 6 6 7 7 8 8 9
6 0 2 3 3 6 8 9
7 0 1

เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 50 ของคะแนนสอบนีเ้ ท่ากับคะแนนเท่าใด [O-NET 54/40]

4. จากแผนภาพต้น–ใบของข้อมูลชุดหนึง่ เป็ นดังนี ้


2 0 2 5 5 6 7 7 8 9 9
3 1 3 3 3 4 4 5 8 8 9
4 0 0 0 1 2 2 3 3 4 7
5 0 1 1 2 3 4 5 6 7

เปอร์เซ็นไทล์ที่ 86 ของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด [O-NET 58/40]

5. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี ้
10, 5, 6, 9, 12, 15, 8, 18
ค่าของ P80 ใกล้เคียงกับข้อใดต่อไปนีม้ ากที่สดุ [O-NET 52/31]
1. 15.1 2. 15.4 3. 15.7 4. 16.0
38 สถิติ

6. บริษัทขนส่งพัสดุแห่งหนึง่ ได้บนั ทึกระยะทาง (หน่วย : กิโลเมตร) ในการส่งของในแต่ละวัน เป็ นเวลา 30 วัน


เมื่อเรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปมาก ดังนี ้
33 37 43 44 44 55 58 65 65 66
71 74 75 75 78 81 81 81 82 84
86 86 87 89 89 92 92 93 93 95

แล้ว เปอร์เซนไทล์ที่ 33 ของข้อมูลชุดนี ้ เท่ากับเท่าใด [O-NET 59/28]

7. ผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ (เรียงจากน้อยไปมาก) เป็ นดังนี ้


29, 35, 36, 40, 41, 43, 47, 50, 56, 59,
60, 61, 63, 65, 72, 72, 74, 75, 75, 78,
78, 78, 80, 80, 81, 82, 84, 87, 88, 89,
90, 90, 91, 91, 91, 92, 95, 95, 95, 97
เปอร์เซ็นไทล์ที่ 70 ของคะแนนสอบนีเ้ ท่ากับเท่าใด [O-NET 57/31]

8. ข้อมูลชุดหนึง่ เรียงจากน้อยไปมากดังนี ้ 5 10 12 20 𝑥 26 30 42 47 𝑦
ถ้าข้อมูลชุดนีม้ ีพิสยั เท่ากับ 45 และค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 26.4 แล้ว ควอไทล์ที่สองของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด
[O-NET 57/32]

9. คะแนนของผูเ้ ข้าสอบ 15 คน เป็ นดังนี ้


45, 54, 59, 60, 62, 64, 65, 68, 70, 72, 73, 75, 76, 80, 81
ถ้าเกณฑ์ในการสอบผ่าน คือ ต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 60 แล้ว
ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นคะแนนต่าสุดของผูท้ ี่สอบผ่าน [O-NET 51/18]
1. 68 คะแนน 2. 70 คะแนน 3. 72 คะแนน 4. 73 คะแนน
สถิติ 39

10. ข้อมูลชุดหนึง่ ประกอบด้วย 19 จานวน ต่อไปนี ้


6 8 9 12 12 15 15 16 18 19
20 20 21 22 23 24 25 30 30
ควอไทล์ที่ 3 มีคา่ ต่างจากเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 45 เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/15]

11. ข้อมูลชุดหนึง่ มี 5 จานวน ถ้าควอไทล์ที่หนึง่ ควอไทล์ที่สอง และควอไทล์ที่สามเท่ากับ 18, 25, และ 28 ตามลาดับ
แล้ว ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด [O-NET 50/38]

12. ข้อมูลชุดหนึง่ ถ้าเรียงจากน้อยไปมากแล้ว ได้เป็ นลาดับเลขคณิตต่อไปนี ้


2, 5, 8, …, 92
ควอไทล์ที่ 3 ของข้อมูลชุดนีม้ ีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 51/34]

13. คะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึง่ จานวน 119 คน เป็ นดังนี ้


คะแนนที่ได้ จานวนนักเรียน (คน)
52 13
55 12
57 17
60 9
62 10
65 6
70 14
75 14
78 7
80 10
82 7

คะแนนที่เปอร์เซ็นไทล์ที่ 56 เท่ากับเท่าใด [O-NET 56/39]


40 สถิติ

14. นักเรียนกลุม่ หนึง่ จานวน 80 คน ซึง่ มี ลาเจียก ลาดวน และลาพู รวมอยูด่ ว้ ย ปรากฏผลการสอบดังนี ้
ลาดวนได้คะแนนตรงกับควอไทล์ที่สาม
ลาพูได้คะแนนตรงกับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 50
ลาเจียกได้คะแนนเป็ นลาดับที่ 30 เมื่อเรียงคะแนนจากมากไปหาน้อย
ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นการเรียงรายชื่อของผูท้ ี่ได้คะแนนน้อยไปหาผูท้ ี่ได้คะแนนมาก [O-NET 51/19]
1. ลาพู ลาเจียก ลาดวน
2. ลาพู ลาดวน ลาเจียก
3. ลาเจียก ลาพู ลาดวน
4. ลาเจียก ลาดวน ลาพู

15. จากการตรวจสอบลาดับที่ของคะแนนสอบของนาย ก และนาย ข ใน วิชาคณิตศาสตร์ทมี่ ีผเู้ ข้าสอบ 400 คน ปรากฏ


ว่านาย ก สอบได้คะแนนอยูใ่ นตาแหน่งควอไทล์ที่ 3 และนาย ข สอบได้คะแนนอยูใ่ นตาแหน่งเปอร์เซ็นไทล์ที่ 60
จานวนนักเรียนที่สอบได้คะแนนระหว่างคะแนนของนาย ก และนาย ข มีประมาณกี่คน [O-NET 53/33]

16. เมื่อพิจารณาผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 39 คน พบว่า เปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ของคะแนนสอบเท่ากับ 35


คะแนน และมีนกั เรียน 30 คน ได้คะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 80 คะแนน ถ้ามีนกั เรียนที่สอบได้ 35 คะแนนเพียงคน
เดียว แล้ว จานวนนักเรียนที่สอบได้คะแนนในช่วง 35 - 80 คะแนน เท่ากับกี่คน [O-NET 49/1-15]
สถิติ 41

การวัดการกระจายสัมบูรณ์

อีกหลายๆหัวข้อต่อจากนี ้ จะสนใจว่าข้อมูลในกลุม่ มีความแตกต่างกันมากน้อยขนาดไหน


ถ้า ข้อมูลในกลุม่ มีความแตกต่างกันมาก → ข้อมูลกระจายมาก
ถ้า ข้อมูลในกลุม่ มีความแตกต่างกันน้อย → ข้อมูลกระจายน้อย

คะแนนสอบห้อง 5/1 (ข้อมูลกระจายมาก) คะแนนสอบห้อง 5/2 (ข้อมูลกระจายน้อย)


30 95 21 80 5 72 81 80 76 75
20 85 15 75 12 80 75 75 72 71
51 84 62 7 11 81 74 82 77 81

โดยเราจะศึกษาวิธีวดั การกระจายของข้อมูล ที่เรียกว่า “พิสยั ” “พิสยั ระหว่างควอไทล์” และ “ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน”

พิสยั

พิสยั (Range) เป็ นวิธีที่วดั การกระจายทีง่ ่ายที่สดุ


ซึง่ หาได้จากสูตร
พิสยั = ข้อมูลมากสุด − ข้อมูลน้อยสุด

ตัวอย่าง จงหาพิสยั ของคะแนนสอบห้อง 5/1 และ ห้อง 5/2 ต่อไปนี ้


คะแนนสอบห้อง 5/1 คะแนนสอบห้อง 5/2
30 95 21 80 5 72 81 80 76 75
20 85 15 75 12 80 75 75 72 71
51 84 62 7 11 81 74 82 77 81

วิธีทา ห้อง 5/1: คะแนนมากสุด = 95 คะแนนสอบน้อยสุด = 5


ดังนัน้ พิสยั = 95 − 5 = 90
ห้อง 5/2: คะแนนมากสุด = 82 คะแนนสอบน้อยสุด = 71
ดังนัน้ พิสยั = 82 − 71 = 11 #

พิสยั จะเป็ นวิธีวดั การกระจายแบบหยาบๆ คิดง่าย แต่ไม่คอ่ ยแม่น


เพราะ พิสยั หาจากข้อมูลแค่ 2 ตัว (คือข้อมูลมากสุด กับ ข้อมูลน้อยสุด) ข้อมูลตัวอื่นจะไม่มีผลกับพิสยั
เช่น 2 7 7 8 8 9 → พิสยั = 9 − 2 = 7
2 3 4 5 7 9 → น่าจะกระจายมากกว่า แต่ พิสยั = 9 − 2 = 7 เท่ากัน
ดังนัน้ เราจึงไม่คอ่ ยนิยมใช้พิสยั ในการวัดการกระจาย
42 สถิติ

แบบฝึ กหัด
1. จงหาพิสยั ของข้อมูลต่อไปนี ้
1. 5 12 10 22 2. 8 6 2 0 3
11 20 16 8 9 8 3 1 2 7
14 29 20 6 10 4 9 3
16 12 9 18 11 2 3
18 15 34 34

2. คะแนนสอบของนักเรียน 3 คน มีพิสยั เท่ากับ 8 คะแนน ถ้ามัธยฐานคือ 12 คะแนน และ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตคือ 14


คะแนน แล้ว จงหาคะแนนของนักเรียนทัง้ 3 คนนี ้

3. ข้อมูลชุดหนึง่ เรียงจากน้อยไปมากดังนี ้ 𝑎 11 15 18 25 𝑏 36 41 47 53
ถ้าข้อมูลชุดนีม้ มี ธั ยฐานเท่ากับ 28 และค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 28.5 แล้ว พิสยั ของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด
[O-NET 58/39]

4. ข้อมูลชุดหนึง่ มี 8 ค่า เรียงจากน้อยไปมาก ดังนี ้ 74 78 80 80 𝑎 90 90 𝑏


ถ้าข้อมูลชุดนีม้ ีพิสยั เท่ากับ 18 และมัธยฐานเท่ากับ 85 แล้วค่าเฉลีย่ เลขคณิต เท่ากับเท่าใด [O-NET 59/38]
สถิติ 43

5. ความสูงในหน่วยเซนติเมตรของนักเรียนกลุม่ หนึง่ ซึง่ มี 10 คน เป็ นดังนี ้


155, 157, 158, 158, 160, 161, 161, 163, 165, 166
ถ้ามีนกั เรียนเพิ่มขึน้ อีกหนึง่ คน ซึง่ มีความสูง 158 เซนติเมตร แล้ว ค่าสถิติใดต่อไปนีไ้ ม่เปลีย่ นแปลง
[O-NET 52/28]
1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต 2. มัธยฐาน
3. ฐานนิยม 4. พิสยั

6. ส่วนสูงของพี่นอ้ ง 2 คน มีพิสยั เท่ากับ 12 เซนติเมตร มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 171 เซนติเมตร ข้อใดต่อไปนี ้
เป็ นส่วนสูงของพี่หรือน้องคนใดคนหนึง่ [O-NET 52/26]
1. 167 เซนติเมตร 2. 172 เซนติเมตร 3. 175 เซนติเมตร 4. 177 เซนติเมตร

7. ครอบครัวหนึง่ มีบตุ ร 4 คน บุตร 2 คนมีนา้ หนักเท่ากันและมีนา้ หนักน้อยกว่าบุตรอีก 2 คน


ถ้านา้ หนักของบุตรทัง้ 4 คนมีคา่ ฐานนิยม มัธยฐาน และพิสยั เท่ากับ 45, 47.5 และ 7 กิโลกรัมตามลาดับ แล้ว
ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของนา้ หนักของบุตรทัง้ 4 คน มีคา่ เท่ากับกี่กิโลกรัม [O-NET 49/1-28]

8. สาหรับข้อมูลเชิงปริมาณใดๆ ทีม่ คี า่ สถิตติ อ่ ไปนี ้ ค่าสถิตใิ ดจะตรงกับค่าของข้อมูลค่าหนึง่ เสมอ [O-NET 53/30]


1. พิสยั 2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต
3. มัธยฐาน 4. ฐานนิยม
44 สถิติ

พิสยั ระหว่างควอไทล์

พิสยั ระหว่างควอไทล์ (Inter-quatile Range) หรือ IQR เป็ นค่าที่บอกว่า Q3 กับ Q1 อยูห่ า่ งกันแค่ไหน
ซึง่ หาได้จากสูตร
IQR = Q 3 − Q1

จะเห็นว่า IQR ก็คือพิสยั ที่ขยับจาก max − min เข้ามาเป็ น Q3 − Q1


ซึง่ จะทาให้ IQR มีความทนทานต่อข้อมูลที่มากผิดปกติ หรือน้อยผิดปกติได้ดี (คล้ายกับมัธยฐาน)
ดังนัน้ หากมีขอ้ มูลที่มากผิดปกติ หรือน้อยผิดปกติอยู่ จึงควรใช้ IQR ในการวัดการกระจายของข้อมูล

ตัวอย่าง จงหาพิสยั ระหว่างควอไทล์ ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ซึง่ มีขอ้ มูลดังนี ้


30 95 21 80 20
82 15 75 12 32

วิธีทา ต้องหา Q1 กับ Q3 มาเข้าสูตร ดังนัน้ ต้องเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากก่อน


12 15 20 21 30
→ ทัง้ หมด 10 ตัว
32 75 80 82 95
1
Q1 อยูต
่ วั ที่ 4
∙ (10 + 1) = 2.75 = ตัวที่ 2 + 0.75 × (ตัวที่ 3 − ตัวที่ 2)
= 15 + 0.75 × ( 20 − 15 ) = 18.75
3
Q 3 อยูต
่ วั ที่ ∙ (10 + 1) = 8.25 = ตัวที่ 8 + 0.25 × (ตัวที่ 9 − ตัวที่ 8)
4
= 80 + 0.25 × ( 82 − 80 ) = 80.5
ดังนัน้ IQR = 80.5 − 18.75 = 61.75 คะแนน #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาพิสยั ระหว่างควอไทล์ของข้อมูลต่อไปนี ้
1. 21 25 29 32 2. 30 32 28 35 42
38 44 44 51 45 40 48 50 65
สถิติ 45

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) คือค่าทีบ่ อกให้ทราบว่า ข้อมูลแต่ละตัวอยูห่ า่ งจากค่าเฉลีย่ เลข


คณิต โดยเฉลีย่ ประมาณเท่าใด

ในการหา S.D. เราจาเป็ นต้องเคลียร์ให้ชดั ก่อน ว่าข้อมูลที่โจทย์กาหนดมาให้ เป็ น “ประชากร” หรือ “กลุม่ ตัวอย่าง”
เพราะ ประชากร กับ กลุม่ ตัวอย่าง จะใช้สตู รคานวณส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคนละสูตรกัน
(ประชากร คือ ข้อมูลทัง้ หมด แต่กลุม่ ตัวอย่าง คือ ข้อมูลบางส่วน)
หลักคือ ถ้าโจทย์ใช้คาว่า “ตัวอย่าง” หรือ “สุม่ ” แปลว่าเป็ น “กลุม่ ตัวอย่าง”
ถ้าโจทย์ไม่ได้ใช้คาอะไรเป็ นพิเศษ มักจะเป็ น “ประชากร”

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการคานวณประชากร กับกลุม่ ตัวอย่าง ก็จะแตกต่างกันด้วย ดังนี ้


กลุม่ ตัวอย่าง ประชากร
จานวนข้อมูล 𝑛 𝑁
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 𝑥̅ 𝜇
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 𝑠 𝜎

กรณี ประชากร : สูตรสาหรับหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะมี 2 สูตร คือ

∑(𝑥𝑖 −𝜇)2 ∑ 𝑥𝑖 2 ใช้สตู รไหนก็ได้


𝜎 = √ 𝜎 = √ − 𝜇2
𝑁 𝑁 ได้ผลลัพธ์เท่ากัน

กรณี กลุม่ ตัวอย่าง : สูตรสาหรับหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จะมี 2 สูตร คือ

∑(𝑥𝑖 −𝑥̅ )2 ∑ 𝑥𝑖 2 − 𝑛𝑥̅ 2


ใช้สตู รไหนก็ได้
𝑠 = √ 𝑛−1
𝑠 = √ 𝑛−1 ได้ผลลัพธ์เท่ากัน

สูตรเหล่านีน้ ี ้ จะอ่านเข้าใจยากนิดหน่อย ดูจากตัวอย่างจะเข้าใจกว่า


เช่น ถ้าต้องการหาส่วนเบี่ยงเบนสามาตรฐานของข้อมูล 2 , 3 , 4 , 5 , 7, 9
∑(𝑥𝑖 −𝜇)2 ∑ 𝑥𝑖 2
โจทย์ไม่ได้ระบุวา่ เป็ นประชากร หรือกลุม่ ตัวอย่าง → ตีความว่าเป็ นประชากร ใช้สตู ร √
𝑁
หรือ √
𝑁
− 𝜇2
∑(𝑥𝑖 −𝜇)2
ถ้าหาด้วยสูตร √
𝑁
จะมีขนั้ ตอนดังนี ้
2+3+4+5+7+9
1. หาค่าเฉลีย่ เลขคณิต 𝜇 จะได้ 𝜇 = 6
= 5
2. (𝑥𝑖 − 𝜇)2 คือผลต่างของข้อมูลแต่ละตัว กับ 𝜇 แล้วยกกาลังสอง
2 3 4 5 7 9
−3 −2 −1 0 2
4
𝜇=5

(ผลต่างของข้อมูลแต่ละตัวกับ 𝜇)2 คือ 9 , 4 , 1 , 0 , 4 , 16


46 สถิติ

∑(𝑥𝑖 −𝜇)2
3. √
𝑁
คือเอาผลในข้อ 2 มาบวกกัน หารด้วย 𝑁 แล้วถอดรูท
9+4+1+0+4+16 34 17
จะได้สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 𝜎 = √ 6
= √6 = √3

17 √3
จัดรูป จะได้ √
3
× 3

=
√51
3

2
หรือถ้าจะหาด้วยสูตร √∑ 𝑁𝑥𝑖 − 𝜇2 จะมีขนั้ ตอนดังนี ้
1. หาค่าเฉลีย่ เลขคณิต 𝜇 (เหมือนเดิม) จะได้ 𝜇 = 5
∑ 𝑥𝑖 2
2. เอาข้อมูลแต่ละตัวมายกกาลังสอง แล้วบวกกัน แล้วหารด้วย 𝑁 จะได้เป็ น 𝑁
2 3 4 5 7 9

4 9 16 25 49 81

∑ 𝑥𝑖 2 4+9+16+25+49+81 184 92
𝑁
= 6
= 6
= 3

3. เอาผลจากข้อ 2 มาลบ 𝜇2 แล้วถอดรูท


92 92−75 17
จะได้สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน 𝜎 = √ 3 − 52 = √ 3
= √3

17 √3
จัดรูป จะได้ √
3
×
√3
=
√51
3

จะเห็นว่า ค่า 𝑠 มักติด √ ทาให้ได้ตวั เลขไม่ลงตัว อ้างอิงลาบาก


เราจะใช้คาว่า “ความแปรปรวน” (Variance) หรือ 𝑣 ในการเรียก S.D. แบบที่ไม่ตอ้ งถอด √ → (คือ 𝜎 2 หรือ 𝑠 2 )
ดังนัน้ ข้อมูล 2 , 3 , 4 , 5 , 7 , 9 จะมี ความแปรปรวน (𝑣) = 173

ตัวอย่าง จงหาความแปรปรวนของคะแนนสอบ จากการสุม่ ตัวอย่างจากนักเรียน 8 คน ซึง่ ข้อมูลดังนี ้


12 15 19 18 13 16 12 15
∑(𝑥𝑖 −𝑥̅ )2
วิธีทา ข้อนีเ้ ป็ นกลุม่ ตัวอย่าง → จะใช้สตู ร ความแปรปรวน 𝑠2 = 𝑛−1
12+15+19+18+13+16+12+15 120
𝑥̅ = 8
= 8
= 15
∑(𝑥𝑖 −𝑥̅ )2 (12−15)2 +(15−15)2 +(19−15)2 +(18−15)2 +(13−15)2 +(16−15)2 +(12−15)2 +(15−15)2
จะได้ 𝑛−1
= 8−1
9 + 0 + 16 + 9 + 4 + 1 + 9 + 0
= 7
48
= #
7
สถิติ 47

แบบฝึ กหัด
1. จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ความแปรปรวน ของข้อมูลต่อไปนี ้
1. 2 , 3 , 4 , 5 , 6 2. 3 , 6 , 9 , 10

12
2. ข้อมูลชุดหนึง่ มีจานวน 12 ตัว ถ้า ∑ (𝑥𝑖 − 𝑥̅ )2 = 192 แล้ว จงหาส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนี ้
𝑖=1

3. ในการสุม่ ตัวอย่างเพื่อสารวจข้อมูลราคามะนาว (ต่อผล) จากตลาด 5 แห่ง ได้ขอ้ มูลดังนี ้


2 10 6 8 9 (หน่วย : บาท)
ถ้า 𝑥̅ คือ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูล 𝑠 คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล
แล้ว ร้อยละของจานวนข้อมูลที่อยูใ่ นช่วง (𝑥̅ − 𝑠 , 𝑥̅ + 𝑠) เท่ากับเท่าใด
(กาหนดให้ √2 = 1.41 , √2.5 = 1.58 , √10 = 3.16) [O-NET 59/39]
48 สถิติ

4. กลุม่ ตัวอย่างของข้อมูลชุดหนึง่ มี 11 จานวนดังนี ้ 15 , 10 , 12 , 15 , 16 , 𝑥 , 16 , 19 , 13 , 17 , 15


ถ้าค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 15
แล้ว กาลังสองของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด [O-NET 56/31*]

5. กาหนดให้ 𝑦 เป็ นรายได้ตอ่ เดือนของพนักงาน (หน่วย : หมื่นบาท)


และ 𝑥 เป็ นจานวนปี ที่พนักงานใช้ในการศึกษาระดับอุดมศึกษา
โดย 𝑥 และ 𝑦 สัมพันธ์กนั ดังนี ้ 𝑦𝑖 = 2𝑥𝑖 + 1 𝑖 = 1, 2, …
ถ้าพนักงานสีค่ น ซึง่ มีรายได้ตอ่ เดือนเป็ น 5 , 7 , 9 , 𝑎 (หมื่นบาท)
และค่าเฉลีย่ เลขคณิต (𝑥̅ ) ของจานวนปี ที่พนักงานใช้ในการศึกษาระดับอุดมศึกษาเท่ากับ 4 แล้ว ความแปรปรวน
ของรายได้ตอ่ เดือน เท่ากับเท่าใด [O-NET 59/30]

6. ข้อมูลชุดหนึง่ เรียงลาดับจากน้อยไปมากดังนี ้
2 3 3 𝑥 4 𝑦 7
4
ถ้าค่าเฉลีย่ เลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 4 และ √7
ตามลาดับ
แล้ว 𝑦 − 𝑥 มีคา่ เท่าใด [O-NET 54/37]
สถิติ 49

7. มีขอ้ มูล 5 จานวนซึง่ เรียงจากน้อยไปหามาก คือ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , 𝑥4 , 𝑥5 โดยมี 𝑥1 = 7 ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 𝑥


และความแปรปรวนเท่ากับ 16 ถ้ากาหนดตารางแสดงค่าของ 𝑥𝑖 − 𝑥 ดังนี ้
𝑖 𝑥𝑖 − 𝑥
1 7−𝑥
2 −3
3 −1
4 3
5 6
แล้ว ค่าของ 𝑥 เท่ากับเท่าใด [O-NET 49/1-31]

8. โรงเรียนแห่งหนึง่ มีชนั้ ม.6 อยูส่ องห้องคือ 6/1 และ 6/2 ซึง่ มีจานวนนักเรียน 52 และ 48 คน ตามลาดับ ถ้าคะแนน
สอบของนักเรียน ม.6 ทัง้ สองห้องมีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากัน และมีสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2 และ 1.5
ตามลาดับ แล้วส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนสอบของชัน้ ม.6 เท่ากับเท่าใด [O-NET 58/32]
1. √3.12 2. √3.14 3. √3.16 4. 1.75 5. 1.76

9. กาหนดให้ขอ้ มูลชุดที่หนึง่ ซึง่ ประกอบด้วย 𝑥1 , 𝑥2 , … , 𝑥10 มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 𝑥 และ ข้อมูลชุดที่สองซึง่
10
ประกอบด้วย 𝑦1 , 𝑦2 , … , 𝑦20 มีคา่ เฉลีย่ เลขคณิตเท่ากับ 𝑦 โดยที่ (𝑥𝑖 − 𝑥)2 = 160 ,
i 1
20
(𝑦𝑖 − 𝑦)2 = 110 และ 𝑥=𝑦 ถ้านาข้อมูลทัง้ สองชุดมารวมเป็ นชุดเดียวกันแล้ว ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
i 1
ของข้อมูลชุดใหม่เท่ากับเท่าใด [O-NET 51/20]
50 สถิติ

สมบัติของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีสมบัติที่นา่ สนใจดังนี ้


S.D. จะไม่มีทางติดลบ (ถึงแม้ขอ้ มูลจะเป็ นเลขติดลบ ก็ไม่มีทางได้ S.D. ติดลบ)
เพราะการยกกาลังสอง จะทาให้เลขลบกลายเป็ นบวก
ถ้า S.D. = 0 แปลว่าข้อมูลชุดนัน้ “ไม่กระจาย” เกิดขึน้ ได้เมื่อข้อมูลทุกตัวเท่ากันหมด
การเพิม่ หรือลดข้อมูลทุกตัวอย่างเท่าๆกัน โดยการบวกหรือลบด้วยค่าคงที่ จะไม่ทาให้คา่ การกระจายเปลีย่ น
เช่น ถ้าเอาข้อมูล 2 , 3 , 4 , 5 , 7 , 9 มาบวก 50 เพิ่มให้ขอ้ มูลทุกตัว
จะได้เป็ น 52 , 53 , 54 , 55 , 57 , 59
ข้อมูลชุดใหม่หลังบวก จะมี S.D. เท่ากับข้อมูลชุดเดิมที่ยงั ไม่ได้บวก
การเปลีย่ นข้อมูลทุกตัวอย่างเท่าๆกัน โดยการคูณด้วย 𝑘 จะทาให้การกระจายเปลีย่ นเป็ น |𝑘| เท่าของของเดิม
1
การเปลีย่ นข้อมูลทุกตัวอย่างเท่าๆกัน โดยการหารด้วย 𝑘 จะทาให้การกระจายเปลีย่ นเป็ น |𝑘| เท่าของของเดิม
เช่น ถ้าเอา 2 , 3 , 4 , 5 , 7 , 9 มาคูณ −10 ได้เป็ น −20 , −30 , −40 , −50 , −70 , −90
ข้อมูลชุดใหม่ จะมี S.D. เป็ น |−10| = 10 เท่าของของเดิม

ตัวอย่าง ข้อมูลอุณหภูมิประจาวัน ในหน่วย °C ชุดหนึง่ ประกอบด้วย 28 , 27 , 29 , 27 , 24 มีสว่ นเบี่ยงเบน


มาตรฐาน 2.8 เมื่อแปลงข้อมูลนีใ้ ห้อยูใ่ นหน่วย °F ด้วยสูตร (C × 59) + 32 จะกลายเป็ น 82.4 , 80.6 ,
84.2 , 80.6 , 75.2 จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนี ้ หลังจากที่แปลงเป็ นหน่วย °F แล้ว
วิธีทา ข้อนี ้ จะหา 𝑠 ตรงๆ จาก 82.4 , 80.6 , 84.2 , 80.6 , 75.2 ตรงๆ ก็ได้ แต่จะใช้แรงเยอะ
จะเห็นว่าข้อมูล 28 , 27 , 29 , 27 , 24 จะถูกแปลงโดย คูณ 59 แล้วบวกด้วย 32
การคูณด้วย 59 จะทาให้ S.D. เปลีย่ นไป 59 เท่า
แต่การบวกด้วย 32 จะไม่ทาให้ S.D. เปลีย่ น
ดังนัน้ ข้อมูลหลังแปลง จะมี S. D. ใหม่ = S. D. เดิม × 59 = 2.8 × 59 = 5.04 #

แบบฝึ กหัด
1. ช่วงก่อนสอบ นา้ หนักของนักเรียน ม. 5/1 จานวน 40 คน มีสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4 กก. เมื่อสอบเสร็จพบว่า
นักเรียนทุกคนนา้ หนักเพิ่มขึน้ คนละ 2 กก. จงหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนา้ หนักนักเรียน ม. 5/1 หลังสอบเสร็จ
สถิติ 51

2. นักเรียนกลุม่ หนึง่ ประกอบด้วยผูช้ าย 3 คน และผูห้ ญิง 2 คน โดยกลุม่ ผูช้ ายมีความแปรปรวนเท่ากับ 0 และมีอายุ


เฉลีย่ 25 ปี ถ้าผูห้ ญิงทัง้ สองคน มีอายุ 15 และ 20 ปี ตามลาดับแล้ว ความแปรปรวนของอายุนกั เรียนกลุม่ นี ้
เท่ากับเท่าใด

3. ข้อมูลชุดที่หนึง่ มี 10 จานวน คือ 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥10 ซึง่ ข้อมูลชุดนีม้ ีสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.3 ถ้าข้อมูล
ชุดที่สองมี 10 จานวน คือ 3𝑥1 + 174 , 3𝑥2 + 174 , 3𝑥3 + 174 , … , 3𝑥10 + 174 แล้วส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของข้อมูลชุดที่สองนีจ้ ะเท่ากับเท่าใด [O-NET 57/39]

4. เมื่อสองปี ก่อน นักเรียนห้องหนึง่ มี 30 คน แบ่งออกได้เป็ นสองกลุม่ กลุม่ ที่หนึง่ มี 10 คน ทุกคนมีอายุ 10 ปี และ


กลุม่ ที่สองมี 20 คน มีอายุเฉลีย่ 8.5 ปี ถ้าความแปรปรวนของอายุนกั เรียนกลุม่ ที่สอง เท่ากับ 0 แล้ว ในปั จจุบนั
ความแปรปรวนของอายุนกั เรียนห้องนี ้ เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/39]
52 สถิติ

การวัดการกระจายสัมพัทธ์

ในการเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 กลุม่ “ความมากของตัวเลข” จะมีผลในการเปรียบเทียบ


เช่น ข้อมูลชุดที่ 1: 1 , 3 , 4 , 6 , 7
ข้อมูลชุดที่ 2: 991 , 993 , 994 , 996 , 997
คนส่วนใหญ่จะรูส้ กึ ว่า ข้อมูลชุดที่ 2 เกาะกลุม่ กันมากกว่า
(แต่ถา้ คานวณ S.D. ของข้อมูลทัง้ สองกลุม่ จะได้คา่ 2.14 เท่ากัน)

พิสยั IQR หรือ S.D. ที่เรียนมา เป็ นค่าที่ใช้วดั การกระจายแบบ “สัมบูรณ์” ซึง่ เป็ นค่าที่ใช้เทียบกับใครไม่ได้
ถ้าเราต้องการเทียบการกระจายของข้อมูล 2 กลุม่ จะต้องนาตัวเลขแบบสัมบูรณ์ มา “ปรับตามขนาดข้อมูล” ก่อน
โดยตัวเลขที่ได้ จะเรียกว่าการกระจายแบบ “สัมพัทธ์”

ในหัวข้อนี ้ จะได้เรียนสูตรการวัดการกระจายสัมพัทธ์ที่เรียกว่า “สัมประสิทธิ์การแปรผัน”


ซึง่ มีสตู รคือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
| ค่าเฉลี่ยเลขคณิต |

หมายเหตุ : สัมประสิทธิ์การแปรผัน เป็ นค่าทีไ่ ม่มีหน่วย


ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ถ้าต้องการค่าในรูปเปอร์เซ็นต์ ให้คณ
ู 100 เพิ่มเข้าไป →
| ค่าเฉลีย่ เลขคณิต |
× 100

ตัวอย่าง จงหาสัมประสิทธิ์การแปรผัน ของข้อมูล 4, 5, 6, 7, 8


วิธีทา จะได้ 𝜇 = 4+5+6+7+8
5
= 6
(4−6)2 +(5−6)2 +(6−6)2 +(7−6)2 +(8−6)2
จะได้ 𝜎= √ 5

22 +12 +02 +12 +22


= √ = √2
5
𝜇
และสุดท้าย จะได้ สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
𝜎
= √2
6
#

ตัวอย่าง จงเปรียบเทียบว่าข้อมูลชุดใด กระจายมากกว่า


ข้อมูลชุดที่ 1: 1 , 3 , 4 , 6 , 7
ข้อมูลชุดที่ 2: 991 , 993 , 994 , 996 , 997
เมื่อกาหนดให้ 𝜎 ของข้อมูลชุดที่ 1 มีคา่ 2.14
วิธีทา ค่าเฉลีย่ เลขคณิตชองชุด 1 คือ 𝜇1 = 1+3+4+6+75
= 4.2
ดังนัน้ สัมประสิทธิ์การแปรผันของชุดที่ 1 คือ 𝜇𝜎1 = 2.14
4.2
…(1)
1
สังเกตว่าข้อมูลชุดที่ 2 ได้จากการบวก 990 เข้าไปในข้อมูลชุดที่ 1
จากสมบัติของ S.D. จะได้ 𝜎2 = 𝜎1 = 2.14
จากสมบัติของค่าเฉลีย่ เลขคณิต จะได้ 𝜇2 = 𝜇1 + 990 = 994.2
ดังนัน้ สัมประสิทธิ์การแปรผันของชุดที่ 2 คือ 𝜇𝜎2 = 994.2
2.14
…(2)
2
สถิติ 53

เทียบ (1) กับ (2) จะเห็นว่า 2.14


4.2
>
2.14
994.2
(เศษเท่ากัน แต่สว่ นน้อยกว่า จะได้คา่ มาก)
ดังนัน้ ข้อมูลชุดที่ 1 กระจายมากกว่า #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาสัมประสิทธิก์ ารแปรผัน ของข้อมูล 1 3 4 8

2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบของนักเรียน 2 ห้อง เป็ นดังนี ้


ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ห้อง 1 15 20
ห้อง 2 6 12

จงพิจารณาว่าห้องใดมีการกระจายของคะแนนสอบมากกว่า
54 สถิติ

แผนภาพกล่อง

แผนภาพกล่อง เป็ นแผนภาพเพื่อบอก ค่าน้อยสุด , Q1 , Q2 , Q3 และ ค่ามากสุด ดังรูป


ค่าน้อยสุด Q1 Q2 Q3 ค่ามากสุด

0 20 40 60 80 100 120 140

จากแผนภาพ จะได้วา่ Q1 = 40 , Q 2 = 65 , Q 3 = 100 ,


ค่าน้อยสุด = 20 , ค่ามากสุด = 130

หมายเหตุ : แผนภาพกล่องบางรูป อาจใช้จดุ ใหญ่ๆ ตรง ค่าน้อยสุด , Q1 , Q2 , Q3 และ ค่ามากสุด ดังรูป

0 20 40 60 80 100 120 140

และถ้ามีขอ้ มูลที่มากผิดปกติ หรือ น้อยผิดปกติ เราจะบีบเส้นกัน้ ซ้ายสุดกับขวาสุดเข้ามา ให้คลุมแค่ขอ้ มูลที่ “ไม่ผิดปกติ”


โดยเราจะยึด “เกณฑ์” ว่า ข้อมูลที่ไม่ผิดปกติควรมีคา่ ตัง้ แต่ Q1 − 1.5 IQR ไปจนถึง Q3 + 1.5 IQR
(ทบทวน : IQR คือ พิสยั ระหว่างควอไทล์ หาได้จากสูตร Q3 − Q1)
นั่นคือ เราจะ บีบเส้นกัน้ ซ้ายสุด ให้มาอยูต่ รง “ค่าน้อยสุดที่อยูใ่ นเกณฑ์”
และ บีบเส้นกัน้ ขวาสุด ให้มาอยูต่ รง “ค่ามากสุดที่อยูใ่ นเกณฑ์”
ข้อมูลที่อยูน่ อกช่วง Q1 − 1.5 IQR ถึง Q3 + 1.5 IQR เรียกว่า “ค่านอกเกณฑ์” แสดงด้วยเครือ่ งมาย × ดังในรูป
ค่าน้อยสุด ค่าน้อยสุด
ที่อยูใ่ นเกณฑ์ Q1 Q2 Q3 ที่อยูใ่ นเกณฑ์

× × ×

0 20 40 60 80 100 120 140


จากแผนภาพ จะได้วา่ Q1 = 50 , Q 2 = 60 , Q 3 = 70 ,
เราจะคานวณเองได้วา่ 1.5 IQR = 1.5(Q 3 − Q1) = 1.5(70 − 50) = 30
ดังนัน้ “เกณฑ์” คือตัง้ แต่ Q1 − 1.5 IQR = 50 − 30 = 20
ไปจนถึง Q3 + 1.5 IQR = 70 + 30 = 100
→ ค่านอกเกณฑ์ คือค่าที่นอ้ ยกว่า 20 หรือมากกว่า 100
จากแผนภาพ จะได้วา่ ค่านอกเกณฑ์ คือ 10 , 105 และ 120
ค่าน้อยสุดที่อยูใ่ นเกณฑ์ = 30 , ค่ามากสุดที่อยูใ่ นเกณฑ์ = 95
(ค่าน้อยสุดจริงๆ = 10 , ค่ามากสุดจริงๆ = 120)
สถิติ 55

140

แผนภาพกล่อง อาจเขียนตามแนวตัง้ ก็ได้ 120 ×


×
และถ้ามีขอ้ มูลลักษณะเดียวกันหลายชุด ก็สามารถ 100

เขียนข้อมูลแต่ละชุดลงบนแกนข้อมูลเดียวกัน เพื่อให้ 80
ง่ายต่อการเปรียบเทียบ ดังรูป 60

40

20 ×
×
0 ม.6/1 ม.6/2 ม.6/3
จากแผนภาพกล่อง เราจะสามารถคานวณ พิสยั (= ค่ามากสุด − ค่าน้อยสุด) และ IQR (= Q3 − Q1 ) ได้
ซึง่ ค่าเหล่านี ้ ใช้บอกการกระจายของข้อมูลได้
นั่นคือ ถ้าค่าทางซ้าย กับค่าทางขวา อยูห่ า่ งกันมาก แปลว่าข้อมูลมีการกระจายมาก

และเนื่องจาก ควอไทล์ เป็ นจุดทีแ่ บ่งข้อมูลออกเป็ น 4 ส่วนเท่าๆกัน


สิง่ ที่ตอ้ งเข้าใจให้แม่น คือ แต่ละส่วนที่ถกู แบ่งด้วยควอไทล์ จะมีขอ้ มูล 25% เท่ากันหมด
ไม่ขนึ ้ กับว่าส่วนไหนยาว ส่วนไหนสัน้ แต่ความยาว ความสัน้ จะมีผลกับ “ความแออัด” ของข้อมูล
เนื่องจาก แต่ละส่วน มีขอ้ มูล 25% เท่ากัน ดังนัน้ “ส่วนที่สนั้ จะแออัด กว่าส่วนที่ยาว”
ดังนัน้ เราจะบอกลักษณะ “การเบ้” ได้ดว้ ย โดยดูวา่ “ส่วนสัน้ อยูท่ างซ้ายหรือทางขวา”
ถ้า ส่วนสัน้ อยูท่ างซ้าย แปลว่าทางซ้ายแออัด แปลว่า โค้งโด่งซ้าย แปลว่า ข้อมูลเบ้ขวา
ถ้า ส่วนสัน้ อยูท่ างขวา แปลว่าทางขวาแออัด แปลว่า โค้งโด่งขวา แปลว่า ข้อมูลเบ้ซา้ ย

ตัวอย่าง จากแผนภาพกล่องแสดงคะแนนสอบของนักเรียน จานวน 60 คน ต่อไปนี ้

20 40 60 80 100 120

จงพิจารณาว่าข้อใดผิด
1. พิสยั ของคะแนนสอบ คือ 85 คะแนน
2. ข้อมูลมีลกั ษณะการกระจายแบบเบ้ขวา
3. นักเรียนที่ได้คะแนนในช่วง 65 - 90 มีนอ้ ยกว่า 15 คน
4. นักเรียนที่ได้คะแนนมากกว่า 50 มีจานวนมากกว่านักเรียนที่ได้คะแนนน้อยกว่า 50
วิธีทา จากแผนภาพ จะได้ ข้อมูลน้อยสุด = 25 , Q1 = 40 , Q2 = 50 , Q3 = 65 , ข้อมูลมากสุด = 110
(90 เป็ นแค่ขอ้ มูลมากสุดที่อยูใ่ นเกณฑ์ ยังไม่ใช่ขอ้ มูลมากสุดจริงๆ)
1. พิสยั = ข้อมูลมากสุด − ข้อมูลน้อยสุด = 110 − 25 = 85 ดังนัน้ ข้อ 1 ถูก
2. จะเห็นว่าส่วนสัน้ อยูท่ างซ้าย ดังนัน้ ทางซ้ายแออัด แปลว่าโค้งโด่งซ้าย
ดังนัน้ ข้อมูลนีเ้ ป็ นแบบเบ้ขวา ดังนัน้ ข้อ 2 ก็ถกู อีก
56 สถิติ

3. ควอไทล์ คือจุดที่แบ่งข้อมูลเป็ น 4 ส่วนเท่าๆ กัน


เนื่องจากมีนกั เรียน 60 คน แบ่งเป็ น 4 ส่วน จะได้แต่ละส่วนจะมีนกั เรียน 15 คน ดังรูป
Q1 Q 2 Q3
15 15 15 15
คน คน คน คน

20 40 60 80 100 120

จากภาพ จะได้วา่ ช่วง 65 - 110 มีนกั เรียน 15 คน


ดังนัน้ ข้อ 3 ถูก เพราะ ช่วง 65 - 90 เล็กกว่า 65 - 110 จึงมีนกั เรียนน้อยกว่า 15 คน

4. นักเรียนที่ได้นอ้ ยกว่า 50 คะแนน จะมี 2 ส่วน (25 - 40 และ 40 - 50) → มี 15 + 15 = 30 คน


นักเรียนที่ได้มากกว่า 50 คะแนน ก็มี 2 ส่วน (50 - 65 และ 65 - 110) → มี 15 + 15 = 30 คน
คิดเป็ นจานวนนักเรียนได้เท่ากัน → ข้อ 4 ผิด #

ตัวอย่าง จากแผนภาพกล่องแสดงข้อมูลคะแนนสอบ วิชาคณิตศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนห้องหนึง่


คณิตศาสตร์
ภาษาอังกฤษ

0 20 40 60 80 100

จงพิจารณาว่าข้อใดถูก
1. คะแนนวิชาภาษาอังกฤษ มีการกระจายน้อยกว่า
2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของคะแนนสอบทัง้ สองวิชา เท่ากัน
3. จานวนนักเรียนที่ได้คณิตศาสตร์ น้อยกว่า 65 คะแนน มีนอ้ ยกว่า
จานวนนักเรียนที่ได้ภาษาอังกฤษ น้อยกว่า 65 คะแนน
4. คะแนนสูงสุดที่อยูใ่ นกลุม่ 25 % ต่าสุด ของวิชาคณิตศาสตร์ มากกว่า
คะแนนสูงสุดที่อยูใ่ นกลุม่ 25 % ต่าสุด ของวิชาภาษาอังกฤษ
วิธีทา 1. ภาษาอังกฤษ มีช่วงคะแนน มากสุด - น้อยสุด กว้างกว่า
ดังนัน้ ภาษาอังกฤษมีการกระจายมากกว่า ข้อ 1 จึงผิด
2. เนื่องจากแผนภาพกล่อง บอกแต่ควอไทล์
ข้อมูลที่โจทย์ให้ ไม่สามารถนาไปสรุปเกี่ยวกับค่าเฉลีย่ ได้ ดังนัน้ ข้อ 2 จะจริงหรือเปล่า ก็ไม่รู ้
3. นักเรียนที่ได้คณิตศาสตร์ น้อยกว่า 65 คะแนน จะมี 3 ส่วน
แต่นกั เรียนที่ได้องั กฤษ น้อยกว่า 65 คะแนน จะมีแค่ 2 ส่วนกว่าๆ ดังนัน้ ข้อ 3 ผิด
4. “คะแนนสูงสุดที่อยูใ่ นกลุม่ 25 % ต่าสุด” หมายถึง Q1 นั่นเอง
จะเห็นว่า วิชาคณิตศาสตร์ มี Q1 = 20
วิชาภาษาอังกฤษ มี Q1 = 15 ดังนัน้ ข้อ 4 ถูกต้อง #
สถิติ 57

แบบฝึ กหัด
1. จากแผนภาพกล่องแสดงคะแนนสอบ 2 วิชา ของนักเรียนห้อง ม. 5/1 ต่อไปนี ้ จงพิจารณาว่าข้อใดถูกต้องบ้าง

วิชาที่ 1

วิชาที่ 2

0 20 40 60 80 100

1. Q1 ของวิชาที่ 1 มากกว่า Q1 ของวิชาที่ 2


2. Q 2 ของวิชาที่ 1 มากกว่า Q 2 ของวิชาที่ 2
3. Q 3 ของวิชาที่ 1 มากกว่า Q 3 ของวิชาที่ 2
4. คะแนนเฉลีย่ ของวิชาที่ 1 มากกว่า คะแนนเฉลีย่ ของวิชาที่ 2
5. คะแนนต่าสุด ในกลุม่ 25% สูงสุด ในวิชาที่ 1 มากกว่า วิชาที่ 2
6. มีนกั เรียนที่สอบได้คะแนน 30 - 40 คะแนน ในวิชาที่ 1 มากกว่า วิชาที่ 2
7. มีนกั เรียนที่สอบได้คะแนน 50 - 70 คะแนน ในวิชาที่ 1 มากกว่า วิชาที่ 2
8. มีนกั เรียนที่สอบได้คะแนนน้อยกว่า 40 คะแนน ในวิชาที่ 1 มากกว่า วิชาที่ 2
9. มีนกั เรียนที่สอบได้คะแนนน้อยกว่า 50 คะแนน ในวิชาที่ 1 มากกว่า วิชาที่ 2
10. มีนกั เรียนที่สอบได้คะแนนน้อยกว่า 70 คะแนน ในวิชาที่ 1 มากกว่า วิชาที่ 2
11. ค่านอกเกณฑ์ของคะแนนในวิชาที่ 1 จะมีคา่ น้อยกว่า 0 หรือมากกว่า 100

2. คะแนนสอบความรูท้ ่วั ไปของนักเรียน 200 คนนาเสนอโดยใช้แผนภาพกล่องดังนี ้

10 12 16 18 24
ข้อใดเป็ นเท็จ [O-NET 53/32]
1. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 12 ถึง 16 คะแนน มีเท่ากับ จานวนนักเรียนที่ทาได้ 16 ถึง 18 คะแนน
2. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 12 ถึง 18 คะแนน มีเท่ากับ จานวนนักเรียนที่ทาได้ 18 ถึง 24 คะแนน
3. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 10 ถึง 12 คะแนน มีเท่ากับ จานวนนักเรียนที่ทาได้ 18 ถึง 24 คะแนน
4. จานวนนักเรียนที่ทาได้ 10 ถึง 16 คะแนน มีเท่ากับ จานวนนักเรียนที่ทาได้ 16 ถึง 24 คะแนน
58 สถิติ

3. จากการทดสอบนักเรียนจานวน 100 คนใน 2 รายวิชา แต่ละรายวิชามีคะแนนเต็ม 150 คะแนน ถ้าผลการทดสอบ


ทัง้ สองรายวิชา เขียนเป็ นแผนภาพกล่องได้ดงั นี ้ [O-NET 50/40]

คะแนนสอบรายวิชาที่ 1

คะแนนสอบรายวิชาที่ 2

0 20 40 60 80 100 120 140

แล้ว ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนีถ้ กู
1. คะแนนสอบทัง้ สองรายวิชามีการแจกแจงแบบปกติ
2. จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนไม่เกิน 80 คะแนน ในรายวิชาที่ 1 มากกว่า
จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนไม่เกิน 80 คะแนน ในรายวิชาที่ 2
3. คะแนนสูงสุดที่อยูใ่ นกลุม่ 25 % ต่าสุด ของผลการสอบรายวิชาที่ 1 น้อยกว่า
คะแนนสูงสุดที่อยูใ่ นกลุม่ 25 % ต่าสุด ของผลการสอบรายวิชาที่ 2
4. จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนระหว่าง 60 - 80 คะแนน ในการสอบรายวิชาที่ 2 น้อยกว่า
จานวนนักเรียนที่ได้คะแนนในช่วงเดียวกัน ในการสอบรายวิชาที่ 1

4. จากแผนภาพกล่องของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนจาแนกตามเพศเป็ นดังนี ้

คะแนนสอบของนักเรียนหญิง

คะแนนสอบของนักเรียนชาย

0 คะแนนสอบ 100
ข้อสรุปในข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [O-NET 49/1-32]
1. คะแนนสอบเฉลีย่ วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชาย
สูงกว่าคะแนนสอบเฉลีย่ วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิง
2. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชายมีการกระจายเบ้ขวา
3. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงมีการกระจาย
มากกว่าคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชาย
4. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหญิงมีการกระจายเบ้ขวา
สถิติ 59

สถิติภาคบรรยาย

1. 7 2. 4 3. 4 4. 3

ตารางแจกแจงความถี่

1. 1. ร้อยละของ ร้อยละของ
ความถี่ ความถี่ ความถี่สะสม
ค่าข้อมูล ความถี่ ความถี่ ความถี่สะสม
สะสม สัมพัทธ์ สัมพัทธ์
สัมพัทธ์ สัมพัทธ์
1 - 10 7 7 0.35 0.35 35 35
11 - 20 9 16 0.45 0.80 45 80
21 - 30 4 20 0.20 1.00 20 100
20 1.00 100

2. ค่าข้อมูล ความถี่ ความถี่สะสม จุดกึ่งกลางชัน้ ความกว้างชัน้ ขอบล่าง ขอบบน


1 - 10 5 5 5.5 10 0.5 10.5
11 - 20 11 16 15.5 10 10.5 20.5
21 - 30 2 18 25.5 10 20.5 30.5
31 - 40 2 20 35.5 10 30.5 40.5
20

3. ค่าข้อมูล ความถี่ ความถี่สะสม จุดกึ่งกลางชัน้ ความกว้างชัน้ ขอบล่าง ขอบบน


3- 8 2 2 5.5 6 2.5 8.5
9 - 14 3 5 11.5 6 8.5 14.5
15 - 20 11 16 17.5 6 14.5 20.5
21 - 26 4 20 23.5 6 20.5 26.5
20

4. ค่าข้อมูล ความถี่ ความถี่สะสม จุดกึ่งกลางชัน้ ความกว้างชัน้ ขอบล่าง ขอบบน


1- 4 5 5 2.5 4 0.5 4.5
5- 8 7 12 6.5 4 4.5 8.5
9 - 12 13 25 10.5 4 8.5 12.5
13 - 16 5 30 14.5 4 12.5 16.5
30

2. 0.25 3. 2-6 4. 4 5. 3
6. 2

Error! Reference source not found.

1. 1. ค่าข้อมูล ความถี่ 2. นา้ หนัก จานวนคน


4- 9 5 2- 6 5
10 - 15 15 7 - 11 5
16 - 21 20 12 - 16 10
22 - 27 10 17 - 21 5
60 สถิติ

แผนภาพลาต้นและใบ

1. ค่าข้อมูล ความถี่ 2. 4
80 - 88 4
89 - 97 4
98 - 106 3
107 - 115 3

ค่าเฉลีย่ เลขคณิต

1. 10.6 2. 9.5 3. 7.9 4. 7.2


5. 2:1 6. 56 7. 22 8. 2236
2
9. 3:2 10. 49 3 11. 21.9 12. 134
13. 96

ค่าเฉลีย่ ถ่วงนา้ หนัก

1. 3 2. 1 3. 2.70 4. 21

มัธยฐาน

1. 1. 13.5 2. 8 3. 18.5 4. 9
5. 3 6. 22.5 7. 16 8. 53
2. 17, 16 3. 3 4. 5

ฐานนิยม

1. 1. 12 2. ไม่มี 3. 7 4. 9
5. 24, 25
2. 1 3. 2 4. 4 5. 4
1
6. 2 7. 4 8. 1 9. 3
10. 1

เปรียบเทียบค่ากลางแต่ละชนิด

1. 1. เบ้ซา้ ย 2. เบ้ขวา
2. 2 3. 3 4. 2 5. 2
6. 1 7. 5 8. 1
สถิติ 61

การวัดตาแหน่งข้อมูล

1. 1. 29 2. 38 3. 24 4. 13.2
2. 19 3. 55 4. 52.4 5. 3
6. 67.15 7. 87.7 8. 24 9. 3
10. 5 11. 23.4 12. 71 13. 66
14. 1 15. 60 16. 21

พิสยั

1. 1. 29 2. 33
2. 11, 12, 19 3. 45 4. 84.25 5. 4
6. 4 7. 48 8. 4

พิสยั ระหว่างควอไทล์

1. 1. 18 2. 17

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

√30 30
1. 1. √2 , 2 2. 2
, 4
2. 4 3. 80 4. 6.4 5. 18.67
6. 1 7. 12 8. 3 9. 3

สมบัติของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
1
1. 4 2. 16 3. 6.9 4. 2

การวัดการกระจายสัมพัทธ์

√26
1. 8
2. ห้อง 2

แผนภาพกล่อง

1. 2, 7 2. 2 3. 3 4. 2
62 สถิติ

เครดิต
ขอบคุณ คุณครูเบิรด์ จาก กวดวิชาคณิตศาสตร์ครูเบิรด์ ย่านบางแค 081-8285490
และ คุณ Orn Wattanaplaeng
ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารด้วยครับ

You might also like