You are on page 1of 41

หน่วยการเรียนรู้

ที่
4 สถิ
ติ
ตัวชี ้
วัคดวามรู้ทางสถิติใน
• เข้าใจและใช้
การนำเสนอข้อมูลและวิเคราะห์
ข้อมูลจากแผนภาพจุด แผนภาพ
ต้น-ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลาง
ของข้อมูล และแปลความหมาย
ผลลัพธ์ รวมทัง้ นำสถิติไปใช้ใน
ชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะ
สม (ค 3.1 ม.2/1)
ค่ากลางของ
ข้อมูล

เราไปฟั งบทสัมภาษณ์ อีกความภาคภูมิใจสำหรับน้องๆ


ของ นักเรียนไทยที่ได้
น้องๆ นักเรียนกันเลย เข้าแข่งขันคณิตศาสตร์ระดับโลก และ
ครับ ได้คว้าชัยชนะกลับมา
ค่ากลางของ
ข้อมูล การแข่งขันครัง้ นีเ้ น้นเรื่อง
สถิติครับ
ซึ่งผมชอบเรียนเรื่องนีอ ้ ยู่
แล้วครับ ใช่แล้วค่ะ สถิติสามารถนำ
มาใช้
ในชีวิตประจำวันได้ด้วยค่ะ

อธิบายได้ไหมครับว่า
เกี่ยวข้องกับ
ชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง
ค่ากลางของ
ข้อมูล

สถิติในชีวิตประจำวันที่เรามักจะพบ
บ่อยๆ คือ ค่ากลางของข้อมูล เป็ น
ตัวแทนและอธิบายลักษณะของ
ข้อมูลแต่ละชุด ซึ่งสะดวกต่อการ
จดจำและสรุปเรื่องราว
ที่สำคัญของข้อมูลชุดนัน ้ ๆ โดยใน
ระดัค่าบเฉลี
ชัน
้ มั
่ยธยมศึก
มัษาตอนต้
ธยฐา นนี ้ จะ
ศึกเลขคณิ
ษาค่ากลางของข้ อมู ล เพี ฐานนิ
ยง 3 ยม
ต น
ชนิด ได้แก่
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ค่าเฉลี่ย
เลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เป็ นค่าที่ได้จาก
การนำค่าของข้อมูลที่ต้องการหา
ค่าเฉลี่ยทุกค่ามารวมกัน
แล้วหารด้วยจำนวนของข้อมูล
ทัง้ หมด
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตัวอย่าง
ที่ 1
จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย 22, 24, 26, 28, 30,
32 วิธี เนื่องจาก ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =
ทำ
จะได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =
=

= 27
ดังนัน
้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล
ชุดนีเ้ ท่ากับ 27
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตัวอย่าง
ที่ 2
สมชายยิงธนู 10 ครัง้ ปรากฏว่าได้คะแนน ดังนี ้
วิธี เนื่องจาก ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =
ทำ
ได้ 7 คะแนน จะได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =
2 ครัง้
จะได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =
ได้ 8 คะแนน
3 ครัง้ =
ได้ 9 คะแนน
= 8.5
3 ครั
จงหาค่ ง้ ่ยเลขคณิต
าเฉลี
ได้
ของคะแนน 10 คะแนน ดั งนั
น ้ ค่ า เฉลี ย
่ เลขคณิ ตของคะแนนที ไ
่ ด้
2 ครัง ้ จากการยิงธนูเท่ากับ 8.5
ที่ได้จากการยิงธนู
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ค่าเฉลี่ย
เลขคณิต
จาก ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =
จะได้ ผลรวมของข้อมูล = ค่า
เฉลี่ยเลขคณิต × จำนวนข้อมูลทัง้ หมด
ดังนัน
้ จำนวนข้อมูลทัง้ หมด =

จากความสัมพันธ์ต่างๆ ของค่าเฉลี่ยเลขคณิต
สามารถประยุกต์ใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาต่างๆ
ดังนี ้
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตัวอย่าง
ที่ 3
น้ำหนักโดยเฉลี่ยของแตงโมจำนวน 15 ลูก เท่ากับ 5.2 กิโลกรัม
1) หาน้ำหนักรวมของแตงโม 15 ลูก
2) ถ้าเพิ่มแตงโมอีก 1 ลูก หนัก 4.5 กิโลกรัม น้ำหนักเฉลี่ยของ
แตงโมชุ
1) ดนีจ
หาน้ำหนั้ กะเป็ นเท่าใด
รวมของแตงโม
15 ลูก วิธี
เนื่องจาก ผลรวมของข้อมูล = ค่าเฉลี่ย
ทำ เลขคณิต × จำนวนข้อมูลทัง้ หมด
จะได้ว่า น้ำหนักรวมของแตงโม = น้ำ
หนักโดยเฉลี่ยของแตงโม
= × จำนวนแตงโมทั
5.2 × 15 ง้ หมด
= 78 กิโลกรัม
ดังนัน
้ น้ำหนักรวมของแตงโม 15 ลูก
เท่ากับ 78 กิโลกรัม
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตัวอย่าง
ที่ 3
น้ำหนักโดยเฉลี่ยของแตงโมจำนวน 15 ลูก เท่ากับ 5.2 กิโลกรัม
1) หาน้ำหนักรวมของแตงโม 15 ลูก
2) ถ้าเพิ่มแตงโมอีก 1 ลูก หนัก 4.5 กิโลกรัม น้ำหนักเฉลี่ยของ
แตงโมชุ
2) ถ้าเพิด
่มนี
จ ้ ะเป็ นเท่
แตงโมอี ก1 าใด
ลูก หนัก 4.5 กิโลกรัม น้ำหนักเฉลี่ย
วิธดี นีจ
ของแตงโมชุ ้ ะเป็ นเท่าใด
ถ้าเพิ่มแตงโมอีก 1 ลูก จำนวนแตงโม
ทำ น้ำหนั
จะเพิ่มกเป็
เฉลี
น ่ย16
ของแตงโม
ลูก 16 ลูก =

= = 5.16

ดังนัน
้ น้ำหนักเฉลี่ยของแตงโมชุดนีป
้ ระมาณ
5.16 กิโลกรัม
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตัวอย่าง
ที่ 4
แมคชั่งน้ำหนักปลาทะเลจำนวน 10 ตัว ซึ่งหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้ำ
หนักปลาทัง้ 10 ตัว ได้เท่ากับ 2.21 กิโลกรัม ถ้าน้ำหนักของปลาทะเล 9
ตัวแรก เท่ากับ 2.50, 1.70, 0.80, 3.80, 1.70, 2.10, 3.10, 2.40 และ
วิธี
1.30 กิโลกรั ม จงหาน้ำหนั
กำหนดให้ กของปลาทะเลตั
x แทนน้ำหนั กปลาทะเลตัวว
ทีที ่ 10
่ 10
ทำ ผลรวมของข้อมูล = 2.50 + 1.70 + 0.80 + 3.80 + 1.70
+ 2.10 + 3.10 + 2.40 + 1.30
= 19.4
จาก ผลรวมของข้อมูล = ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ×
จะได้ 19.4 + x = 2.21 × 10
จำนวนข้อมูลทัง้ หมด
19.4 + x = 22.1
x = 22.1 – 19.4
x = 2.7 กิโลกรัม
ดังนัน
้ น้ำหนักปลาทะเลตัวที่ 10 เท่ากับ
จากคำถาม
ข้างต้น

สถานที่ท่องเที่ยวบนภูเขาสามารถชม อยากทราบว่าน้ำหนักเฉลี่ย
ทิวทัศน์ได้ 360 องศา ต่อคน
มีกระเช้าลอยฟ้ าให้บริการ โดยมีเงื่อนไข ควรเป็ นเท่าใด
ว่า กระเช้าสามารถ
รับน้ำหนักได้มากสุด 300 กิโลกรัม หรือ
จำนวนคนสูงสุด
จากคำถาม
ข้างต้น

วิธี
ในกรณีที่มีผู้โดยสารเต็มกระเช้า 4
ทำ เนื่องจาก ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =
คน

จะได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =

= 75
ดังนัน
้ น้ำหนักเฉลี่ยต่อคนเท่ากับ 75
กิโลกรัม
ค่ากลางของ
ข้อมูล

สถิติในชีวิตประจำวันที่เรามักจะพบ
บ่อยๆ คือ ค่ากลางของข้อมูล เป็ น
ตัวแทนและอธิบายลักษณะของ
ข้อมูลแต่ละชุด ซึ่งสะดวกต่อการ
จดจำและสรุปเรื่องราว
ที่สำคัญของข้อมูลชุดนัน ้ ๆ โดยใน
ระดัค่าบเฉลี
ชัน
้ มั
่ยธยมศึก
มัษาตอนต้
ธยฐา นนี ้ จะ
ศึกเลขคณิ
ษาค่ากลางของข้ อมู ล เพี ฐานนิ
ยง 3 ยม
ต น
ชนิด ได้แก่
ค่ากลางของ
ข้อมูล
มัธยฐ
าน
มัธยฐาน เป็ นค่าที่อยู่ในตำแหน่งตรงกลางของ
ข้อมูลที่จัดเรียงลำดับ
จากน้อยไปมากหรือจากมากไปน้อย
ลองพิจารณาชุดข้อมูลต่อไปนี ้
จงหามัธยฐานของข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย 3,
วิธี
5, 2,งข้1,อมู
จัดเรีย 7,ลทั
9,ง้ 2, 8,า 5จากน้อยไปหามากได้ ดังนี ้
9 ค่
ทำ
1 2 2 3 5 5 7 8 9
ตำแหน่ง
ตรงกลาง
ค่าของข้อมูลที่อยู่ในตำแหน่งตรงกลาง คือ 5
ดังนัน
้ มัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 5
ค่ากลางของ
ข้อมูล
มัธยฐ
าน
ลองพิจารณาชุดข้อมูลต่อไปนี ้ จงหามัธยฐาน
ของข้อมูลนี ้
วิธี
จัด28,
เรีย22,
งข้อ30, 31, 25,
มูลจาดน้ 35, 38, 32,จารณาหาค่า
อยไปมากและพิ
ทำ
37, 25
ตรงกลางได้ ดังนี ้
22 25 25 28 30 31 32 35 ตำแหน่37งคู38

เนื่องจาก 30 และ 31 เป็ นข้อมูลที่อกลาง ยู่
ในตำแหน่
ให้ x เป็ นมังธคูยฐานของข้
่กลาง อมูลชุดนี ้ แสดงว่า x ต้องมีระยะ
ระยะห่ ห่าางระหว่
งจาก 30 าง 30 และและ
31 31
เท่าคื
กัอน1
และระยะห่างที่เท่ากัน คือ ระยะที่แบ่งครึ่งซึ่งเท่ากับ = 0.5
ดังนัน
้ ข้อมูลในตำแหน่งตรงกลางหรือมัธยฐานของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 30 + 0.5 = 30.5
หรือ พิจารณาจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ 30 กับ 31 ซึ่ง
เท่ากับ = 30.5
ค่ากลางของ
ข้อมูล
มัธยฐ
าน
จะเห็นได้ว่า ค่ามัธยฐานที่จำนวนข้อมูล
เป็ นจำนวนคี่นน ั้
สามารถหาค่าของข้อมูลที่อยู่ตรงกลาง
ได้ทันแต่
ที ถ้ากรณีค่ามัธยฐานที่จำนวน
ข้อมูลเป็ นจำนวนคู่
เราสามารถหาได้จาก
มัธยฐาน =
ค่ากลางของ
ข้อมูล
มัธยฐาน ตัวอย่าง
โรสมีมะละกอ 8 ผล ชั่งน้ำหนักของแต่ละผลได้ 780, 810, 862, 790,
769, 835, 878 และ 795 กรัม
วิธธี ยฐานของน้ำหนักของมะละกอ
จงหามั จัดเรียงน้ำหนักของมะละกอจากน้อยไปมากได้ดังนี ้
ทำ ตำแหน่ง
769 780 790 795 810 835
ตรงกลาง
862
เนื่องจาก 878 มะละกอมีทงั ้ หมด 8 ผล ซึ่งเป็ น
ดั งนัน
จำนวนคู ้ ่
คื
มัอธยฐานจึน้ำหนั
งเท่กาของมะละกอที ่หนัก ต
กับ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ 795 และ 810
ของน้ำหนั ก 2กรั
ค่ามที่
เนื
อยู่ อ่ตงจาก
รงกลางมัธยฐาน =
= = 802.5

ดังนัน
้ มัธยฐานของน้ำหนักของมะละกอ
ค่ากลางของ
ข้อมูล

สถิติในชีวิตประจำวันที่เรามักจะพบ
บ่อยๆ คือ ค่ากลางของข้อมูล เป็ น
ตัวแทนและอธิบายลักษณะของ
ข้อมูลแต่ละชุด ซึ่งสะดวกต่อการ
จดจำและสรุปเรื่องราว
ที่สำคัญของข้อมูลชุดนัน ้ ๆ โดยใน
ระดัค่าบเฉลี
ชัน
้ มั
่ยธยมศึก
มัษาตอนต้
ธยฐา นนี ้ จะ
ศึกเลขคณิ
ษาค่ากลางของข้ อมู ล เพี ฐานนิ
ยง 3 ยม
ต น
ชนิด ได้แก่
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ฐานนิ
ยม
ในกรณีที่ข้อมูลเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพหรือเป็ นข้อมูล
ที่บ่งบอกการเป็ นสมาชิกของกลุ่ม เช่น เพศ กีฬา
รายวิชา ข้อมูลลักษณะนีไ้ ม่ใช่จำนวน จึงไม่สามารถ
หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือมัธยฐานได้ แต่จะพิจารณา
จากความถี่ของข้อมูลและใช้ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด
เป็จงหาฐานนิ
นค่ากลางของข้ ยมของข้ อมูลอชุมูดลนัต่น
้ อไปนี ้ ากลางนีว
เรียกค่ ้ ่า
ฐานนิ5,ยม7, 9, 6, 8, 5, 6, 9, 6, 9, 5, 7, 9
วิธี
จากข้อมูลที่กำหนดให้มีข้อมูล
ทำ
ทีอ
คื ่ซํา้ 9กัน มากที
ซ้ำกั น 4่สุด
้ ครั
ดังนัน ฐานนิง้ ยมของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 9
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ฐานนิ
ยม
ในกรณีที่ข้อมูลชุดหนึ่งมีจำนวนครัง้ ในการเกิดซํา้
หรือมีความถี่สูงสุด
เท่ากัน 2 ค่า ถือว่าข้อมูลชุดนัน
้ มีฐานนิยม 2 ค่า
จงหาฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี ้
125, 130, 112, 125, 103, 115, 151, 110,
112,
วิธี
112,
จากข้125,
อมูลที151, 101, 121,
่กำหนดให้ มีข้อมู103,
ลที่ซํา้ 121,
กัน 112,
ทำ
125
มากที่สุดคือ 125 ซ้ำกัน 4 ค่า และ 112 ซ้ำ
ดังนัน กัน 4
้ ฐานนิ ค่า
ยมของข้ อมูลชุดนีเ้ ท่ากับ 125 และ 112
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ฐานนิ
ยม
ในกรณีที่ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดเท่ากันมากกว่า 2 ค่า
ในที่นจ ี ้ ะไม่พิจารณาหาฐานนิยมของข้อมูลนัน ้ และ
ถ้าข้อมูลชุดใดประกอบด้วยข้อมูลที่มีความถี่เท่ากัน
ทัง้ หมดหรือข้อมูลชุดใดไม่มีข้อมูลซํา้ กัน จะถือว่า
ข้อจงหาฐานนิ
มูลชุดนัน ้ ไม่ยมมของคะแนนสอบวิ
ีฐานนิยม ชาคณิตศาสตร์
ของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง ดังนี ้
วิธ25,ี 25, 25, 30, 30, 30, 35, 35, 35, 40, 40,
จากข้อมูลที่กำหนดให้ทุกข้อมูลมีการเกิดซํา้
ทำ
40
จำนวน 3 ครัง้ หรือมีความถี่เท่ากัน คือ 3 จึง
ไม่มีข้อมูลที่ซา
ํ ้ กันมากที่สุด
ดังนัน
้ คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของ
นักเรียนกลุ่มนี ้
จึงไม่มีฐานนิยม
ค่ากลางของ
ข้อมูล
ฐานนิ
ยม
ในกรณีที่ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุดเท่ากันมากกว่า 2 ค่า
ในที่นจ ี ้ ะไม่พิจารณาหาฐานนิยมของข้อมูลนัน ้ และ
ถ้าข้อมูลชุดใดประกอบด้วยข้อมูลที่มีความถี่เท่ากัน
ทัง้ หมดหรือข้อมูลชุดใดไม่มีข้อมูลซํา้ กัน จะถือว่า
ข้อลองพิ
มูลชุดจนัารณาชุ
้ ไม่มีฐด
น ข้อมู
านนิ ยลมต่อไปนี ้
จากการสุ่มนักเรียน 7 คน มาชั่งน้ำหนัก (กิโลกรัม
) ดังนี ้
วิธ45, ี 60, 55, 70, 49, 42, 66
จากข้อมูลที่กำหนดให้ ทุกข้อมูลมีการเกิดซํา้
ทำ
หรือ
มีความถี่เท่ากัน คือ 1
ดังนัน้ น้ำหนัก (กิโลกรัม) ของนักเรียนกลุ่มนี ้
จึงไม่มีฐานนิยม
การเลือกและการใช้ค่า
กลางของข้อมูล

เราทราบวิธีการหาค่ากลาง เราจะมีวิธีการเลือกและการใช้ค่า
ชนิดต่างๆ แล้ว กลางของข้อมูล
ได้อย่างไร ไปเรียนรู้กัน
การเลือกและการใช้ค่า
กลางของข้อมูล

การเลือกใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
1)ต้องเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณเท่านัน ้
2)ค่าที่คำนวณได้จะมีเพียงหนึ่งค่าเท่านัน
้ ที่
จะเป็ นตัวแทนที่ใช้อ้างอิงในการแปล
ความหมาย
3)ถ้าข้อมูลชุดนัน้ มีข้อมูลบางค่ามากกว่า
หรือน้อยกว่าข้อมูลอื่นจนผิดปกติ จะ
ทำให้ได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ไม่เหมาะสม
อาจทำให้การแปลความหมายคลาด
เคลื่อน
การเลือกและการใช้ค่า
กลางของข้อมูล

การเลือกใช้มัธยฐาน
1) ต้องเป็ นข้อมูลเชิงปริมาณ
2) ค่าที่คำนวณได้จะมีเพียงหนึ่งค่าเท่านัน
้ ที่จะเป็ นตัวแทนที่
ใช้อ้างอิงในการแปลความหมาย
3) เมื่อบางข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลง มัธยฐานอาจจะ
เปลี่ยนแปลงหรือไม่เปลี่ยนแปลงก็ได้ ยกเว้น กรณีที่ข้อมูลที่
เปลี่ยนแปลงเป็ นตำแหน่งตรงกลางหรือคู่กลางของข้อมูล
4) ถ้าข้อมูลชุดนัน้ มีข้อมูลบางค่ามากกว่าหรือน้อยกว่าข้อมูล
อื่นๆ จนผิดปกติ แต่ไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง
ดังนัน้ มัธยฐานจึงเป็ นตัวแทนที่เหมาะสม
การเลือกและการใช้ค่า
กลางของข้อมูล

การเลือกใช้ฐานนิยม
ฐานนิยมของข้อมูลสามารถใช้ได้กับ
ข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ แต่
ฐานนิยมไม่สามารถใช้ได้กับข้อมูลบางชนิด
เช่น ข้อมูลมีการเกิดซํา้ เท่าๆ กันทุกค่า หรือ
มีการเกิดซํา้ กันมากที่สุดของข้อมูลหลายค่า
การเลือกและการใช้ค่ากลาง
ของข้อมูล
ตัวอย่าง
ลิซ่าสำรวจราคาเสื้อผ้าที่เพื่อนในกลุ่มใส่ โดยนำมาจัดเรียงราคา (บาท) จากน้อยไป
มาก ดังนี ้
199 199 199 259 259 259 350 350 499 799
จงหา
1) ฐานนิยมของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด 2) มัธยฐานของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด
3) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด 4) ค่ากลางชนิดใดเหมาะสมกับ
1) ฐานนิยมของราคาเสื้อ
ข้อมูลชุดนี ้ เพราะเหตุใด
เป็ นเท่าตอ
ใด
เนื่องจากข้อมูลมีการจัดเรียงลำดับแล้ว
บ ฐานนิยมของราคาเสื้อราคาเท่ากับ 199 บาท และ 259 เพราะเป็ นค่าที่ซํา้
กันมากที่สุด
การเลือกและการใช้ค่ากลาง
ของข้อมูล
ตัวอย่าง
ลิซ่าสำรวจราคาเสื้อผ้าที่เพื่อนในกลุ่มใส่ โดยนำมาจัดเรียงราคา (บาท) จากน้อยไป
มาก ดังนี ้
199 199 199 259 259 259 350 350 499 799
จงหา
1) ฐานนิยมของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด 2) มัธยฐานของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด
3) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด 4) ค่ากลางชนิดใดเหมาะสมกับ
2) มัล
ข้อมู ธยฐานของราคาเสื
ชุดนี ้ เพราะเหตุใด้อ
ตอ
เป็ นเท่าใด
เนื่องจากข้อมูลมีการจัดเรียงลำดับแล้ว และมีจำนวนของ
บ ข้
มัอ มูลเป็ นจำนวนคู
ธยฐานจึ งเท่ากับค่่ าเฉลี่ยเลขคณิตของตำแหน่งคู่กลาง ซึ่ง
ตำแหน่งคู่กลางมีดังนัค
้ ่ามั
น เท่ธายฐานของราคา
กันคือ 259
เสื้อผ้าเท่ากับ 259
การเลือกและการใช้ค่ากลาง
ของข้อมูล
ตัวอย่าง
ลิซ่าสำรวจราคาเสื้อผ้าที่เพื่อนในกลุ่มใส่ โดยนำมาจัดเรียงราคา (บาท) จากน้อยไป
มาก ดังนี ้
199 199 199 259 259 259 350 350 499 799
จงหา
1) ฐานนิยมของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด 2) มัธยฐานของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด
3) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด 4) ค่ากลางชนิดใดเหมาะสมกับ
3) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคา
ข้อมูลชุดนี ้ เพราะเหตุใด
ตอ าใด ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาเสื้อ =
เสื้อเป็ นเท่
บ =
= = 337.2

ดังนัน
้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 337.2 บาท
การเลือกและการใช้ค่ากลาง
ของข้อมูล
ตัวอย่าง
ลิซ่าสำรวจราคาเสื้อผ้าที่เพื่อนในกลุ่มใส่ โดยนำมาจัดเรียงราคา (บาท) จากน้อยไป
มาก ดังนี ้
199 199 199 259 259 259 350 350 499 799
จงหา
1) ฐานนิยมของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด 2) มัธยฐานของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด
3) ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของราคาเสื้อเป็ นเท่าใด 4) ค่ากลางชนิดใดเหมาะสมกับ
4) ค่ากลางชนิดใดเหมาะสมกับข้อมูล
ข้อมูลชุดนี ้ เพราะเหตุใด
ชุดนี ้ เพราะเหตุใด
ตอ
ค่ากลางของข้อมูลที่เหมาะสม คือ มัธยฐาน เพราะฐานนิยมของข้อมูลมี 2
บ ค่า จึงไม่เหมาะสม
และค่าเฉลี่ยเลขคณิตไม่เหมาะสม เพราะราคาเสื้อที่น้อยสุดกับมากสุดต่าง
กันมากเกินไป
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ประกอบการตัดสินใจ

วันนีเ้ ราจะนำเสนอผลการสำรวจ เรามาเริ่มวิเคราะห์ข้อมูลใน


การอ่านของประชากร ในช่วงอายุ แต่ละส่วน
15-24 ปี ที่อยู่ในการนำเสนอข้อมูลชุด
ของปี พ.ศ. 2561 กันนะครับ นีก
้ ันเลยค่ะ
ที่มา :
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ประกอบการตัดสินใจ

วัยรุ่นไทยอายุ 15 -24 ปี มีการ


อ่านหนังสือ
คิดเป็ น 92.9% ซึ่งเป็ นเพศหญิง
มากกว่าเพศชาย

ที่มา :
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ประกอบการตัดสินใจ

เหตุผลของวัยรุ่นที่ไม่อ่านหนังสือ
ส่วนใหญ่มาจากไม่ชอบหรือไม่สนใจ ชอบใช้เวลาในการดู
โทรทัศน์มากกว่า
แต่มีจุดที่น่าสังเกต คือ มีวัยรุ่นให้เหตุผลในการไม่อ่าน
หนังสือว่าอ่านไม่ออกสูงถึง 23.1%

ที่มา :
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ประกอบการตัดสินใจ

จำนวนผู้ที่อ่านหนังสือของวัยรุ่นในแต่ละภูมิภาค
สูงกว่า 89%
โดยที่ประชากรในเขตเทศบาลและนอกเขต
เทศบาล
มีจำนวนผู้ที่อ่านใกล้เคียงกัน

ที่มา :
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ประกอบการตัดสินใจ

วัยรุ่นอายุ 15–24 ปี ใช้เวลาการอ่านหนังสือโดยเฉลี่ย


ในแต่ละปี มากขึน
้ เรื่อยๆ
โดยในปี พ.ศ. 2561 ใช้เวลาในการอ่านหนังสือโดย
เฉลี่ย 109 นาที/วัน

ที่มา :
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ประกอบการตัดสินใจ

เหตุผลในการอ่านหนังสือส่วนใหญ่
มาจากต้องการเพิ่มพูนความรู้

ที่มา :
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ประกอบการตัดสินใจ

ประเภทหนังสือที่อ่านส่วนใหญ่ยังคงเป็ นตัว
เล่มหนังสือ แต่ในอนาคตมีแนวโน้มว่าการ
อ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะมากขึน
้ เรื่อยๆ

ที่มา :
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ประกอบการตัดสินใจ

ช่องทางในการเข้าถึงสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่
มาจากการเข้าใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อ
สังคมออนไลน์

ที่มา :
การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติ
ประกอบการตัดสินใจ

ความรู้เกี่ยวกับสถิติมีอยู่รอบๆ ตัว
เรา
ถ้านักเรียนสามารถแปลความหมาย
จากการ
นำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ได้
ก็จะทำให้เรา

You might also like