You are on page 1of 102

ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.

com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น


บทที่ 13 การวิเคราะห์ขอ
้ มูลเบื้องต้น
ข้ อมูล คือข้อความจริ งที่บอกถึงลักษณะ หรื อสถานการณ์ หรื อปรากฎการณ์หนึ่ง โดยที่
ข้อมูลอาจเป็ นตัวเลขหรื อข้อความก็ได้
การจาแนกประเภทของข้อมูลนั้นอาจทาได้หลายวิธีดงั นี้
1. การจาแนกข้ อมูลตามวิธีการเก็บรวบรวมข้ อมูล จะแบ่งข้อมูลได้เป็ น
ก. ข้อมูลปฐมภูมิ คือข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง ซึ่ งอาจทา
ได้โดยการสัมภาษณ์ วัด นับ หรื อสังเกต
การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิทาได้ 2 วิธี คือการสามะโนเป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูล
จากทุกๆ หน่วยของประชากร และการสารวจจากกลุ่มตัวอย่างที่เลือกมาจากกลุ่มประชากร
ข. ข้อมูลทุติยภูมิ คือข้อมูลที่ได้จากข้อมูลที่ผูอ้ ื่นรวบรวมไว้แล้ว เช่ นรายงานต่างๆ
ของหน่วยงานราชการ หรื อองค์การของรัฐบาลเป็ นต้น
2. การจาแนกประเภทของข้ อมูลตามลักษณะของข้ อมูล จะแบ่งข้อมูลได้เป็ น
ก. ข้อมูล เชิ งปริ มาณ คือข้อมู ลที่ มีล ักษณะเป็ นตัวเลขแสดงความมากน้อยสามารถ
นามาเปรี ยบเทียบกันได้โดยตรง เช่นน้ าหนัก ความสู ง อัตราดอกเบี้ย เป็ นต้น
ข. ข้อมูลเชิ งคุ ณภาพ คือข้อมูลที่ไม่เป็ นตัวเลข เช่นเพศ อาชี พ เป็ นต้น หรื ออาจเป็ น
ตัวเลขที่ ไม่แสดงถึ งความมากน้อย เช่ นเลขทะเบียนรถ บ้านเลขที่ หมายเลขโทรศัพท์ เกรดการ
เรี ยนวิชาต่างๆ เป็ นต้น
1. จงพิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
1. คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ 2. เกรดวิชาคณิ ตศาสตร์
3. หมายเลขทะเบียนรถจักรยานยนต์ 4. หมายเลขโทรศัพท์
5. ราคาข้าวสารต่อกระสอบ 6. เลขประจาตัวประชาชน
7. ขนาดรองเท้าของนักเรี ยน 8. รายได้ของคนในครอบครัว
ข้อมูลที่ถือว่าเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพมีกี่ขอ้
1. 3 ข้อ 2. 4 ข้อ 3. 5 ข้อ 4. 6 ข้อ

1
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
13.1 การวัดค่ ากลางของข้ อมูล
ค่ ากลางของข้ อมูล คือค่าที่ใช้เป็ นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดได้
ค่ากลางที่จะนามาศึกษาในที่น้ี มี 5 ชนิดได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต , มัธยฐาน , ฐานนิยม ,
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต และค่าเฉลี่ยฮาร์ มอนิก
13.1.1 ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของประชากรจะใช้สัญลักษณ์แทนด้วย 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของกลุ่มตัวอย่างจะใช้สัญลักษณ์แทนด้วย x
ในที่น้ ีจะเน้นหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของกลุ่มตัวอย่างเป็ นหลัก
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตแบ่งได้เป็ น 4 กรณี ยอ่ ยได้แก่
ก. สาหรับข้ อมูลไม่ แจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตหาได้จากสมการ
N
 xi Σx
x = i =N1 เขียนย่อเป็ น x = N i
เมื่อ x คือค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
xi คือค่าของข้อมูลตัวที่ i
Σx i คือผลรวมของข้อมูลทุกตัว
N คือจานวนตัวข้อมูลทั้งหมดที่มี
ข. ค่ าเฉลีย่ เลขคณิตถ่ วงนา้ หนัก ( ใช้ในกรณี ที่ขอ้ มูล แต่ละค่ามีความสาคัญไม่เท่ากัน )
ให้ w1 , w2 , w3 ,  , wk เป็ นความสาคัญ หรื อน้ าหนักถ่วงของข้อมูล
x1 , x2 , x3 ,  , xk ตามลาดับ จะได้วา่
k
 wi xi Σw x
x = i = k1 เขียนย่อเป็ น x = Σ wi i
 wi i
i =1
เมื่อ Σw i คือผลรวมน้ าหนักถ่วงข้อมูล
Σw i x i คือผลรวมของผลคูณน้ าหนักถ่วงกับข้อมูลนั้นๆ
ค. สาหรับข้ อมูลแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตหาได้จากสมการ
k
 fi xi Σf x
สู ตรตรง x = i = k1 เขียนย่อเป็ น x = Σ if i
 fi i
i =1
2
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
เมื่อ xi คือจุดกึ่งกลางอันตรภาคชั้นที่ i
fi คือความถี่หรื อจานวนข้อมูลชั้นที่ i
Σf i คือผลรวมความถี่ทุกอันตรภาคชั้น
Σf i x i คือผลรวมของผลคูณความถี่กบ ั จุดกึ่งกลางชั้นทุกอันตรภาคชั้น
ง. ค่ าเฉลีย่ เลขคณิตรวม
ถ้า x1 , x 2 , …. , x k เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลชุดที่ 1 , 2 , , k
N1 , N2 ,  , Nk เป็ นจานวนค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1 , 2 ,  , k
k
 Ni x i Σ Ni x
x = = 1k
i เขียนย่อเป็ น x = Σ N i
 Ni i
i =1
เมื่อ ΣN i คือผลรวมจานวนข้อมูลทุกกลุ่มย่อย
Σ Ni x คือผลรวมของผลคูณจานวนข้อมูลกับค่าเฉลี่ยแต่ละกลุ่มย่อย
i
2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลดิบ 2 , 3 , 3 , 5 , 6 , 5 , 8 , 8 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 5 3. 7 4. 10

3. กาหนดให้ขอ้ มูล 12 , 8 , a , 18 , 11 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตค่าเท่ากับ 12 แล้ว a มีค่าเท่ากับ


ข้อใดต่อไปนี้
1. 9 2. 11 3. 13 4. 15

4(แนว มช) น.ส. เล็กสอบ 3 วิชา ได้ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบ 68 คะแนน และคะแนน
ของวิชาที่ 4 เป็ น 70 คะแนน น.ส. เล็ก จะต้องสอบวิชาที่ 5 ให้ได้คะแนนเท่าไร จึงจะทาให้
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของทั้ง 5 วิชานี้เป็ น 74 คะแนน ( ทุกวิชามีคะแนนเต็มเท่ากัน )

3
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
5. นักศึกษาคนหนึ่งลงทะเบียนเรี ยนวิชาต่างๆ และได้ผลการเรี ยนดังตาราง
วิชา หน่วยกิจ เกรดที่ได้
ฟิ สิ กส์ 4 1
เคมี 4 3
ชีววิทยา 3 3
ภาษาอังกฤษ 2 2
เกรดเฉลี่ยของนักศึกษาคนนี้ มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1.56 2. 1.98 3. 2.23 4. 2.89

6(แนว มช.) นายดาลงทะเบี ยนเรี ยนในภาคการศึก ษาหนึ่ ง 4 วิช า ดังนี้ ว่ายน้ า สั งคมศาสตร์
คณิ ตศาสตร์ และฟิ สิ กส์ ปรากฏผลสอบเป็ นตารางนี้
วิชา หน่ วยกิจ เกรดทีไ่ ด้
ว่ายน้ า 1 4
สังคมศึกษา 2 X
คณิ ตศาสตร์ 3 2
ฟิ สิ กส์ 4 2
ถ้านายดาได้เกรดเฉลี่ย 2.60 แล้วค่า X มี ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

7. ร้านย้อมผ้าแห่งหนึ่งมีผา้ ยาว 45 ฟุต จานวน 6 ผืน ยาว 40 ฟุต 5 ผืน และ 36 ฟุต จานวน
9 ผืน ความยาวเฉลี่ยของผ้าทั้งหมดมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 36.0 ฟุต 2. 39.7 ฟุต 3. 40.0 ฟุต 4. 40.3 ฟุต

4
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
8. จากตารางแจกแจงความถี่ของน้ าหนัก (กิโลกรัม) ของนักเรี ยนชายห้องหนึ่ง
น้ าหนัก (กิโลกรัม) จานวน (คน)
60 – 62 5
63 – 65 8
66 – 68 42
69 – 71 27
72 – 74 18
น้ าหนักเฉลี่ยของนักเรี ยนห้องนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 60.98 2. 65.74 3. 68.35 4. 70.25

9. ผลการสอบคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนห้องหนึ่งปรากฏผลดังตาราง


คะแนนสอบ จานวนนักเรียน
30  39 8
40  49 18
50  59 12
60  69 7
70  79 5
คะแนนสอบเฉลี่ยของนักเรี ยนห้องนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 50.3 2. 51.1 3. 54.5 4. 55.7

5
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
10. จากตารางแจกแจงความถี่
อันตรภาคชั้น ความถี่
41 – 45 4
46 – 50 x
51 – 55 10
56 – 60 12
61 – 65 y
66 – 70 3
รวม 40
ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลชุดนี้ มีค่า 55.125 จงหาค่า x และ y
1. 6 , 5 2. 7 , 4 3. 8 , 3 4. 9 , 2

11. ผลการสอบวิชาเคมีของนักเรี ยน 2 กลุ่ม ปรากฏผลดังตาราง


จานวนคน ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต
กลุ่มที่ 1 5 18
กลุ่มที่ 2 7 12
คะแนนสอบเฉลี่ยของนักเรี ยนทั้งสองกลุ่มนี้ มีคา่ เท่ากับข้อใด
1. 10.5 2. 14.5 3. 20.5 4. 25.5

12(แนว En) ถ้าความสู งเฉลี่ยของนักเรี ยนห้องหนึ่งซึ่งมีจานวน 60 คน มีค่าเท่ากับ 158 ซม. และความ


สู งเฉลี่ยของนักเรี ยนชายทั้งหมดในห้องนี้ ซ่ ึ งมีจานวน 40 คน มีค่าเท่ากับ 162 ซม. ความสู งเฉลี่ย
ของนักเรี ยนหญิงในห้องนี้ จะมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 158 2. 160 3. 156 4. 150

6
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
13(แนว มช) ผลรวมของค่าสังเกตของข้อมูลชุดที่ 1 และ ชุดที่ 2 มีค่าเป็ น 50 และ 70 ตามลาดับ ถ้า
ทราบว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตรวมของข้อมูล 2 ชุ ดนี้ มีค่าเป็ น 6.00 และจานวนค่าสังเกตในข้อมูลชุ ด
ที่ 1 มีค่าเป็ น 10 แล้วจะได้วา่ จานวนค่าสังเกตในข้อมูลชุดที่ 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 10 3. 20 4. 30

สมบัติของค่ าเฉลีย่ เลขคณิต


1. ให้ X เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของ X1 , X2 ,  , XN ถ้า Xmin และ Xmax เป็ น
ค่าสังเกตที่มีค่าต่าสุ ด และ สู งตามลาดับแล้ว Xmin  X  Xmax
N
2. ถ้า X เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของ X1 , X2 ,  , XN จะได้วา่  X i = N X
i 1
N
3. ถ้า X เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของ X1 , X2 ,  , XN จะได้วา่  (Xi  X) = 0
i 1
4. ให้ X เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของ X1 , X2 ,  , XN
N
ถ้า a เป็ นค่าคงตัวใดๆ แล้ว  (Xi  a)2 จะมีค่าน้อยที่สุดเมื่อ a = X เท่านั้น
i1
5. ให้ X เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของ X1 , X2 ,  , XN ถ้า Yi = a Xi + b
โดยที่ a และ b เป็ นค่าคงตัว จะได้วา่ Y = a X + b
14. ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมีท้ งั หมด 15 ค่า และมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 20 ผลรวมของข้อมูลทั้งหมดใน
ชุดนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 100 2. 200 3. 300 4. 400

7
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
15. ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมีผลรวมเท่ากับ 400 และมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 10 ข้อมูลชุ ดนี้ มีท้ งั หมดกี่ ค่า
ข้อมูล
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

16 ข้อมูลชุดหนึ่ งมี 10 จานวน หาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตได้เท่ากับ 32 ต่อมาพบว่ามีการอ่านข้อมูลผิด


ไป 1 จานวน ข้อมูลจริ งคือ 12 แต่อ่านผิดเป็ น 2 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตที่ถูกต้องคือข้อใดต่อไปนี้
1. 30 2. 33 3. 34 4. 44

17. ข้อมูล X มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 20 จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูล Y เมื่อข้อมูลทั้งสอง


มีความสัมพันธ์กนั ดังสมการ Y = 3X – 4
1. 40 2. 46 3. 50 4. 56

18. ถ้าความสัมพันธ์ระหว่างราคาซื้ อ ( B ) และราคาขาย ( S ) ของราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งเป็ น


S = 10 + 1.4 B และพ่อค้า 10 ราย ซื้ อสิ นค้าดังกล่าวมาด้วยราคา
80 , 85 , 70 , 80 , 75 , 78 , 82 , 86 , 79 และ 69 บาท ตามลาดับ
จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของราคาขายของสิ นค้าชนิดนี้
1. 110.76 2. 115.36 3. 119.76 4. 125.96
8
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
13.1.2 มัธยฐาน
มัธยฐาน คือค่าที่มีตาแหน่ งอยูก่ ่ ึ งกลางของข้อมูลทั้งหมดเมื่อเรี ยงข้อมูลจากค่าน้อยไปค่า
มาก หรื อจากค่ามากไปหาค่าน้อย
การหาค่ามัธยฐานสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ยอ่ ยได้แก่
ก. สาหรับข้ อมูลไม่ แจกแจงความถี่
ขั้นตอนการหาค่ามัธยฐานจากข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ มีดงั นี้
ขั้นที่ 1 เรี ยงลาดับข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก หรื อจากค่ามากไปหาค่าน้อย
ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งของมัธยฐาน จาก
ตาแหน่งของมัธยฐาน = N2+ 1
เมื่อ N คือจานวนตัวข้อมูลทั้งหมด
ขั้นที่ 3 หากตาแหน่งที่คานวณได้เป็ นจานวนเต็ม
มัธยฐาน = ข้อมูลตาแหน่งที่คานวณได้จากขั้น 2 นั้น
หากตาแหน่งที่คานวณได้ไม่เป็ นจานวนเต็ม
มัธยฐาน = ( ข้อมูลตาแหน่งที่ x + ข้อมูลตาแหน่งที่ y )  2
เมื่อ x คือค่าของจานวนเต็มของตาแหน่งที่คานวณได้
y = x +1
เช่นสมมุติคานวณตาแหน่งได้ 6.5
จะได้วา่ x = 6 , y = 6 + 1 = 7
ข. สาหรับข้ อมูลแจกแจงความถี่
ขั้นตอนการหาค่ามัธยฐานจากข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว มีดงั นี้
ขั้นที่ 1 เรี ยงลาดับข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก แล้วหาค่าความถี่สะสม
ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งมัธยฐานโดย
ตาแหน่งมัธยฐาน = N2
เมื่อ N = จานวนข้อมูลทั้งหมด = ผลรวมความถี่
ขั้นที่ 3 ถ้า N2 เท่ากับความถี่สะสมของชั้นใดชั้นหนึ่ง
มัธยฐาน = ขอบบนของชั้นนั้น
ถ้า N2 ไม่เท่ากับความถี่สะสมของชั้นใดเลย ให้เลือกคิดชั้นซึ่ งมีค่าความถี่
สะสมมากกว่า N2 อยูเ่ ล็กน้อย เพราะมัธยฐานจะอยูใ่ นชั้นนี้ และหาค่ามัธยฐานได้จาก
9
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
N  f  

L 
มัธยฐาน = L + I 2 
fm  


เมื่อ L คือขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มีมธั ยฐานอยู่
fL คือผลรวมของความถี่ของทุกอันตรภาคชั้นที่เป็ นช่วงคะแนนต่ากว่าชั้น
ที่มีมธั ยฐานอยู่
fm คือความถี่ของชั้นที่มีมธั ยฐานอยู่
I คือความกว้างของอันตรภาคที่มีมธั ยฐานอยู่
19. ค่ามัธยฐานแต่ละข้อย่อยต่อไปนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด
ก) 4 , 9 , 11 , 17 , 21 , 26 , 35
ข) 2 , 4 , 5 , 7 , 9 , 10
ค) 10 , 12 , 12 , 13 , 16 , 17 , 22 , 24 , 29 , 33 , 49 , 50 , 67 , 67 ,
67 , 68 , 69 , 70 , 71
1. ก) 17 ข) 5 ค) 29 2. ก) 17 ข) 6 ค) 33
3. ก) 17 ข) 7 ค) 29 4. ก) 17 ข) 7 ค) 33

20(แนว En) กาหนดให้


ข้อมูลชุด A 1 , 3 , 2 , 2 , 5 , 3 , 4 , 4 , 3 มีมธั ยฐานเป็ น X
ข้อมูลชุด B 1 , 2 , 4 , 1 , 2 , 5 , 2 , 5 , 1 , 5 , 5 , 3 มีมธั ยฐานเป็ น Y
แล้วจะได้วา่ X + Y มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.5 2. 5.5 3. 6.0 4. 6.5

10
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
21. จากตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนของนักเรี ยนต่อไปนี้
คะแนน จานวน
60 – 69 4
70 – 79 10
80 – 89 17
90 – 99 7
100 – 109 2
ค่ามัธยฐานของคะแนนของนักเรี ยนนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 82 2. 83 3. 86 4. 88

22. จากตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนของนักเรี ยนต่อไปนี้


คะแนนสอบ จานวน
40 – 49 8
50 – 59 12
60 – 69 40
70 – 79 48
80 – 89 8
90 – 99 4
ค่ามัธยฐานของคะแนนของนักเรี ยนนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 62.5 2. 63.0 3. 67.0 4. 69.5

11
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
คุณสมบัติทสี่ าคัญของมัธยฐาน
N
สาหรับจานวนจริ ง a ใดๆ  X i  a จะมีค่าน้อยที่สุดเมื่อ a = มัธยฐาน เท่านั้น
i1
23(แนว En) จากข้อมูลซึ่ งเรี ยงลาดับจากน้อยไปมาก a , 5 , 5 , 6 , 7 , 9 , 10 , 10 , 10 , 15 ถ้าผล
ต่างของข้อมูลตัวที่มีค่ามากที่สุดและน้อยที่สุดมีค่าเท่ากับ 12
10
b เป็ นจานวนจริ งที่ทาให้  (x i  b) 2 มีค่าน้อยที่สุด
i 1
10
และ c เป็ นจานวนจริ งที่ทาให้  | x i  c | มีค่าน้อยที่สุด
i 1
แล้ว a + b + c มีค่าเท่าใด

13.1.3 ฐานนิยม
ฐานนิยม คือค่าขอข้อมูลที่มีความถี่สูงสุ ด
การหาค่าฐานนิยมสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ยอ่ ยได้แก่
ก. สาหรับข้ อมูลไม่ แจกแจงความถี่
การหาค่าฐานนิยมสาหรับข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ ให้ถือหลักว่า
ฐานนิยม = ข้อมูลตัวที่ซ้ ากันบ่อยที่สุด
สาหรับข้อมูล 1 ชุดใดๆ อาจมีฐานนิยมได้หลายค่า หรื ออาจไม่มีฐานนิยมเลยก็ได้
ข. สาหรับข้ อมูลแจกแจงความถี่
หากทุกอันตรภาคชั้นมีความกว้างเท่ากันหมด ให้เลือกคิดชั้นที่มีความถี่สูงสุ ด เพราะ
ฐาน-นิยมอยูใ่ นชั้นนี้ หาค่าฐานนิยมได้จาก
d
ฐานนิยม = L + I  d 1 d 
 1 2
เมื่อ L คือขอบล่างของชั้นที่มีฐานนิยมอยู่
d1 คือผลต่างความถี่ของชั้นที่มีฐานนิ ยมอยูก่ บั ความถี่ของชั้นที่ต่ากว่าที่ติดกัน
d2 คือผลต่างความถี่ของชั้นที่มีฐานนิยมอยูก่ บั ความถี่ของชั้นที่สูงกว่าที่ติดกัน
I คือความกว้างของอันตรภาคชั้นที่มีฐานนิยมอยู่
12
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
หากทุกอันตรภาคชั้นมีความกว้างเท่ากันหมด และมีช้ นั ที่มีความถี่สูงสุ ดเท่ากันหลายชั้น
และชั้นเหล่านั้นไม่อยูต่ ิดกัน ให้คิดทีละชั้นโดยใช้สูตรเดิม จะทาให้ได้ค่าฐานนิยมหลายค่าด้วย
หากทุกอันตรภาคชั้นมีความกว้างเท่ากันหมด และมีช้ นั ที่มีความถี่สูงสุ ดเท่ากันหลายชั้น
และชั้นเหล่านั้นอยูต่ ิดกัน ให้รวมชั้นเหล่านั้นเป็ นชั้นเดียวก่อนแล้วจึงหาค่าฐานนิยม
หากอันตรภาคชั้นมีความกว้างไม่เท่ากัน ให้หาค่า fI ของแต่ละชั้นก่อน แล้วจึงเลือกคิด
ชั้นที่มีค่า fI สู งสุ ด เพราะฐานนิยมอยูใ่ นชั้นนี้ หาค่าฐานนิ ยมได้จาก
d
ฐานนิยม = L + I  d 1 d 
 1 2
เมื่อ L คือขอบล่างของชั้นที่มีฐานนิยมอยู่
d1 คือผลต่างค่า fI ของชั้นที่มีฐานนิยมอยูก่ บั ความถี่ของชั้นที่ต่ากว่าที่ติดกัน
d2 คือผลต่างค่า fI ของชั้นที่มีฐานนิยมอยูก่ บั ความถี่ของชั้นที่สูงกว่าที่ติดกัน
I คือความกว้างของอันตรภาคชั้นที่มีฐานนิยมอยู่
24. ค่าฐานนิยมแต่ละข้อย่อยต่อไปนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด
ก) 3 , 6 , 2 , 6 , 5 , 6 , 4 , 1 , 1 , 6
ข) 21 , 13 , 12 , 6 , 23 , 23 , 20 , 19 , 13
ค) 3 , 4 , 5 , 8 , 10
1. ก) 6 ข) 13 ค) – 2. ก) 6 ข) 23 ค) –
3. ก) 6 ข) – ค) – 4. ก) 6 ข) 13 , 23 ค) –

25. อายุการใช้งานของหลอดไฟ ในการสารวจครั้งหนึ่งเป็ นดังนี้


อายุใช้งาน (ชัว่ โมง) จานวน (หลอด)
400 – 499 46
500 – 599 58
600 – 699 76
700 – 799 68
800 – 899 62
900 – 999 48
13
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
ค่าฐานนิยมมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1 640.0 2. 655.5 3. 664.3 4. 668.7

26. จากตารางแจกแจงความถี่ของน้ าหนัก (กิโลกรัม) ของนักเรี ยนห้องหนึ่ง


น้ าหนัก (กิโลกรัม) จานวน (คน)
60 – 62 5
63 – 65 18
66 – 68 42
69 – 71 27
72 – 74 8
ค่าของฐานนิยมมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 65.0 2. 66.44 3. 67.35 4. 68.52

27. จากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนด
อันตรภาคชั้น ความถี่
5–9 3
10 – 14 7
15 – 19 6
20 – 24 7
25 – 29 4
30 – 34 3
14
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
ค่าของฐานนิยมมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12.05 , 20.75 2. 13.50 , 20.75 3. 12.05 , 22.50 4. 13.50 , 22.50

28. จากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนด
อันตรภาคชั้น ความถี่
2– 5 2
6–9 6
10 – 13 6
14 – 17 4
18 – 21 2
ค่าของฐานนิยมมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9.50 2. 10.83 3. 11.25 4. 12.50

29. จากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนด
อันตรภาคชั้น ความถี่
4 – 12 10
13 – 18 20
19 – 30 28
31 – 33 2
ค่าของฐานนิยมมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 16.64 2. 21.32 3. 23.60 4. 25.00
15
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
30(แนว En) ข้อมูลชุดหนึ่งเรี ยงลาดับจากน้อยไปมากได้เป็ น
10 , 20 , 30 , 30 , a , b , 60 , 60 , 90 , 120
ถ้าฐานนิยมและมัธยฐานของคะแนนชุดนี้ เป็ น 30 และ 40 ตามลาดับ แล้ว b – a มีค่าเท่ากับ
ข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

ข้ อสั งเกตและหลักเกณฑ์ ทสี่ าคัญในการใช้ ค่ากลางชนิดต่ างๆ


1) การคานวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจะใช้ขอ้ มูลทุกๆ ตัว แต่มธั ยฐานและฐานนิยมใช้ขอ้ มูลบาง
ค่าเท่านั้น
2) ถ้ามีขอ้ มูลบางค่ามีค่าสู งหรื อต่ ากว่าข้อมูลอื่นมากๆ ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตจะเป็ นค่ากลางที่ไม่
เหมาะที่จะเป็ นตัวแทนของข้อมูล
3) ถ้าการแจกแจงความถี่ ของข้อมู ลประกอบด้วยอันตรภาคชั้นเปิ ด จะไม่ส ามารถหาค่ า
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต แต่อาจหามัธยฐานหรื อฐานนิยมได้
4) ถ้าความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้นไม่เท่ากัน อาจทาให้ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตหรื อฐานนิ ยม
คลาดเคลื่อนไปจากที่ควรจะเป็ น แต่จะไม่กระทบกระเทือนการหามัธยฐาน
5) มัธยฐานและฐานนิยมหาจากกราฟได้ แต่ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตหาจากกราฟไม่ได้
6) ในกรณี ที่ขอ้ มูลเป็ นข้อมูลเชิ งคุณภาพ จะหาได้เฉพาะฐานนิ ยมเท่านั้น จะหาค่าเฉลี่ยเลข
คณิ ตและมัธยฐานไม่ได้
7) ในสถิติช้ นั สู งค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตมีที่ใช้มาก ส่ วนมัธยฐานกับฐานนิยมแทบไม่มีที่ใช้
31(แนว มช) ค่าที่เหมาะสมที่สุดสาหรับข้อมูลข้างล่างนี้ คือ
อันตรภาคชั้น ความถี่
46 – 55 30 1. ค่าเฉลี่ยฮาร์มอนิก
56 – 75 120 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
76 – 85 90 3. ฐานนิยม
86 – 95 20 4. มัธยฐาน
96 – 125 18
16
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
32(แนว มช) ข้อมู ล ต่ อไปนี้ คื อเบอร์ รองเท้า และจานวนคู่ ที่ ผ ลิ ตได้ข องรองเท้าแตะที่ ผลิ ตโดย
โรงงานแห่งหนึ่ง
เบอร์ รองเท้า 5 6 7 8 9 10
จานวนทีผ่ ลิต (คู่) 1000 2400 2900 5200 3300 1100
ค่ากลางที่เหมาะสมสาหรับข้อมูลชุดนี้ คือข้อใด
1. ค่าฐานนิ ยม 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 3. ค่ามัธยฐาน 4. ค่าเฉลี่ยฮาร์ มอนิก

33. ตารางต่อไปนี้ แสดงวุฒิการศึกษาของคนงานในโรงงานแห่งหนึ่ง


วุฒิการศึกษา จานวนคน
ประถมศึกษา 12
มัธยมศึกษา ตอนต้น 25
มัธยมศึกษา ตอนปลาย 129
อุดมศึกษา 42
โดยเฉลี่ยแล้ว (ส่ วนมาก) คนงานมีวฒ
ุ ิการศึกษาระดับใด
1. ประถมศึกษา 2. มัธยมศึกษา ตอนต้น
3. มัธยมศึกษา ตอนปลาย 4. อุดมศึกษา

13.1.4 ค่ าเฉลีย่ เรขาคณิต


การหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ตสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ยอ่ ยได้แก่
ก. สาหรับข้ อมูลไม่ แจกแจงความถี่
ให้ x1 , x2 , x3 ,  , xN เป็ นข้อมูล N จานวน
N
G.M. = N x1x 2x3 x N หรื อ log G.M. = 1
N
 log x
i
i= 1
เมื่อ G.M. คือค่าเฉลี่ยเรขามอนิก
ข. สาหรับข้ อมูลแจกแจงความถี่
ให้ f1 , f2 , f3 , , fk เป็ นความถี่ของข้อมูล x1 , x2 , x3 ,  , xk ตามลาดับ
N k
f f f f
G.M = x11 x 22 x33 .... x kk หรื อ log G.M = N1  f i log x i
i =1
เมื่อ G.M. คือค่าเฉลี่ยเรขามอนิก
17
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
34. สาหรับข้อมูล 2 , 4 , 8 ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ตของข้อมูลชุดนี้ คือข้อใด
1. 4 2. 3 3. 3 4. 1

13.1.5 ค่ าเฉลีย่ ฮาร์ มอนิก


ค่าเฉลี่ยฮาร์ มอนิก เป็ นค่ากลางที่ใช้กบั ข้อมูลที่อยูใ่ นรู ปอัตราส่ วน เช่นค่าอัตราเร็ ว เป็ นต้น
การหาค่าเฉลี่ยฮาร์ มอนิกสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ยอ่ ยได้แก่
ก. สาหรับข้ อมูลไม่ แจกแจงความถี่
ให้ x1 , x2 , x3 ,  , xN เป็ นข้อมูล N จานวน จะได้วา่
H.M. = 1 1 1N 1 = NN
x1 + x2 + x3 + ..... + x n  x1
i =1 i
เมื่อ H.M. คือค่าเฉลี่ยฮาร์ มอนิก
ข. สาหรับข้ อมูลแจกแจงความถี่
ให้ f1 , f2 , f3 ,  , fk เป็ นความถี่ของข้อมูล x1 , x2 , x3 ,  , xk ตามลาดับ
H.M. = f f fN f = NN f
x11 + x22 + x33 + ..... + xnn  xii
i =1
เมื่อ H.M. คือค่าเฉลี่ยฮาร์ มอนิก
35. นายประพันธ์ศกั ดิ์เดินทางจากเมือง A ไปเมือง B ด้วยความเร็ วเฉลี่ย 40 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
และจากเมือง B ไปเมือง A ด้วยความเร็ วเฉลี่ย 60 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง เขาเดินทางทั้งสิ้ นด้วย
ความเร็ วเฉลี่ยเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 24 2. 48 3. 96 4. 128

18
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
13.2 การวัดตาแหน่ งทีห่ รือตาแหน่ งสั มพัทธ์ ของข้ อมูล
ควอร์ ไทล์ เป็ นค่าที่ แบ่งจานวนข้อมูลออกเป็ น 4 ส่ วนเท่าๆ กัน เมื่ อเรี ยงข้อมูลจากค่า
น้อยไปค่ามาก สาหรับข้อมูลชุดหนึ่งๆ แล้ว จะมีค่าควอร์ ไทล์อยู่ 3 ค่าได้แก่ ควอร์ ไทล์ที่ 1 ( Q1 ) ,
ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) , ควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q3 ) ( เรี ยงตามลาดับจากค่าน้อยไปค่ามาก )
เดไซด์ เป็ นค่าที่แบ่งจานวนข้อมูลออกเป็ น 10 ส่ วนเท่าๆ กัน เมื่อเรี ยงข้อมูลจากค่าน้อยไป
มาก สาหรับข้อมูลชุ ดหนึ่ งๆ แล้ว จะมีค่าเดไซด์อยู่ 9 ค่าได้แก่ เดไซด์ที่ 1 (D1) , เดไซด์ที่ 2 (D2)
, ……. , เดไซด์ที่ 9 ( D9 ) ( เรี ยงตามลาดับจากค่าน้อยไปค่ามาก )
เปอร์ เซ็นไทล์ เป็ นค่าที่แบ่งจานวนข้อมูลออกเป็ น 100 ส่ วนเท่าๆ กัน เมื่อเรี ยงข้อมูลจากค่า
น้อยไปมาก สาหรับข้อมูลชุ ดหนึ่งๆ แล้ว จะมีค่าเปอร์ เซ็นไทล์อยู่ 99 ค่าได้แก่ เปอร์ เซ็นไทล์ที่ 1
(P1) , เปอร์ เซ็นไทล์ที่ 2 (P2) , ……. , เปอร์ เซ็นไทล์ที่ 99 ( P99 ) ( เรี ยงตามลาดับจากค่าน้อยไป
ค่ามาก )

โปรดสั งเกต 1) Q2 = D5 = P50 = มัธยฐาน


2) P25 = Q1 เพราะมีขอ้ มูลที่นอ้ ยกว่าอยู่ 1 ใน 4 เช่นกัน
3) P75 = Q3 เพราะมีขอ้ มูลที่นอ้ ยกว่าอยู่ 3 ใน 4 เช่นกัน

36. หากเดไซล์ที่ 7.5 มีจริ ง ท่านคิดว่าเดไซล์ที่ 7.5 จะมีค่าเท่ากับ ควอร์ ไทล์ที่ .......... และเท่ากับ
เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ .........
1. 3 , 70 2. 3.5 , 70 3. 3 , 75 4. 3.5 , 75

19
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
ขั้นตอนการหาค่ า ควอร์ ไทล์ เดไซด์ เปอร์ เซ็นไทล์ จากข้ อมูลทีไ่ ม่ ได้ แจกแจงความถี่
การหาค่ากึ่งกลางพิสัยสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ยอ่ ยได้แก่
ก. สาหรับข้ อมูลไม่ แจกแจงความถี่
ขั้นที่ 1 เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปมาก
ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งของควอร์ ไทล์ เดไซล์ เปอร์ เซ็นไทล์ที่ตอ้ งการ โดย
ตาแหน่งของ Qr = ( N + 1 ) ( 4r )
ตาแหน่งของ Dr = ( N + 1 ) ( 10r )
ตาแหน่งของ Pr = ( N + 1 ) ( 100 r )
เมื่อ N คือจานวนตัวข้อมูล
r คือลาดับที่ของควอร์ไทล์ เดไซล์ เปอร์ เซ็นไทล์ที่ตอ้ งการ
ขั้นที่ 3 หากตาแหน่ งทีค่ านวณได้ เป็ นจานวนเต็ม
ค่ า Qr หรือ Dr หรือ Pr = ข้ อมูลตาแหน่ งทีค่ านวณได้ จากขั้น 2 นั้น
หากตาแหน่ งทีค่ านวณได้ ไม่ เป็ นจานวนเต็ม
ค่ า Qr หรือ Dr หรือ Pr
= ข้ อมูลตาแหน่ งที่ x + z (ข้ อมูลตาแหน่ งที่ y – ข้ อมูลตาแหน่ งที่ x)

เมื่อ x คือค่าของจานวนเต็มของตาแหน่งที่คานวณได้
y = x +1
z คือค่าของทศนิยมของตาแหน่งที่คานวณได้
เช่น สมมุติคานวณตาแหน่งได้ 6.23
จะได้วา่ x = 6 , y = 7 , z = 0.23
ข. สาหรับข้ อมูลแจกแจงความถี่
ขั้น 1 เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปมาก แล้วหาความถี่สะสม
ขั้น 2 หาตาแหน่งของควอร์ ไทล์ เดไซล์ เปอร์ เซ็นไทล์ที่ตอ้ งการ โดย
ตาแหน่งของ Qr = N ( 4r )
ตาแหน่งของ Dr = N ( 10r )
ตาแหน่งของ Pr = N ( 100 r )
เมื่อ N คือจานวนตัวข้อมูล ( เท่ากับผลรวมความถี่ )
r คือลาดับที่ของควอร์ไทล์ เดไซล์ เปอร์ เซ็นไทล์ที่ตอ้ งการ
20
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
ขั้น 3 ถ้าตาแหน่งที่คานวณได้ในขั้น 2. มีค่าเท่ากับความถี่สะสมของชั้นใดชั้นหนึ่ง
ค่ า Qr หรือ Dr หรือ Pr = ขอบบนของชั้นนั้น
ถ้าตาแหน่งที่คานวณได้ในขั้น 2. ไม่เท่ากับความถี่สะสมของชั้นใดเลย ให้เลือก
คิดชั้นซึ่ งมีค่าความถี่สะสมมากกว่าตาแหน่งอยูเ่ ล็กน้อย เพราะค่า Qr หรื อ Dr หรื อ Pr จะ
อยูใ่ นชั้นนี้ และหาค่า Qr หรื อ Dr หรื อ Pr ได้จาก
N  f 
  L
ค่า Qr หรื อ Dr หรื อ Pr = L + I  2
 fm 
 
เมื่อ L = ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มี Qr หรื อ Dr หรื อ Pr อยู่
fL = ผลรวมของความถี่ของทุกอันตรภาคชั้นที่เป็ นช่วงคะแนนต่ากว่าชั้นที่มี
Qr หรื อ Dr หรื อ Pr อยู่
fm = ความถี่ของชั้นที่มี Qr หรื อ Dr หรื อ Pr อยู่
I = ความกว้างของอันตรภาคที่มี Qr หรื อ Dr หรื อ Pr อยู่
37. จากข้อมูลที่กาหนด ค่า D7 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
89 , 89 , 94 , 95 , 98 , 105 , 116 , 122
1. 100.7 2. 108.3 3. 120.4 4. 158.6

38. จากข้อมูลที่กาหนด ค่า Q3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


89 , 89 , 94 , 95 , 98 , 105 , 116 , 122 , 131
1. 100 2. 119 3. 156 4. 206

21
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
39. จากข้อมูลที่กาหนด ค่า Q1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
89 , 91 , 94 , 95 , 95 , 105 , 116 , 122 , 131

40. จากข้อมูลที่กาหนด ค่า P30 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


89 , 91 , 94 , 95 , 95 , 105 , 116 , 122 , 131

41. ผลการสอบนักเรี ยน ม. 5 กลุ่มหนึ่ง ปรากฏคะแนนดังนี้


98 111 108 100 96 103 115 99 103 101 114
นักเรี ยนจะต้องสอบได้กี่คะแนน จึงจะมีผทู้ ี่สอบได้คะแนนน้อยกว่าอยู่ 1 ใน 4
1. 98.5 2. 99.0 3. 112.2 4. 116.9

42. ผลการสอบนักเรี ยน ม. 5 กลุ่มหนึ่ง ปรากฏคะแนนดังนี้


98 111 108 100 103 99 103 101 114
นักเรี ยนจะต้องสอบได้กี่คะแนน จึงจะมีผทู ้ ี่สอบได้คะแนนมากกว่าอยู่ 30 ส่ วนใน 100 ส่ วน
1. 100 2. 108 3. 114 4. 115

22
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
43(แนว Pat1) ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จานวน มีคา่ มัฐยฐานเท่ากับ 10 ถ้าควอไทล์ที่ 1 และ 3 ของ
ข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับ 5 และ 20 ตามลาดับ แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลชุดนี้ มีค่าเท่าใด
1. 8 2. 10 3. 12 4. 13

44. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้
คะแนนสอบ จานวน
40 – 49 8
50 – 59 12
60 – 69 40
70 – 79 48
80 – 89 8
90 – 99 4
ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตาแหน่ง P60 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 68 2. 71 3. 72 4. 75

23
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
45. ตารางต่อไปนี้ แสดงคะแนนสอบของนักเรี ยนจานวน 30 คน
คะแนน จานวนนักเรี ยน
10 – 14 3
15 – 19 7
20 – 24 10
25 – 29 8
30 – 34 2
ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตาแหน่ง Q2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 18 2. 21 3. 22 4. 25

46. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้
คะแนนสอบ จานวน
40 – 49 8
50 – 59 12
60 – 69 40
70 – 79 48
80 – 89 8
90 – 99 4
ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตาแหน่ง D5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 68.0 2. 69.5 3. 72.5 4. 79.5

24
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
47. จากข้อมูลที่กาหนด
คะแนน ความถี่
90 – 99 3
80 – 89 5
70 – 79 7
60 – 69 6
50 – 59 2
คะแนน 75 คะแนนอยูต่ รงเปอร์ เซ็นต์ไทล์ที่เท่าใด (ตอบเป็ นจานวนเต็ม)
1. 52 2. 62 3. 42 4. 32

48. สถิติคนไข้ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง จาแนกตามอายุของคนไข้ปรากฏผลดังนี้


อายุ (ปี ) จานวน
ต่ากว่า 15 6
15 – 19 62
20 – 24 105
25 – 34 132
35 – 44 114
45 – 54 55
55 ขึ้นไป 26
อยากทราบว่าคนไข้ที่มีอายุสูงกว่า 36 ปี มีกี่เปอร์ เซนต์
1. 19.6% 2. 29.6% 3. 35.6% 4. 64.4%

25
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
13.3 การวัดการกระจายของข้ อมูล
ค่ าการกระจายข้ อมูล เป็ นค่าที่บอกถึงความแตกต่างของค่าจากการสังเกตแต่ละค่าในข้อมูล
ชุ ดหนึ่ งๆ ถ้าค่าจากการสังเกตุเหล่านั้นมี ลกั ษณะเกาะกลุ่ มกัน ( มีความแตกต่างกันน้อย ) ค่าการ
กระจายข้อมูลนั้นจะมี ค่าน้อย หากค่าจากการสังเกตุเหล่านั้นมี ความแตกต่างมาก ค่าการกระจาย
ข้อมูลชุดนั้นจะมีค่ามาก
การวัดกระจายของข้อมูล แบ่งออกได้เป็ น 2 วิธี ได้แก่
1. การวัดการกระจายสัมบูรณ์ (Absolute Variation)
2. การวัดการกระจายสัมพัทธ์ (Relative Variation)
13.3.1 การวัดการกระจายสั มบูรณ์
การวัดการกระจายสั มบูรณ์ คือการวัดการกระจายของข้อมูลเพียงชุ ดเดียว เพื่อดูวา่ ข้อมูลชุ ด
นี้มีความแตกต่างกันมากหรื อน้อยเพียงใด
การวัดการกระจายสัมบูรณ์ สามารถทาได้ 4 แบบ คือ
13.3.1.1 พิสัย ( Range )
พิสัย คือค่าที่ใช้วดั การกระจายที่หาได้จากการนาข้อมูลที่มีค่าสู งสุ ดลบด้วยข้อมูลที่มีค่า
ต่าสุ ด
การหาค่าพิสัยสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ยอ่ ยได้แก่
ก. สาหรับข้ อมูลไม่ แจกแจงความถี่
พิสัย = xmax – xmin
เมื่อ xmax = ข้อมูลที่มีค่าสู งสุ ด
xmin = ข้อมูลที่มีค่าต่าสุ ด
ข. การหาพิสัยจากข้ อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ ว
พิสยั = ขอบบนของอันตรภาคชั้นที่มีค่าสูงสุ ด – ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มีค่าต่าสุ ด
ควรทราบ หากเป็ นอันตรภาคชั้นเปิ ด จงหาพิสัยไม่ได้
49. ค่าพิสัยของข้อมูลต่อไปนี้ 3 , 5 , 9 , 12 , 15 มีค่าเท่ากับเท่าใด

26
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
50. ค่าพิสัยของข้อมูลต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับเท่าใด
คะแนน ความถี่
10 – 14 3
15 – 19 5
20 – 24 2

13.3.1.2 ส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ ไทล์ (Quartile Diviation , Q.D. )


การหาส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ ไทล์จากข้อมูลทั้งที่แจกแจงและไม่ได้แจกแจงความถี่ หาได้
Q Q
จากสมการ Q.D. = 3 2 1
เมื่อ Q.D. คือส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ ไทล์
Q3 คือค่าของควอร์ ไทล์ที่ 3
Q1 คือค่าของควอร์ ไทล์
51. ส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ ไทล์ของข้อมูลต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
2 6 8 12 18 20 22 30 40
1. 7 2. 9.5 3. 16.5 4. 26

27
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
13.3.1.3 ส่ วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ (Mean Deviation ; M. D. )
ส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย คือค่าที่ใช้วดั การกระจายของข้อมูลที่ได้จากการเฉลี่ยค่าสัมบูรณ์ ของ
ความแตกต่างระหว่างค่าของข้อมูลแต่ละค่า กับค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลชุดนั้น
การหาค่าส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยสามารถแบ่งได้เป็ น 2 กรณี ยอ่ ยได้แก่
ก. การหาส่ วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ จากข้ อมูลทีไ่ ม่ ได้ แจกแจงความถี่
N
Σ |x  x |
หาได้จากสมการ M.D. = i1 i เขียนย่อเป็ น M.D. = Σ | x  x |
N N
เมื่อ M.D. คือส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
xi หรื อ x คือค่าของข้อมูลตัวที่ i
x คือค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
N คือจานวนตัวของข้อมูล
ข. การหาส่ วนเบี่ยงเบนเฉลีย่ จากข้ อมูลทีแ่ จกแจงความถี่แล้ ว
N
 f i | xi  x | f |x  x |
หาได้จาก M.D. = i1 N เขียนย่อเป็ น M.D. =  f

 fi
i1
เมื่อ M.D. คือส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
xi หรื อ x คือจุดกึ่งกลางของแต่ละอันตรภาคชั้นที่ i = ขอบบน 2 ขอบล่าง
x คือค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
fi คือความถี่ของแต่ละอันตรภาคชั้นที่ i
52. ค่าส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ มีคา่ เท่ากับเท่าใด
2 , 7 , 10 , 6 , 5

28
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
53. ค่าส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับเท่าใด
คะแนน ความถี่
10 – 14 3
15 – 19 5
20 – 24 2

13.3.1.4 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation , S.D. )


ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือค่าที่ใช้วดั การกระจายของข้อมูลที่ได้จากการหารากที่สองที่เป็ น
บวกของค่าเฉลี่ ยของกาลังสองของผลต่ างระหว่างค่าของข้อมูลแต่ละค่ากับค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตของ
ข้อมูลชุดนั้น
ก. การหาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากข้ อมูลทีไ่ ม่ แจกแจงความถี่
N N
Σ (xi  x )2 Σ x2i
หาได้จาก S.D. = i1 N หรื อ S.D. = i1N  x 2

 (x i  x )2 xi
2
2
เขียนย่อเป็ น S.D. = N หรื อ S.D. = N x
เมื่อ S.D. คือส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( อาจใช้สัญลักษณ์ S ก็ได้ )
xi หรื อ x คือค่าของข้อมูลแต่ละค่า
x คือค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
N คือจานวนตัวของข้อมูล

29
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
ข. การหาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากข้ อมูลทีแ่ จกแจงความถี่แล้ ว
N N
 f i (xi x )2  f i x2i 2
สู ตรตรง S.D. = i1 N หรื อ S.D. = i1N  x
f f
i1 i i1 i
เขียนย่อเป็ น S.D. = f (xx )2 หรื อ S.D. = f x2  x 2
f f
เมื่อ S.D. คือส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
xi หรื อ x คือจุดกึ่งกลางของแต่ละอันตรภาคชั้นที่ i = ขอบบน 2 ขอบล่าง
x คือค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
fi คือความถี่ของแต่ละอันตรภาคชั้นที่ i
สู ตรลัด ( วิธีทอนข้ อมูล ) (ใช้เมื่อความกว้างของอันตรภาคชั้นกว้างเท่ากันทุกชั้น )
N 2
Σ f i di 2
i 1 2  f d 2
S.D. = I N  d เขียนย่อเป็ น S.D. = I  f  d
f

1 i
x a
โดยที่ di = i I และ d =  f d
f
เมื่อ a คือจุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้นใดชั้นหนึ่ง
I คือความกว้างอันตรภาคชั้นซึ่ งเท่ากันทุกชั้น
xi คือจุดกึ่งกลางชั้นที่ i
fi คือความถี่ช้ นั ที่ i
54. ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับเท่าใด
1 , 3 , 5 , 7 , 9

30
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
55. ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล 61 , 63 , 65 , 67 , 69 มีค่าเท่ากับเท่าใด

56. ค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับเท่าใด


คะแนน ความถี่
10 – 14 3
15 – 19 5
20 – 24 2

ความแปรปรวน (Variance , V )
ความแปรปรวน คือค่ากาลังสองของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
นัน่ คือ V = s2
57(แนว En) ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 3 คน ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุของบุตรทั้งสามคนนี้ เท่ากับ 5 ปี
ถ้าบุตรคนโตและคนกลางมีอายุ 8 และ 5 ปี ตามลาดับ ค่าความแปรปรวนของอายุของบุตร
ทั้งสามคนนี้เป็ นเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2.25 (ปี )2 2. 2.45 (ปี )2 3. 6 (ปี )2 4. ไม่มีคาตอบที่ถูก

31
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
การหาค่ าความแปรปรวนรวมของข้ อมูล 2 ชุ ด
กาหนด ข้อมูล 2 ชุด มีค่าดังนี้
ข้ อมูลชุ ดที่ 1 ข้ อมูลชุ ดที่ 2
จานวนข้อมูล = N1 จานวนข้อมูล = N2
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต = x1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต = x2
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = s1 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = s2
เมื่อนาข้ อมูลทั้ง 2 ชุ ด มารวมกัน จะได้ ว่า
2 2 N1 N 2 ( x1  x 2 ) 2
N1s1  N 2 s 2  N  N
2
s รวม = 1 2
N1  N 2

ในกรณีที่ x1 = x 2 จะได้ ว่า


2 2 N1 N 2 ( 0 ) 2
N1s1  N 2 s 2  N  N
2
s รวม = 1 2
N1  N 2

2 N1s12  N 2 s 22
s รวม = N  N
1 2
58(แนว มช) คะแนนสอบของนักเรี ยนสองห้องเรี ยน แต่ล ะห้องมี นักเรี ยน 40 และ 60 คน
ตามลาดับ ถ้าผลสอบปรากฏว่า
ห้องที่หนึ่งมีคะแนนเฉลี่ย 42 คะแนน และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4 คะแนน
ห้องที่สองมีคะแนนเฉลี่ย 42 คะแนน และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6 คะแนน
แล้วส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวมของคะแนนสอบของนักเรี ยนทั้งหมด มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5.00 2. 5.29 3. 6.00 4. 6.39

32
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
59. ให้ขอ้ มู ล ชุ ดที่ 1 มี ค่ าเฉลี่ ย เลขคณิ ตเท่ ากับ 8 และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานเท่ ากับ 3 2
ข้อมู ล ชุ ดที่ 2 มี ค่ าเฉลี่ ย เลขคณิ ตเท่ ากับ 16 และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานเท่ ากับ 2 6 ถ้า
ข้อมูลชุ ดแรกประกอบด้วย 5 ค่าสังเกต และข้อมูลชุ ดที่ 2 ประกอบด้วย 3 ค่าสังเกต ความ
แปรปรวนของข้อมูลที่ได้จากการรวมข้อมูลทั้งสองชุดเข้าเป็ นชุ ดเดียวกัน มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 28.35 2. 30.53 3. 33.33 4. 35.25

คุณสมบัติของการวัดการกระจายสั มบูรณ์
1. ข้อมูล 1 ชุดใด ๆ จะมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพียงค่าเดียว และ s  0 เสมอ
2. ถ้าข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากัน ค่าการกระจายสัมบูรณ์ทุกชนิดจะมีค่าเป็ น 0 หมด
พิสัย = Q.D. = M.D. = s = 0
3. x = N x และ x2 = N ( s2 + x 2 )
4. สมมุติ ข้อมูลชุดหนึ่งเป็ น x1 , x2 , x3 , x4
เมื่อปรับโดยเอา a คูณตลอด แล้ว + b ตลอด จะได้ขอ้ มูลใหม่เป็ น
a x1 + b , a x 2 + b , a x 3 + b , a x 4 + b
จะได้วา่ x ใหม่ = a x เดิม+ b
Rใหม่ = | a | Rเดิม
Q.D.ใหม่ = | a | Q.D.เดิม
M.D.ใหม่ = | a | M.D.เดิม
S.D.ใหม่ = | a | S.D.เดิม
Vใหม่ = a2 Vเดิม

33
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
60. ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเป็ น 0 และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก็เป็ น 0 แล้วข้อใด
ต่อไปนี้สรุ ปได้ถูกต้อง
1. ข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากันหมด และมีค่าไม่เป็ นศูนย์
2. ข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากับ 0
3. ข้อมูลที่มีค่าเป็ นบวก มีค่ารวมกันเท่ากับข้อมูลที่มีค่าเป็ นลบ
4. มีขอ้ มูลบางค่าเป็ น 0 บางค่าเป็ นจานวนบวก บางค่าเป็ นจานวนลบ และข้อมูลที่
เป็ นจานวนบวก มีค่าเท่ากับข้อมูลที่มีค่าเป็ นจานวนลบ

61. ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 12.5 และผลรวมของข้อมูลทุกตัวเท่ากับ 50 ข้อมูล


ชุดนี้มีท้ งั หมดกี่จานวน

62. ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมีท้ งั หมด 6 จานวน มีคา่ เฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 5 และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมี
ค่าเท่ากับ 5 ผลรวมของกาลังสองของข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากับเท่าใด

34
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
63. ถ้าข้อมูล x , y , z มีคา่ เฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 20 แล้วข้อมูล 2x + 3 , 2y + 3 , 2z + 3
จะมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับเท่าใด

64. ถ้าข้อมูล x , y , z มีคา่ เฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 50 แล้วข้อมูล –4x + 5 , –4y + 5 , –4z + 5


จะมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –200 2. –195 3. 195 4. 200

65. จากข้อที่ ผ่านมา ถ้าข้อมู ลเดิ มมี ค่ าส่ วนเบี่ ยงเบนเฉลี่ ยเท่ ากับ 2 แล้วข้อมูลใหม่จะมี ค่ าส่ วน
เบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 12 3. 64 4. 144

35
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
66. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าข้อมูลเดิมมีคา่ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3 แล้วข้อมูลใหม่จะมีค่าส่ วน
เบี่ยงมาตรฐานเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 12 3. 64 4. 144

67. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าข้อมูลเดิ มมีค่าความแปรปรวนเท่ากับ 9 แล้วข้อมูลใหม่จะมีค่าความแปร


ปรวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 12 3. 64 4. 144

68(แนว En) ถ้าข้อมูลคือ a , b , c , d ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ความบ่ายเบนมาตรฐาน) ของข้อมูล


คือ p ถ้าข้อมูลคือ (1 – a) , (1 – b) , (1 – c) , (1 – d) ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อ
มูลคือข้อใดต่อไปนี้
1. p 2. 1 – p 3. 1  p 4. 1 – p

36
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
69. จากตารางราคาสิ นค้าชนิ ดหนึ่งที่จาหน่ายในห้างสรรพสิ นค้า 5 แห่ง เป็ นดังนี้
ห้ างสรรพสิ นค้ า โชคชัย สิ นทวี เซนโก้ ทรัพย์ทวี แจ่มฟ้ า
ราคาสิ นค้ า (บาท) 2,000 2,025 1,995 1,990 2,000
ถ้าวัดการกระจายของข้อมูลชุ ดนี้ โดยใช้พิสัย ค่าที่วดั ได้จะมีความถูกต้องพอที่จะเชื่อถือได้
หรื อไม่ เพราะเหตุใด
1. เชื่อถือได้ เพราะค่าของข้อมูลมีค่าไม่แตกต่างกันมาก
2. เชื่อถือได้ เพราะพิสัยเป็ นวิธีการวัดการกระจายอันเป็ นที่ยอมรับเสมอ
3. เชื่อถือไม่ได้ เพราะค่าของข้อมูลมีค่ามากเกินไป
4. เชื่อถือไม่ได้ เพราะเป็ นวิธีการวัดการกระจายที่ง่ายเกินไป จึงมีความคลาดเคลื่อนมาก

13.3.2 การวัดการกระจายสั มพัทธ์


การวัดการกระจายสั มพัทธ์ คือการวัดกระจายข้อมูลหลายชุด เพื่อเปรี ยบเทียบว่าข้อมูล
ชุดใดมีการกระจายน้อยหรื อมากกว่ากัน
การวัดการกระจายสัมพัทธ์ สามารถทาได้ 4 แบบ คือ
ชื่อ สู ตรที่ใช้หาค่า
สัมประสิ ทธิ์ ของพิสัย xmax xmin
C.R = xmax x
( coefficent of range , C.R. ) min
สัมประสิ ทธิ์ ของส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์ Q Q
C.Q = Q3Q1
(coeffcient of quartile deviation , C.Q.) 3 1
สัมประสิ ทธิ์ ของส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย C.M = M.D
(coefficent of Mean deviation , C.M.) x
สัมประสิ ทธิ์ ของการแปรผัน
(coefficent of variation ,  ) = S
x
(สัมประสิ ทธิ์ ของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)
37
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
70. จากการสอบถามราคาสิ นค้าในสองท้องที่เป็ นดังนี้
ท้องที่ ที่ 1 (บาท) : 245 , 130 , 185 , 270
ท้องที่ ที่ 2 (บาท) : 125 , 136 , 210 , 285 , 199 , 240
ข้อใดสรุ ปได้ถูกต้อง
1. ท้องที่ที่ 1 มีการกระจายของราคาสิ นค้ามากกว่าท้องที่ที่ 2
2. ท้องที่ที่ 2 มีการกระจายของราคาสิ นค้ามากกว่าท้องที่ที่ 1
3. ท้องที่ที่ 1 มีการกระจายของราคาสิ นค้าเท่ากับท้องที่ที่ 2
4. สรุ ปไม่ได้ขอ้ มูลเพียงพอ

71. ข้อมูล 2 ชุดมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังนี้


ชุ ดที่ 1 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต = 15
มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 3
ชุ ดที่ 2 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต = 20
มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 5
ข้อมูลชุดใดมีการกระจายน้อยกว่า
1. ชุดที่ 1 2. ชุดที่ 2
3. เท่ากัน 4. สรุ ปไม่ได้ขอ้ มูลเพียงพอ

38
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
72. ในการทดสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ ง มีสัมประสิ ทธิ์ ของการแปรผันเป็ น 30%
และความแปรปรวนของคะแนนสอบเป็ น 81 คะแนน ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของการสอบนี้ มีค่าเท่ากับ
ข้อใดต่อไปนี้
1. 29 2. 30 3. 33 4. 35

73. ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมีสัมประสิ ทธิ์ ของความแปรผันเท่ากับ 28% ความแปรปรวนเท่ากับ 49 ส่ วน


เบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ 4.5 แล้ว สัมประสิ ทธิ์ ของส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยมีค่าตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.018 2. 0.18 3. 0.32 4. 0.42

74. ในข้อมูลชุ ดหนึ่ ง มีค่าสัมประสิ ทธิ์ ของพิสัยมีค่าเท่ากับ 0.2 และข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุดมีค่า


เท่ากับ 30 แล้ว ข้อมูลที่มีค่ามากที่สุดมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 45 2. 48 3. 50 4. 60

39
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
75. ในการสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ครั้งหนึ่ ง มีสัมประสิ ทธิ์ ของส่ วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 0.2 ถ้า
นางสาวพรสอบได้ 60 คะแนน ซึ่งตรงกับ P75 อยากทราบว่านายศิลป์ ซึ่ งสอบได้คะแนนตรง
กับ P25 จะสอบได้กี่คะแนน

76(แนว มช) ข้อใดเป็ นการวัดการกระจาย


1. ส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 2. สัมประสิ ทธิ์ ของการแปรผัน
3. สัมประสิ ทธิ์ ของพิสัย 4. ถูกทุกข้อ



40
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
เฉลยบทที่ 13 การวิเคราะห์ขอ
้ มูลเบื้องต้น
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบ 96
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบ 19 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบ 92.5 40. ตอบ 94
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบ 12 50. ตอบ 15 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบ 2
53. ตอบ 2.7 54. ตอบ 2.83 55. ตอบ 2.83 56. ตอบ 3.5
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 2.
61. ตอบ 4 62. ตอบ 180 63. ตอบ 43 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 1. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบชุ ด 1 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบ 40 76. ตอบข้ อ 4.



41
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
ตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 13 การวิเคราะห์ขอ
้ มูลเบื้องต้น
13.1 การวัดค่ ากลางของข้ อมูล
13.1.1 ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต
1. จากการสอบถามอายุของนิ สิตชั้นปี ที่ 2 ของมหาวิทยาลัยแห่ งหนึ่ งจานวน 5 คน ปรากฎว่ามี
อายุดงั นี้ 20 , 19 , 20 , 22 , 27 ปี ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของนิสิตกลุ่มนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 20.5 2. 21.6 3. 22.8 4. 23.2

2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบของนักเรี ยน 6 คน เป็ น 20 คะแนน แต่ครู ทาคะแนนของ


นายสมชายหายไป เหลื อแต่คะแนนของนักเรี ยน 5 คน ดังนี้ 12 , 17 , 14 , 27 , 23 แล้ว
คะแนนของนายสมชายมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 25 2. 26 3. 27 4. 30

3. ข้อมูลชุดหนึ่งมี N จานวน ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 8.2 ต่อมาพบว่าใช้ขอ้ มูลผิดไป 1 จานวน


คือใช้ 4.2 ที่ถูกเป็ น 2.4 และปรากฏว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตที่ถูกต้องเท่ากับ 8.08 จงหาว่าข้อมูลนี้
มีกี่จานวน
1. 12 2. 14 3. 15 4. 17

4. ในการสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง 30 คน ปรากฏดังนี้


คะแนน 19 18 17 16 15
จานวนนักเรี ยน 2 4 13 8 3
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต (คะแนนเฉลี่ย) ของคะแนนสอบนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 15.5 2. 16.0 3. 16.8 4. 17.5

5. ลู กปั ดขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก ราคาลูกละ 90 , 80 , 75 สตางค์ ตามลาดับ ชายคน


หนึ่ง ซื้ อลูกปั ดขนาดใหญ่ 50 ลูก ขนาดกลาง 30 ลูก และขนาดเล็ก 20 ลูก เฉลี่ยแล้วชายคน
นี้ซ้ื อ ลูกปั ดมาลูกละกี่สตางค์
1. 81 2. 82 3. 84 4. 86

6. ในการสอบวิชาหนึ่งมีการสอบ 3 ครั้ง คือสอบย่อยระหว่างภาค 2 ครั้ง และสอบปลายภาค 1


ครั้ง นักเรี ยนคนหนึ่งสอบย่อยระหว่างภาคได้คะแนน 70 , 80 คะแนน และสอบปลายภาคได้

42
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
คะแนน 65 คะแนน ถ้าครู ผสู ้ อนให้การสอบปลายภาคมีความสาคัญเป็ นสองเท่าของการสอบ
ย่อยแต่ละครั้ง คะแนนเฉลี่ยของนักเรี ยนคนนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 68 2. 70 3. 72 4. 74

7. ผลการสอบครั้งหนึ่งของนักเรี ยนคนหนึ่งเป็ นดังนี้


วิชา หน่ วยการเรียน เกรดทีไ่ ด้
ภาษาไทย 2 3
ภาษาอังกฤษ 3 2
คณิ ตศาสตร์ 4 4
เกรดเฉลี่ยของนักเรี ยนคนนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 2.86 2. 3.00 3. 3.11 4. 3.42

8. ตารางต่อไปนี้ แสดงคะแนนการสอบของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่งจานวน 30 คน


คะแนน จานวนนักเรียน
5–9 3
10 – 14 7
15 – 19 10
20 – 24 8
25 – 29 2
คะแนนเฉลี่ย (ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต) ของคะแนนสอบนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 10.50 2. 11.38 3. 16.83 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูก

9. ตารางต่อไปนี้ แสดงคะแนนการสอบของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง


คะแนน ความถี่สะสม
0–4 3
5–9 7
10 – 14 17
15 – 19 19
20 – 24 20

43
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
คะแนนเฉลี่ย (ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต) ของคะแนนสอบนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 10.50 2. 11.38 3. 14.65 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูก

10. ตารางต่อไปนี้ แสดงคะแนนการสอบของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง


คะแนน ความถี่
2–5 2
6 – 10 3
11 – 17 4
18 – 20 1
คะแนนเฉลี่ย (ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต) ของคะแนนสอบนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 9.26 2. 10.60 3. 11.88 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูก

11. ในการทดสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนห้องหนึ่ งจานวน 50 คน มีนกั เรี ยนจานวน 40 คน ที่ได้


คะแนนอยูร่ ะหว่าง 60 – 80 คะแนน อีก 10 คน ได้คะแนนอยูร่ ะหว่าง 90 – 100 คะแนน แล้ว
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตโดยประมาณมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 70 2. 75 3. 85 4. 95

12(แนว En) อายุของเด็กกลุ่มหนึ่งมีการแจกแจงดังนี้


อายุ (ปี ) จานวนเด็ก
1–3 4
4–6 X
7–9 6
10 – 12 4
ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุเด็กกลุ่มนี้เท่ากับ 6.5 ปี แล้ว X มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6

44
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
13. ตารางต่อไปนี้ แสดงคะแนนการสอบของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง
คะแนน ความถี่
ต่ากว่า 10 2
10 – 14 7
15 – 19 8
20 ขึ้นไป 3
คะแนนเฉลี่ย (ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต) ของคะแนนสอบนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 9.26 2. 10.60 3. 11.88 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูก

14. ให้ x เป็ นตัวแปรตัวหนึ่ง ถ้าค่าที่สังเกตได้พร้อมทั้งความถี่สะสมของค่าเหล่านี้ เป็ นดังนี้


ค่าที่สังเกตได้ (x) –4 –3 1 2 3
ความถี่สะสม 30 50 60 80 100
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลข้างต้นคือข้อใดต่อไปนี้
1. 2.5 2. –0.2 3. –0.7 4. –2.2

15. โรงงานแห่ งหนึ่ งมีคนงานทั้งหมด 100 คน เป็ นหญิง 40 คน ในการสารวจเกี่ยวกับความสู ง


พบว่าคนงานหญิ งมีความสู งเฉลี่ ย 65 นิ้ ว และคนงานชายมีความสู งเฉลี่ ย 75 นิ้ ว ความสู ง
เฉลี่ยของคนงานทั้งหมดมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 65 นิ้ว 2. 70 นิ้ว 3. 71 นิ้ว 4. 75 นิ้ว

16. ฟาร์ มหมูแห่งหนึ่งมีลูกหมู 4 ครอก โดยที่แต่ละครอกมีจานวนลูกหมู 3 , 4 , 5 และ 6 ตัว


ตามลาดับ น้ าหนักเฉลี่ยของลูกหมูแต่ละครอกเท่ากับ 3 , 2.5 , 2 และ 1.5 กิโลกรัม ตามลา
ดับ น้ าหนักเฉลี่ยของลูกหมูท้ งั 4 ครอกมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2.01 2. 2.11 3. 2.21 4. 2.31

17. โรงเรี ยนแห่ งหนึ่ งมีนกั เรี ยนหญิงเป็ นสามเท่าของนักเรี ยนชาย นักเรี ยนหญิงสอบได้ 60% นัก
เรี ยนชายสอบได้ 80% นักเรี ยนทั้งหมดของโรงเรี ยนนี้ สอบได้กี่เปอร์ เซ็นต์
1. 62 2. 65 3. 67 4. 70

45
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
18. ในการสอบวิชาหนึ่ งมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน และใช้เกณฑ์ตดั สิ นว่าผูท้ ี่ สอบได้คะแนนต่ า
กว่า 60 คะแนน ถือว่าสอบตก วิชานี้ มีนกั เรี ยนเข้าสอบ 2 ห้องคือ ห้อง ก. มีนกั เรี ยน 30 คน
และห้อง ข. มีนักเรี ยน 20 คน ผลการสอบคือ ห้อง ก. มีนกั เรี ยนสอบตก 40% ทั้งห้อง ก.
และห้อง ข. มีนกั เรี ยนสอบตกทั้งสิ้ น 50% นักเรี ยนห้อง ข มีนกั เรี ยนสอบตกกี่เปอร์ เซนต์
1. 5% 2. 10% 3. 50% 4. 65%

19. ในการสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนห้องหนึ่ ง 30 คน ปรากฏว่าได้คะแนนเฉลี่ยเป็ น 52 คะแนน


และในการสอบครั้งนี้ มีผทู ้ ี่ได้คะแนนต่าสุ ดจานวน 6 คน ซึ่ งในจานวน 6 คนนี้ มีคะแนนเฉลี่ย
31 คะแนน แล้วคะแนนเฉลี่ยของนักเรี ยนที่เหลือมีค่าเท่ากับข้อใด
1. 55.50 คะแนน 2. 57.25 คะแนน
3. 57.50 คะแนน 4. 55.75 คะแนน

20. จากการตรวจนับเงินในกระเป๋ าของนักเรี ยนชาย 40 คนและนักเรี ยนหญิง 60 คน พบว่ามีเงิน


รวมทั้งสิ้ น 18630 บาท ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของเงินในกระเป๋ าในกลุ่มของนักเรี ยนหญิงมีค่าน้อย
กว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของเงินในกลุ่มนักเรี ยนชาย 10 บาท แล้วผลบวกของค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของ
ทั้งสองกลุ่มมีค่ากี่บาท
1. 358.40 2. 364.60 3. 368.40 4. 374.60

21. โรงงานแห่ งหนึ่ งมีคนงานชายและหญิง ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของเงินเดือนของคนงานทั้งหมดเท่า


กับ 5300 บาท ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของเงินเดือนคนงานหญิงและชายเท่ากับ 4500 บาท และ 5800
บาท ตามลาดับ อัตราส่ วนของคนงานหญิงและชายตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 : 5 2. 5 : 3 3. 5 : 8 4. 8 : 5

22. นักเรี ยนชั้นหนึ่ งมี 40 คน นักเรี ยนชายมีนอ้ ยกว่านักเรี ยนหญิง ปรากฏว่าผลการสอบวิชาสถิติ


นักเรี ยนชายได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับจานวนนักเรี ยนชายพอดี และนักเรี ยนหญิงได้คะแนนเฉลี่ย
เท่ากับจานวนนักเรี ยนหญิ งพอดี ถ้าคะแนนเฉลี่ ยของนักเรี ยนทั้งชั้นเท่ากับ 25 แล้วจานวน
นักเรี ยนหญิงมีจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 22 2. 25 3. 28 4. 30

46
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
23(แนว มช) ถ้าน้ าหนักตัวของนักเรี ยน 5 คน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 74 กิโลกรัม ถ้า 3 คนแรกมี
น้ าหนักเฉลี่ย 68 กิโลกรัม คนที่ 4 มีน้ าหนัก 70 กิโลกรัม แล้วคนที่ 5 จะมีน้ าหนักเท่ากับ
กี่กิโลกรัม
1. 82 2. 88 3. 92 4. 96
10
24. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 10 จานวน และมีคุณสมบัติวา่  (Xi – a)2 มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ a = 6
i 1
ผลรวมของข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 56 2. 60 3. 62 4. 68

25. ข้อมูล X มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 20 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูล Y มีค่าเท่ากับข้อใด เมื่อ


ข้อมูลทั้งสอง มีความสัมพันธ์กนั ดังสมการ Y = 3X – 4
1. 56 2. 60 3. 62 4. 68

26. นักเรี ยนห้องหนึ่งมี N คน ทาการสอบวิชาสถิติได้คะแนนตั้งแต่ 68 ถึง 76 คะแนน ครู ได้นา


คะแนนของนักเรี ยนทั้งหมดมาแปลงเป็ นคะแนนใหม่ให้อยูใ่ นช่วง 50 ถึง 60 คะแนน โดยใช้
ความสัมพันธ์เป็ น y = Ax + B โดย x เป็ นคะแนนเดิ ม และ y เป็ นคะแนนที่ แปลงใหม่
ถ้าชุดคะแนนก่อนแปลงมีค่า X เป็ น a แล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนที่แปลงแล้วคือข้อใด
1. Y  45 a 2. Y  45 a  25 3. Y  45 a  35 4. Y  45 a  25
N N
27. ในข้อมูล x1 , x2 , … , xN กาหนดให้  x 2N  A ,  (x N  1)2  B
n 1 n 1
แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. B 2N AN 2. B 2N
A 1 3. B  AN  N 4. B  NA  1

28. ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมี 10 จานวน เมื่ อหาค่าผลบวกกาลังสองของข้อมูลทั้งหมดได้ค่าเท่ากับ 392


ต่อมาเมื่อมีการตรวจความถูกต้องปรากฏว่ามีขอ้ มูลผิดไป 2 จานวน ข้อมูลที่ถูกต้อง 6 , 2 แต่
คิดเป็ น 0 , 12 ดังนั้น ผลบวกของกาลังสองของข้อมูลที่ถูกต้องมีค่าเท่ากับเท่าใด
1. 288 2. 286 3. 282 4. 280

47
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
13.1.2 มัธยฐาน
29. มัธยฐานจากข้อมูลชุดต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
ก) 7 , 4 , 8 , 3 , 2 ข) 5 , 9 , 4 , 7 , 10 , 2
1. ก. 8 ข. 5.5 2. ก. 4 ข. 6 3. ก. 8 ข. 6 4. ก. 4 ข. 5.5

30. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้
คะแนน ความถี่
5 3
6 2
7 5
8 3
9 1
ค่ามัธยฐานมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 6 3. 7 4. 8

31. เจ้าของคอกหมู ชัง่ น้ าหนักหมู 10 ตัว เพื่อนาไปขาย ปรากฏผลดังตาราง


น้ าหนักหมู (ก.ก.) 29 33 37 42
จานวนหมู 1 4 3 2
ค่ามัธยฐานมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 33.0 2. 33.5 3. 34.0 4. 35

32. ในการวัดความเร็ วของรถยนต์ 200 คัน ที่วิง่ ผ่านจุดๆ หนึ่ง ปรากฎผลดังนี้


ความเร็ ว (กม./ชม.) 30 40 50 60 70 80 90 100 110
จานวนรถ 1 4 9 14 38 47 51 32 4
ค่ามัธยฐานของความเร็ วของรถยนต์น้ี มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 70 2. 75 3. 80 4. 100.5

48
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
33. จากตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนของนักเรี ยนต่อไปนี้
คะแนน จานวน
60 – 69 4
70 – 79 10
80 – 89 18
90 – 99 24
100 – 109 14
110 – 119 10
120 – 129 9
130 – 139 7
140 – 149 4
ค่ามัธยฐานของคะแนนของนักเรี ยนนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 82 2. 83 3. 97 4. 108

34. จากตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนของนักเรี ยนต่อไปนี้


คะแนนสอบ จานวน
50 – 59 20
60 – 69 40
70 – 79 48
80 – 89 12
ค่ามัธยฐานของคะแนนของนักเรี ยนนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 62.5 2. 63.0 3. 67.0 4. 69.5

35(แนว มช) จากตารางแจกแจงความถี่ของน้ าหนักของคน 45 คน ที่มีมธั ยฐานอยูใ่ นช่วง 41– 48


กิโลกรัม ถ้าคนที่มีน้ าหนักน้อยกว่า 40.5 กิโลกรัม มีอยู่ 16 คน และคนที่มีน้ าหนักน้อยกว่า
48.5 กิโลกรัม มีอยู่ 24 คน แล้วมัธยฐานมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 44 2. 45 3. 46 4. 47

49
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
36. กาหนดข้อมูลเป็ น 1 , 2 , 5 , 10 , x , y โดยที่ x < y ถ้าเฉลี่ ยเลขคณิ ต ของข้อมู ล
กลุ่มนี้เป็ น 7 และมัธยฐานเป็ น 6 แล้ว ค่าของ y – x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8 2. 9 3. 10 4. 11

37(แนว En) จากข้อมูลซึ่งเรี ยงลาดับจากน้อยไปมาก 5 , 5 , 6 , 7 , 9 , 10 , 10 , 12


ถ้าผลต่างของข้อมูลตัวที่มีค่ามากที่สุดและน้อยที่สุดมีค่าเท่ากับ 12
10
a เป็ นจานวนจริ งที่ทาให้  (xi  a)2 มีค่าน้อยที่สุด
i 1
10
และ b เป็ นจานวนจริ งที่ทาให้  | x i  b | มีค่าน้อยที่สุด
i 1
แล้ว a + b มีค่าเท่าใด

13.1.3 ฐานนิยม
38. ฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
ก. 2 , 4 , 5 , 5 , 5 , 7 , 8
ข. 2 , 3 , 3 , 4 , 8 , 8 , 9 , 5 , 7
ค. 5 , 7 , 10 , 12 , 8 , 6
1. ก. 5 ข. 3 และ 8 ค. 12 2. ก. 5 ข. ไม่มี ค. 12
3. ก. 5 ข. 3 และ 8 ค. ไม่มี 4. ก. 5 ข. ไม่มี ค. ไม่มี

39. ฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด


ก. 2 , 2 , 4 , 4 , 5 , 5 ข. 4 , 4 , 4 , 4 , 4
1. ก. 2 และ 4 และ 5 ข. 4 2. ก. ไม่มี ข. 4
3. ก. 2 และ 4 และ 5 ข. ไม่มี 4. ก. ไม่มี ข. ไม่มี

50
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
40. อายุการใช้งานของหลอดไฟในการสารวจครั้งหนึ่งเป็ นดังนี้
อายุใช้งาน (ชัว่ โมง) จานวน (หลอด)
300 – 399 14
400 – 499 46
500 – 599 58
600 – 699 76
700 – 799 68
800 – 899 62
900 – 999 48
1000 – 1099 22
1100 – 1199 6
ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้ มีค่าเทากับข้อใดต่อไปนี้
1. 598.5 2. 623.7 3. 668.7 4. 700.0

41. จากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนด
อันตรภาคชั้น ความถี่
15 – 19 18
20 – 24 22
25 – 29 21
30 – 34 22
35 – 39 19
40 – 44 18
ค่าของฐานนิยมมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 22.05 , 30.75 2. 23.50 , 30.75 3. 22.05 , 32.50 4. 23.50 , 32.50

51
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
42. จากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนด
อันตรภาคชั้น ความถี่
2– 5 7
6–9 11
10 – 13 11
14 – 17 9
18 – 21 7
ค่าของฐานนิยมมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9.50 2. 10.83 3. 11.25 4. 12.50

43. จากตารางแจกแจงความถี่ที่กาหนด
อันตรภาคชั้น ความถี่
14 – 22 10
23 – 28 20
29 – 40 28
41 – 43 2
ค่าของฐานนิยมมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 26.64 2. 31.32 3. 33.60 4. 45.00

44(แนว มช) ค่าที่เหมาะสมที่สุดสาหรับข้อมูลข้างล่างนี้ คือ


อันตรภาคชั้น ความถี่
6 – 15 3
16 – 35 12
36 – 45 9
46 – 55 2
56 – 85 2
1. ค่าฐานนิ ยม 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 3. ค่ามัธยฐาน 4. ค่าเฉลี่ยฮาร์ มอนิก

52
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
45. ตารางต่อไปนี้ แสดงอาชีพของผูป้ กครองของนักเรี ยนห้องหนึ่ง
อาชีพ จานวนคน
ข้าราชการ 12
พนักงานบริ ษทั 25
ค้าขาย 68
รับจ้างทัว่ ไป 42
การหาค่ากลางของข้อมูลดังกล่าว ควรใช้คา่ กลางแบบใด
1. ค่าฐานนิ ยม 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 3. ค่ามัธยฐาน 4. ค่าเฉลี่ยฮาร์ มอนิก

13.1.4 ค่ าเฉลีย่ เรขาคณิต


46. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ตของข้อมูล 2 , 4 , 4 , 8 มีค่าเท่ากับเท่าใด

13.1.5 ค่ าเฉลีย่ ฮาร์ มอนิก


47. ค่าเฉลี่ยฮาร์ โมนิคของข้อมูล 2 , 4 , 8 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3.43 2. 2.89 3. 2.11 4. 1.98

13.2 การวัดตาแหน่ งทีห่ รือตาแหน่ งสั มพัทธ์ ของข้ อมูล


48. จากข้อมูลต่อไปนี้ ค่า P70 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
138 , 139 , 140 , 140 , 140 , 143 , 145 , 150 , 155 , 156
1. 155 2. 153.2 3. 150.7 4. 148.5

49. จากข้อมูลที่กาหนด ค่า P72 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


138 , 139 , 140 , 140 , 140 , 143 , 145 , 150 , 155
1. 138 2. 139.5 3. 140 4. 146

50. จากข้อมูลที่กาหนด ค่า Q1 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


138 , 139 , 140 , 140 , 140 , 143 , 145 , 150 , 155
1. 138 2. 139.5 3. 140 4. 146

53
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
51. จากข้อมูลที่กาหนด ค่า D5 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
138 , 139 , 140 , 140 , 140 , 143 , 145 , 150 , 155
1. 138 2. 139.5 3. 140 4. 146
52. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 401 ตัว เพื่อจัดเรี ยงลาดับจากน้อยไปมากแล้วพบว่า
x198 = 87 , x199 = 88 , x200 = 92 , x201 = 95 , x202 = 97
แล้วค่าของเปอร์ เซ็นไทล์ที่ 50 ของข้อมูลนี้ คือข้อใดต่อไปนี้
1. 95 2. 96 3. 95.5 4. 96.5

53. ผลการสอบนักเรี ยน ม.5 กลุ่มหนึ่ง ปรากฏคะแนนดังนี้


98 111 108 100 96 103 115 99 103 101 114 90
นักเรี ยนจะต้องสอบได้กี่คะแนน จึงจะมีผทู ้ ี่สอบได้คะแนนน้อยกว่าอยู่ 1 ใน 4
1. 90.22 2. 92.65 3. 95.33 4. 98.25
54. จากข้อมูลค่าแรงงานรายวันของบริ ษทั แห่งหนึ่ง
ค่ าแรง (บาท) จานวน (คน)
100 40
110 20
120 30
130 30
140 59
150 20
ค่าของ Q1 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 100 2. 110 3. 120 4. 130
55. ตารางต่อไปนี้ แสดงคะแนนสอบของนักเรี ยนจานวน 30 คน
คะแนน จานวนนักเรี ยน
10 – 14 3
15 – 19 7
20 – 24 10
25 – 29 8
30 – 34 2
54
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตาแหน่ง P60 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 18.0 2. 21.3 3. 23.5 4. 27.0

56. ตารางต่อไปนี้ แสดงคะแนนสอบของนักเรี ยนจานวน 30 คน


คะแนน จานวนนักเรี ยน
10 – 14 3
15 – 19 7
20 – 24 10
25 – 29 8
30 – 34 2
ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตาแหน่ง D8 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 18.0 2. 21.3 3. 23.5 4. 27.0

57. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้
คะแนน จานวนนักเรี ยน
90 – 99 3
80 – 89 5
70 – 79 7
60 – 69 6
50 – 59 2
ค่าของข้อมูลที่ตรงกับตาแหน่ง P75 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 80 2. 84 3. 87 4. 90

58(แนว มช) ตารางต่อไปนี้เป็ นคะแนนสอบวิชาคอมพิวเตอร์ ของนักเรี ยน 60 คน


คะแนน จานวนนักเรี ยน
30 – 39 2
40 – 49 3
50 – 59 5
60 – 69 10
70 – 79 22

55
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
80 – 89 15
90 – 99 3
ค่าของเดไซล์ที่ 5 จะแตกต่างจากเปอร์เซ็นไทล์ที่ 70 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5.46 2. 7.40 3. 7.95 4. 12.00

59. ตารางต่อไปนี้ เป็ นคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยน 120 คน


คะแนน จานวนนักเรียน (คน)
30 – 39 1
40 – 49 4
50 – 59 10
60 – 69 22
70 – 79 45
80 – 89 30
90 – 99 8
คะแนนต่าสุ ดของกลุ่มนักเรี ยนที่ได้คะแนนสู งสุ ด ซึ่ งนักเรี ยนกลุ ่มนี้คิดเป็ น 20% ของนักเรี ยน
ทั้งชั้นมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 60.86 2. 72.50 3. 84.50 4. 88.60

60. จากข้อมูลในข้อที่ผา่ นมา คะแนนสู งสุ ดของกลุ่มนักเรี ยนที่ได้คะแนนต่าสุ ด ซึ่ งนักเรี ยนกลุ ่มนี้
คิดเป็ น 15% ของนักเรี ยนทั้งชั้นมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 60.86 2. 72.50 3. 84.50 4. 88.60

61. จากตารางแจกแจงความถี่ของรายได้ต่อวันของกรรมกรกลุ่มหนึ่งดังนี้
รายได้ ต่อวัน (บาท) จานวนกรรมกร
60 – 65 3
66 – 71 7
72 – 77 15
78 – 83 6
84 – 89 10

56
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
90 – 95 5
96 – 101 4
ถามว่ารายได้ต่อวันเท่ากับ 80 บาท จะตรงกับเดไซล์ที่เท่าใด
1. 4 2. 5 3. 6 4. 7

62. จากตารางแจกแจงความถี่ของรายได้ต่อวันของกรรมกรกลุ่มหนึ่งดังนี้
รายได้ ต่อวัน (บาท) จานวนกรรมกร
60 – 65 3
66 – 71 7
72 – 77 15
78 – 83 6
84 – 89 10
90 – 95 5
96 – 101 4
ถามว่ารายได้ต่อวันเท่ากับ 93 บาท จะตรงกับควอร์ ไทล์ที่เท่าใด
1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูก

63. สถิติคนไข้ในโรงพยาบาลแห่งหนึ่ง จาแนกตามอายุของคนไข้ปรากฏผลดังนี้


อายุ (ปี ) จานวน
ต่ากว่า 15 6
15 – 19 62
20 – 24 105
25 – 34 132
35 – 44 114
45 – 54 55
55 ขึ้นไป 26
อยากทราบว่าคนไข้ที่มีอายุสูงกว่า 36 ปี มีกี่เปอร์ เซนต์
1. 19.6% 2. 29.6% 3. 35.6% 4. 64.4%

57
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
64. ในการสอบครั้งหนึ่ งมีนกั เรี ยน 25% ของนักเรี ยนทั้งหมด ได้คะแนนสู งกว่า 95 คะแนน ถ้า
นักเรี ยนคนหนึ่งได้ 95 คะแนน เขาจะได้ตาแหน่งเปอร์ เซ็นไทล์เท่าไร
1. 5 2. 23.75 3. 25 4. 75
65. นายสมชายสอบได้ 34 คะแนน ซึ่งเทียบได้เป็ นเปอร์เซ็นไทล์ที่ 85 หมายความว่าอย่างไร
1. เขาได้คะแนน 85% ของคะแนนเต็ม
2. มีคนได้คะแนนสู งกว่าเขาอยู่ 85% ของจานวนผูเ้ ข้าสอบ
3. มีคนได้คะแนนต่ากว่าเขาอยู่ 85% ของจานวนผูเ้ ข้าสอบ
4. มีคนอยู่ 85% ของจานวนผูเ้ ข้าสอบที่ได้คะแนนเท่ากับเขา

13.3 การวัดการกระจายของข้ อมูล


13.3.1 การวัดการกระจายสั มบูรณ์
66. พิสัยของข้อมูล 7 , 3 , 5 , 9 , 6 , 12 , 5 , 4 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 4. 5 3. 9 4. 12
67. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ พิสัยมีคา่ เท่ากับข้อใด
คะแนน ความถี่
10 – 14 3
15 – 19 7
20 – 24 10
25 – 29 8
30 – 34 2
1. 20 2. 22 3. 25 4. 30
68. จากตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ พิสัยมีค่าเท่ากับข้อใด
น้ าหนัก(กิโลกรัม) จานวนนักเรี ยน
50 – 52 12
53 – 55 13
56 – 58 20
59 – 61 15
1. 10 2. 12 3. 15 4. 18
58
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
69. นักเรี ยน 20 คน มีความสู งเป็ นเซนติเมตร ดังนี้
174 , 175 , 158 , 160 , 176 , 160 , 162 , 177 , 164 , 178
168 , 178 , 168 , 179 , 170 , 180 , 172 , 180 , 182 , 172
ส่ วนเบี่ยงเบนควอไทล์มีค่าเท่ากับเท่าใด (ตอบทศนิยม 2 ตาแหน่ง)

70. ข้อมูลต่อไปนี้ เป็ นคะแนนสอบวิชาสถิติของนักเรี ยนชั้น ม.5 ของโรงเรี ยนแห่งหนึ่ง


คะแนน จานวนนักเรี ยน
10 – 14 3
15 – 19 7
20 – 24 10
25 – 29 8
30 – 34 2
รวม 30
ส่ วนเบี่ยงเบนควอร์ ไทล์มีค่าเท่ากับเท่าใด

71. ส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูล 3 , 5 , 1 , 9 , 7 มีค่าเท่ากับเท่าใด

72. ส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูล ที่แสดงดังตารางต่อไปนี้ มีค่าเท่ากับเท่าใด


คะแนน ความถี่
5 4
6 8
7 5
8 2
9 1

73. จากข้อมูลต่อไปนี้ 4 , 4 , 5 , 8 , 9 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับเท่าใด


10 10
74. สาหรับข้อมูลชุดหนึ่ง ถ้า i x = 60 และ  2
1 i i1 (xi – 5) = 46 แล้วส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของข้อมูลชุดนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1.55 2. 1.89 3. 2.24 4. 2.58

59
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
10 10
75. ข้อมูลชุดหนึ่งจานวน 10 ตัวมี  xi = 80 และ  (xi – 11)2 = 180 ส่ วนเบี่ยงเบน
i1 i1
มาตรฐานของข้อมูลชุดนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2.00 2. 2.22 3. 3.00 4. 3.58

76. จากข้อมูลจานวนวันหยุดเรี ยนของนักเรี ยน 50 คน ที่แสดงไว้ในตารางต่อไปนี้


จานวนวันที่หยุดเรี ยน (วัน) จานวนนักเรี ยน (คน)
0–2 15
3–5 20
6–8 12
9 – 11 2
12 – 14 1
ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลนี้ มีค่าเท่ากับเท่าใด

77. ในการสอบสัมภาษณ์ นกั เรี ยน 3 คน ปรากฏว่าค่าเฉลี่ ยของคะแนนมีค่าเท่ากับ 53 มัธยฐาน


เท่ากับ 50 และพิสัยเท่ากับ 21 ความแปรปรวนของคะแนนนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 75 2. 77 3. 78 4. 80

78(แนว En) ในการก่ อสร้ างตึ ก ใหญ่ แห่ งหนึ่ งมี ค นงานจานวน 100 คน โดยเฉลี่ ย แล้วได้ค่ าจ้าง
รายวันคนละ 75 บาท ถ้าผลรวมของกาลังสองของค่าจ้างรายวันของคนงานแต่ละคนมีค่าเท่ากับ
575,000 (บาท)2 ค่าความแปรปรวนของค่าจ้างรายวันของคนงานกลุ่มนี้มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 11.18 (บาท)2 2. 111.8 (บาท)2 3. 125 (บาท)2 4. 12,500 (บาท)2

79. ให้ขอ้ มูลชุดที่ 1 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 13 และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2 ข้อมูลชุด


ที่ 2 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 13 และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐษนเท่ากับ 4 ถ้าข้อมูลชุดแรกประ
กอบด้วย 30 ค่าสังเกตและข้อมูลชุ ดที่ 2 ประกอบด้วย 50 ค่าสังเกต ความแปรปรวนของ
ข้อมูลที่ได้จากการรวมข้อมูลทั้งสองชุดเข้าเป็ นชุดเดียวกัน มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9.30 2. 11.5 3. 13.6 4. 15.5

80. ให้ขอ้ มู ล ชุ ดที่ 1 มี ค่ าเฉลี่ ย เลขคณิ ตเท่ ากับ 8 และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานเท่ ากับ 3 2
ข้อมู ล ชุ ดที่ 2 มี ค่ าเฉลี่ ย เลขคณิ ตเท่ ากับ 16 และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานเท่ ากับ 2 6 ถ้า

60
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
ข้อมูลชุ ดแรกประกอบด้วย 5 ค่าสังเกต และข้อมูลชุ ดที่ 2 ประกอบด้วย 3 ค่าสั งเกต ส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลรวมทั้งสองชุด มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 5.32 2. 5.53 3. 2.35 4. 5.94

81. ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 25 และผลรวมของข้อมูลทุกตัวเท่ากับ 200 ข้อมูล


ชุดนี้มีท้ งั หมดกี่จานวน

82. ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมีท้ งั หมด 30 จานวน มีคา่ เฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 10 และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
มีค่าเท่ากับ 5 ผลรวมของกาลังสองของข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากับเท่าใด

83. ถ้าข้อมูล x , y , z มีคา่ เฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 10 แล้วข้อมูล –2x + 8 , –2y + 8 , –2z + 8


จะมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับเท่าข้อใด
1. –12 2. –6 3. 6 4. 12

84. จากข้อที่ ผ่านมา ถ้าข้อมู ลเดิ มมี ค่ าส่ วนเบี่ ยงเบนเฉลี่ ยเท่ ากับ 2 แล้วข้อมูลใหม่จะมี ค่ าส่ วน
เบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 4 3. 6 4. 36

85. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าข้อมูลเดิมมีคา่ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3 แล้วข้อมูลใหม่จะมีค่าส่ วน


เบี่ยงมาตรฐานเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 4 3. 6 4. 36

86. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าข้อมูลเดิ มมีค่าความแปรปรวนเท่ากับ 9 แล้วข้อมูลใหม่จะมีค่าความแปร


ปรวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 4 3. 6 4. 36

87. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 10 จานวน มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน k ถ้าเราดัดแปลงค่าของข้อมูลใหม่โดย


ให้ขอ้ มูลใหม่แต่ละค่า ( y ) สัมพัทธ์กบั ข้อมูลเก่า (x) แต่ละค่าในรู ป y = 1 – 2x ค่าของส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานของ y คือข้อใดต่อไปนี้
1. k 2. 2k 3. 1 – 2k 4. 1  4k 2

61
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
88. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของอายุคนกลุ่มหนึ่ งเป็ น 27 ปี ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุคนกลุ่มนี้มีค่า
3.75 ปี อีก 5 ปี ข้างหน้าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุคนกลุ่มนี้จะมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 8.75 ปี 2. 3.75 ปี 3. 32 ปี 4. 35.75 ปี

13.3.2 การวัดการกระจายสั มพัทธ์


89. ข้อมูล 2 ชุด มีคุณสมบัติดงั นี้
ควอไทล์ที่หนึ่ง ควอไทล์ที่สาม
ชุดที่ 1 6.25 10.75
ชุดที่ 2 41.00 47.00
ให้ QD1 เป็ นส่ วนเบี่ยงเบนควอไทล์ของข้อมูลชุดที่ 1
QD2 เป็ นส่ วนเบี่ยงเบนควอไทล์ของข้อมูลชุดที่ 2
A1 เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของส่ วนเบี่ยงเบนควอไทล์ของข้อมูลชุดที่ 1
A2 เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของส่ วนเบี่ยงเบนควอไทล์ของข้อมูลชุ ดที่ 2
ต้องการเปรี ยบเทียบการกระจายของข้อมูล 2 ชุดนี้ ข้อสรุ ปที่ถูกต้องคือข้อใด
1. ข้อมูลชุดที่ 1 มีการกระจายมากกว่าข้อมูลชุดที่ 2 ทั้งนี้เพราะ A1 > A2
2. ข้อมูลชุดที่ 1 มีการกระจายมากกว่าข้อมูลชุดที่ 2 ทั้งนี้เพราะ QD1 > QD2
3. ข้อมูลชุดที่ 2 มีการกระจายมากกว่าข้อมูลชุดที่ 1 ทั้งนี้เพราะ A2 > A1
4. ข้อมูลชุดที่ 2 มีการกระจายมากกว่าข้อมูลชุดที่ 1 ทั้งนี้เพราะ QD2 > QD1

90. จากการสอบถามนักเรี ยนชั้น ป.2 ป.6 ม.3 และ ม.6 ของโรงเรี ยนแห่ งหนึ่ งถึงจานวนเงินที่
ผูป้ กครองให้มาใช้ที่โรงเรี ยนในแต่ละวันปรากฏว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และค่าความปรปรวนของ
จานวนเงินที่นกั เรี ยนในแต่ละชั้นได้มากใช้เป็ นดังนี้
ป.2 ป.6 ม.3 ม.6
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต (บาท) 18 20 22 25
ความแปรปรวน (บาท) 24 40 40 51
จานวนเงินที่นกั เรี ยนในแต่ละชั้นได้มาใช้ในแต่ละละวันของชั้นไหนมีความแตกต่างกันมากที่สุด
1. ป. 2 2. ป. 6 3. ม.3 4. ม. 6

62
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
91. ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของพิสัยของความสู งของนักเรี ยนในชั้นหนึ่งเป็ น 0.0625 ถ้าความสู งของนัก
เรี ยนที่สูงที่สุดในชั้นเป็ น 170 เซนติเมตร แล้วความสู งของนักเรี ยนคนที่เตี้ ยที่สุดในชั้นมีค่า
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 142 เซนติเมตร 2. 146 เซนติเมตร 3. 158 เซนติเมตร 4. 150 เซนติเมตร

92. ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมีค่าสัมประสิ ทธิ์ ของส่ วนเบี่ยงเบนควอไทล์เท่ากับ 23 ส่ วนเบี่ยงเบนควอไทล์มี


ค่าเท่ากับ 2 ควอไทล์ที่ 3 ของข้อมูลชุดนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1.25 2. 2.50 3. 3.30 4. 5.00

93. ข้อมูลชุดหนึ่งมีสัมประสิ ทธิ์ ของส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ 0.12 ส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ 8.5


ถ้าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 แล้วสัมประสิ ทธิ์ ของการแปรผันมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.141 2. 0.268 3. 0.388 4. 0.429

63
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 13 การวิเคราะห์ ข้อมูลเบือ้ งต้ น
เฉลยตะลุยโจทย์ท่วั ไป บทที่ 13 การวิเคราะห์ขอ
้ มูลเบือ
้ งต้น
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบ 16 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบ 4. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 1. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 3. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบ 6.88 70. ตอบ 4.175 71. ตอบ 2.40 72. ตอบ 0.88
73. ตอบ 2.10 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 3. 76. ตอบ 2.83
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 3. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 4.
81. ตอบ 8 82. ตอบ 3150 83. ตอบข้ อ 1. 84. ตอบข้ อ 2.
85. ตอบข้ อ 3. 86. ตอบข้ อ 4. 87. ตอบข้ อ 2. 88. ตอบข้ อ 2.
89. ตอบข้ อ 3. 90. ตอบข้ อ 2. 91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 4.
93. ตอบข้ อ 1.

64
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
14.1 คะแนนมาตรฐาน
ในการเปรี ยบเทียบคุณภาพของข้อมูลนั้น หากใช้ขอ้ มูลดิบมาทาการเปรี ยบเทียบจะทาให้เกิด
ความคลาดเคลื่ อนได้ ดังนั้นก่อนทาการเปรี ยบเทียบต้องนาข้อมูลดิบมาแปลงเป็ นค่ามาตรฐานก่อน
แล้วจึงทาการเปรี ยบเทียบ
การหาค่ามาตรฐานของข้อมูลดิบใดๆ สามารถหาได้จาก
z = x S x
เมื่อ z คือค่ามาตรฐาน
x คือคะแนนธรรมดา (คะแนนเดิม)
x คือค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
S คือส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

1. ถ้าคะแนนสอบวิชาต่างๆ ของ ด.ญ. จิตรา ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ต และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ


คะแนนแต่ละวิชาของนักเรี ยนทั้งหมดในชั้นที่ ด.ญ. จิตรา เรี ยนอยูเ่ ป็ นดังนี้
วิชา คะแนนที่สอบได้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ภาษาไทย 80 85 15
ภาษาอังกฤษ 60 75 20
วิทยาศาสตร์ 70 65 5
ด.ญ. จิตรา เรี ยนวิชาไหนได้ดีกว่ากัน
1. ภาษาไทย 2. ภาษาอังกฤษ 3. วิทยาศาสตร์ 4. ดีเท่ากันทุกวิชา

1
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
2. ในการสอบครั้ งหนึ่ ง ถ้าค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบเป็ น 500
และ 50 คะแนน ตามลาดับ ผูส้ อบคนหนึ่งสอบได้ 600 คะแนน อยากทราบว่าผูส้ อบคนนี้ สอบ
ได้คะแนนมาตรฐานเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1.5 2. 1.8 3. 2.0 4. 2.5

3. ในการสอบครั้งหนึ่ งถื อเกณฑ์ตดั สิ นว่า ผูท้ ี่ สอบได้ค่ามาตรฐานตั้งแต่ –2 ขึ้นไปถื อว่าสอบได้


ในการสอบครั้งนั้นปรากฏว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบเป็ น
450 และ 25 คะแนน ตามลาดับ ถ้านางสาวนัดดาสอบได้ 412 คะแนน แล้วนัดดาสอบได้
หรื อสอบตก
1. สอบได้
2. สอบตก
3. คานวณไม่ได้ เพราะโจทย์กาหนดให้ขอ้ มูลมาไม่ครบ
4. คานวณไม่ได้ เพราะไม่เกี่ยวกับค่ามาตรฐาน

4. คะแนนสอบวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ข องนั ก เรี ย นห้ อ งหนึ่ งมี ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ตและส่ ว นเบี่ ย งเบน
มาตรฐานเป็ น 73 และ 16 คะแนน ตามล าดับ ถ้าค่ ามาตรฐานของคะแนนสอบวิช านี้ ของ
นักเรี ยนคนหนึ่งในห้องนี้ คือ 0.2 อยากทราบว่านักเรี ยนคนนี้สอบได้กี่คะแนน

2
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
5. ในการสอบครั้งหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบเป็ น 500
และ 50 คะแนน ตามลาดับ ถ้าคะแนนเต็มของการสอบคือ 1000 คะแนน เด็กคนหนึ่งสอบได้
คะแนนซึ่ งคิดเป็ นค่ามาตรฐานได้เท่ากับ 1.8 อยากทราบว่าเด็กคนนี้สอบคะแนนได้กี่เปอร์ เซ็นต์
1. 72% 2. 70% 3. 64% 4. 59%

6(แนว PAT1) ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมีการแจกแจงปกติ ถ้าหยิบข้อมูล a , b , c , d มาหาค่ามาตรฐาน


ปรากฏว่าได้ค่าดังตาราง
ข้อมูล ( x ) a b c d
ค่ามาตรฐาน ( z ) –3 –2 0.5 –1
ค่าของ a + b + 2c – 4 d มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –2 2. 0 3. 2 4. 4

คุณสมบัติของค่ ามาตรฐาน
1. ค่ามาตรฐานเป็ นตัวเลขสาเร็ จที่ไม่มีหน่วย
2. โดยทัว่ ไป –3  z  +3 แต่อาจมีบางโอกาสที่มีค่านอกจากนี้ไปเล็กน้อย
3. ผลบวกของค่ามาตรฐานทุกค่าของข้อมูลชุดหนึ่งๆ จะมีค่าเท่ากับ 0 เสมอ นัน่ คือ
n
 Z i = Z1 + Z + … + Z n = 0
i 1
3
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของค่ามาตรฐานของข้อมูลชุดหนึ่งๆ จะมีค่าเท่ากับ 0 เสมอ นัน่ คือ
N
Z
Z = i 1 = 0
N
5. ผลบวกของกาลังสองของค่ามาตรฐานทุ กค่า ของข้อมูลชุ ดหนึ่ งๆ จะมีค่าเท่ากับจานวน
n
ข้อมูลนั้นๆ เสมอ นัน่ คือ  Z 2 = N
i
i 1
6. ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและความแปรปรวนของค่ามาตรฐาน ของข้อมูลชุดหนึ่งๆ จะมีค่า
เท่ากับ 1 เสมอ นัน่ คือ Sz = 1 และ Vz = 1
7. ถ้า x = x จะได้ค่า z = 0
ถ้า x = x + n S จะได้ค่า z = n
x x
8. z 2 – z1 = 2 S 1
x  x  2x
และ z2 + z1 = 2 S1

7(แนว Pat) นักเรี ยนห้องหนึ่ งมี 30 คน ผลการสอบวิชาสถิ ติได้ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป็ น 60 คะแนน
เมื่ อแปลงเป็ นค่ามาตรฐานปรากฏว่าผลรวมค่ามาตรฐาน 29 คนแรกคือ –1 ถ้าคนที่ 30 ได้
คะแนน 65 คะแนนแล้ว ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนนักเรี ยนห้องนี้ เทากับข้อใด
1. 2 2. 5 3. 10 4. 12

4
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
8. ในข้อมูลชุ ดหนึ่ง ถ้า x1 = 700 , Z1 = 2 , x2 = 400 และ Z2 = –1 แล้วส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 50 2. 100 3. 15 4. 200

9. ในการสอบครั้งหนึ่งของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง ปรากฏว่ามีคา่ เฉลี่ยเลขคณิ ตเป็ น 20 ส่ วนเบี่ยง


เบนมาตรฐานเป็ น 2 ถ้าผลสอบครั้งนี้ นาย ก. สอบได้ค่ามาตรฐานแตกต่างกับค่ามาตรฐาน
ของนาย ข. อยู่ 1 อยากทราบว่าคะแนนที่ท้ งั สองคนได้แตกต่างกันกี่คะแนน

10. จากข้อที่ ผ่านมา ถ้า นาย ค. กับ นาย ง. สอบได้คะแนนต่างกัน 5 คะแนน แล้วคะแนน
มาตรฐานของทั้งสองคนแตกต่างกันเท่าใด

5
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
11(แนว Pat1) คะแนนสอบวิชาความถนัดของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ งมีการแจกแจงปกติ ถ้าผลรวมของ
ค่ามาตรฐานของคะแนนของนายแดงและนายดาเท่ากับ 0 และผลรวมของคะแนนนายแดงและ
นายดาเป็ น 4 เท่าของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบมีค่าเป็ น 20
คะแนน แล้วค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 10 3. 13 4. 14

14.2 เส้ นโค้ งความถี่ของข้ อมูล


สมมุติข้อมูลคะแนนสอบครั้ งหนึ่ง
หากเป็ นการสอบปกติ คนที่ได้คะแนนปานกลางจะมีจานวนมาก คนที่ได้คะแนนน้อยหรื อ
มากกว่าปกติจะมีจานวนน้อยดังตาราง
คะแนนสอบ ( x ) จานวนคน ( f )
0 – 19 8
20 – 39 15
40 – 59 60
60 – 79 13
80 – 99 4
เมื่อเขียนกราฟความถี่จะได้เส้นโค้งรู ประฆังคว่าสมมาตร เรี ยกเส้ นโค้ งปกติ

6
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
หากเป็ นการสอบซึ่ง คนจานวนมากได้คะแนนต่ากว่าปกติ ดังตาราง
คะแนนสอบ ( x ) จานวนคน ( f )
0 – 19 15
20 – 39 52
40 – 59 16
60 – 79 13
80 – 99 4
เมื่อเขียนกราฟความถี่ จะได้เส้นโค้งดังรู ป เรี ยกเส้ นโค้ งเบ้ ลาดทางขวา
หากเป็ นการสอบซึ่ง คนจานวนมากได้คะแนนสู งกว่าปกติ ดังตาราง
คะแนนสอบ ( x ) จานวนคน ( f )
0 – 19 2
20 – 39 10
40 – 59 18
60 – 79 58
80 – 99 12
เมื่อเขียนกราฟความถี่ จะได้เส้นโค้งดังรู ป เรี ยกเส้ นโค้ งเบ้ ลาดทางซ้ าย

สมบัติสาคัญของเส้ นโค้ งแต่ ละอย่าง


1) เส้ นโค้ งปกติ
คะแนนซึ่ งอยูต่ รงจุดกึ่งกลาง = x = มัธยฐาน = ฐานนิยม

2) เส้ นโค้ งเบ้ ลาดทางขวา


ฐานนิยม < มัธยฐาน < x

3) เส้ นโค้ งเบ้ ลาดทางซ้ าย


x < มัธยฐาน < ฐานนิยม

7
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
ความโด่ งของเส้ นโค้ งปกติ

ถ้าข้อมูลมีการกระจายมาก ถ้าข้อมูลมีการกระจายน้อย
เส้นโค้งปกติจะมีความโด่งน้อย เส้นโค้งปกติจะมีความโด่งมาก
(โค้งค่อนข้างแบน ) (โค้งค่อนข้างสู ง )
พิจารณาตัวอย่างต่ อไปนี้
ตัวอย่าง ตัวอย่าง

@ x1 = x 2 @ x1 < x 2
@ s 1 > s2 @ s 1 = s2
(เพราะเส้นแรก มีความโด่งน้อยกว่า) (เพราะทั้งสองเส้นมีความโด่งเท่ากัน)
@ ชุด 1 กระจายมากกว่าชุด 2 @ ชุด 1 กระจายมากกว่าชุด 2
s s s s
เพราะ x1 > x2 เพราะ x1 > x2
1 2 1 2
คือ 1 > 2 คือ 1 > 2

ตัวอย่าง @ x1 < x 2
@ s1 < s2
(เพราะเส้นแรก มีความโด่งมากกว่า)
@ ข้อนี้จะบอกไม่ได้วา่ ข้อมูลชุดใดมีการกระจาย
มากกว่ากัน จนกว่าจะทราบค่า x และ s ที่
แน่นอนของข้อมูลแต่ละชุด

8
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
12(แนว En) ข้อมูลเชิงปริ มาณชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ ข้อใดต่อไปนี้ผดิ
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตมีค่าอยูร่ ะหว่างเปอร์ เซ็นไทล์ที่ 40 และเปอร์ เซ็นไทล์ที่ 60
2. มัธยฐานมีค่าอยูร่ ะหว่างเปอร์ เซ็นไทล์ที่ 45 และเปอร์ เซ็นไทล์ที่ 65
3. ฐานนิยมมีค่าอยูร่ ะหว่างเปอร์ เซ็นไทล์ที่ 37 และเปอร์เซ็นไทล์ที่ 52
4. มัธยฐาน < ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต < ฐานนิยม

14.3 การแจกแจงปกติและเส้ นโค้งปกติ


เกี่ยวกับพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ มีสิ่งที่ควรรู ้ดงั นี้
1) โดยทัว่ ไปเราจะกาหนดให้
พื้นที่ใต้เส้นโค้งทั้งหมด = 100% = 100 100 = 1.0000
พื้นที่ครึ่ งซ้าย = 50% = 0.5000
พื้นที่ครึ่ งขวา = 50% = 0.5000
2) ที่จุดกึ่งกลางเส้นโค้งจะได้วา่ ค่า z = 0 เสมอ
ทางซี กซ้ายมือของจุดกึ่งกลางจะได้วา่ ค่า z มีค่าเป็ นลบ
ทางซี กชวามือของจุดกึ่งกลางจะได้วา่ ค่า z มีค่าเป็ นบวก ดังรู ป

บวก

9
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
3) หากเราทราบค่า z ณ จุดใดๆ เราสามารถหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งจากจุดกึ่งกลาง (z = 0 )
ถึงจุด z ใดๆ ได้เสมอ โดยใช้ตารางพื้นที่ใต้เส้นโค้ง

ฝึ กทา. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติตามเงื่อนไขต่อไปนี้ พร้อมวาดรู ปประกอบ


(ให้ใช้ตารางพื้นที่ใต้เส้นโค้ง)
1. ระหว่าง z = 0 ถึง z = 1.58 2. ระหว่าง z = 0 ถึง z = –1.63

10
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
3. ระหว่าง z = –1.58 ถึง z = 1.63 4. ระหว่าง z = 1.58 ถึง z = 1.63

5. ระหว่าง z = –1.58 ถึง z = –1.63

ฝึ กทา. จงหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติตามเงื่อนไขต่อไปนี้ พร้อมวาดรู ปประกอบ


(ให้ใช้ตารางพื้นที่ใต้เส้นโค้ง)
1. ระหว่าง z > 1.58 2. ระหว่าง z < 1.58

3. ระหว่าง z < –1.58 4. ระหว่าง z > –1.58

11
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
13(แนว มช) ราคาขายบ้านในหมู่บา้ นจัดสรรขนาดใหญ่แห่ งหนึ่ ง มีการแจกแจงปกติที่มีค่าเฉลี่ ย
เลขคณิ ตและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.5 และ 0.25 ล้านบาท ตามลาดับ บ้านที่มีราคา
น้อยกว่า 1 ล้านบาท มีกี่เปอร์ เซ็นต์
( กาหนดให้ พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 2 มีค่าเท่ากับ 0.4772 )
1. 2.28 2. 4.56 3. 47.72 4. 97.72

14. ในการสอบวิชาภาษาอังกฤษครั้ งหนึ่ ง มี ค่าเฉลี่ เลขคณิ ตและส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ


12 และ 2 คะแนน ตามลาดับ เด็กชายฟิ ล์มสอบได้ 16 คะแนน จงหาว่าจานวนนักเรี ยนที่
สอบได้คะแนนน้อยกว่าเด็กชายฟิ ล์ม มีกี่เปอร์ เซ็นต์
( ให้พ้ืนที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 2 มีค่าเท่ากับ 0.4720 )

12
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
15(แนว En) อายุข องคนกลุ่ ม หนึ่ งมี ก ารแจกแจงปกติ โดยมี ค่ าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป็ น x และส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน S สมหวังมีอายุ x – S ปี จานวนคนในกลุ่มนี้ที่มีอายุนอ้ ยกว่าสมหวังมีกี่
เปอร์ เซ็นต์ ( พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1 เท่ากับ 0.3413 )

16. ในการบรรจุ ก าแฟลงขวดซึ่ งมี น้ าหนัก บรรจุ เป็ นแบบการแจกแจงปกติ และมี น้ าหนัก เฉลี่ ย
115.5 กรัม ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.3 กรัม กาแฟที่มีน้ าหนักบรรจุมากกว่า 115.2 กรัม มีกี่
เปอร์เซ็นต์ ( ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1 เท่ากับ 0.3413 )
1. 6.69 2. 34.13 3. 41.82 4. 84.13

17. ถ้าข้อมูลชุ ดหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ มี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป็ น 400 หน่ วย และส่ วนเบี่ ยงเบน
มาตรฐานเป็ น 100 หน่วย ข้อมูลที่มีค่ามากกว่า 356 แต่นอ้ ยกว่า 538 มีกี่เปอร์ เซ็นต์
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 0.44 เท่ากับ 0.1700 และ z = 1.38 เท่ากับ 0.4162 )
1. 8.38 2. 24.620 3. 33.00 4. 58.62

13
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
18. ถ้าข้อมูลชุ ดหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ มี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป็ น 400 หน่ วย และส่ วนเบี่ ยงเบน
มาตรฐานเป็ น 100 หน่วย ข้อมูลที่มีค่ามากกว่า 262 แต่นอ้ ยกว่า 356 มีกี่เปอร์เซ็นต์
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 0.44 เท่ากับ 0.1700 และ z = 1.38 เท่ากับ 0.4162 )
1. 8.38 2. 24.62 3. 33.00 4. 58.62

19. ในการสอบคัดเลือกนักเรี ยนเข้าเรี ยนชั้น ม.1 มีผสู้ มัคร 3000 คน คะแนนสอบมีการแจกแจง


ปกติ ถ้าให้ผไู ้ ด้ค่ามาตรฐานสู งกว่า 1 เข้าเรี ยนได้ จะมีนกั เรี ยนสอบได้เข้าได้ท้ งั หมดกี่คน
( กาหนดให้ พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ จาก z = 0 ถึง z = 1 เป็ น 0.3410 )
1. 470 คน 2. 473 คน 3. 477 คน 4. 480 คน

14
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
20. พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน กาหนดให้ดงั รู ปต่อไปนี้ พื ้นที่ = 0.3413
ถ้าโรงงานผลิตนมสดแห่งหนึ่ง ผลิตนมสดจานวนทั้งสิ้ น
10000 กล่อง ปรากฏว่าปริ มาณการบรรจุนมสด แต่ละ
กล่องมีการแจกแจงแบบปกติ โดยมีปริ มาณการบรรจุโดย
เฉลี่ยเท่ากับ 225 ลูกบาศก์เซนติเมตร ความแปรปรวน z=0 z=1
2
เท่ากับ 169 [ลูกบาศก์เซนติเมตร] ดังนั้นจะได้วา่ จานวนกล่องที่มีปริ มาณการบรรจุนอ้ ยกว่า
238 ลูกบาศก์เซนติเมตร เท่ากับกี่กล่อง

21. คะแนนสอบของนักเรี ยนกลุ่ มหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ และมี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ ยง
เบนมาตรฐานของคะแนนสอบเป็ น 68 และ 10 คะแนนตามลาดับ ถ้า น.ส.มนทกานต์ สอบ
ได้ 84 คะแนน แล้วเขาจะมีตาแหน่งตรงกับตาแหน่งเปอร์ เซ็นต์ไทล์ที่เท่าใด
( กาหนดให้ พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1.6 เท่ากับ 0.4452 )
1. 76.41 2. 81.43 3. 86.52 4. 94.52

15
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
22(แนว En) คะแนนสอบของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีสัมประสิ ทธิ์ ของการแปร
ผันเป็ น 24% และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 12 คะแนน แล้วข้อใดต่อไปนี้ เป็ นตาแหน่ ง
เปอร์เซ็นต์ไทล์ของนักเรี ยนที่สอบได้ 62 คะแนน
( ถ้ากาหนด พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง z = 0 ถึง z = 1.0 เป็ น 0.3413 )
1. 38.49 2. 39.44 3. 84.13 4. 89.44

23(แนว En) พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติระหว่าง z = 0 ถึง z = 1.2 เท่ากับ 0.3849 คะแนนสอบ


ของนักเรี ยนกลุ่ มหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ โดยมี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 50 และ 10 คะแนน ตามลาดับ ถ้านายคานวณสอบได้ในตาแหน่ งเปอร์ เซ็ นต์ไทล์
เท่ากับ 88.49 แล้วนายคานวณสอบได้คะแนนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 58 คะแนน 2. 60 คะแนน 3. 62 คะแนน 4. 65 คะแนน

16
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
24(แนว มช) คะแนนสอบวิชาสถิติซ่ ึงคะแนนเต็ม 100 มีการแจกแจงปกติ มีค ่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ
62 คะแนน ธิ ดาสอบได้คะแนน 75 คะแนน โดยมีผสู ้ อบได้คะแนนมากกว่าธิ ดาอยู่ 20% ของ
จานวนผูส้ อบทั้งหมด แล้วส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคะแนนสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด
( กาหนดให้ ตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติดงั นี้ )
z 0.00 0.50 0.84 1.00
A 0.000 0.192 0.300 0.341

25. ในการสอบวิช าคณิ ตศาสตร์ มี ค่ าเฉลี่ ยเลขคณิ ตของคะแนนเท่ ากับ 84 คะแนน และส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4 คะแนน ถ้าให้เกรดตามเส้นโค้งปกติ พบว่ามีนกั เรี ยนได้เกรด A
จานวน 10.20 % ดังนั้นคะแนนต่าสุ ดของเกรด A ว่าตรงกับข้อใดต่อไปนี้
( กาหนดให้ พื้นที่เส้นโค้งปกติระหว่าง z = 0 ถึง z = 1.25 เท่ากับ 0.3980 )
1. 72 คะแนน 2. 75 คะแนน 3. 78 คะแนน 4. 89 คะแนน

17
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
เฉลยบทที่ 14 การแจกแจงปกติ
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบ 76.2
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบ 2 10. ตอบ 2.5 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบ 97.72 15. ตอบ 15.87 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบ 8413
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบ 15.48
25. ตอบข้ อ 4.



18
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
ตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
14.1 คะแนนมาตรฐาน
1. นักเรี ยนคนหนึ่งสอบวิชาภาษาอังกฤษและคณิ ตศาสตร์ ได้ 72 และ 75 คะแนน ตามลาดับ ถ้า
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรี ยนห้อง
นี้เป็ น 70 และ 10 คะแนน ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบวิชา
คณิ ตศาสตร์เป็ น 73 และ 16 คะแนน ตามลาดับ นักเรี ยนคนนี้ เรี ยนวิชาไหนได้ดีกว่ากัน
1. คณิ ตศาสตร์ 2. ภาษาอังกฤษ 3. ดีเท่ากัน 4. เปรี ยบเทียบไม่ได้

2. ด.ช วิชัย สอบได้คะแนนวิชาคณิ ตศาสตร์ ในชั้น ม.3 และ ม.4 เป็ น 75 และ 80 คะแนน
ตามลาดับ ถ้าค่ าเฉลี่ ยเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานของคะแนนวิช าคณิ ตศาสตร์ ข อง
นักเรี ยนทุกคนในชั้น ม.3 เป็ น 70 และ 15 คะแนน ส่ วนค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานของนักเรี ยนทุกคนในชั้น ม.4 เป็ น 80 และ 20 คะแนน ตามลาดับ ด.ช. วิชยั เรี ยน
วิชาคณิ ตศาสตร์ ในชั้นไหนได้ดีกว่ากัน
1. ม.3 2. ม. 4 3. ดีเท่ากัน 4. เปรี ยบเทียบไม่ได้

3. นายนัฐ สอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ได้ 84 คะแนน ซึ่ งในการสอบครั้ งนั้นคะแนนเฉลี่ ยเท่ากับ 76


คะแนน และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนนเขาสอบวิชาฟิ สิ กส์ ได้ 90 คะแนน ซึ่ ง
ในการสอบครั้ งนั้นคะแนนเฉลี่ ยเท่ ากับ 82 คะแนน และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานเท่ ากับ 16
คะแนน จงหาว่าวิชาใดนายนัฐอยูใ่ นตาแหน่งที่สูงกว่า
1. คณิ ตศาสตร์ 2. ฟิ สิ กส์ 3. ดีเท่ากัน 4. เปรี ยบเทียบไม่ได้

4. ในการสอบชิงทุนครั้งหนึ่ งมีเงื่อนไขว่าผูไ้ ด้รับทุนต้องผ่านการสอบข้อเขียนด้วยค่ามาตรฐานของ


คะแนนตั้งแต่ 1.5 ขึ้นไป ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนข้อเขียนเท่ากับ 350 และความแปร
ปรวนเท่ากับ 10000 นายสันติ นายสมัย นายสุ เทพ สอบข้อเขียนได้ 550 , 450 และ 500
ตามลาดับแล้ว ในสามคนนี้ ผใู ้ ดบ้างจะสอบผ่านข้อเขียน
1. นายสันติ นายสมัย และนายสุ เทพ 2. นายสันติ และนายสุ เทพ
3 นายสันติเพียงผูเ้ ดียว 4. ไม่มีผสู ้ อบผ่าน

19
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
5. คะแนนสอบวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ข องนั ก เรี ย นห้ อ งหนึ่ งมี ค่ า เฉลี่ ย เลขคณิ ตและส่ ว นเบี่ ย งเบน
มาตรฐานเป็ น 73 และ 16 คะแนน ตามลาดับ ถ้าคะแนนมาตรฐานของคะแนนสอบวิชานี้ ของ
นักเรี ยนคนหนึ่งในห้องนี้ คือ 0.2 อยากทราบว่านักเรี ยนคนนี้ สอบได้กี่คะแนน

6. ในการสอบคัดเลื อกเป็ นนักบิ นครั้ งหนึ่ งมี เกณฑ์ว่า ผูท้ ี่ จะมีสิทธิ์ เข้าสอบสัมภาษณ์ จะต้องผ่าน
การทดสอบความรวดเร็ วในการเตรี ยมตัว โดยมีคะแนนมาตรฐานอย่างน้อยที่สุด –1 ถ้าเวลาที่
ผูส้ มัครทั้งหมดใช้ในการทดสอบความรวดเร็ วมีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเป็ น 200 วินาที และค่าความ
แปรปรวนเป็ น 121 (วินาที)2 จงหาว่าคนสุ ดท้ายที่มีสิทธิ์ เข้าสอบสัมภาษณ์ จะใช้เวลาในการ
ทดสอบความรวดเร็ วนานประมาณกี่นาที
1. 1.32 นาที 2. 3.15 นาที 3. 3.52 นาที 4. 5.35 นาที

7. ในการทดสอบเวลาที่ใช้ในการวิง่ แข่งระยะทาง 100 เมตร ของนักกีฬาโรงเรี ยนแห่งหนึ่ง เพื่อ


เลือกตัวแทนไปแข่งขันกับโรงเรี ยนอื่น โดยถือว่าผูท้ ี่ผา่ นการทดสอบจะต้องได้คะแนนมาตรฐาน
ของเวลาที่ใช้ไม่มากกว่า 1.0 ปรากฏว่านักกีฬาที่ใช้เวลามากกว่า 12 วินาที ไม่ผา่ นการทดสอบ
ถามว่าในการทดสอบคราวนี้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของเวลาที่ใช้ในการวิง่ ของนักกีฬาทั้งหมดเป็ นกี่
วินาที ถ้าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของเวลาที่ใช้ในการวิง่ ของนักกีฬาเป็ น 1.1 วินาที
1. 9.85 วินาที 2. 10.90 วินาที 3. 11.22 วินาที 4. 12.38 วินาที

8. ในการสอบครั้งหนึ่งนายแดงสอบได้คะแนนน้อยกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบอยู่ 1.2 S


ส่ วนนายดาสอบได้คะแนนมากกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบอยู่ 1.6 S เมื่อ S คือส่ วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าคะแนนมาตรฐานของนายแดงและนายดาแตกต่างกันเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.4 2. 2.0 3. 2.8 4. 3.2

9. ในการสอบวิชาภาษาไทยระดับประถมศึกษาของนักเรี ยนทั้งจังหวัดแห่ งหนึ่ ง นายวิทยา และ


ั น์ ได้ค่ ามาตรฐาน 0.8 และ –0.4 ตามล าดับ ถ้า นายวิท ยา และนายนิ ว ฒ
นายนิ ว ฒ ั น์ ได้
คะแนน 88 และ 64 ตามลาดับ คะแนนเฉลี่ ยและส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานของการสอบครั้ งนี้
ตรงกับข้อใด
1. x = 68 , S = 20 2. x = 68 , S = 22
3. x = 72 , S = 20 4. x = 72 , S = 22

20
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
10(แนว A–Net) บริ ษทั หนึ่งมีพนักงาน 20 คน เงินเดือนเฉลี่ยของพนักงานเท่ากับ 60000 บาท
และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10000 บาท
ถ้าผลรวมของค่ามาตรฐานของเงิ นเดื อนของพนัก งานจานวน 19 คน มี ค่ าเท่ ากับ 2.5 แล้ว
พนักงานอีก 1 คนที่เหลือมีเงินเดือนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 35,000 บาท 2. 57,500 บาท 3. 62,500 บาท 4. 85,000 บาท

11. ความสู งของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่งมีสัมประสิ ทธิ์ ของการแปรผันเท่ากับ 0.40 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต


เท่ากับ 125 เซนติเมตร ถ้าเด็กชาย ก. และเด็กหญิง ข. มีส่ วนสู งเป็ น 140 และ 122 เซนติ-
เมตร ตามลาดับ แล้ว เด็กชาย ก. จะมี ความสู งคิ ดเป็ นคะแนนมาตรฐานมากกว่าเด็กหญิ ง ข.
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –2.14 2. –0.36 3. 0.36 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก

12(แนว En) ในการสอบวิช าคณิ ต ศาสตร์ ข องนัก เรี ย นห้ อ งหนึ่ ง ปรากฏว่า ค่ า ส่ ว นเบี่ ย งเบน
มาตรฐานมี ค่ าเป็ น 16 นาย ก ได้ค ะแนนคิ ดเป็ นค่ามาตรฐานเท่ ากับ 1.3 นาย ข ได้คะแนน
น้อยกว่าคะแนนนาย ก 8 คะแนน ข้อใดต่อไปนี้เป็ นค่ามาตรฐานของคะแนนของนาย ข
1. 0.5 2. 0.8 3. 1.0 4. 1.1

13. ในการสอบครั้งหนึ่ งของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ งปรากฏผลดังนี้ นาย ก. สอบได้ 70 คะแนน ซึ่ ง


เปลี่ยนเป็ นค่ามาตรฐานได้เท่ากับ 2 นาย ข. สอบได้ 40 คะแนน ซึ่ งเปลี่ยนเป็ นค่ามาตรฐานได้
เท่ากับ –1 ถ้านาย ค. สอบได้ 65 คะแนน จะเปลี่ยนเป็ นค่ามาตรฐานได้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1.0 2. 1.2 3. 1.5 4. 1.7

14(แนว Pat1) คะแนนสอบวิชาความถนัดของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ งมีการแจกแจงปกติ ถ้าผลรวมของ


ค่ามาตรฐานของคะแนนของนายแดงและนายดาเท่ากับ 1 และผลรวมของคะแนนนายแดงและ
นายดาเป็ น 4 เท่าของส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบมีค่าเป็ น 30
คะแนน แล้วค่าส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 10 3. 13 4. 14

21
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
14.2 เส้ นโค้ งความถี่ของข้ อมูล
15(แนว En) คะแนนสอบของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ งมีการแจกแจงปกติโดยมีค่าสัมประสิ ทธิ์ ของส่ วน
เบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ 1 ถ้าส่ วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของคะแนนสอบเท่ากับ 2 มัธยฐานของคะแนน
3
สอบของนักเรี ยนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 34 2. 43 3. 6 4. 36

16(แนว มช) กำหนดตำรำงแสดงผลกำรสอบของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่งเป็ นดังนี้


คะแนน จำนวนนักเรียน
11 – 19 18
20 – 28 23
29 – 37 8
38 – 46 2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. มัธยฐำน น้อยกว่ำ ฐำนนิ ยม 2. ค่ำเฉลี่ย น้อยกว่ำ มัธยฐำน
3. ฐำนนิยม มำกกว่ำ ค่ำเฉลี่ย 4. มัธยฐำน มำกกว่ำ ฐำนนิ ยม

14.3 การแจกแจงปกติและเส้ นโค้งปกติ


17. ในการสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนห้องหนึ่ง วิเชียรได้คะแนน 68 คะแนน ในขณะที่ค ่า
เฉลี่ ยเลขคณิ ตเท่ากับ 50 คะแนน และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 10 คะแนน ถามว่ามี
ผูส้ อบชนะวิเชียรกี่เปอร์ เซนต์ของนักเรี ยนที่เข้าสอบ

18. ถ้าข้อมูลชุ ดหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ มี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป็ น 400 หน่ วย และส่ วนเบี่ ยงเบน
มาตรฐานเป็ น 100 หน่วย ข้อมูลที่มีค่ามากกว่า 538 มีกี่เปอร์ เซ็นต์
( กาหนดให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1.38 เท่ากับ 0.4162 )
1. 8.38 2. 17.00 3. 33.00 4. 57.00

19. ถ้าข้อมูลชุ ดหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ มี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป็ น 400 หน่ วย และส่ วนเบี่ ยงเบน
มาตรฐานเป็ น 100 หน่วย ข้อมูลที่มีค่าน้อยกว่า 356 มีกี่เปอร์ เซ็นต์
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 0.44 เท่ากับ 0.1700 และ z = 1.38 เท่ากับ 0.4162 )
1. 8.38 2. 17.00 3. 33.00 4. 57.00
22
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
20. ถ้าข้อมูลชุ ดหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ มี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป็ น 400 หน่ วย และส่ วนเบี่ ยงเบน
มาตรฐานเป็ น 100 หน่วย ข้อมูลที่มีค่าน้อยกว่า 444 มีกี่เปอร์ เซ็นต์
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 0.44 เท่ากับ 0.1700 และ z = 1.38 เท่ากับ 0.4162 )
1. 8.38 2. 17.00 3. 33.00 4. 57.00

21. ถ้าข้อมูลชุ ดหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ มี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป็ น 400 หน่ วย และส่ วนเบี่ ยงเบน
มาตรฐานเป็ น 100 หน่วย ข้อมูลที่มีค่าน้อยกว่า 356 มีกี่เปอร์ เซ็นต์
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 0.44 เท่ากับ 0.1700 และ z = 1.38 เท่ากับ 0.4162 )
1. 8.38 2. 17.00 3. 33.00 4. 57.00

22. ถ้าข้อมูลชุ ดหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ มี ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเป็ น 400 หน่ วย และส่ วนเบี่ ยงเบน
มาตรฐานเป็ น 100 หน่วย ข้อมูลที่มีค่ามากกว่า 356 มีกี่เปอร์ เซ็นต์
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 0.44 เท่ากับ 0.1700 และ z = 1.38 เท่ากับ 0.4162 )
1. 8.38 2. 17.00 3. 33.00 4. 57.00

23. ในการบรรจุ ก าแฟลงขวดซึ่ งมี น้ าหนัก บรรจุ เป็ นแบบการแจกแจงปกติ และมี น้ าหนัก เฉลี่ ย
115.5 กรัม ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.3 กรัม กาแฟที่ มีน้ าหนักบรรจุระหว่าง 115.2 กรัม ถึ ง
115.9 กรัม มีกี่เปอร์ เซ็นต์
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1 เท่ากับ 0.3413 และ z = 1.33 เท่ากับ 0.4082 )
1. 6.69 2. 34.13 3. 41.82 4. 74.95

24. ในการบรรจุ ก าแฟลงขวดซึ่ งมี น้ าหนัก บรรจุ เป็ นแบบการแจกแจงปกติ และมี น้ าหนัก เฉลี่ ย
115.5 กรัม ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.3 กรัม กาแฟที่ มีน้ าหนักบรรจุระหว่าง 115.8 กรัม ถึ ง
115.9 กรัม มีกี่เปอร์ เซ็นต์
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1 เท่ากับ 0.3413 และ z = 1.33 เท่ากับ 0.4082 )
1. 6.69 2. 34.13 3. 41.82 4. 74.95
25. ในการบรรจุ ก าแฟลงขวดซึ่ งมี น้ าหนัก บรรจุ เป็ นแบบการแจกแจงปกติ และมี น้ าหนัก เฉลี่ ย
115.5 กรัม ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.3 กรัม กาแฟที่ มีน้ าหนักบรรจุระหว่าง 115.1 กรัม ถึ ง
115.2 กรัม มีกี่เปอร์ เซ็นต์
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1 เท่ากับ 0.3413 และ z = 1.33 เท่ากับ 0.4082 )
1. 6.69 2. 34.13 3. 41.82 4. 74.95
23
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
26. คะแนนสอบของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ งมีการแจกแจงแบบปกติ มีค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ ยง
เบนมาตรฐานเป็ น 60 และ 10 คะแนน ตามล าดับ นางสาวอาภัส ราสอบได้ 73 คะแนน
คะแนนของเธอจะอยูต่ รงกับตาแหน่งเปอร์ เซ็นไทล์ที่เท่าใด
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 0.25 เท่ากับ 0.0987 และ z = 1.3 เท่ากับ 0.4032 )
1. 9.68 2. 40.13 3. 59.87 4. 90.32

27. คะแนนสอบของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ งมีการแจกแจงแบบปกติ มีค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตและส่ วนเบี่ ยง


เบนมาตรฐานเป็ น 64 และ 8 คะแนน ตามลาดับ นางผไทสอบได้ 62 คะแนน คะแนนของ
เขาจะอยูต่ รงกับตาแหน่งเปอร์ เซ็นไทล์ที่เท่าใด
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 0.25 เท่ากับ 0.0987 และ z = 1.3 เท่ากับ 0.4032 )
1. 9.68 2. 40.13 3. 59.87 4. 90.32

28. ข้อมู ลชุ ดหนึ่ งมี การแจกแจงปกติ มีค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตเท่ ากับ 70 และส่ วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 10 ถ้าพื้นที่ ใต้โค้งปกติ มาตรฐาน z = 0 ถึ ง z = 0.842 เป็ น 0.3000 แล้วเปอร์ เซ็ นต์
ไทล์ที่ 80 มีค่าตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. 78.42 2. 70.84 3. 88.42 4. 61.58

29. ข้อมูลชุดหนึ่ งมีการแจกแจงในรู ปโค้งปกติ มีค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ 40 และส่ วนเบี่ยงเบน


มาตรฐานเท่ากับ 10 แล้วค่า P46 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
( ให้พ้ืนที่ใต้เส้นโค้งจาก z = 0 ถึง z = 0.1 เท่ากับ 0.04 )
1. 35 2. 39 3. 42 4. 46

30. น้ าหนัก สุ ท ธิ ของกระป๋ องบรรจุ ถ ัว่ ที่ ผลิ ตโดยบริ ษทั แห่ งหนึ่ งมี ก ารแจกแจงแบบปกติ โดยมี
น้ าหนัก สุ ท ธิ เฉลี่ ย เป็ น 12.00 กรั ม ถ้า กระป๋ องที่ มี น้ าหนัก สุ ท ธิ น้ อยกว่า 11.88 กรั ม มี อ ยู่
11.51% ความแปรปรวนของน้ าหนักสุ ทธิ ของกระป๋ องนี้ มีค่าเท่ากับข้อใด
( ให้พ้ืนที่ใต้เส้นโค้งจาก z = 0 ถึง z = 1.2 เท่ากับ 0.3849 )
1. 0.10 กรัม2 2. 0.01 กรัม2 3. 0.50 กรัม2 4. 0.0025 กรัม2

24
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 14 การแจกแจงปกติ
31. คะแนนสอบวิชาสถิ ติของนักเรี ยนกลุ่ มหนึ่ งมีการแจกแจงแบบปกติ ถ้านักเรี ยนได้มาตรฐาน
ของคะแนนสอบวิชานี้ มากกว่า –1.96 จะถือว่าสอบได้ ทั้งนี้ พ้ืนที่ใต้เส้นโค้งปกติเมื่อมีคะแนน
มาตรฐานน้อยกว่า –1.96 เท่ากับ 0.025 ถ้ามีนกั เรี ยนเข้าสอบวิชานี้ 120 คน จะมีนกั เรี ยนสอบ
ได้ท้ งั หมดกี่คน
1. 118 คน 2. 110 คน 3. 115 คน 4. 117 คน

32. แผ่นพลาสติกจานวน 2000 แผ่น ความหนาของแผ่นมีการแจกแจงแบบปกติ และมีความหนา


เฉลี่ ย 0.0625 เซนติเมตร ความแปรปรวนเป็ น 0.00000625 เซนติเมตร 2 แผ่นพลาสติ กที่ มี
ความหนาอยูร่ ะหว่าง 0.0595 ถึง 0.0659 เซนติเมตร มีจานวนกี่แผ่น
(ให้ พื้นที่ใต้โค้งปกติระหว่าง z = 0 และ z = 1.2 เท่ากับ 0.3849 และ z = 1.36 เท่ากับ 0.4131 )
1. 56 แผ่น 2. 770 แผ่น 3. 823 แผ่น 4. 1596 แผ่น



เฉลยตะลุยโจทย์ท่วั ไป บทที่ 14 การแจกแจงปกติ


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบ 76.2 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบ 3.59 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 4.



25
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชน ั ระหว่างข้อมูล
15.1 การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ เชิงฟังก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
ในบทนี้ เราจะศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่ งของสองสิ่ งซึ่ งมีความเกี่ยวข้องกัน เช่ น
ความสู งของเด็กกับน้ าหนักตัว พร้อมกันนั้นเราจะสร้างฟังก์ชน่ั แสดงความสัมพันธ์ระหว่างของสอง
สิ่ งนั้น แล้วใช้ฟังก์ชน่ั ที่ได้ไปทานายค่าตัวแปรหนึ่ ง เมื่อเราทราบค่าตัวแปรอีกตัวที่เหลือ เช่นเมื่อเรา
ทราบความสู ง เราก็สามารถทานายค่าน้ าหนักตัวได้ เป็ นต้น
ตัวแปรที่ เราทราบค่าแล้วจะเรี ยกว่าตัวแปรต้น ( x ) ส่ วนตัวแปรที่ จะทานายค่าเรี ยกตัวแปร
ตาม( y ) เช่นในตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้น ความสู งเป็ นสิ่ งที่ทราบค่า ความสู งจึงเป็ นตัวแปรต้น ( x )
และเราต้อ งการท านายน้ าหนัก น้ า หนัก ตัว จึ งเป็ นตัว แปรตาม ( y ) ในระดับ ชั้น นี้ เราจะศึ ก ษา
ความสั ม พัน ธ์ ข องตัว แปรต้น (x) และตัว แปรตาม (y) 3 รู ป แบบ คื อ แบบเส้ น ตรง , แบบ
พาราโบลา , แบบอ็กโปแนนเซียล

15.2 การประมาณค่าของค่ าคงตัวโดยใช้ วธิ ีกาลังสองน้ อยสุ ด


หลักการในการสร้ างความสั มพันธ์ เชิงฟังก์ชั่น (คร่ าวๆ )
ขั้นที่ 1 ต้องนาข้อมูลที่ โจทย์บอกมา ไปเขียนแผนภาพการกระจาย เพื่อดู แนวโน้มว่าข้อมูล
นั้น จะมี ความสัมพันธ์ ก นั ในรู ปแบบใด ( ในระดับชั้นนี้ จะศึ กษาความสัมพันธ์ 3 แบบ คื อแบบ
เส้นตรง , แบบพาราโบลา , แบบอ็กโปแนนเซียล )
ขั้นที่ 2 ทาการสร้างฟั งก์ชนั แสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล โดยเลือกใช้สมการรู ปทัว่ ไปและ
สมการปกติดงั นี้
กรณีทคี่ วามสั มพันธ์ ของข้ อมูลอยู่ในรู ปเส้ นตรง
สมการรู ปทัว่ ไป
y = bx+a
สมการปกติ
y = b x + n a
xy = b x2 + a x

1
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
กรณีทคี่ วามสั มพันธ์ ของข้ อมูลอยู่ในรู ปพาราโบลา
สมการรู ปทัว่ ไป
y = a x2 + bx + c
สมการปกติ
y = a x2 + b x + nc

xy = a x3 + b x2 + c x


x2 = a x4 + b x3 + c x2
กรณีทคี่ วามสั มพันธ์ ของข้ อมูลอยู่ในเอกซ์ โพแนนเซียล
สมการรู ปทัว่ ไป
log y = (log b) x + log a
สมการปกติ
 log y = (log b) x + n log a
x . log y = (log b) x2 + (log x) x

ข้ อควรระวัง ; ความสั มพันธ์ เชิ งฟั งก์ชันที่ ส ร้ างมาได้น้ ี จะใช้ทานายค่าตัวแปรตาม ( y ) เมื่ อ


ทราบค่าตัวแปรต้น( x ) เท่านั้น ( คือใช้แทนค่า x เพื่อหาค่า y จะแทนค่า y แล้วหาค่า x ไม่ได้ )

1(แนว En) ความสัมพันธ์ระหว่างเวลา (วินาที) และระยะทาง (เมตร) ของวัตถุที่เคลื่อนที่เป็ นดังนี้


เวลา ( วินาที ) 1 2 3 4
ระยะทาง (เมตร) 2 8 18 32
ถ้าความสัมพันธ์เชิ งฟั งก์ชนั ของข้อมูลชุ ดนี้ เป็ นแบบเส้นตรงแล้ว เราจะทานายระยะทางที่วตั ถุ
เคลื่อนที่ได้ขณะที่เวลาเท่ากับ 3.5 วินาที ได้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 20 เมตร 2. 23 เมตร 3. 25 เมตร 4. 28 เมตร

2
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
2(แนว En) กาหนดให้ร้านขายของชาร้านหนึ่งมีขอ้ มูลของเงินใช้ในการโฆษณา และก าไรที่ได้ใน
แต่ละเดือน มีความสัมพันธ์กนั ดังตารางต่อไปนี้
เงินค่าโฆษณา (พันบาท ) 1 2 3 3
กาไร (พันบาท ) 1 3 4 6
ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั ของเงินค่าโฆษณากับกาไรอยูใ่ นรู ปเส้นตรงแล้ว
ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก. ถ้าเพิ่มค่าโฆษณา 1 พันบาท กาไรจะเพิ่มขึ้น 2 พันบาท
ข. ถ้าไม่มีการโฆษณา กาไรที่ได้จะมีค่า 1 พันบาท
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

3(แนว PAT1) ในการหาความสัมพันธ์เชิ งฟั งก์ชนั ระหว่างคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ (X) และวิชา


ฟิ สิ กส์ (Y) ของนักเรี ยน 100 คนของโรงเรี ยนแห่ งหนึ่ ง ได้พจน์ต่างๆ ที่ใช้ในการคานวณค่าคง
ตัวจากสมการปกติของความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั ที่มีรูปสมการเป็ น Y = mX + c ดังนี้
100 100 100 100 2
 x i   y i  1000 ,  x i y i  2000 ,  x  4000
i1 i1 i1 i1 i
ถ้านายสมชายสอบได้คะแนนวิชาคณิ ตศาสตร์ เพิ่มขึ้น 6 คะแนน จะสอบได้คะแนนวิชาฟิ สิ กส์
เพิ่มขึ้นกี่คะแนน
1. 8 คะแนน 2. 10 คะแนน 3. 13 คะแนน 4. 17 คะแนน

3
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
4(แนว มช) ให้ Y = 4.5 X + 1.6 แทนความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั สาหรับประมาณ Y จาก X
เมื่อ Y เป็ นรายได้จากการขายสิ นค้า และ X เป็ นค่าใช้จ่ายในโฆษณา (หน่ วยเป็ นล้านบาท
ต่อเดือน) จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้าไม่มีการโฆษณาจะประมาณรายได้ จากการขายสิ นค้าได้เท่ากับ 1.6 ล้านบาท
ข. ถ้าค่าใช้จ่ายในการโฆษณาเพิ่มขึ้น 2 ล้านบาท รายได้จากการขายสิ นค้าจะเพิ่มขึ้น
ประมาณ 9.0 ล้านบาท
ข้อใดต่อไปนี้ จริง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

15.3 การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ เชิงฟังก์ ชันของข้ อมูลทีอ่ ยู่ในรู ปอนุกรมเวลา


5. ข้อมูลต่อไปนี้แสดงจานวนจานวนรถยนต์ที่บริ ษทั แห่งหนึ่งขายได้ ( หน่วยร้อยคัน ) ในช่วงปี
พ.ศ. 2550 ถึงปี พ.ศ. 2554
พ.ศ. 2550 2551 2552 2553 2554
จานวนรถยนต์ (ร้อยคัน) 5 8 12 15 20
ถ้าความสัม พันธ์ ระหว่างปี พ.ศ. กับ จานวนรถยนต์ที่ ขายได้ มี ค วามสั ม พันธ์ เชิ งฟั งก์ชันแบบ
สมการเส้นตรงแล้วจงทานายจานวนรถยนต์ที่จะขายได้ในปี พ.ศ. 2557
1. 25.20 2. 30.50 3. 2520 4. 3050

4
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
6. ให้ใช้ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชน่ั ที่เป็ นเส้นตรงกับข้อมูลต่อไปนี้
พ. ศ. จานวนขายของเครื่ องจักร (พันเครื่ อง)
2550 1
2551 2
2552 4
2553 5
2554 7
ในปี พ.ศ. 2557 จานวนขายเครื่ องจักรควรจะเป็ นเท่าใด
1. 8300 เครื่ อง 2. 11300 เครื่ อง 3. 12800 เครื่ อง 4. 15800 เครื่ อง

7. ข้อมูลต่อไปนี้แสดงผลิตภัณฑ์กระเป๋ าที่ผลิตได้ (หน่วยเป็ นพันใบ) ในช่วงปี พ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ.


2551 ถ้าปี พ. ศ. กับปริ มาณที่ผลิตมีความสัมพันธ์เป็ นสมการเส้นตรง จงทานายว่าในช่วง 6
เดือนแรกของปี พ. ศ. 2560 จะผลิตกระเป๋ าได้จานวนเท่ากับค่าในข้อใด
พ.ศ. 2546 2547 2548 2549 2550 2551
จานวนกระเป๋ า (พันใบ) 4 7 8 10 13 15
1. 17055 ใบ 2. 17905 ใบ 3. 34110 ใบ 4. 35810 ใบ

5
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
8. ความสัมพันธ์ ระหว่างรายได้ ( x ) และรายจ่าย ( y ) ของครอบครัวต่างๆ ในหมู่บา้ นแห่ งหนึ่ ง
เป็ นดังนี้ y = 0.68 x + 0.42 ซึ่ งถ้าครอบครัวมีรายได้ 1000 บาท จะมีรายจ่าย 680.42 บาท
หากครอบครัวนี้ มีรายจ่าย 500 บาท แล้วรายได้คือค่าในข้อใดต่อไปนี้
1. 734.68 บาท
2. 730.58 บาท
3. 698.12 บาท
4. หาไม่ได้เพราะรายได้จากสมการนี้ เป็ นตัวแปรอิสระ

9. จากข้อมูลรายจ่ายของครอบครัว 8 ครอบครัว ที่มีรายได้ต้ งั แต่ 1000 บาท ถึง 14000 บาท ได้
สมการที่ใช้แทนความสัมพันธ์ของรายได้ ( x ) และรายจ่าย ( y ) คือ y = 0.636 x + 0.545
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. เราสามารถใช้สมการข้างต้น ทานายรายได้เมื่อทราบรายจ่าย
ข. ถ้าเพิม่ ข้อมูลโดยการสอบถามเพิม่ อีก 7 ครอบครัว สมการที่ใช้แทนความสัมพันธ์ของ x
และ y ยังคงเป็ นสมการเดิม
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. และ ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. และ ข. ผิด

6
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
10. กาหนดข้อมูลดังนี้
x 1 2 3 4
y 5 2 3 10
ถ้าความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ y เป็ นสมการพาราโบลา แล้วค่า y เมื่อ x = 5 มีค่าเท่ากับ
เท่าใด

11. ข้อมูล แสดงมูลค่าส่ งสิ นค้าออกชนิ ดหนึ่ง ในช่วงปี พ.ศ. 2551 – 2555
พ.ศ. 2551 2552 2553 2554 2555
มูลค่าสิ นค้า (ล้านบาท) 1 2 4 6 16
ถ้าความสั มพันธ์ เชิ งฟั งก์ชันของข้อมู ลทั้งสองเป็ นแบบสมการเอ็กซ์ โพเนนเซี ยล แล้วมู ลค่ า
สิ นค้าส่ งออกในปี พ.ศ. 2558 มีค่าเท่ากับกี่ลา้ นบาท ( กาหนด log 1.46 = 0.0195 )

7
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
เฉลยบทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชน
ั ระหว่างข้อมูล

1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 1.


5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบ 2.15 11. ตอบ 146



8
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
ตะลุยโจทย์ท่วั ไป
บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชน
ั ระหว่างข้อมูล
15.1 การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ เชิงฟังก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
15.2 การประมาณค่าของค่ าคงตัวโดยใช้ วธิ ีกาลังสองน้ อยสุ ด
1. ตารางต่อไปนี้ เป็ นความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ y
x 1 2 3 4 5
y 2 3 5 6 9
เมื่อกาหนดให้ x = 10 แล้วค่าของ y จะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 13.8 2. 15.3 3. 16.9 4. 18.0

2(แนว Pat1) กาหนดให้ขอ้ มูล X และ Y มีความสัมพันธ์กนั ดังตารางต่อไปนี้


X 1 2 3 3
Y 1 3 4 6
ถ้าสมการปกติ ข องความสัม พันธ์ เชิ งฟั งก์ชันดังกล่ าวอยู่ในรู ป Y = a + b X แล้วเมื่ อ X = 5
ค่าของ Y เท่ากับเท่าใด

3. กาหนดให้ x เป็ นตัวแปรอิสระ และ y เป็ นตัวแปรตาม และกาหนดให้


7 7 7 7
n = 7 ,  x i  30 ,  y i  0.94 ,  x iy i  8.307 ,  x 2i  248.72 , c = –0.019
i 1 i 1 i 1 i 1
เมื่อ x และ y มีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั เป็ นสมการเส้นตรงแล้ว เมื่อ x = 2 ค่าของ y จะมี
ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0.69 2. 0.4 3. 0.05 4. 0.04

4. กาหนดให้ y = a + b x พิจารณาค่าของ a และ b ของแต่ละข้อต่อไปนี้


ก. ถ้า x = 10 , y = 20 , xy = 3000 , x2 = 2000 , n = 10 แล้ว m = 10 , c = 1
ข. ถ้า x = 50 , y = 10 , xy = 30000 , x2 = 135000 , n = 50 แล้ว m = –15 , c = 0.5
ข้อใดสรุ ปถูกต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ผิด ข. ผิด
3. ก. ถูก ข. ผิด 4. ก. ผิด ข. ถูก
9
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
5. ถ้าปริ มาณปุ๋ ย ( x ) ที่ใส่ กบั ผลผลิต ( y ) (หน่วยเป็ น ก.ก./ไร่ ) มีความสัมพันธ์แบบสมการเส้นตรง
5 5 5 5
และให้  x i  15 ,  y i  60 ,  x i y i  200 และ  x 2i  95
i 1 i 1 i 1 i 1
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้าไม่มีการใส่ ปุ๋ย จะได้ผลผลิต 10.8 กิโลกรัม/ไร่
ข. ถ้าใส่ ปุ๋ยเพิ่มขึ้น 1 กิโลกรัม/ไร่ จะได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 1.2 กิโลกรัม/ไร
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ผิด ข. ผิด
3. ก. ถูก ข. ผิด 4. ก. ผิด ข. ถูก

6. ในการสุ่ มสอบถามเกี่ยวกับรายได้ (xi) และรายจ่าย (yi) (หน่วยเป็ นพันบาทต่อเดือน) ของ


ครอบครัว ปรากฎว่ารายได้และรายจ่ายมีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั แบบเส้นตรง และ
8 8 8 2 8 2 8
 y  80 ,  x  60 ,  y  980 ,  x  556 และ  x y  728
i 1 i i 1 i i 1 i i 1 i i 1 i i
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถึงแม้ไม่มีรายได้ ก็จะยังคงมีรายจ่าย 925 บาทต่อเดือน
ข. ถ้ามีรายได้เพิม่ ขึ้น 10000 บาทต่อเดือน รายจ่ายจะเพิม่ ขึ้น 12100 บาทต่อเดือน
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ผิด ข. ผิด
3. ก. ถูก ข. ผิด 4. ก. ผิด ข. ถูก

7. ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อวิจยั การตลาดเกี่ยวกับรายได้ (x) และรายจ่าย (y) ของสิ นค้าชนิดหนึ่ง


ปรากฏว่ารายได้และรายจ่ายมีความสัมพันธ์แบบฟังก์ชนั เชิงเส้น (แบบสมการเส้นตรง) ถ้า
n n n
n = 5 , x = 10 , y = 8 ,  x 2i  40 ,  y 2i  250 และ  x i y i  625
i 1 i 1 i 1
แล้ว เมื่อค่า x เพิม่ ขึ้น 1000 หน่วย ค่า y จะลดลงเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 200 2. 358 3. 489 4. 503

8. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้า x = 10 แล้วค่า y จะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 8 2. 9 3. 10 4. 11

9. กาหนดให้ y = 55 – 2x เป็ นสมการแสดงความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั ระหว่าง x และ y


โดยที่ x คือ จานวนบุหรี่ คิดเป็ นซองต่อวัน และ y คือ อายุของผูส้ ู บบุหรี่ คิดเป็ นปี
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
10
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
ก. ถ้าสู บบุหรี่ เพิ่มขึ้นวันละ 1 ซอง จะทาให้ อายุของผูส้ ู บบุหรี่ ลดลงไป 2 ปี
ข. ถ้าสู บบุหรี่ วนั ละ 1 ซอง อายุของผูส้ ู บบุหรี่ มีอายุประมาณ 53 ปี
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. และ ข. ถูก 2. ก. และ ข. ผิด
3. ก. ถูก ข. ผิด 4. ก. ผิด ข. ถูก

15.3 การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ เชิงฟังก์ ชันของข้ อมูลทีอ่ ยู่ในรู ปอนุกรมเวลา


10. จากข้อมูลอนุกรมเวลา (y) มีคา่ แสดงในตารางข้างล่างนี้
พ.ศ. 2536 2537 2538 2539 2540
y 20 30 20 40 60
ถ้า y มีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั กับเวลา (x) ในลักษณะเส้นตรงแล้ว สามารถทานายค่าของ y
ในปี 2545 ได้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 97 2. 106 3. 110 4. 120

11. ข้อมูลต่อไปนี้ แสดงผลิตภัณฑ์กระเป๋ าที่ผลิตได้ ( หน่วยเป็ นพันใบ ) ในช่วงปี พ.ศ. 2536 ถึง
พ.ศ. 2541 ถ้าปี พ. ศ. กับปริ มาณที่ผลิตมีความสัมพันธ์เป็ นสมการเส้นตรง จงทานายว่าในปี
พ. ศ. 2550 จะผลิตกระเป๋ าได้จานวนเท่ากับค่าในข้อใด
พ.ศ. 2536 2537 2538 2539 2540 2541
จานวนกระเป๋ า (พันใบ) 4 7 8 10 13 15
1. 24480 ใบ 2. 27850 ใบ 3. 34110 ใบ 4. 35810 ใบ

12. จากตารางข้อมูลอนุกรมเวลาข้างล่างนี้ ถ้าความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั ของ y กับ ปี พ.ศ. คือ


y = m x + c แล้วสมการที่ใช้แทนความสัมพันธ์คือสมการในข้อใด
พ.ศ. 2535 2536 2537 2538 2539 2540
y 7 5 4 3 2 4
1. y = –0.79 x + 3.71 2. y = 0.79 x – 3.71
3. y = –0.36 x + 4.17 4. y = 0.36 x – 4.17

11
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
13. ข้อมูลต่อไปนี้ เป็ นรายได้ต่อเดือนของบริ ษทั แห่งหนึ่ งในปี 2540
เดือน ม. ค. ก. พ. มี. ค. เม. ย. พ. ค. มิ. ย.
รายได้ (ล้านบาท) 1.2 1.5 2 3 3.5 4.5
ถ้าความสัมพันธ์เชิ งฟั งก์ชนั ระหว่างเดือนและรายได้เป็ นแบบสมการเส้นตรง จงประมาณว่าใน
เดือนสิ งหาคม พ. ศ. 2540 บริ ษทั จะมีรายได้เท่ากับค่าในข้อใดต่อไปนี้
1. 5.52 ล้านบาท 2. 5.64 ล้านบาท 3. 5.74 ล้านบาท 4. 6.21 ล้านบาท

14. จากการสอบถามถึงรายได้ ( x ) และรายจ่าย ( y ) (หน่วยพันบาท) ของครอบครัวส่ วนหนึ่งใน


จังหวัดนนทบุรี ซี่งมีความสัมพันธ์เป็ น y = 0.36 x + 4.2 แล้ว พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ครอบครัวนายสมศักดิ์ ซึ่งอยูใ่ นจังหวัดนนทบุรี ถ้ามีรายได้เดือนละ 10000 บาท จะมี
รายจ่ายเดือนละ 7800 บาท
ข. ครอบครัวนายสมชาย ซึ่ งอยูใ่ นจังหวัดปทุมธานี ถ้ามีรายจ่ายเดือนละ 9600 บาท คาดว่า
จะมีรายได้เดือนละ 15000 บาท
ข้อใดสรุ ปได้ถูกต้อง
1. ข้อ ก. ถูกข้อเดียว 2. ข้อ ข. ถูกข้อเดียว
3. ข้อ ก. และข้อ ข. ถูก 4. ข้อ ก. และข้อ ข. ผิด

15. ถ้าสมการแสดงความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชนั ระหว่างต้นทุนกับจานวนสิ นค้าที่ผลิตคือ y = 2 x + 5


เมื่อ x คือจานวนสิ นค้ามีหน่วยเป็ นร้อยชิ้น และ y คือต้นทุนมีหน่วยเป็ นพันบาท
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้าต้นทุนเท่ากับ 7000 บาท คาดว่าจะผลิตสิ นค้าได้ 100 ชิ้น
ข. ถ้าผลิตสิ นค้าเพิ่ม 200 ชิ้น คาดว่าต้นทุนจะเพิ่มขึ้น 4000 บาท
ข้อใดถูกต้อง
1. ก. และ ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. และ ข. ผิด

12
ติวสบายคณิต เล่ ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 15 ความสัมพันธ์ เชิงฟั งก์ ชันระหว่ างข้ อมูล
เฉลยตะลุยโจทย์ทวั่ ไป
บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชน
ั ระหว่างข้อมูล
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบ 9 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 3.



13

You might also like